SlideShare a Scribd company logo
1 of 2
Download to read offline
1
เพราะเหตุใดพ่อขุนพระรามคาแหง พระโอรสของพ่อขุนศรีอินทราทิตย์ จึงได้ชื่อว่า “รามคาแหง”
1. .......................................................................................................................................................
2. .......................................................................................................................................................
3. .......................................................................................................................................................
พ่อขุนรามคาแหง เป็นพระมหากษัตริย์เป็นลาดับที่ 3 แห่งกรุงสุโขทัย
ให้นักเรียน นาคาที่กาหนดให้ มาเติมลงในช่องว่างของข้อความให้สมบูรณ์ถูกต้อง
นิกายเถรวาท ลายสือไทย ศิลาจารึก หลักที่ 1 จกอบ
ชลประทาน วัฒนธรรม สรีดภงส์ พ่อปกครองลูก
เมืองนครศรีธรรมราช แขนวกระดิ่ง พระแท่นมนังคศิลาบาตร
พ่อขุนรามคาแหงทรงใช้รูปแบบการปกครองแบบ พ่อปกครองลูก โดยทรงดูแลเอาใจใส่ทุกข์ สุข
ของราษฎร ดุจดั่งพ่อดูแลลูก ทาให้เกิดความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับระหว่างกษัตริย์กับราษฎร ดังจะเห็น
ได้ว่าทรง แขนวกระดิ่ง ไว้หน้าประตูวัง เพื่อรับเรื่องราวร้องทุกข์และไต่สวน ตัดสินคดีความด้วย
ความยุติธรรม
นอกจากนี้ยังทรงเป็นกษัตริย์นักรบที่ปรีชาสามารถ สามารถขยายพระราชอาณาเขตของสุโขทัย
ออกไปอย่างกว้างขวาง ด้วยการทาสงคราม มีความมั่นคงเป็นปึกแผ่น
พ่อขุนรามคาแหงทรงโปรดให้สร้าง สรีดภงส์ เพื่อแก้ปัญหาขาดแคลนน้าในฤดูแล้ง ปูองกันน้า
ท่วม และใช้ในการเกษตร นับเป็นภูมิปัญญาทางด้าน ชลประทาน ที่สาคัญของไทย
ทรงใช้นโยบายที่เอื้อประโยชน์ทางเศรษฐกิจ ได้แก่การไม่เก็บภาษีที่เรียกว่า จกอบ กับราษฏรใน
การค้า รวมทั้งทรงส่งเสริมการค้าอย่างเสรีในเมืองสุโขทัย ทาให้การค้าของสุโขทัยขยายตัวและ
รุ่งเรือง
พ่อขุนรามคาแหงทรงเป็นนักอักษรศาสตร์ โดยทรงประดิษฐ์อักษรไทยที่เรียกว่า ลายสือไทย
ใน พ.ศ.1826 นับเป็นมรดกทางภูมิปัญญาที่มีคุณค่าทาง วัฒนธรรม ที่สาคัญของไทย โดยโปรดทรง
บันทึกเรื่องราวของสุโขทัยใน ศิลาจารึกหลักที่ 1 ซึ่งเป็นหลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่สาคัญของไทย
ที่ทาให้คนไทยรุ่นหลังได้เรียนรู้ประวัติศาสตร์สุโขทัยได้อย่างชัดเจน และยังได้รับการขึ้นทะเบียนเป็น
มรดกความทรงจาแห่งโลก โดยองค์การศึกษาวิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ
(UNESSCO)
พระมหากษัตริย์ไทยสมัยสุโขทัย
พ่อขุนรามคาแหงมหาราช
8
2
ด้านการศาสนา ทรงส่งเสริมด้านการเผยแพร่พระพุทธศาสนา โดยรับพระพุทธศาสนา นิกายเถร
วาท อย่างลังกาวงศ์มาจาก นครศรีธรรมราช มาเผยแพร่ยังสุโขทัย และดินแดนใกล้เคียง เช่น
ล้านนา ล้านช้าง แพร่ และน่าน
ทรงเป็นนักนิติศาสตร์ โดยทรงโปรดให้ตรากฎหมายบังคับใช้ในสุโขทัย เพื่อความสุขของราษฎร
โปรดให้สร้าง พระแท่นมนังคศิลาบาตร ไว้กลางดงตาล สาหรับเผยแพร่หลักธรรมทาง
พระพุทธศาสนา และอบรมสั่งสอนประชาชนทุกวันพระ และใช้ประทับอบรมสั่งสอนราษฎรในวัน
ธรรมดา
ทรงเป็นนักการทูต ที่สร้างความสัมพันธ์ทางการทูตกับดินแดนใกล้เคียง เช่น เชียงใหม่ มอญ
ล้านช้าง และนครศรีธรรมราช ในรูปแบบต่างๆ เช่น ทางเครือญาติ ทางศาสนา ทาให้อาณาจักร
สุโขทัยมีความเจริญรุ่งเรือง
1. ให้นักเรียน นาคาที่กาหนดให้ มาเติมลงในช่องว่างของข้อความให้สมบูรณ์ถูกต้อง
พระพุทธชินราช ทศพิธราชธรรม พระยาเลอไทย วัฒนธรรม
พระพุทธศาสนา เทวาลัยมหาเกษตร ไตรภูมิพระร่วง พ่อขุนรามคาแหง
พระมหาธรรมราชาที่ 1 (พระยาลิไท) เป็นพระราชโอรสของ พระยาเลอไทย เป็นพระนัดดาของ
พ่อขุนรามคาแหง ทรงมีความรู้ทางพระไตรปิฏกอย่างแตกฉาน ด้านการเมืองการปกครอง สมัยพระยาลิ
ไท เป็นช่วงที่สุโขทัยขาดความเป็นปึกแผ่นมั่นคง ไม่เเหมือนสมัยพ่อขุนรามคาแหงมหาราช ดังนั้น เพื่อ
สร้างอาณาจักรให้มีความเข้มแข็งมั่นคงเหมือนแต่ก่อน พระมหาธรรมราชาลิไท จึงทรงพยามฟื้นฟู
ปรับปรุงอาณาจักรทุกด้าน โดยนาหลักธรรมทาง พระพุทธศาสนา มาเป็นเครื่องมือในการควบคุมดูแล
ราษฎรภายในอาณาจักร ได้แก่ ทศพิธราชธรรม สาหรับให้ทรงยึดถือปฏิบัติปกครองราษฎรด้วยเมตตา
ธรรม
ด้านวัฒนธรรม ทรงส่งเสริมพระพุทธศาสนาให้เจริญรุ่งเรือง ดังเห็นได้จากทรงออกผนวช เพื่อ
ศึกษาพระธรรม นอกจากนี้ยังทรงโปรดให้สร้างพระพุทธรูปเพื่อให้เป็นที่สักการะของประชาชน ที่สาคัญ
เช่น พระพุทธชินสีห์ พระพุทธชินราช พระศรีศาสดา พระศรีศากยมุนี เป็นต้น
นอกจากนี้ ยังส่งเสริมศาสนาพราหมณ์-ฮินดู ด้วย ดังเห็นได้จากให้สร้างเทวาลัยมหาเกษตร.ใน
ปุามะม่วง สาหรับประดิษฐานเทวรูปพระอิศวร พระนารายณ์ เพื่อให้ประชาชนมากราบไหว้บูชา
ด้านวรรณกรรมส่งพระราชนิพนธ์หนังสือ ไตรภูมิพระร่วง หรือเตภูมิกถา โดยกล่าวถึงเรื่องบาป
บุญคุณโทษ ส่งเสริมให้คนทาความดี ละเว้นความชั่ว
พระมหาธรรมราชาที่ 1 (พระยาลิไท)

More Related Content

What's hot

ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก (จีน เกาหลี ญี่ปุ่น)
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก (จีน เกาหลี ญี่ปุ่น)ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก (จีน เกาหลี ญี่ปุ่น)
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก (จีน เกาหลี ญี่ปุ่น)พัน พัน
 
ประวัติศาสตร์กรุงรัตนโกสินทร์ ม.3
ประวัติศาสตร์กรุงรัตนโกสินทร์ ม.3ประวัติศาสตร์กรุงรัตนโกสินทร์ ม.3
ประวัติศาสตร์กรุงรัตนโกสินทร์ ม.3Oae Butrawong Skr
 
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่ายงานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่ายSantichon Islamic School
 
Key of 2 อาณาจักรโบราณ-57
Key of 2 อาณาจักรโบราณ-57Key of 2 อาณาจักรโบราณ-57
Key of 2 อาณาจักรโบราณ-57Pracha Wongsrida
 
Ptt อาณาจักรสูโขทัย
Ptt อาณาจักรสูโขทัยPtt อาณาจักรสูโขทัย
Ptt อาณาจักรสูโขทัยYim Wiphawan
 
ประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัยประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัยchatsawat265
 
Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57
Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57
Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57Pracha Wongsrida
 
ประวัติศาสตร์ รัตนโกสินทร์ ประถมศึกษาปีที่6
ประวัติศาสตร์ รัตนโกสินทร์ ประถมศึกษาปีที่6ประวัติศาสตร์ รัตนโกสินทร์ ประถมศึกษาปีที่6
ประวัติศาสตร์ รัตนโกสินทร์ ประถมศึกษาปีที่6ARM ARM
 
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิแบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิSurapong Klamboot
 
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน เพ็ญลักษณ์ สุวรรณาโชติ
 
การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์พัน พัน
 
เอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรี
เอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรีเอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรี
เอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรีพัน พัน
 
07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยา07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยาJulPcc CR
 
การวิเคราะห์วรรณคดี "รำพึงในป่าช้า"
การวิเคราะห์วรรณคดี "รำพึงในป่าช้า"การวิเคราะห์วรรณคดี "รำพึงในป่าช้า"
การวิเคราะห์วรรณคดี "รำพึงในป่าช้า"พัน พัน
 
การใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์และการไม่ใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์
การใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์และการไม่ใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์การใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์และการไม่ใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์
การใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์และการไม่ใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์Piyarerk Bunkoson
 
ประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทย
ประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทยประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทย
ประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทยPadvee Academy
 
แบบฝึกหัดเศรษฐศาสตร์
แบบฝึกหัดเศรษฐศาสตร์แบบฝึกหัดเศรษฐศาสตร์
แบบฝึกหัดเศรษฐศาสตร์ธนิสร ยางคำ
 
ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์Princess Chulabhon's College Chonburi
 

What's hot (20)

ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก (จีน เกาหลี ญี่ปุ่น)
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก (จีน เกาหลี ญี่ปุ่น)ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก (จีน เกาหลี ญี่ปุ่น)
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก (จีน เกาหลี ญี่ปุ่น)
 
ประวัติศาสตร์กรุงรัตนโกสินทร์ ม.3
ประวัติศาสตร์กรุงรัตนโกสินทร์ ม.3ประวัติศาสตร์กรุงรัตนโกสินทร์ ม.3
ประวัติศาสตร์กรุงรัตนโกสินทร์ ม.3
 
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่ายงานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
 
Key of 2 อาณาจักรโบราณ-57
Key of 2 อาณาจักรโบราณ-57Key of 2 อาณาจักรโบราณ-57
Key of 2 อาณาจักรโบราณ-57
 
Ptt อาณาจักรสูโขทัย
Ptt อาณาจักรสูโขทัยPtt อาณาจักรสูโขทัย
Ptt อาณาจักรสูโขทัย
 
ประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัยประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัย
 
Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57
Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57
Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57
 
ประวัติศาสตร์ รัตนโกสินทร์ ประถมศึกษาปีที่6
ประวัติศาสตร์ รัตนโกสินทร์ ประถมศึกษาปีที่6ประวัติศาสตร์ รัตนโกสินทร์ ประถมศึกษาปีที่6
ประวัติศาสตร์ รัตนโกสินทร์ ประถมศึกษาปีที่6
 
ใบงาน อเมริกาเหนือ
ใบงาน อเมริกาเหนือใบงาน อเมริกาเหนือ
ใบงาน อเมริกาเหนือ
 
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิแบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
 
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน
 
การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
 
เอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรี
เอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรีเอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรี
เอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรี
 
07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยา07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยา
 
การวิเคราะห์วรรณคดี "รำพึงในป่าช้า"
การวิเคราะห์วรรณคดี "รำพึงในป่าช้า"การวิเคราะห์วรรณคดี "รำพึงในป่าช้า"
การวิเคราะห์วรรณคดี "รำพึงในป่าช้า"
 
การใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์และการไม่ใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์
การใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์และการไม่ใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์การใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์และการไม่ใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์
การใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์และการไม่ใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์
 
ประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทย
ประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทยประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทย
ประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทย
 
แบบฝึกหัดเศรษฐศาสตร์
แบบฝึกหัดเศรษฐศาสตร์แบบฝึกหัดเศรษฐศาสตร์
แบบฝึกหัดเศรษฐศาสตร์
 
ไตรสิกขา
ไตรสิกขาไตรสิกขา
ไตรสิกขา
 
ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
 

Viewers also liked

สังคมและวัฒนธรรมสมัยสุโขทัย+568+55t2his p04 f12-4page
สังคมและวัฒนธรรมสมัยสุโขทัย+568+55t2his p04 f12-4pageสังคมและวัฒนธรรมสมัยสุโขทัย+568+55t2his p04 f12-4page
สังคมและวัฒนธรรมสมัยสุโขทัย+568+55t2his p04 f12-4pagePrachoom Rangkasikorn
 
สังคมและวัฒนธรรมสมัยสุโขทัย +568+dltvp4+55t2his p04 f12-1page
สังคมและวัฒนธรรมสมัยสุโขทัย +568+dltvp4+55t2his p04 f12-1pageสังคมและวัฒนธรรมสมัยสุโขทัย +568+dltvp4+55t2his p04 f12-1page
สังคมและวัฒนธรรมสมัยสุโขทัย +568+dltvp4+55t2his p04 f12-1pagePrachoom Rangkasikorn
 
ภูมิปัญญาสมัยสุโขทัย+569+55t2his p04 f11-1page
ภูมิปัญญาสมัยสุโขทัย+569+55t2his p04 f11-1pageภูมิปัญญาสมัยสุโขทัย+569+55t2his p04 f11-1page
ภูมิปัญญาสมัยสุโขทัย+569+55t2his p04 f11-1pagePrachoom Rangkasikorn
 
ภูมิปัญญาสมัยสุโขทัย+569+55t2his p04 f11-4page
ภูมิปัญญาสมัยสุโขทัย+569+55t2his p04 f11-4pageภูมิปัญญาสมัยสุโขทัย+569+55t2his p04 f11-4page
ภูมิปัญญาสมัยสุโขทัย+569+55t2his p04 f11-4pagePrachoom Rangkasikorn
 
สังคมและวัฒนธรรมสมัยสุโขทัย +568+dltvp4+55t2his p04 f13-1page
สังคมและวัฒนธรรมสมัยสุโขทัย +568+dltvp4+55t2his p04 f13-1pageสังคมและวัฒนธรรมสมัยสุโขทัย +568+dltvp4+55t2his p04 f13-1page
สังคมและวัฒนธรรมสมัยสุโขทัย +568+dltvp4+55t2his p04 f13-1pagePrachoom Rangkasikorn
 
อาณษจักรสุโขทัย
อาณษจักรสุโขทัยอาณษจักรสุโขทัย
อาณษจักรสุโขทัยkrunrita
 
082+hisp5+dltv54+541202+a+สไลด์ กรุงศรีอยุธยากับการปกครอง1หน้า
082+hisp5+dltv54+541202+a+สไลด์ กรุงศรีอยุธยากับการปกครอง1หน้า082+hisp5+dltv54+541202+a+สไลด์ กรุงศรีอยุธยากับการปกครอง1หน้า
082+hisp5+dltv54+541202+a+สไลด์ กรุงศรีอยุธยากับการปกครอง1หน้าPrachoom Rangkasikorn
 

Viewers also liked (7)

สังคมและวัฒนธรรมสมัยสุโขทัย+568+55t2his p04 f12-4page
สังคมและวัฒนธรรมสมัยสุโขทัย+568+55t2his p04 f12-4pageสังคมและวัฒนธรรมสมัยสุโขทัย+568+55t2his p04 f12-4page
สังคมและวัฒนธรรมสมัยสุโขทัย+568+55t2his p04 f12-4page
 
สังคมและวัฒนธรรมสมัยสุโขทัย +568+dltvp4+55t2his p04 f12-1page
สังคมและวัฒนธรรมสมัยสุโขทัย +568+dltvp4+55t2his p04 f12-1pageสังคมและวัฒนธรรมสมัยสุโขทัย +568+dltvp4+55t2his p04 f12-1page
สังคมและวัฒนธรรมสมัยสุโขทัย +568+dltvp4+55t2his p04 f12-1page
 
ภูมิปัญญาสมัยสุโขทัย+569+55t2his p04 f11-1page
ภูมิปัญญาสมัยสุโขทัย+569+55t2his p04 f11-1pageภูมิปัญญาสมัยสุโขทัย+569+55t2his p04 f11-1page
ภูมิปัญญาสมัยสุโขทัย+569+55t2his p04 f11-1page
 
ภูมิปัญญาสมัยสุโขทัย+569+55t2his p04 f11-4page
ภูมิปัญญาสมัยสุโขทัย+569+55t2his p04 f11-4pageภูมิปัญญาสมัยสุโขทัย+569+55t2his p04 f11-4page
ภูมิปัญญาสมัยสุโขทัย+569+55t2his p04 f11-4page
 
สังคมและวัฒนธรรมสมัยสุโขทัย +568+dltvp4+55t2his p04 f13-1page
สังคมและวัฒนธรรมสมัยสุโขทัย +568+dltvp4+55t2his p04 f13-1pageสังคมและวัฒนธรรมสมัยสุโขทัย +568+dltvp4+55t2his p04 f13-1page
สังคมและวัฒนธรรมสมัยสุโขทัย +568+dltvp4+55t2his p04 f13-1page
 
อาณษจักรสุโขทัย
อาณษจักรสุโขทัยอาณษจักรสุโขทัย
อาณษจักรสุโขทัย
 
082+hisp5+dltv54+541202+a+สไลด์ กรุงศรีอยุธยากับการปกครอง1หน้า
082+hisp5+dltv54+541202+a+สไลด์ กรุงศรีอยุธยากับการปกครอง1หน้า082+hisp5+dltv54+541202+a+สไลด์ กรุงศรีอยุธยากับการปกครอง1หน้า
082+hisp5+dltv54+541202+a+สไลด์ กรุงศรีอยุธยากับการปกครอง1หน้า
 

Similar to Key of 8 พระมหากษัตริย์สมัยสุโขทัย

Similar to Key of 8 พระมหากษัตริย์สมัยสุโขทัย (6)

คำใหม่ ป.๕ รวม ๑๐๔๙ คำ
คำใหม่ ป.๕  รวม ๑๐๔๙ คำคำใหม่ ป.๕  รวม ๑๐๔๙ คำ
คำใหม่ ป.๕ รวม ๑๐๔๙ คำ
 
คำใหม่ ป.๕ รวม ๑๐๔๙ คำ
คำใหม่ ป.๕  รวม ๑๐๔๙ คำคำใหม่ ป.๕  รวม ๑๐๔๙ คำ
คำใหม่ ป.๕ รวม ๑๐๔๙ คำ
 
คำใหม่ ป.๕ รวม ๑๐๔๙ คำ
คำใหม่ ป.๕  รวม ๑๐๔๙ คำคำใหม่ ป.๕  รวม ๑๐๔๙ คำ
คำใหม่ ป.๕ รวม ๑๐๔๙ คำ
 
บันทึกทัศนะศึกษา
บันทึกทัศนะศึกษาบันทึกทัศนะศึกษา
บันทึกทัศนะศึกษา
 
ลิมิตของลำดับ
ลิมิตของลำดับลิมิตของลำดับ
ลิมิตของลำดับ
 
ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์
 

More from Pracha Wongsrida

More from Pracha Wongsrida (18)

Key pr11 30109
Key pr11 30109Key pr11 30109
Key pr11 30109
 
Key pr3 30109
Key pr3 30109Key pr3 30109
Key pr3 30109
 
Key pr2 30109
Key pr2 30109Key pr2 30109
Key pr2 30109
 
พิมพ์Respond sheet195
พิมพ์Respond sheet195พิมพ์Respond sheet195
พิมพ์Respond sheet195
 
พิมพ์Answer respond-195
พิมพ์Answer respond-195พิมพ์Answer respond-195
พิมพ์Answer respond-195
 
พิมพ์Ans195
พิมพ์Ans195พิมพ์Ans195
พิมพ์Ans195
 
พิมพ์1239
พิมพ์1239พิมพ์1239
พิมพ์1239
 
พิมพ์#195
พิมพ์#195พิมพ์#195
พิมพ์#195
 
พิมพ์ Wrap up-884
พิมพ์ Wrap up-884พิมพ์ Wrap up-884
พิมพ์ Wrap up-884
 
พิมพ์ Movi note 884
พิมพ์ Movi note 884พิมพ์ Movi note 884
พิมพ์ Movi note 884
 
Social studies1241 printabledocuments
Social studies1241 printabledocumentsSocial studies1241 printabledocuments
Social studies1241 printabledocuments
 
Social studies1240 printabledocuments
Social studies1240 printabledocumentsSocial studies1240 printabledocuments
Social studies1240 printabledocuments
 
Social studies1239 printabledocuments
Social studies1239 printabledocumentsSocial studies1239 printabledocuments
Social studies1239 printabledocuments
 
Social studies933 printabledocuments
Social studies933 printabledocumentsSocial studies933 printabledocuments
Social studies933 printabledocuments
 
Social studies885 printabledocuments
Social studies885 printabledocumentsSocial studies885 printabledocuments
Social studies885 printabledocuments
 
Quiz answers1295
Quiz answers1295Quiz answers1295
Quiz answers1295
 
Quiz1295
Quiz1295Quiz1295
Quiz1295
 
พิมพ์Wrap up1240
พิมพ์Wrap up1240พิมพ์Wrap up1240
พิมพ์Wrap up1240
 

Key of 8 พระมหากษัตริย์สมัยสุโขทัย

  • 1. 1 เพราะเหตุใดพ่อขุนพระรามคาแหง พระโอรสของพ่อขุนศรีอินทราทิตย์ จึงได้ชื่อว่า “รามคาแหง” 1. ....................................................................................................................................................... 2. ....................................................................................................................................................... 3. ....................................................................................................................................................... พ่อขุนรามคาแหง เป็นพระมหากษัตริย์เป็นลาดับที่ 3 แห่งกรุงสุโขทัย ให้นักเรียน นาคาที่กาหนดให้ มาเติมลงในช่องว่างของข้อความให้สมบูรณ์ถูกต้อง นิกายเถรวาท ลายสือไทย ศิลาจารึก หลักที่ 1 จกอบ ชลประทาน วัฒนธรรม สรีดภงส์ พ่อปกครองลูก เมืองนครศรีธรรมราช แขนวกระดิ่ง พระแท่นมนังคศิลาบาตร พ่อขุนรามคาแหงทรงใช้รูปแบบการปกครองแบบ พ่อปกครองลูก โดยทรงดูแลเอาใจใส่ทุกข์ สุข ของราษฎร ดุจดั่งพ่อดูแลลูก ทาให้เกิดความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับระหว่างกษัตริย์กับราษฎร ดังจะเห็น ได้ว่าทรง แขนวกระดิ่ง ไว้หน้าประตูวัง เพื่อรับเรื่องราวร้องทุกข์และไต่สวน ตัดสินคดีความด้วย ความยุติธรรม นอกจากนี้ยังทรงเป็นกษัตริย์นักรบที่ปรีชาสามารถ สามารถขยายพระราชอาณาเขตของสุโขทัย ออกไปอย่างกว้างขวาง ด้วยการทาสงคราม มีความมั่นคงเป็นปึกแผ่น พ่อขุนรามคาแหงทรงโปรดให้สร้าง สรีดภงส์ เพื่อแก้ปัญหาขาดแคลนน้าในฤดูแล้ง ปูองกันน้า ท่วม และใช้ในการเกษตร นับเป็นภูมิปัญญาทางด้าน ชลประทาน ที่สาคัญของไทย ทรงใช้นโยบายที่เอื้อประโยชน์ทางเศรษฐกิจ ได้แก่การไม่เก็บภาษีที่เรียกว่า จกอบ กับราษฏรใน การค้า รวมทั้งทรงส่งเสริมการค้าอย่างเสรีในเมืองสุโขทัย ทาให้การค้าของสุโขทัยขยายตัวและ รุ่งเรือง พ่อขุนรามคาแหงทรงเป็นนักอักษรศาสตร์ โดยทรงประดิษฐ์อักษรไทยที่เรียกว่า ลายสือไทย ใน พ.ศ.1826 นับเป็นมรดกทางภูมิปัญญาที่มีคุณค่าทาง วัฒนธรรม ที่สาคัญของไทย โดยโปรดทรง บันทึกเรื่องราวของสุโขทัยใน ศิลาจารึกหลักที่ 1 ซึ่งเป็นหลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่สาคัญของไทย ที่ทาให้คนไทยรุ่นหลังได้เรียนรู้ประวัติศาสตร์สุโขทัยได้อย่างชัดเจน และยังได้รับการขึ้นทะเบียนเป็น มรดกความทรงจาแห่งโลก โดยองค์การศึกษาวิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (UNESSCO) พระมหากษัตริย์ไทยสมัยสุโขทัย พ่อขุนรามคาแหงมหาราช 8
  • 2. 2 ด้านการศาสนา ทรงส่งเสริมด้านการเผยแพร่พระพุทธศาสนา โดยรับพระพุทธศาสนา นิกายเถร วาท อย่างลังกาวงศ์มาจาก นครศรีธรรมราช มาเผยแพร่ยังสุโขทัย และดินแดนใกล้เคียง เช่น ล้านนา ล้านช้าง แพร่ และน่าน ทรงเป็นนักนิติศาสตร์ โดยทรงโปรดให้ตรากฎหมายบังคับใช้ในสุโขทัย เพื่อความสุขของราษฎร โปรดให้สร้าง พระแท่นมนังคศิลาบาตร ไว้กลางดงตาล สาหรับเผยแพร่หลักธรรมทาง พระพุทธศาสนา และอบรมสั่งสอนประชาชนทุกวันพระ และใช้ประทับอบรมสั่งสอนราษฎรในวัน ธรรมดา ทรงเป็นนักการทูต ที่สร้างความสัมพันธ์ทางการทูตกับดินแดนใกล้เคียง เช่น เชียงใหม่ มอญ ล้านช้าง และนครศรีธรรมราช ในรูปแบบต่างๆ เช่น ทางเครือญาติ ทางศาสนา ทาให้อาณาจักร สุโขทัยมีความเจริญรุ่งเรือง 1. ให้นักเรียน นาคาที่กาหนดให้ มาเติมลงในช่องว่างของข้อความให้สมบูรณ์ถูกต้อง พระพุทธชินราช ทศพิธราชธรรม พระยาเลอไทย วัฒนธรรม พระพุทธศาสนา เทวาลัยมหาเกษตร ไตรภูมิพระร่วง พ่อขุนรามคาแหง พระมหาธรรมราชาที่ 1 (พระยาลิไท) เป็นพระราชโอรสของ พระยาเลอไทย เป็นพระนัดดาของ พ่อขุนรามคาแหง ทรงมีความรู้ทางพระไตรปิฏกอย่างแตกฉาน ด้านการเมืองการปกครอง สมัยพระยาลิ ไท เป็นช่วงที่สุโขทัยขาดความเป็นปึกแผ่นมั่นคง ไม่เเหมือนสมัยพ่อขุนรามคาแหงมหาราช ดังนั้น เพื่อ สร้างอาณาจักรให้มีความเข้มแข็งมั่นคงเหมือนแต่ก่อน พระมหาธรรมราชาลิไท จึงทรงพยามฟื้นฟู ปรับปรุงอาณาจักรทุกด้าน โดยนาหลักธรรมทาง พระพุทธศาสนา มาเป็นเครื่องมือในการควบคุมดูแล ราษฎรภายในอาณาจักร ได้แก่ ทศพิธราชธรรม สาหรับให้ทรงยึดถือปฏิบัติปกครองราษฎรด้วยเมตตา ธรรม ด้านวัฒนธรรม ทรงส่งเสริมพระพุทธศาสนาให้เจริญรุ่งเรือง ดังเห็นได้จากทรงออกผนวช เพื่อ ศึกษาพระธรรม นอกจากนี้ยังทรงโปรดให้สร้างพระพุทธรูปเพื่อให้เป็นที่สักการะของประชาชน ที่สาคัญ เช่น พระพุทธชินสีห์ พระพุทธชินราช พระศรีศาสดา พระศรีศากยมุนี เป็นต้น นอกจากนี้ ยังส่งเสริมศาสนาพราหมณ์-ฮินดู ด้วย ดังเห็นได้จากให้สร้างเทวาลัยมหาเกษตร.ใน ปุามะม่วง สาหรับประดิษฐานเทวรูปพระอิศวร พระนารายณ์ เพื่อให้ประชาชนมากราบไหว้บูชา ด้านวรรณกรรมส่งพระราชนิพนธ์หนังสือ ไตรภูมิพระร่วง หรือเตภูมิกถา โดยกล่าวถึงเรื่องบาป บุญคุณโทษ ส่งเสริมให้คนทาความดี ละเว้นความชั่ว พระมหาธรรมราชาที่ 1 (พระยาลิไท)