SlideShare a Scribd company logo
1 of 10
Download to read offline
โครงงานคอมพิวเตอร์
สื่อคลิปวิดโอ เรื่อง วิถชีวตเกษตรกรชาวสวนยางพารา
           ี            ี ิ

                      จัดทาโดย

    1. นางสาวจอย                 ตี          เลขที่ 3
    2. นางสาวจินดามณี            เมืองแก่น   เลขที่ 4
    3. นางสาวสุธิดา              คงเจริ ญ    เลขที่ 8
    4. นางสาวกัญญาพัชร           เพชรสุข     เลขที่ 26

              ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5/1



                       เสนอ



         อาจารย์ ศิริรัตน์    ปานสุ วรรณ

         โรงเรียนตราดสรรเสริญวิทยาคม

          อาเภอเมืองตราด จังหวัดตราด

สังกัดสานักงานเขตพืนที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 17
                   ้
คานา


      โครงงานพัฒนาสื่ อคลิปวีดิโอ เรื่ อง การทาสวนยาง จัดทาขึ้นเพื่อบูรณาการเรี ยนรู ้ในทุกกลุ่มสาระการ
เรี ยนรู้ โดยมีเนื้อหาเกี่ยวกับการทาอาชีพสวนยาง ซึ่ งเป็ นอาชีพหลักของชาวตราด โดยศึกษาเกี่ยวกับประวัติ
การทาสวนยาง และนาความรู ้ ดงกล่ า วมาจัดทาเป็ นวิดิโอ (vedio) จากการสื บค้นข้อมูลทางอินเตอร์ เน็ ต
                           ั
สอบถามสัมภาษณ์ และนาเสนออาจารย์ศิริรัตน์ ปานสุ วรรณ ทั้งนี้ เพื่อนาไปใช้ในการดาเนิ นชี วิตประจาวัน
ได้อีกด้วย

      ผูจดทาหวังเป็ นอย่างยิงว่าโครงงานเล่มนี้ จะเป็ นประโยชน์แก่ผที่สนใจและหากมีขอผิดพลาดประการ
        ้ั                  ่                                     ู้              ้
ใดกลุ่มผูจดทาขออภัย ณ ที่น้ ีดวย
         ้ั                   ้
สารบัญ
เรื่อง                                      หน้ า

บทที่ 1

    บทนา                                      1

บทที่ 2

    เอกสารที่เกี่ยวข้อง                       2-3

บทที่ 3

   วิธีการดาเนินงาน                               4

บทที่ 4

    ผลการดาเนินงาน                                5

บทที่ 5

    สรุ ปผลอภิปรายผลการดาเนินงาน                    6

บรรณานุกรม
บทที่ 1

                                              บทนา
 1.1.ที่มาและความสาคัญของโครงงาน

     ในปัจจุบน การประกอบอาชีพที่สุจริ ตนั้น มีมากมายหลากหลายอาชีพ เช่น ค้าขาย ทาสวน ทาไร่ ทานา
             ั
การทาสวนยาง และอาชี พอื่นๆอีกมาก เป็ นต้น ส่ วนจังหวัดตราดนั้นก็เป็ นจังหวัดหนึ่ งที่ผคนส่ วนใหญ่ทา
                                                                                      ู้
                                                                                             ่
การเกษตร เช่น การทาสวนยาง และนั้นเองจึงเป็ นที่มาของโครงงานเรื่ อง “การทาสวนยาง” เพื่อให้รู้วาการ
ทาสวนยางไม่ใช่เรื่ องง่ายเพราะต้องมีความรู ้และการฝึ กฝนเป็ นอย่างมาก ดังนั้นพวกเราจึงมีจุดประสงค์ทา
โครงงานนี้ข้ ึนมา

   1.2.วัตถุประสงค์

        1. เพื่อศึกษาเกี่ยวกับการกรี ดยาง

        2. เพื่อศึกษาปัญหาของการทาสวนยาง

        3. เพื่อศึกษาหาผลกาไร-ขาดทุนของการทาสวนยาง

    1.3.ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ

                                            ั
        1. ได้ศึกษาและสามารถนาไปเผยแพร่ ให้กบคนอื่นๆได้

        2. สามารถนาไปประกอบอาชีพได้

                                      ั
        3. สามารถนาผลผลิตไปจาหน่ายให้กบต่างชาติได้
บทที่ 2

                                         เอกสารที่เกียวข้ อง
                                                     ่
      ต้ นยางพาราเป็ นต้นไม้ยนต้น มีถิ่นกาเนิ ดบริ เวณลุ่มน้ าอเมซอน ประเทศบราซิ ล และเปรู ทวีปอเมริ กา
                             ื
ใต้ โดยชาวพื้นเมืองเรี ยกว่า คาอุทชุค [Caoutchouc] แปลว่าต้นไม้ร้องไห้ จนถึงปี พ.ศ. 2313 (1770) โจเซฟ
                                  ์
พริ สลี่ จึงพบว่า ยางสามารถนามาลบรอยดาของดินสอได้ จึงเรี ยกว่าว่า ยางลบหรื อตัวลบ [Rubber] ซึ่ งเป็ น
                                                                                  ่
ศัพท์ใช้ในอังกฤษและฮอลแลนด์เท่านั้น ในอเมริ กาใต้มีศูนย์กลางของการซื้ อขายยางก็อยูที่เมืองท่าชื่ อ พารา
(Para) จึงมีชื่อเรี ยกว่า ยางพารา

       การปลู กยางในประเทศไทยไม่มีการบันทึ กเป็ นหลักฐานที่ แน่ นอน แต่คาดว่าน่ าจะเริ่ มมี การปลู ก
ในช่วงประมาณปี พ.ศ. 2442-2444 ซึ่ งพระยารัษฏานุประดิษฐ์ มหิ ศรภักดี หรื อ คอซิ มบี้ ณ ระนอง เจ้าเมือง
ตรังในขณะนั้น ได้นาเมล็ดยางพารามาปลูกที่อาเภอกันตัง จังหวัดตรัง เป็ นครั้งแรก ซึ่ งชาวบ้านเรี ยกต้นยาง
ชุ ด แรกนี้ ว่ า "ต้น ยางเทศา" [1] และต่ อ มาได้ มี ก ารขยายพัน ธ์ ย างมาปลู ก ในบริ เวณจัง หวัด ตรั ง และ
นราธิวาส ในปี พ.ศ. 2454 ได้มีการนาพันธุ์ยางมาปลูกในจังหวัดจันทบุรี ซึ่ งเป็ นภาคตะวันออกของประเทศ
ไทย โดยหลวงราชไมตรี หรื อ ปู ม ปุ ณศรี เป็ นผูนาพันธุ์ ยางมาปลู ก และนับ จากนั้นเป็ นต้นมาได้มี ก าร
                                                     ้
ขยายพันธุ์ปลูกยางพารา ไปทัวทั้ง 14 จังหวัด ในภาคใต้ และ 3 จังหวัดในภาคตะวันออก นอกจากนี้ ยงมีการ
                              ่                                                                      ั
ขยายพันธุ์ยางมาปลูกในภาคกลาง ภาคตะวันออกเฉี ยงเหนื อ และภาคเหนื อ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2534 เป็ นต้น
มา ยางพาราก็กลายเป็ นพืชเศรษฐกิจที่สาคัญของประเทศไทย และมีการผลิตเป็ นอันดับหนึ่งของโลก
         ยางพาราประเภทยางดิบ ผลิตภัณฑ์ยางและไม้ยางพารา สามารถทารายได้การส่ งออกเป็ นอันดับสอง
ของประเทศ ยางพาราจึงถือว่าเป็ นพืชเศรษฐกิจที่สาคัญของประเทศไทย และมีการส่ งออกยางธรรมชาติมา
เป็ นอันดับหนึ่งของโลกมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2534 ซึ่งในปี 2543 มีผลผลิตจากยางธรรมชาติประมาณ 2.4 ล้านตัน
มี มูลค่ าทั้งสิ้ นประมาณ 124,000 ล้านบาท เดิ มพื้นที่ ที่มีก ารปลู กยางส่ วนใหญ่จะอยู่ใ นภาคใต้และภาค
ตะวันออก แต่ในปั จจุ บนมี การขยายการปลู กเพิ่มขึ้ นไปยังภาคเหนื อ ภาคตะวันออกเฉี ยงเหนื อ และภาค
                         ั
ตะวันตก โดยเฉพาะยางพาราจากภาคตะวันออกเฉี ยงเหนื อตอนล่างในเขตจังหวัดบุรีรัมย์และจังหวัดศรี สะ
เกษ จัดเป็ นยางพาราคุ ณภาพดีไม่ต่างจากแหล่งผลิตเดิ มในเขตภาคใต้และภาคตะวันออก พื้นที่ท่ีเหมาะแก่
การปลูกยางทัวประเทศมีท้ งหมด 55.1 ล้านไร่ แต่พ้นที่ปลูกจริ ง มีประมาณ 12.4 ล้านไร่ เท่านั้น
                   ่        ั                     ื
การกรีดยาง
       การกรี ดยางเพื่อให้สะดวกต่อการกรี ด และยังคงรักษาความสะอาดของถ้วยรองรับน้ ายางนั้นควร
คานึงถึงระดับความเอียงของรอยกรี ดและความคมของมีดที่ใช้กรี ดซึ่ งต้องคมอยูเ่ สมอ

    เวลากรี ดยาง : ช่ วงเวลาที่เหมาะสมในการกรี ดยางมากที่สุดคื อ ช่ วง 6.00-8.00 น. เนื่ องจากเป็ น
     ช่วงเวลาที่สามารถมองเห็ นต้นยางได้อย่างชัดเจนและได้ปริ มาณน้ ายางใกล้เคียงกับการกรี ดยางใน
     ตอนเช้ามืด แต่การกรี ดยางในช่วงเวลา 1.00-4.00 น. จะให้ปริ มาณยางมากกว่าการกรี ดยางในตอนเช้า
        ่
     อยูร้อยละ 4-5 ซึ่ งเป็ นช่วงที่ได้ปริ มาณน้ ายางมากที่สุดด้วย แต่การกรี ดยางในตอนเช้ามืดมีขอเสี ย คือ
                                                                                                ้
     ง่ายต่อการกรี ดบาดเยือเจริ ญส่ งผลให้เกิดโรคหน้ายางทั้งยังเป็ นการสิ้ นเปลืองและไม่มีความปลอดภัย
                             ่
     จากสัตว์ร้ายหรื อโจรผูร้าย้
   การหยุดพักกรี ด : ในฤดูแล้ง ใบไม้ผลัดใบหรื อฤดูที่มีการผลิ ใบใหม่ จะหยุดพักการกรี ดยางเนื่ องจาก

     มีผลต่อการเจริ ญเติบโตของใบและต้นยาง การกรี ดยางในขณะที่ตนยางเปี ยก จะทาให้เกิดโรคเส้นดา
                                                                         ้
     หรื อเปลือกเน่าได้
   การเพิ่มจานวนกรี ด : สามารถเพิ่มจานวนวันกรี ดได้โดย

           การเพิ่มวันกรี ด : สามารถกรี ดในช่ วงผลัดใบแต่จะได้น้ ายางในปริ มาณน้อย ไม่ควรเร่ งน้ ายาง

            โดยใช้สารเคมีควรกรี ดเท่าที่จาเป็ นและในช่วงฤดูผลิใบต้องไม่มีการกรี ดอีก
           การกรี ดยางชดเชย : วันกรี ดที่เสี ยไปในฤดูฝนสามารถกรี ดทดแทนได้แต่ไม่ควรเกิ นกว่า 2 วัน

            ในรอยกรี ดแปลงเดิม และสามารถกรี ดสายในช่วงเวลา 6.00-8.00 น. หากเกิดฝนตกทั้งคืน
           การกรี ดสาย : เมื่อต้นยางเปี ยกหรื อเกิดฝนตกสามารถกรี ดหลังเวลาปกติโดยการกรี ดสายซึ่ งจะ

            กรี ดในช่วงเช้าหรื อเย็นแต่ในช่วงอากาศร้อนจัดไม่ควรทาการกรี ด
โรคและแมลงศัตรู ยางพารา
       1.โรคใบร่ วงและฝักเน่า : โรคเกิดจากเชื้ อรา โดยมีอาการใบยางร่ วงในขณะที่ใบยังสด
        2.โรคราแป้ ง : โรคเกิดจากเชื้ อรา โดยมีอาการปลายใบอ่อนบิดงอ เปลี่ยนเป็ นสี ดาและร่ วง ใบแก่มีปุย
สี ขาวเทาใต้ใบ เป็ นแผลสี เหลืองก่อนที่จะเป็ นเป็ นรอยไหม้
บทที่3

                                           ขั้นตอนการศึกษา
ขั้นเตรียมงาน

ข้อมูล

          1. เตรี ยมกล้องในการถ่ายทา

          2. เตรี ยมสถานที่ในการถ่ายทา

          3. เตรี ยมบทสัมภาษณ์

ขั้นตอนการทาโครงงาน

วิธีการ

          1. ศึกษาที่มาของอาชีพสวนยางในอินเตอร์เน็ต

          2. สอบถามจากผูเ้ ชี่ยวชาญ

          3. ศึกษาค้นคว้าในหนังสื อ

          4. ทาบทสัมภาษณ์

          5. ไปสังเกตการณ์ในสถานที่จริ ง

          6. ทาการถ่ายทา

          7. ตัดต่อด้วยโปรแกรม Movie Maker

          8. ประเมินผลและปรับปรุ งผลงาน

          9. จัดทารู ปเล่มรายงานโครงงาน

          10. นาเสนอผลงาน และเผยแพร่ ผลงาน
บทที่ 4

                 ผลการดาเนินงาน
ผลงานสื่ อคลิปวีดิโอ เรื่อง วิถีชีวตเกษตรกรชาวสวนยางพารา
                                   ิ
บทที่ 5

                                   สรุปผลอภิปรายผลการดาเนินงาน
สรุ ปผล

อาชีพสวนยางดิฉนได้ศึกษามาแล้วว่าเป็ นอาชีพที่สาคัญของจังหวัดตราด
              ั

1. เป็ นอาชีพที่ให้รายได้แก่ชาวตราด

2. ให้ผคนได้มีอาชีพทามากขึ้น
       ู้

3. เป็ นอาชีพเสริ มให้แก่คนที่อยากมีรายได้เพิ่ม

อภิปรายผล

          จากข้อมูลที่ดิฉนได้ศึกษามานั้นว่าอาชีพสวนยางมีความสาคัญอย่างไรเป็ นสิ่ งที่ดี เพราะในปั จจุบน
                         ั                                                                            ั
ราคาสิ นค้าเพิ่มมากขึ้น ผูคนจึงต้องการรายได้เพิ่มขึ้นเช่นเดียวกัน โดยที่หาอาชีพเสริ มและสุ จริ ต
                          ้

          1. อาชีพสวนยางเป็ นอาชีพหนึ่งที่สาคัญ

          2. สร้างรายได้แก่ครอบครัว

ข้ อเสนอแนะ

          1. ควรศึกษาความรู ้เกี่ยวกับสวนยางให้ดี

          2. ควรปฏิบติให้ถูกวิธี
                    ั
บรรณานุกรม


เสาวณี ย ์ ก่อวุฒิกุลรังษี, การผลิตยางธรรมชาติ, 2547, คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
มหาวิทยาลัยสงขลานคริ นทร์ วิทยาเขตปัตตานี

ประวัติยางพารา โดยองค์การสวนยาง

 พูลผล ธรรมธวัช, ยางพารา, เซาเทิร์นรับเบอร์ , สงขลา, หน้า 312-314
http://th.wikipedia.org/wiki/ยางพารา

http://www.reothai.co.th/Para1.htm

More Related Content

What's hot

ข้อสอบการลงโทษนักเรียน
ข้อสอบการลงโทษนักเรียน  ข้อสอบการลงโทษนักเรียน
ข้อสอบการลงโทษนักเรียน คน ขี้เล่า
 
ข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนาหลักสูตร
ข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนาหลักสูตรข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนาหลักสูตร
ข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนาหลักสูตรFh Fatihah
 
โครงงานวิชา Is2
โครงงานวิชา Is2โครงงานวิชา Is2
โครงงานวิชา Is2LeoBlack1017
 
โครงงานสุขศึกษา
โครงงานสุขศึกษาโครงงานสุขศึกษา
โครงงานสุขศึกษาTatsawan Khejonrak
 
รายงานการวิจัยในชั้นเรียนเรื่องการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เ...
รายงานการวิจัยในชั้นเรียนเรื่องการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เ...รายงานการวิจัยในชั้นเรียนเรื่องการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เ...
รายงานการวิจัยในชั้นเรียนเรื่องการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เ...Nattapon
 
หัวข้อที่ ๕ ประวัติศาสตร์ไทยก่อนสมัยสุโขทัย
หัวข้อที่ ๕  ประวัติศาสตร์ไทยก่อนสมัยสุโขทัยหัวข้อที่ ๕  ประวัติศาสตร์ไทยก่อนสมัยสุโขทัย
หัวข้อที่ ๕ ประวัติศาสตร์ไทยก่อนสมัยสุโขทัยchakaew4524
 
ใบงานที่ 5 การคำนวณในตารางทำงาน
ใบงานที่ 5 การคำนวณในตารางทำงานใบงานที่ 5 การคำนวณในตารางทำงาน
ใบงานที่ 5 การคำนวณในตารางทำงานMeaw Sukee
 
ทักษะการพัฒนาอาชีพ ม.ต้น อช21002
ทักษะการพัฒนาอาชีพ ม.ต้น อช21002ทักษะการพัฒนาอาชีพ ม.ต้น อช21002
ทักษะการพัฒนาอาชีพ ม.ต้น อช21002Thidarat Termphon
 
เฉลยแบบฝึกหัดเรื่อง การเขียนบรรณานุกรมออนไลน์
เฉลยแบบฝึกหัดเรื่อง การเขียนบรรณานุกรมออนไลน์เฉลยแบบฝึกหัดเรื่อง การเขียนบรรณานุกรมออนไลน์
เฉลยแบบฝึกหัดเรื่อง การเขียนบรรณานุกรมออนไลน์Supaporn Khiewwan
 
หน่วยที่ 1 ความปลอดภัยในงานไฟฟ้า
หน่วยที่ 1 ความปลอดภัยในงานไฟฟ้าหน่วยที่ 1 ความปลอดภัยในงานไฟฟ้า
หน่วยที่ 1 ความปลอดภัยในงานไฟฟ้าAbhichat Anukulwech
 
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่Wijitta DevilTeacher
 
สุขศึกษา พลศึกษา ม.ต้น ทช21002
สุขศึกษา พลศึกษา ม.ต้น ทช21002สุขศึกษา พลศึกษา ม.ต้น ทช21002
สุขศึกษา พลศึกษา ม.ต้น ทช21002Thidarat Termphon
 
บทที่ 5 ข้อสรุปและข้อเสนอแนะ เนื้อหา
บทที่ 5 ข้อสรุปและข้อเสนอแนะ เนื้อหาบทที่ 5 ข้อสรุปและข้อเสนอแนะ เนื้อหา
บทที่ 5 ข้อสรุปและข้อเสนอแนะ เนื้อหาVisiene Lssbh
 
สังคมศึกษา ม.ต้น สค21001
สังคมศึกษา ม.ต้น สค21001สังคมศึกษา ม.ต้น สค21001
สังคมศึกษา ม.ต้น สค21001Thidarat Termphon
 

What's hot (20)

ข้อสอบการลงโทษนักเรียน
ข้อสอบการลงโทษนักเรียน  ข้อสอบการลงโทษนักเรียน
ข้อสอบการลงโทษนักเรียน
 
ข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนาหลักสูตร
ข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนาหลักสูตรข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนาหลักสูตร
ข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนาหลักสูตร
 
โครงงานวิชา Is2
โครงงานวิชา Is2โครงงานวิชา Is2
โครงงานวิชา Is2
 
โครงงานสุขศึกษา
โครงงานสุขศึกษาโครงงานสุขศึกษา
โครงงานสุขศึกษา
 
ภาษาไทยเพื่อการสื่อสารของม.ราชภัฎสวนดุสิต
ภาษาไทยเพื่อการสื่อสารของม.ราชภัฎสวนดุสิตภาษาไทยเพื่อการสื่อสารของม.ราชภัฎสวนดุสิต
ภาษาไทยเพื่อการสื่อสารของม.ราชภัฎสวนดุสิต
 
รายงาน
รายงานรายงาน
รายงาน
 
รายงานการวิจัยในชั้นเรียนเรื่องการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เ...
รายงานการวิจัยในชั้นเรียนเรื่องการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เ...รายงานการวิจัยในชั้นเรียนเรื่องการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เ...
รายงานการวิจัยในชั้นเรียนเรื่องการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เ...
 
หัวข้อที่ ๕ ประวัติศาสตร์ไทยก่อนสมัยสุโขทัย
หัวข้อที่ ๕  ประวัติศาสตร์ไทยก่อนสมัยสุโขทัยหัวข้อที่ ๕  ประวัติศาสตร์ไทยก่อนสมัยสุโขทัย
หัวข้อที่ ๕ ประวัติศาสตร์ไทยก่อนสมัยสุโขทัย
 
บทที่ 3
บทที่  3บทที่  3
บทที่ 3
 
ใบงานที่ 5 การคำนวณในตารางทำงาน
ใบงานที่ 5 การคำนวณในตารางทำงานใบงานที่ 5 การคำนวณในตารางทำงาน
ใบงานที่ 5 การคำนวณในตารางทำงาน
 
ทักษะการพัฒนาอาชีพ ม.ต้น อช21002
ทักษะการพัฒนาอาชีพ ม.ต้น อช21002ทักษะการพัฒนาอาชีพ ม.ต้น อช21002
ทักษะการพัฒนาอาชีพ ม.ต้น อช21002
 
เฉลยแบบฝึกหัดเรื่อง การเขียนบรรณานุกรมออนไลน์
เฉลยแบบฝึกหัดเรื่อง การเขียนบรรณานุกรมออนไลน์เฉลยแบบฝึกหัดเรื่อง การเขียนบรรณานุกรมออนไลน์
เฉลยแบบฝึกหัดเรื่อง การเขียนบรรณานุกรมออนไลน์
 
หน่วยที่ 1 ความปลอดภัยในงานไฟฟ้า
หน่วยที่ 1 ความปลอดภัยในงานไฟฟ้าหน่วยที่ 1 ความปลอดภัยในงานไฟฟ้า
หน่วยที่ 1 ความปลอดภัยในงานไฟฟ้า
 
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
 
สุขศึกษา พลศึกษา ม.ต้น ทช21002
สุขศึกษา พลศึกษา ม.ต้น ทช21002สุขศึกษา พลศึกษา ม.ต้น ทช21002
สุขศึกษา พลศึกษา ม.ต้น ทช21002
 
บทที่ 5 ข้อสรุปและข้อเสนอแนะ เนื้อหา
บทที่ 5 ข้อสรุปและข้อเสนอแนะ เนื้อหาบทที่ 5 ข้อสรุปและข้อเสนอแนะ เนื้อหา
บทที่ 5 ข้อสรุปและข้อเสนอแนะ เนื้อหา
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
สังคมศึกษา ม.ต้น สค21001
สังคมศึกษา ม.ต้น สค21001สังคมศึกษา ม.ต้น สค21001
สังคมศึกษา ม.ต้น สค21001
 
รายงานเชิงวิชาการสีย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
รายงานเชิงวิชาการสีย้อมผ้าจากเปลือกมังคุดรายงานเชิงวิชาการสีย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
รายงานเชิงวิชาการสีย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
 
Test 6
Test 6Test 6
Test 6
 

Similar to โครงงานคอมยางพารา

ดอกมะลิ
ดอกมะลิดอกมะลิ
ดอกมะลิpaunphet
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Sk'b Methasith
 
ใบงานโครงงาน 9 10 11 14 15 16
ใบงานโครงงาน 9 10 11 14 15 16ใบงานโครงงาน 9 10 11 14 15 16
ใบงานโครงงาน 9 10 11 14 15 16Lekleklek Jongrak
 
ใบงานโครงงาน 9 10 11 14 15 16
ใบงานโครงงาน 9 10 11 14 15 16ใบงานโครงงาน 9 10 11 14 15 16
ใบงานโครงงาน 9 10 11 14 15 16Anny Na Sonsawan
 
บทที่ 1น้ำบาดาล2003
บทที่ 1น้ำบาดาล2003บทที่ 1น้ำบาดาล2003
บทที่ 1น้ำบาดาล2003bussayamas Baengtid
 
ตัวอย่างแผนการสอนด้วย OSS & Freeware
ตัวอย่างแผนการสอนด้วย OSS & Freewareตัวอย่างแผนการสอนด้วย OSS & Freeware
ตัวอย่างแผนการสอนด้วย OSS & FreewareBoonlert Aroonpiboon
 
โครงงานคอม1
โครงงานคอม1โครงงานคอม1
โครงงานคอม1Lift Ohm'
 
งานคอมป๊อบ
งานคอมป๊อบงานคอมป๊อบ
งานคอมป๊อบAphinya Tantikhom
 
โครงงานกอท
โครงงานกอทโครงงานกอท
โครงงานกอทManaf Joraka
 
รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดีรูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดีอาภัสรา ยิ่งคำแหง
 
โครงร่างคอมพิวเตอร์
โครงร่างคอมพิวเตอร์โครงร่างคอมพิวเตอร์
โครงร่างคอมพิวเตอร์ต. เตอร์
 
งานคอมม่อน
งานคอมม่อนงานคอมม่อน
งานคอมม่อน'Ibanez Fender
 
ข้อสอบโอเน็ตงานช่าง
ข้อสอบโอเน็ตงานช่างข้อสอบโอเน็ตงานช่าง
ข้อสอบโอเน็ตงานช่างAutcharapun Kanya
 
Projectm6 2-2554 tom's
Projectm6 2-2554 tom'sProjectm6 2-2554 tom's
Projectm6 2-2554 tom'sTheyok Tanya
 

Similar to โครงงานคอมยางพารา (20)

ดอกมะลิ
ดอกมะลิดอกมะลิ
ดอกมะลิ
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
ใบงานโครงงาน 9 10 11 14 15 16
ใบงานโครงงาน 9 10 11 14 15 16ใบงานโครงงาน 9 10 11 14 15 16
ใบงานโครงงาน 9 10 11 14 15 16
 
ใบงานโครงงาน 9 10 11 14 15 16
ใบงานโครงงาน 9 10 11 14 15 16ใบงานโครงงาน 9 10 11 14 15 16
ใบงานโครงงาน 9 10 11 14 15 16
 
บทที่ 1น้ำบาดาล2003
บทที่ 1น้ำบาดาล2003บทที่ 1น้ำบาดาล2003
บทที่ 1น้ำบาดาล2003
 
Project babnana
Project babnanaProject babnana
Project babnana
 
Project babnana
Project babnanaProject babnana
Project babnana
 
Creative lanna booklet(3)
Creative lanna booklet(3)Creative lanna booklet(3)
Creative lanna booklet(3)
 
ตัวอย่างแผนการสอนด้วย OSS & Freeware
ตัวอย่างแผนการสอนด้วย OSS & Freewareตัวอย่างแผนการสอนด้วย OSS & Freeware
ตัวอย่างแผนการสอนด้วย OSS & Freeware
 
โครงงานคอม1
โครงงานคอม1โครงงานคอม1
โครงงานคอม1
 
งานคอมป๊อบ
งานคอมป๊อบงานคอมป๊อบ
งานคอมป๊อบ
 
โครงงานกอท
โครงงานกอทโครงงานกอท
โครงงานกอท
 
รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดีรูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
 
โครงร่างคอมพิวเตอร์
โครงร่างคอมพิวเตอร์โครงร่างคอมพิวเตอร์
โครงร่างคอมพิวเตอร์
 
Projectm6 2-2554 (1)
Projectm6 2-2554 (1)Projectm6 2-2554 (1)
Projectm6 2-2554 (1)
 
งานคอมม่อน
งานคอมม่อนงานคอมม่อน
งานคอมม่อน
 
การงาน
การงานการงาน
การงาน
 
ข้อสอบโอเน็ตงานช่าง
ข้อสอบโอเน็ตงานช่างข้อสอบโอเน็ตงานช่าง
ข้อสอบโอเน็ตงานช่าง
 
Projectm6 2-2554 tom's
Projectm6 2-2554 tom'sProjectm6 2-2554 tom's
Projectm6 2-2554 tom's
 
Projectm6 2-2556 (2)
Projectm6 2-2556 (2)Projectm6 2-2556 (2)
Projectm6 2-2556 (2)
 

More from KruPor Sirirat Namthai

การใช้งานเว็บไซต์ คปภ.
การใช้งานเว็บไซต์ คปภ.การใช้งานเว็บไซต์ คปภ.
การใช้งานเว็บไซต์ คปภ.KruPor Sirirat Namthai
 
ปพ.5 2560-1-ง33201คอมพิวเตอร์
ปพ.5 2560-1-ง33201คอมพิวเตอร์ปพ.5 2560-1-ง33201คอมพิวเตอร์
ปพ.5 2560-1-ง33201คอมพิวเตอร์KruPor Sirirat Namthai
 
ปพ.5 2560-1-ง33101การงานอาชีพและเทคโนโลยี
ปพ.5 2560-1-ง33101การงานอาชีพและเทคโนโลยีปพ.5 2560-1-ง33101การงานอาชีพและเทคโนโลยี
ปพ.5 2560-1-ง33101การงานอาชีพและเทคโนโลยีKruPor Sirirat Namthai
 
ปพ.5 2560-1-ง23201เทคโนโลยีสารสนเทศ
ปพ.5 2560-1-ง23201เทคโนโลยีสารสนเทศปพ.5 2560-1-ง23201เทคโนโลยีสารสนเทศ
ปพ.5 2560-1-ง23201เทคโนโลยีสารสนเทศKruPor Sirirat Namthai
 
โครงงานคอมพิวเตอร์น่ารู้
โครงงานคอมพิวเตอร์น่ารู้โครงงานคอมพิวเตอร์น่ารู้
โครงงานคอมพิวเตอร์น่ารู้KruPor Sirirat Namthai
 
พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ
พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ
พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ KruPor Sirirat Namthai
 
ปพ.5 2559-2-ง33202คอมพิวเตอร์
ปพ.5 2559-2-ง33202คอมพิวเตอร์ปพ.5 2559-2-ง33202คอมพิวเตอร์
ปพ.5 2559-2-ง33202คอมพิวเตอร์KruPor Sirirat Namthai
 
ปพ.5 2559-2-ง31202คอมพิวเตอร์
ปพ.5 2559-2-ง31202คอมพิวเตอร์ปพ.5 2559-2-ง31202คอมพิวเตอร์
ปพ.5 2559-2-ง31202คอมพิวเตอร์KruPor Sirirat Namthai
 
ปพ.5 2559-2-ง23202เทคโนโลยีสารสนเทศ
ปพ.5 2559-2-ง23202เทคโนโลยีสารสนเทศปพ.5 2559-2-ง23202เทคโนโลยีสารสนเทศ
ปพ.5 2559-2-ง23202เทคโนโลยีสารสนเทศKruPor Sirirat Namthai
 
ปพ.5 2559-2-ง23102การงานอาชีพและเทคโนโลยี
ปพ.5 2559-2-ง23102การงานอาชีพและเทคโนโลยีปพ.5 2559-2-ง23102การงานอาชีพและเทคโนโลยี
ปพ.5 2559-2-ง23102การงานอาชีพและเทคโนโลยีKruPor Sirirat Namthai
 
ปพ.5 2559-1-ง33201คอมพิวเตอร์
ปพ.5 2559-1-ง33201คอมพิวเตอร์ปพ.5 2559-1-ง33201คอมพิวเตอร์
ปพ.5 2559-1-ง33201คอมพิวเตอร์KruPor Sirirat Namthai
 
ปพ.5 2559-1-ง31201คอมพิวเตอร์
ปพ.5 2559-1-ง31201คอมพิวเตอร์ปพ.5 2559-1-ง31201คอมพิวเตอร์
ปพ.5 2559-1-ง31201คอมพิวเตอร์KruPor Sirirat Namthai
 
ปพ.5 2559-1-ง23201เทคโนโลยีสารสนเทศ
ปพ.5 2559-1-ง23201เทคโนโลยีสารสนเทศปพ.5 2559-1-ง23201เทคโนโลยีสารสนเทศ
ปพ.5 2559-1-ง23201เทคโนโลยีสารสนเทศKruPor Sirirat Namthai
 
รายงานผลการวิจัยและพัฒนานวัตกรรม
รายงานผลการวิจัยและพัฒนานวัตกรรมรายงานผลการวิจัยและพัฒนานวัตกรรม
รายงานผลการวิจัยและพัฒนานวัตกรรมKruPor Sirirat Namthai
 
โครงงานคลิปสอนทำสาคูนุ่มนิ่ม
โครงงานคลิปสอนทำสาคูนุ่มนิ่มโครงงานคลิปสอนทำสาคูนุ่มนิ่ม
โครงงานคลิปสอนทำสาคูนุ่มนิ่มKruPor Sirirat Namthai
 
ข้อเสนอโครงงานคลิปสอนทำสาคูไส้หมู
ข้อเสนอโครงงานคลิปสอนทำสาคูไส้หมู ข้อเสนอโครงงานคลิปสอนทำสาคูไส้หมู
ข้อเสนอโครงงานคลิปสอนทำสาคูไส้หมู KruPor Sirirat Namthai
 

More from KruPor Sirirat Namthai (20)

การใช้งานเว็บไซต์ คปภ.
การใช้งานเว็บไซต์ คปภ.การใช้งานเว็บไซต์ คปภ.
การใช้งานเว็บไซต์ คปภ.
 
ปพ.5 2560-1-ง33201คอมพิวเตอร์
ปพ.5 2560-1-ง33201คอมพิวเตอร์ปพ.5 2560-1-ง33201คอมพิวเตอร์
ปพ.5 2560-1-ง33201คอมพิวเตอร์
 
ปพ.5 2560-1-ง33101การงานอาชีพและเทคโนโลยี
ปพ.5 2560-1-ง33101การงานอาชีพและเทคโนโลยีปพ.5 2560-1-ง33101การงานอาชีพและเทคโนโลยี
ปพ.5 2560-1-ง33101การงานอาชีพและเทคโนโลยี
 
ปพ.5 2560-1-ง23201เทคโนโลยีสารสนเทศ
ปพ.5 2560-1-ง23201เทคโนโลยีสารสนเทศปพ.5 2560-1-ง23201เทคโนโลยีสารสนเทศ
ปพ.5 2560-1-ง23201เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
โครงงานคอมพิวเตอร์น่ารู้
โครงงานคอมพิวเตอร์น่ารู้โครงงานคอมพิวเตอร์น่ารู้
โครงงานคอมพิวเตอร์น่ารู้
 
พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ
พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ
พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ
 
หนังสั้น1212121
หนังสั้น1212121หนังสั้น1212121
หนังสั้น1212121
 
ปพ.5 2559-2-ง33202คอมพิวเตอร์
ปพ.5 2559-2-ง33202คอมพิวเตอร์ปพ.5 2559-2-ง33202คอมพิวเตอร์
ปพ.5 2559-2-ง33202คอมพิวเตอร์
 
ปพ.5 2559-2-ง31202คอมพิวเตอร์
ปพ.5 2559-2-ง31202คอมพิวเตอร์ปพ.5 2559-2-ง31202คอมพิวเตอร์
ปพ.5 2559-2-ง31202คอมพิวเตอร์
 
ปพ.5 2559-2-ง23202เทคโนโลยีสารสนเทศ
ปพ.5 2559-2-ง23202เทคโนโลยีสารสนเทศปพ.5 2559-2-ง23202เทคโนโลยีสารสนเทศ
ปพ.5 2559-2-ง23202เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ปพ.5 2559-2-ง23102การงานอาชีพและเทคโนโลยี
ปพ.5 2559-2-ง23102การงานอาชีพและเทคโนโลยีปพ.5 2559-2-ง23102การงานอาชีพและเทคโนโลยี
ปพ.5 2559-2-ง23102การงานอาชีพและเทคโนโลยี
 
ใบงานที่ 1
ใบงานที่ 1ใบงานที่ 1
ใบงานที่ 1
 
ปพ.5 2559-1-ง33201คอมพิวเตอร์
ปพ.5 2559-1-ง33201คอมพิวเตอร์ปพ.5 2559-1-ง33201คอมพิวเตอร์
ปพ.5 2559-1-ง33201คอมพิวเตอร์
 
ปพ.5 2559-1-ง31201คอมพิวเตอร์
ปพ.5 2559-1-ง31201คอมพิวเตอร์ปพ.5 2559-1-ง31201คอมพิวเตอร์
ปพ.5 2559-1-ง31201คอมพิวเตอร์
 
ปพ.5 2559-1-ง23201เทคโนโลยีสารสนเทศ
ปพ.5 2559-1-ง23201เทคโนโลยีสารสนเทศปพ.5 2559-1-ง23201เทคโนโลยีสารสนเทศ
ปพ.5 2559-1-ง23201เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
เอ4bestp59
เอ4bestp59เอ4bestp59
เอ4bestp59
 
รายงานผลการวิจัยและพัฒนานวัตกรรม
รายงานผลการวิจัยและพัฒนานวัตกรรมรายงานผลการวิจัยและพัฒนานวัตกรรม
รายงานผลการวิจัยและพัฒนานวัตกรรม
 
โครงงานคลิปสอนทำสาคูนุ่มนิ่ม
โครงงานคลิปสอนทำสาคูนุ่มนิ่มโครงงานคลิปสอนทำสาคูนุ่มนิ่ม
โครงงานคลิปสอนทำสาคูนุ่มนิ่ม
 
ข้อเสนอโครงงานคลิปสอนทำสาคูไส้หมู
ข้อเสนอโครงงานคลิปสอนทำสาคูไส้หมู ข้อเสนอโครงงานคลิปสอนทำสาคูไส้หมู
ข้อเสนอโครงงานคลิปสอนทำสาคูไส้หมู
 
ทำ Mind mapping
ทำ Mind mappingทำ Mind mapping
ทำ Mind mapping
 

โครงงานคอมยางพารา

  • 1. โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อคลิปวิดโอ เรื่อง วิถชีวตเกษตรกรชาวสวนยางพารา ี ี ิ จัดทาโดย 1. นางสาวจอย ตี เลขที่ 3 2. นางสาวจินดามณี เมืองแก่น เลขที่ 4 3. นางสาวสุธิดา คงเจริ ญ เลขที่ 8 4. นางสาวกัญญาพัชร เพชรสุข เลขที่ 26 ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5/1 เสนอ อาจารย์ ศิริรัตน์ ปานสุ วรรณ โรงเรียนตราดสรรเสริญวิทยาคม อาเภอเมืองตราด จังหวัดตราด สังกัดสานักงานเขตพืนที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 17 ้
  • 2. คานา โครงงานพัฒนาสื่ อคลิปวีดิโอ เรื่ อง การทาสวนยาง จัดทาขึ้นเพื่อบูรณาการเรี ยนรู ้ในทุกกลุ่มสาระการ เรี ยนรู้ โดยมีเนื้อหาเกี่ยวกับการทาอาชีพสวนยาง ซึ่ งเป็ นอาชีพหลักของชาวตราด โดยศึกษาเกี่ยวกับประวัติ การทาสวนยาง และนาความรู ้ ดงกล่ า วมาจัดทาเป็ นวิดิโอ (vedio) จากการสื บค้นข้อมูลทางอินเตอร์ เน็ ต ั สอบถามสัมภาษณ์ และนาเสนออาจารย์ศิริรัตน์ ปานสุ วรรณ ทั้งนี้ เพื่อนาไปใช้ในการดาเนิ นชี วิตประจาวัน ได้อีกด้วย ผูจดทาหวังเป็ นอย่างยิงว่าโครงงานเล่มนี้ จะเป็ นประโยชน์แก่ผที่สนใจและหากมีขอผิดพลาดประการ ้ั ่ ู้ ้ ใดกลุ่มผูจดทาขออภัย ณ ที่น้ ีดวย ้ั ้
  • 3. สารบัญ เรื่อง หน้ า บทที่ 1 บทนา 1 บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง 2-3 บทที่ 3 วิธีการดาเนินงาน 4 บทที่ 4 ผลการดาเนินงาน 5 บทที่ 5 สรุ ปผลอภิปรายผลการดาเนินงาน 6 บรรณานุกรม
  • 4. บทที่ 1 บทนา 1.1.ที่มาและความสาคัญของโครงงาน ในปัจจุบน การประกอบอาชีพที่สุจริ ตนั้น มีมากมายหลากหลายอาชีพ เช่น ค้าขาย ทาสวน ทาไร่ ทานา ั การทาสวนยาง และอาชี พอื่นๆอีกมาก เป็ นต้น ส่ วนจังหวัดตราดนั้นก็เป็ นจังหวัดหนึ่ งที่ผคนส่ วนใหญ่ทา ู้ ่ การเกษตร เช่น การทาสวนยาง และนั้นเองจึงเป็ นที่มาของโครงงานเรื่ อง “การทาสวนยาง” เพื่อให้รู้วาการ ทาสวนยางไม่ใช่เรื่ องง่ายเพราะต้องมีความรู ้และการฝึ กฝนเป็ นอย่างมาก ดังนั้นพวกเราจึงมีจุดประสงค์ทา โครงงานนี้ข้ ึนมา 1.2.วัตถุประสงค์ 1. เพื่อศึกษาเกี่ยวกับการกรี ดยาง 2. เพื่อศึกษาปัญหาของการทาสวนยาง 3. เพื่อศึกษาหาผลกาไร-ขาดทุนของการทาสวนยาง 1.3.ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ ั 1. ได้ศึกษาและสามารถนาไปเผยแพร่ ให้กบคนอื่นๆได้ 2. สามารถนาไปประกอบอาชีพได้ ั 3. สามารถนาผลผลิตไปจาหน่ายให้กบต่างชาติได้
  • 5. บทที่ 2 เอกสารที่เกียวข้ อง ่ ต้ นยางพาราเป็ นต้นไม้ยนต้น มีถิ่นกาเนิ ดบริ เวณลุ่มน้ าอเมซอน ประเทศบราซิ ล และเปรู ทวีปอเมริ กา ื ใต้ โดยชาวพื้นเมืองเรี ยกว่า คาอุทชุค [Caoutchouc] แปลว่าต้นไม้ร้องไห้ จนถึงปี พ.ศ. 2313 (1770) โจเซฟ ์ พริ สลี่ จึงพบว่า ยางสามารถนามาลบรอยดาของดินสอได้ จึงเรี ยกว่าว่า ยางลบหรื อตัวลบ [Rubber] ซึ่ งเป็ น ่ ศัพท์ใช้ในอังกฤษและฮอลแลนด์เท่านั้น ในอเมริ กาใต้มีศูนย์กลางของการซื้ อขายยางก็อยูที่เมืองท่าชื่ อ พารา (Para) จึงมีชื่อเรี ยกว่า ยางพารา การปลู กยางในประเทศไทยไม่มีการบันทึ กเป็ นหลักฐานที่ แน่ นอน แต่คาดว่าน่ าจะเริ่ มมี การปลู ก ในช่วงประมาณปี พ.ศ. 2442-2444 ซึ่ งพระยารัษฏานุประดิษฐ์ มหิ ศรภักดี หรื อ คอซิ มบี้ ณ ระนอง เจ้าเมือง ตรังในขณะนั้น ได้นาเมล็ดยางพารามาปลูกที่อาเภอกันตัง จังหวัดตรัง เป็ นครั้งแรก ซึ่ งชาวบ้านเรี ยกต้นยาง ชุ ด แรกนี้ ว่ า "ต้น ยางเทศา" [1] และต่ อ มาได้ มี ก ารขยายพัน ธ์ ย างมาปลู ก ในบริ เวณจัง หวัด ตรั ง และ นราธิวาส ในปี พ.ศ. 2454 ได้มีการนาพันธุ์ยางมาปลูกในจังหวัดจันทบุรี ซึ่ งเป็ นภาคตะวันออกของประเทศ ไทย โดยหลวงราชไมตรี หรื อ ปู ม ปุ ณศรี เป็ นผูนาพันธุ์ ยางมาปลู ก และนับ จากนั้นเป็ นต้นมาได้มี ก าร ้ ขยายพันธุ์ปลูกยางพารา ไปทัวทั้ง 14 จังหวัด ในภาคใต้ และ 3 จังหวัดในภาคตะวันออก นอกจากนี้ ยงมีการ ่ ั ขยายพันธุ์ยางมาปลูกในภาคกลาง ภาคตะวันออกเฉี ยงเหนื อ และภาคเหนื อ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2534 เป็ นต้น มา ยางพาราก็กลายเป็ นพืชเศรษฐกิจที่สาคัญของประเทศไทย และมีการผลิตเป็ นอันดับหนึ่งของโลก ยางพาราประเภทยางดิบ ผลิตภัณฑ์ยางและไม้ยางพารา สามารถทารายได้การส่ งออกเป็ นอันดับสอง ของประเทศ ยางพาราจึงถือว่าเป็ นพืชเศรษฐกิจที่สาคัญของประเทศไทย และมีการส่ งออกยางธรรมชาติมา เป็ นอันดับหนึ่งของโลกมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2534 ซึ่งในปี 2543 มีผลผลิตจากยางธรรมชาติประมาณ 2.4 ล้านตัน มี มูลค่ าทั้งสิ้ นประมาณ 124,000 ล้านบาท เดิ มพื้นที่ ที่มีก ารปลู กยางส่ วนใหญ่จะอยู่ใ นภาคใต้และภาค ตะวันออก แต่ในปั จจุ บนมี การขยายการปลู กเพิ่มขึ้ นไปยังภาคเหนื อ ภาคตะวันออกเฉี ยงเหนื อ และภาค ั ตะวันตก โดยเฉพาะยางพาราจากภาคตะวันออกเฉี ยงเหนื อตอนล่างในเขตจังหวัดบุรีรัมย์และจังหวัดศรี สะ เกษ จัดเป็ นยางพาราคุ ณภาพดีไม่ต่างจากแหล่งผลิตเดิ มในเขตภาคใต้และภาคตะวันออก พื้นที่ท่ีเหมาะแก่ การปลูกยางทัวประเทศมีท้ งหมด 55.1 ล้านไร่ แต่พ้นที่ปลูกจริ ง มีประมาณ 12.4 ล้านไร่ เท่านั้น ่ ั ื
  • 6. การกรีดยาง การกรี ดยางเพื่อให้สะดวกต่อการกรี ด และยังคงรักษาความสะอาดของถ้วยรองรับน้ ายางนั้นควร คานึงถึงระดับความเอียงของรอยกรี ดและความคมของมีดที่ใช้กรี ดซึ่ งต้องคมอยูเ่ สมอ  เวลากรี ดยาง : ช่ วงเวลาที่เหมาะสมในการกรี ดยางมากที่สุดคื อ ช่ วง 6.00-8.00 น. เนื่ องจากเป็ น ช่วงเวลาที่สามารถมองเห็ นต้นยางได้อย่างชัดเจนและได้ปริ มาณน้ ายางใกล้เคียงกับการกรี ดยางใน ตอนเช้ามืด แต่การกรี ดยางในช่วงเวลา 1.00-4.00 น. จะให้ปริ มาณยางมากกว่าการกรี ดยางในตอนเช้า ่ อยูร้อยละ 4-5 ซึ่ งเป็ นช่วงที่ได้ปริ มาณน้ ายางมากที่สุดด้วย แต่การกรี ดยางในตอนเช้ามืดมีขอเสี ย คือ ้ ง่ายต่อการกรี ดบาดเยือเจริ ญส่ งผลให้เกิดโรคหน้ายางทั้งยังเป็ นการสิ้ นเปลืองและไม่มีความปลอดภัย ่ จากสัตว์ร้ายหรื อโจรผูร้าย้  การหยุดพักกรี ด : ในฤดูแล้ง ใบไม้ผลัดใบหรื อฤดูที่มีการผลิ ใบใหม่ จะหยุดพักการกรี ดยางเนื่ องจาก มีผลต่อการเจริ ญเติบโตของใบและต้นยาง การกรี ดยางในขณะที่ตนยางเปี ยก จะทาให้เกิดโรคเส้นดา ้ หรื อเปลือกเน่าได้  การเพิ่มจานวนกรี ด : สามารถเพิ่มจานวนวันกรี ดได้โดย  การเพิ่มวันกรี ด : สามารถกรี ดในช่ วงผลัดใบแต่จะได้น้ ายางในปริ มาณน้อย ไม่ควรเร่ งน้ ายาง โดยใช้สารเคมีควรกรี ดเท่าที่จาเป็ นและในช่วงฤดูผลิใบต้องไม่มีการกรี ดอีก  การกรี ดยางชดเชย : วันกรี ดที่เสี ยไปในฤดูฝนสามารถกรี ดทดแทนได้แต่ไม่ควรเกิ นกว่า 2 วัน ในรอยกรี ดแปลงเดิม และสามารถกรี ดสายในช่วงเวลา 6.00-8.00 น. หากเกิดฝนตกทั้งคืน  การกรี ดสาย : เมื่อต้นยางเปี ยกหรื อเกิดฝนตกสามารถกรี ดหลังเวลาปกติโดยการกรี ดสายซึ่ งจะ กรี ดในช่วงเช้าหรื อเย็นแต่ในช่วงอากาศร้อนจัดไม่ควรทาการกรี ด โรคและแมลงศัตรู ยางพารา 1.โรคใบร่ วงและฝักเน่า : โรคเกิดจากเชื้ อรา โดยมีอาการใบยางร่ วงในขณะที่ใบยังสด 2.โรคราแป้ ง : โรคเกิดจากเชื้ อรา โดยมีอาการปลายใบอ่อนบิดงอ เปลี่ยนเป็ นสี ดาและร่ วง ใบแก่มีปุย สี ขาวเทาใต้ใบ เป็ นแผลสี เหลืองก่อนที่จะเป็ นเป็ นรอยไหม้
  • 7. บทที่3 ขั้นตอนการศึกษา ขั้นเตรียมงาน ข้อมูล 1. เตรี ยมกล้องในการถ่ายทา 2. เตรี ยมสถานที่ในการถ่ายทา 3. เตรี ยมบทสัมภาษณ์ ขั้นตอนการทาโครงงาน วิธีการ 1. ศึกษาที่มาของอาชีพสวนยางในอินเตอร์เน็ต 2. สอบถามจากผูเ้ ชี่ยวชาญ 3. ศึกษาค้นคว้าในหนังสื อ 4. ทาบทสัมภาษณ์ 5. ไปสังเกตการณ์ในสถานที่จริ ง 6. ทาการถ่ายทา 7. ตัดต่อด้วยโปรแกรม Movie Maker 8. ประเมินผลและปรับปรุ งผลงาน 9. จัดทารู ปเล่มรายงานโครงงาน 10. นาเสนอผลงาน และเผยแพร่ ผลงาน
  • 8. บทที่ 4 ผลการดาเนินงาน ผลงานสื่ อคลิปวีดิโอ เรื่อง วิถีชีวตเกษตรกรชาวสวนยางพารา ิ
  • 9. บทที่ 5 สรุปผลอภิปรายผลการดาเนินงาน สรุ ปผล อาชีพสวนยางดิฉนได้ศึกษามาแล้วว่าเป็ นอาชีพที่สาคัญของจังหวัดตราด ั 1. เป็ นอาชีพที่ให้รายได้แก่ชาวตราด 2. ให้ผคนได้มีอาชีพทามากขึ้น ู้ 3. เป็ นอาชีพเสริ มให้แก่คนที่อยากมีรายได้เพิ่ม อภิปรายผล จากข้อมูลที่ดิฉนได้ศึกษามานั้นว่าอาชีพสวนยางมีความสาคัญอย่างไรเป็ นสิ่ งที่ดี เพราะในปั จจุบน ั ั ราคาสิ นค้าเพิ่มมากขึ้น ผูคนจึงต้องการรายได้เพิ่มขึ้นเช่นเดียวกัน โดยที่หาอาชีพเสริ มและสุ จริ ต ้ 1. อาชีพสวนยางเป็ นอาชีพหนึ่งที่สาคัญ 2. สร้างรายได้แก่ครอบครัว ข้ อเสนอแนะ 1. ควรศึกษาความรู ้เกี่ยวกับสวนยางให้ดี 2. ควรปฏิบติให้ถูกวิธี ั
  • 10. บรรณานุกรม เสาวณี ย ์ ก่อวุฒิกุลรังษี, การผลิตยางธรรมชาติ, 2547, คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยสงขลานคริ นทร์ วิทยาเขตปัตตานี ประวัติยางพารา โดยองค์การสวนยาง พูลผล ธรรมธวัช, ยางพารา, เซาเทิร์นรับเบอร์ , สงขลา, หน้า 312-314 http://th.wikipedia.org/wiki/ยางพารา http://www.reothai.co.th/Para1.htm