SlideShare a Scribd company logo
1 of 11
Download to read offline
นางศิริรัตน์ นาไทย
โรงเรียนตราดรรเสริญวิทยาคม
พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ พ.ศ. 2535
แก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ.2551
พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ พ.ศ. 2535
แก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ.2551
 พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ พ.ศ. 2535 แก้ไขเพิ่มเติม
พ.ศ.2551
 การประกันภัยภาคบังคับ หรือที่เรียกกันว่า “ประกันภัย พ.ร.บ.” คือ การทา
ประกันภัยตามพระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ พ.ศ. 2535 แก้ไข
เพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2536 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2540 แก้ไข
เพิ่มเติม (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2550 และแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2551
เริ่มมีผลใช้บังคับครั้งแรกเมื่อวันที่ 5 เมษายน 2536 สาระสาคัญของกฎหมาย
สรุปได้ ดังนี้
เหตุผลในการประกาศใช้กฎหมาย
 การที่รัฐออกกฎหมายกาหนดให้รถทุกคันต้องจัดให้มีประกันภัยอย่างน้อยที่สุด คือ การ
ทาประกันภัยตามพระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ พ.ศ. 2535 โดยมี
วัตถุประสงค์ ดังนี้
 เพื่อคุ้มครองและให้ความช่วยเหลือแก่ประชาชนที่ได้รับบาดเจ็บหรือเสียชีวิต เพราะเหตุ
ประสบภัยจากรถ โดยให้ได้รับการรักษาพยาบาลอย่างทันท่วงที กรณีบาดเจ็บ หรือช่วย
เป็นค่า ปลงศพ กรณีเสียชีวิต
 เป็นหลักประกันให้โรงพยาบาลหรือสถานพยาบาลว่าจะได้รับค่ารักษาพยาบาลในการ
รักษาพยาบาลผู้ประสบภัยจากรถ
 เป็นสวัสดิสงเคราะห์ที่รัฐมอบให้แก่ประชาชนผู้ได้รับความเสียหายเพราะเหตุประสบภัย
จากรถ
 ส่งเสริมและสนับสนุนให้การประกันภัยเข้ามีส่วนร่วมในการบรรเทาความเดือดร้อนแก่
ผู้ประสบภัยและครอบครัว
ประเภทรถที่ต้องทาประกันภัยตาม พ.ร.บ.คุ้มครอง
ผู้ประสบภัยจากรถ พ.ศ. 2535
 รถที่ต้องทาประกันภัยตาม พ.ร.บ. ได้แก่รถทุกชนิดทุกประเภทตามกฎหมายว่าด้วย
รถยนต์ กฎหมายว่าด้วยการขนส่งทางบก กฎหมายว่าด้วยรถยนต์ทหาร เป็นรถที่
เจ้าของมีไว้ใช้ ไม่ว่ารถดังกล่าวจะเดินด้วยกาลังเครื่องยนต์ กาลังไฟฟ้า หรือ
พลังงานอื่น เช่น รถยนต์ รถจักรยานยนต์ รถสามล้อเครื่อง รถยนต์โดยสาร
รถบรรทุก หัวรถลากจูง รถพ่วง รถบดถนน รถอีแต๋น ฯลฯ
 ดังนั้น การที่มีรถบางประเภท กรมการขนส่งทางบกไม่รับจดทะเบียน แต่หากเข้า
ข่ายว่ารถนั้นเดินด้วยกาลังเครื่องยนต์ กาลังไฟฟ้า หรือพลังงานอื่นแล้วก็จัดเป็นรถ
ที่ต้องทาประกันภัยตาม พ.ร.บ. ด้วย
ประเภทรถที่ได้รับการยกเว้นไม่ต้องทาประกันภัย พ.ร.บ.
 รถสาหรับเฉพาะองค์พระมหากษัตริย์ พระราชินี พระรัชทายาท และรถสาหรับ
ผู้สาเร็จราชการ แทนพระองค์
 รถของสานักพระราชวังที่จดทะเบียน และมีเครื่องหมายตามระเบียบที่เลขาธิการ
พระราชวัง กาหนด
 รถของกระทรวง ทบวงกรม เทศบาล องค์การบริหารส่วนจังหวัด สุขาภิบาล
กรุงเทพมหานคร เมืองพัทยา และส่วนราชการท้องถิ่นที่เรียกชื่ออย่างอื่น และ
รถยนต์ทหารตามกฎหมายว่าด้วยรถยนต์ทหาร
 รถของหน่วยงานธุรการขององค์กรที่จัดตั้งขึ้นตามรัฐธรรมนูญ และหน่วยงานธุรการ
ที่เป็นอิสระขององค์กรใดๆ ที่ระบุไว้ในรัฐธรรมนูญ
ผู้มีหน้าที่ต้องทาประกันภัย พ.ร.บ.
 ผู้มีหน้าที่ต้องทาประกันภัยรถ ได้แก่ เจ้าของรถ ผู้ครอบครองรถในฐานะผู้เช่าซื้อ
รถ และผู้นารถที่จดทะเบียนในต่างประเทศเข้ามาใช้ในประเทศ การฝ่าฝืนไม่จัดให้
มีประกันภัย พ.ร.บ.คุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ พ.ศ. 2535 กฎหมายกาหนดโทษ
ปรับไว้ไม่เกินหนึ่งหมื่นบาท
ผู้ที่ได้รับความคุ้มครองตาม พ.ร.บ.
 ผู้ประสบภัย หมายถึง ประชาชนทุกคนที่ประสบภัยจากรถ ไม่ว่าจะเป็นผู้ขับขี่
ผู้โดยสาร คนเดินเท้า หากได้รับความเสียหายแก่ชีวิต ร่างกาย อนามัย อัน
เนื่องมาจากอุบัติเหตุที่เกิดขึ้นจากรถก็จะได้รับความคุ้มครองตาม พ.ร.บ. นี้
ผู้มีหน้าที่รับประกันตาม พ.ร.บ.
 ผู้มีหน้าที่ต้องรับประกันภัย คือ บริษัทประกันวินาศภัยที่รับอนุญาตให้ประกอบ
ธุรกิจประกันภัยรถ ประชาชนสามารถทาประกันภัยตาม พ.ร.บ. ได้ที่บริษัท
ประกันภัยข้างต้น รวมถึงสาขาของบริษัทนั้นๆ ทั่วประเทศ นอกจากนี้ยังมีบริษัท
กลางคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ จากัด ที่รับประกันภัยเฉพาะรถจักรยานยนต์ มี
สาขาให้บริการทุกจังหวัดทั่วประเทศ บริษัทใดฝ่าฝืนไม่รับประกันภัยรถตาม พ.ร.บ.
คุ้มครองฯ ต้องระวางโทษปรับตั้งแต่ห้าหมื่นบาทถึงสองแสนห้าหมื่นบาท
ความคุ้มครองเบื้องต้นตาม พ.ร.บ.
 ค่าเสียหายเบื้องต้น ผู้ประสบภัยจะได้รับความคุ้มครองในความเสียหายที่เกิดขึ้น เป็นค่ารักษาพยาบาลกรณีบาดเจ็บและเป็นค่าปลงศพ
ในกรณีเสียชีวิต โดยไม่ต้องรอพิสูจน์ความผิด บริษัทจะชดใช้ให้แก่ผู้ประสบภัย/ทายาทโดยธรรมของผู้ประสบภัย ภายใน 7 วัน นับแต่
บริษัทได้รับคาร้องขอค่าเสียหายดังกล่าวเรียกว่า “ค่าเสียหายเบื้องต้น” โดยมีจานวนเงิน ดังนี้
 กรณีบาดเจ็บ จะได้รับการชดใช้เป็นค่ารักษาพยาบาล และค่าใช้จ่ายอันจาเป็นเกี่ยวกับการรักษาพยาบาลตามที่จ่ายจริง แต่ไม่เกิน
15,000 บาท ต่อหนึ่งคน
 กรณีผู้ประสบภัยได้รับความเสียหายต่อร่างกาย (ทุพพลภาพ) อย่างหนึ่งอย่างใดดังต่อไปนี้บริษัทจะจ่ายค่าเสียหายเบื้องต้น จานวน
35,000 บาท ต่อหนึ่งคน
(ก) ตาบอด
(ข) หูหนวก
(ค) เป็นใบ้หรือเสียความสามารถในการพูด หรือลิ้นขาด
(ง) สูญเสียอวัยวะสืบพันธุ์
(จ) เสียแขน ขา มือ เท้า นิ้ว
(ฉ) เสียอวัยวะอื่นใด
(ช) จิตพิการอย่างติดตัว
(ซ) ทุพพลภาพอย่างถาวร
 กรณีบาดเจ็บจะได้รับการชดใช้ค่ารักษาพยาบาลตาม ข้อ 1. และต่อมาทุพพลภาพตาม ข้อ 2. รวมกันแล้วจะไม่เกิน 50,000 บาท ต่อ
หนึ่งคน
 กรณีเสียชีวิตจะได้รับการชดใช้เป็นค่าปลงศพและค่าใช้จ่ายอันจาเป็นเกี่ยวกับการจัดการศพ จานวน 35,000 บาท ต่อหนึ่งคน
 กรณีเสียชีวิตภายหลังการรักษาพยาบาลและค่าใช้จ่ายอันจาเป็นเกี่ยวกับการรักษาพยาบาลตามที่จ่ายจริงตามข้อ 1 รวมกันไม่เกิน
50,000 บาท ต่อหนึ่งคน
การใช้สิทธิขอรับค่าเสียหายเบื้องต้น
 ผู้ประสบภัยต้องร้องขอค่าเสียหายเบื้องต้น กับบริษัทภายใน 180 วัน นับแต่วันที่มีความเสียหายเกิดขึ้น
โดยใช้หลักฐาน ดังนี้
 กรณีบาดเจ็บ
1.1 ใบเสร็จรับเงินจากโรงพยาบาลหรือสถานพยาบาล หรือหลักฐานการแจ้งหนี้เกี่ยวกับการ
รักษาพยาบาล
1.2 สาเนาบัตรประจาตัวประชาชน หรือสาเนาใบสาคัญประจาตัวคนต่างด้าว หรือสาเนาหนังสือเดินทาง
หรือหลักฐานอื่นใดที่ทางราชการเป็นผู้ออกให ้้ที่สามารถพิสูจน์ได้ว่าผู้ที่มีชื่อในหลักฐานนั้นเป็น
ผู้ประสบภัย
ในกรณีผู้ประสบภัยที่ได้รับบาดเจ็บต่อมาทุพพลภาพ นอกจากต้องยื่นหลักฐานตาม ข้อ 1.1 และ 1.2
แล้ว ให้ยื่นใบรับรองแพทย์ หรือความเห็นแพทย์ หรือหลักฐานอื่นใดที่ระบุว่าเป็นผู้ประสบภัยซึ่งทุพพลภาพ
พร้อมทั้งสาเนาบันทึกประจาวันของพนักงานสอบสวน หรือหลักฐานอื่นที่แสดงว่าผู้นั้นได้รับความเสียหาย
จากการประสบภัยจากรถเพิ่มเติมด้วย
 กรณีเสียชีวิต
2.1 สาเนามรณบัตร
2.2 สาเนาบันทึกประจาวันของพนักงานสอบสวน
2.3 สาเนาบัตรประจาตัว หรือสาเนาใบสาคัญประจาตัวคนต่างด้าว หรือสาเนาหนังสือเดินทาง หรือ
หลักฐานอื่นใดที่ทางราชการเป็นผู้ออกให้ที่สามารถพิสูจน์ได้ว่า ผู้ที่มีชื่อในหลักฐานนั้นเป็นผู้ประสบภัย
กองทุนทดแทนผู้ประสบภัย
 กองทุนทดแทนผู้ประสบภัย ตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ พ.ศ. 2535 มี
วัตถุประสงค์เพื่อเป็นทุนสาหรับจ่ายค่าเสียหายเบื้องต้นให้แก่ผู้ประสบภัย กรณีดังต่อไปนี้
 1. รถคันที่ก่อให้เกิดความเสียหายแก่ผู้ประสบภัยมิได้จัดทาประกันภัยตามที่กฎหมายกาหนดไว้
และเจ้าของรถไม่จ่ายค่าเสียหายเบื้องต้น (กรณีบาดเจ็บเท่าที่รักษาจริงจะไม่เกิน 15,000 บาท
หากเสียชีวิต 35,000 บาท )
2. รถคันที่ก่อให้เกิดความเสียหายมิได้อยู่ในความครอบครองของเจ้าของรถในขณะเกิดเหตุ
เพราะถูกยักยอก ฉ้อโกง กรรโชก ลักทรัพย์ ชิงทรัพย์ หรือปล้นทรัพย์ และได้มีการร้องทุกข์ต่อ
พนักงานสอบสวนไว้แล้ว
3. รถนั้นไม่มีผู้แสดงตนเป็นเจ้าของรถและมิได้จัดให้มีการประกันความเสียหายตามที่กฎหมาย
กาหนดไว้
4. รถนั้นมีผู้ขับหลบหนีไปหรือไม่อาจทราบได้ว่าความเสียหายเกิดจากรถคันใด
5. บริษัทไม่จ่ายค่าเสียหายเบื้องต้นให้แก่ผู้ประสบภัยหรือจ่ายค่าเสียหายเบื้องต้นให้แก่
ผู้ประสบภัยไม่ครบจานวน
6. รถคันที่ก่อให้เกิดความเสียหายเป็นรถที่ได้รับการยกเว้นตามกฎหมาย
 7. ผลของการไม่จัดให้มีการประกันภัยรถตาม พ.ร.บ.

More Related Content

More from KruPor Sirirat Namthai

การใช้งานเว็บไซต์ คปภ.
การใช้งานเว็บไซต์ คปภ.การใช้งานเว็บไซต์ คปภ.
การใช้งานเว็บไซต์ คปภ.KruPor Sirirat Namthai
 
ปพ.5 2560-1-ง33201คอมพิวเตอร์
ปพ.5 2560-1-ง33201คอมพิวเตอร์ปพ.5 2560-1-ง33201คอมพิวเตอร์
ปพ.5 2560-1-ง33201คอมพิวเตอร์KruPor Sirirat Namthai
 
ปพ.5 2560-1-ง33101การงานอาชีพและเทคโนโลยี
ปพ.5 2560-1-ง33101การงานอาชีพและเทคโนโลยีปพ.5 2560-1-ง33101การงานอาชีพและเทคโนโลยี
ปพ.5 2560-1-ง33101การงานอาชีพและเทคโนโลยีKruPor Sirirat Namthai
 
ปพ.5 2560-1-ง23201เทคโนโลยีสารสนเทศ
ปพ.5 2560-1-ง23201เทคโนโลยีสารสนเทศปพ.5 2560-1-ง23201เทคโนโลยีสารสนเทศ
ปพ.5 2560-1-ง23201เทคโนโลยีสารสนเทศKruPor Sirirat Namthai
 
โครงงานคอมพิวเตอร์น่ารู้
โครงงานคอมพิวเตอร์น่ารู้โครงงานคอมพิวเตอร์น่ารู้
โครงงานคอมพิวเตอร์น่ารู้KruPor Sirirat Namthai
 
ปพ.5 2559-2-ง33202คอมพิวเตอร์
ปพ.5 2559-2-ง33202คอมพิวเตอร์ปพ.5 2559-2-ง33202คอมพิวเตอร์
ปพ.5 2559-2-ง33202คอมพิวเตอร์KruPor Sirirat Namthai
 
ปพ.5 2559-2-ง31202คอมพิวเตอร์
ปพ.5 2559-2-ง31202คอมพิวเตอร์ปพ.5 2559-2-ง31202คอมพิวเตอร์
ปพ.5 2559-2-ง31202คอมพิวเตอร์KruPor Sirirat Namthai
 
ปพ.5 2559-2-ง23202เทคโนโลยีสารสนเทศ
ปพ.5 2559-2-ง23202เทคโนโลยีสารสนเทศปพ.5 2559-2-ง23202เทคโนโลยีสารสนเทศ
ปพ.5 2559-2-ง23202เทคโนโลยีสารสนเทศKruPor Sirirat Namthai
 
ปพ.5 2559-2-ง23102การงานอาชีพและเทคโนโลยี
ปพ.5 2559-2-ง23102การงานอาชีพและเทคโนโลยีปพ.5 2559-2-ง23102การงานอาชีพและเทคโนโลยี
ปพ.5 2559-2-ง23102การงานอาชีพและเทคโนโลยีKruPor Sirirat Namthai
 
ปพ.5 2559-1-ง33201คอมพิวเตอร์
ปพ.5 2559-1-ง33201คอมพิวเตอร์ปพ.5 2559-1-ง33201คอมพิวเตอร์
ปพ.5 2559-1-ง33201คอมพิวเตอร์KruPor Sirirat Namthai
 
ปพ.5 2559-1-ง31201คอมพิวเตอร์
ปพ.5 2559-1-ง31201คอมพิวเตอร์ปพ.5 2559-1-ง31201คอมพิวเตอร์
ปพ.5 2559-1-ง31201คอมพิวเตอร์KruPor Sirirat Namthai
 
ปพ.5 2559-1-ง23201เทคโนโลยีสารสนเทศ
ปพ.5 2559-1-ง23201เทคโนโลยีสารสนเทศปพ.5 2559-1-ง23201เทคโนโลยีสารสนเทศ
ปพ.5 2559-1-ง23201เทคโนโลยีสารสนเทศKruPor Sirirat Namthai
 
รายงานผลการวิจัยและพัฒนานวัตกรรม
รายงานผลการวิจัยและพัฒนานวัตกรรมรายงานผลการวิจัยและพัฒนานวัตกรรม
รายงานผลการวิจัยและพัฒนานวัตกรรมKruPor Sirirat Namthai
 
โครงงานคลิปสอนทำสาคูนุ่มนิ่ม
โครงงานคลิปสอนทำสาคูนุ่มนิ่มโครงงานคลิปสอนทำสาคูนุ่มนิ่ม
โครงงานคลิปสอนทำสาคูนุ่มนิ่มKruPor Sirirat Namthai
 
ข้อเสนอโครงงานคลิปสอนทำสาคูไส้หมู
ข้อเสนอโครงงานคลิปสอนทำสาคูไส้หมู ข้อเสนอโครงงานคลิปสอนทำสาคูไส้หมู
ข้อเสนอโครงงานคลิปสอนทำสาคูไส้หมู KruPor Sirirat Namthai
 
คู่มือการใช้งานเว็บบล็อก
คู่มือการใช้งานเว็บบล็อกคู่มือการใช้งานเว็บบล็อก
คู่มือการใช้งานเว็บบล็อกKruPor Sirirat Namthai
 

More from KruPor Sirirat Namthai (20)

การใช้งานเว็บไซต์ คปภ.
การใช้งานเว็บไซต์ คปภ.การใช้งานเว็บไซต์ คปภ.
การใช้งานเว็บไซต์ คปภ.
 
ปพ.5 2560-1-ง33201คอมพิวเตอร์
ปพ.5 2560-1-ง33201คอมพิวเตอร์ปพ.5 2560-1-ง33201คอมพิวเตอร์
ปพ.5 2560-1-ง33201คอมพิวเตอร์
 
ปพ.5 2560-1-ง33101การงานอาชีพและเทคโนโลยี
ปพ.5 2560-1-ง33101การงานอาชีพและเทคโนโลยีปพ.5 2560-1-ง33101การงานอาชีพและเทคโนโลยี
ปพ.5 2560-1-ง33101การงานอาชีพและเทคโนโลยี
 
ปพ.5 2560-1-ง23201เทคโนโลยีสารสนเทศ
ปพ.5 2560-1-ง23201เทคโนโลยีสารสนเทศปพ.5 2560-1-ง23201เทคโนโลยีสารสนเทศ
ปพ.5 2560-1-ง23201เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
โครงงานคอมพิวเตอร์น่ารู้
โครงงานคอมพิวเตอร์น่ารู้โครงงานคอมพิวเตอร์น่ารู้
โครงงานคอมพิวเตอร์น่ารู้
 
หนังสั้น1212121
หนังสั้น1212121หนังสั้น1212121
หนังสั้น1212121
 
ปพ.5 2559-2-ง33202คอมพิวเตอร์
ปพ.5 2559-2-ง33202คอมพิวเตอร์ปพ.5 2559-2-ง33202คอมพิวเตอร์
ปพ.5 2559-2-ง33202คอมพิวเตอร์
 
ปพ.5 2559-2-ง31202คอมพิวเตอร์
ปพ.5 2559-2-ง31202คอมพิวเตอร์ปพ.5 2559-2-ง31202คอมพิวเตอร์
ปพ.5 2559-2-ง31202คอมพิวเตอร์
 
ปพ.5 2559-2-ง23202เทคโนโลยีสารสนเทศ
ปพ.5 2559-2-ง23202เทคโนโลยีสารสนเทศปพ.5 2559-2-ง23202เทคโนโลยีสารสนเทศ
ปพ.5 2559-2-ง23202เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ปพ.5 2559-2-ง23102การงานอาชีพและเทคโนโลยี
ปพ.5 2559-2-ง23102การงานอาชีพและเทคโนโลยีปพ.5 2559-2-ง23102การงานอาชีพและเทคโนโลยี
ปพ.5 2559-2-ง23102การงานอาชีพและเทคโนโลยี
 
ใบงานที่ 1
ใบงานที่ 1ใบงานที่ 1
ใบงานที่ 1
 
ปพ.5 2559-1-ง33201คอมพิวเตอร์
ปพ.5 2559-1-ง33201คอมพิวเตอร์ปพ.5 2559-1-ง33201คอมพิวเตอร์
ปพ.5 2559-1-ง33201คอมพิวเตอร์
 
ปพ.5 2559-1-ง31201คอมพิวเตอร์
ปพ.5 2559-1-ง31201คอมพิวเตอร์ปพ.5 2559-1-ง31201คอมพิวเตอร์
ปพ.5 2559-1-ง31201คอมพิวเตอร์
 
ปพ.5 2559-1-ง23201เทคโนโลยีสารสนเทศ
ปพ.5 2559-1-ง23201เทคโนโลยีสารสนเทศปพ.5 2559-1-ง23201เทคโนโลยีสารสนเทศ
ปพ.5 2559-1-ง23201เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
เอ4bestp59
เอ4bestp59เอ4bestp59
เอ4bestp59
 
รายงานผลการวิจัยและพัฒนานวัตกรรม
รายงานผลการวิจัยและพัฒนานวัตกรรมรายงานผลการวิจัยและพัฒนานวัตกรรม
รายงานผลการวิจัยและพัฒนานวัตกรรม
 
โครงงานคลิปสอนทำสาคูนุ่มนิ่ม
โครงงานคลิปสอนทำสาคูนุ่มนิ่มโครงงานคลิปสอนทำสาคูนุ่มนิ่ม
โครงงานคลิปสอนทำสาคูนุ่มนิ่ม
 
ข้อเสนอโครงงานคลิปสอนทำสาคูไส้หมู
ข้อเสนอโครงงานคลิปสอนทำสาคูไส้หมู ข้อเสนอโครงงานคลิปสอนทำสาคูไส้หมู
ข้อเสนอโครงงานคลิปสอนทำสาคูไส้หมู
 
ทำ Mind mapping
ทำ Mind mappingทำ Mind mapping
ทำ Mind mapping
 
คู่มือการใช้งานเว็บบล็อก
คู่มือการใช้งานเว็บบล็อกคู่มือการใช้งานเว็บบล็อก
คู่มือการใช้งานเว็บบล็อก
 

พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ

  • 2. พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ พ.ศ. 2535 แก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ.2551  พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ พ.ศ. 2535 แก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ.2551  การประกันภัยภาคบังคับ หรือที่เรียกกันว่า “ประกันภัย พ.ร.บ.” คือ การทา ประกันภัยตามพระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ พ.ศ. 2535 แก้ไข เพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2536 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2540 แก้ไข เพิ่มเติม (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2550 และแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2551 เริ่มมีผลใช้บังคับครั้งแรกเมื่อวันที่ 5 เมษายน 2536 สาระสาคัญของกฎหมาย สรุปได้ ดังนี้
  • 3. เหตุผลในการประกาศใช้กฎหมาย  การที่รัฐออกกฎหมายกาหนดให้รถทุกคันต้องจัดให้มีประกันภัยอย่างน้อยที่สุด คือ การ ทาประกันภัยตามพระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ พ.ศ. 2535 โดยมี วัตถุประสงค์ ดังนี้  เพื่อคุ้มครองและให้ความช่วยเหลือแก่ประชาชนที่ได้รับบาดเจ็บหรือเสียชีวิต เพราะเหตุ ประสบภัยจากรถ โดยให้ได้รับการรักษาพยาบาลอย่างทันท่วงที กรณีบาดเจ็บ หรือช่วย เป็นค่า ปลงศพ กรณีเสียชีวิต  เป็นหลักประกันให้โรงพยาบาลหรือสถานพยาบาลว่าจะได้รับค่ารักษาพยาบาลในการ รักษาพยาบาลผู้ประสบภัยจากรถ  เป็นสวัสดิสงเคราะห์ที่รัฐมอบให้แก่ประชาชนผู้ได้รับความเสียหายเพราะเหตุประสบภัย จากรถ  ส่งเสริมและสนับสนุนให้การประกันภัยเข้ามีส่วนร่วมในการบรรเทาความเดือดร้อนแก่ ผู้ประสบภัยและครอบครัว
  • 4. ประเภทรถที่ต้องทาประกันภัยตาม พ.ร.บ.คุ้มครอง ผู้ประสบภัยจากรถ พ.ศ. 2535  รถที่ต้องทาประกันภัยตาม พ.ร.บ. ได้แก่รถทุกชนิดทุกประเภทตามกฎหมายว่าด้วย รถยนต์ กฎหมายว่าด้วยการขนส่งทางบก กฎหมายว่าด้วยรถยนต์ทหาร เป็นรถที่ เจ้าของมีไว้ใช้ ไม่ว่ารถดังกล่าวจะเดินด้วยกาลังเครื่องยนต์ กาลังไฟฟ้า หรือ พลังงานอื่น เช่น รถยนต์ รถจักรยานยนต์ รถสามล้อเครื่อง รถยนต์โดยสาร รถบรรทุก หัวรถลากจูง รถพ่วง รถบดถนน รถอีแต๋น ฯลฯ  ดังนั้น การที่มีรถบางประเภท กรมการขนส่งทางบกไม่รับจดทะเบียน แต่หากเข้า ข่ายว่ารถนั้นเดินด้วยกาลังเครื่องยนต์ กาลังไฟฟ้า หรือพลังงานอื่นแล้วก็จัดเป็นรถ ที่ต้องทาประกันภัยตาม พ.ร.บ. ด้วย
  • 5. ประเภทรถที่ได้รับการยกเว้นไม่ต้องทาประกันภัย พ.ร.บ.  รถสาหรับเฉพาะองค์พระมหากษัตริย์ พระราชินี พระรัชทายาท และรถสาหรับ ผู้สาเร็จราชการ แทนพระองค์  รถของสานักพระราชวังที่จดทะเบียน และมีเครื่องหมายตามระเบียบที่เลขาธิการ พระราชวัง กาหนด  รถของกระทรวง ทบวงกรม เทศบาล องค์การบริหารส่วนจังหวัด สุขาภิบาล กรุงเทพมหานคร เมืองพัทยา และส่วนราชการท้องถิ่นที่เรียกชื่ออย่างอื่น และ รถยนต์ทหารตามกฎหมายว่าด้วยรถยนต์ทหาร  รถของหน่วยงานธุรการขององค์กรที่จัดตั้งขึ้นตามรัฐธรรมนูญ และหน่วยงานธุรการ ที่เป็นอิสระขององค์กรใดๆ ที่ระบุไว้ในรัฐธรรมนูญ
  • 6. ผู้มีหน้าที่ต้องทาประกันภัย พ.ร.บ.  ผู้มีหน้าที่ต้องทาประกันภัยรถ ได้แก่ เจ้าของรถ ผู้ครอบครองรถในฐานะผู้เช่าซื้อ รถ และผู้นารถที่จดทะเบียนในต่างประเทศเข้ามาใช้ในประเทศ การฝ่าฝืนไม่จัดให้ มีประกันภัย พ.ร.บ.คุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ พ.ศ. 2535 กฎหมายกาหนดโทษ ปรับไว้ไม่เกินหนึ่งหมื่นบาท
  • 7. ผู้ที่ได้รับความคุ้มครองตาม พ.ร.บ.  ผู้ประสบภัย หมายถึง ประชาชนทุกคนที่ประสบภัยจากรถ ไม่ว่าจะเป็นผู้ขับขี่ ผู้โดยสาร คนเดินเท้า หากได้รับความเสียหายแก่ชีวิต ร่างกาย อนามัย อัน เนื่องมาจากอุบัติเหตุที่เกิดขึ้นจากรถก็จะได้รับความคุ้มครองตาม พ.ร.บ. นี้
  • 8. ผู้มีหน้าที่รับประกันตาม พ.ร.บ.  ผู้มีหน้าที่ต้องรับประกันภัย คือ บริษัทประกันวินาศภัยที่รับอนุญาตให้ประกอบ ธุรกิจประกันภัยรถ ประชาชนสามารถทาประกันภัยตาม พ.ร.บ. ได้ที่บริษัท ประกันภัยข้างต้น รวมถึงสาขาของบริษัทนั้นๆ ทั่วประเทศ นอกจากนี้ยังมีบริษัท กลางคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ จากัด ที่รับประกันภัยเฉพาะรถจักรยานยนต์ มี สาขาให้บริการทุกจังหวัดทั่วประเทศ บริษัทใดฝ่าฝืนไม่รับประกันภัยรถตาม พ.ร.บ. คุ้มครองฯ ต้องระวางโทษปรับตั้งแต่ห้าหมื่นบาทถึงสองแสนห้าหมื่นบาท
  • 9. ความคุ้มครองเบื้องต้นตาม พ.ร.บ.  ค่าเสียหายเบื้องต้น ผู้ประสบภัยจะได้รับความคุ้มครองในความเสียหายที่เกิดขึ้น เป็นค่ารักษาพยาบาลกรณีบาดเจ็บและเป็นค่าปลงศพ ในกรณีเสียชีวิต โดยไม่ต้องรอพิสูจน์ความผิด บริษัทจะชดใช้ให้แก่ผู้ประสบภัย/ทายาทโดยธรรมของผู้ประสบภัย ภายใน 7 วัน นับแต่ บริษัทได้รับคาร้องขอค่าเสียหายดังกล่าวเรียกว่า “ค่าเสียหายเบื้องต้น” โดยมีจานวนเงิน ดังนี้  กรณีบาดเจ็บ จะได้รับการชดใช้เป็นค่ารักษาพยาบาล และค่าใช้จ่ายอันจาเป็นเกี่ยวกับการรักษาพยาบาลตามที่จ่ายจริง แต่ไม่เกิน 15,000 บาท ต่อหนึ่งคน  กรณีผู้ประสบภัยได้รับความเสียหายต่อร่างกาย (ทุพพลภาพ) อย่างหนึ่งอย่างใดดังต่อไปนี้บริษัทจะจ่ายค่าเสียหายเบื้องต้น จานวน 35,000 บาท ต่อหนึ่งคน (ก) ตาบอด (ข) หูหนวก (ค) เป็นใบ้หรือเสียความสามารถในการพูด หรือลิ้นขาด (ง) สูญเสียอวัยวะสืบพันธุ์ (จ) เสียแขน ขา มือ เท้า นิ้ว (ฉ) เสียอวัยวะอื่นใด (ช) จิตพิการอย่างติดตัว (ซ) ทุพพลภาพอย่างถาวร  กรณีบาดเจ็บจะได้รับการชดใช้ค่ารักษาพยาบาลตาม ข้อ 1. และต่อมาทุพพลภาพตาม ข้อ 2. รวมกันแล้วจะไม่เกิน 50,000 บาท ต่อ หนึ่งคน  กรณีเสียชีวิตจะได้รับการชดใช้เป็นค่าปลงศพและค่าใช้จ่ายอันจาเป็นเกี่ยวกับการจัดการศพ จานวน 35,000 บาท ต่อหนึ่งคน  กรณีเสียชีวิตภายหลังการรักษาพยาบาลและค่าใช้จ่ายอันจาเป็นเกี่ยวกับการรักษาพยาบาลตามที่จ่ายจริงตามข้อ 1 รวมกันไม่เกิน 50,000 บาท ต่อหนึ่งคน
  • 10. การใช้สิทธิขอรับค่าเสียหายเบื้องต้น  ผู้ประสบภัยต้องร้องขอค่าเสียหายเบื้องต้น กับบริษัทภายใน 180 วัน นับแต่วันที่มีความเสียหายเกิดขึ้น โดยใช้หลักฐาน ดังนี้  กรณีบาดเจ็บ 1.1 ใบเสร็จรับเงินจากโรงพยาบาลหรือสถานพยาบาล หรือหลักฐานการแจ้งหนี้เกี่ยวกับการ รักษาพยาบาล 1.2 สาเนาบัตรประจาตัวประชาชน หรือสาเนาใบสาคัญประจาตัวคนต่างด้าว หรือสาเนาหนังสือเดินทาง หรือหลักฐานอื่นใดที่ทางราชการเป็นผู้ออกให ้้ที่สามารถพิสูจน์ได้ว่าผู้ที่มีชื่อในหลักฐานนั้นเป็น ผู้ประสบภัย ในกรณีผู้ประสบภัยที่ได้รับบาดเจ็บต่อมาทุพพลภาพ นอกจากต้องยื่นหลักฐานตาม ข้อ 1.1 และ 1.2 แล้ว ให้ยื่นใบรับรองแพทย์ หรือความเห็นแพทย์ หรือหลักฐานอื่นใดที่ระบุว่าเป็นผู้ประสบภัยซึ่งทุพพลภาพ พร้อมทั้งสาเนาบันทึกประจาวันของพนักงานสอบสวน หรือหลักฐานอื่นที่แสดงว่าผู้นั้นได้รับความเสียหาย จากการประสบภัยจากรถเพิ่มเติมด้วย  กรณีเสียชีวิต 2.1 สาเนามรณบัตร 2.2 สาเนาบันทึกประจาวันของพนักงานสอบสวน 2.3 สาเนาบัตรประจาตัว หรือสาเนาใบสาคัญประจาตัวคนต่างด้าว หรือสาเนาหนังสือเดินทาง หรือ หลักฐานอื่นใดที่ทางราชการเป็นผู้ออกให้ที่สามารถพิสูจน์ได้ว่า ผู้ที่มีชื่อในหลักฐานนั้นเป็นผู้ประสบภัย
  • 11. กองทุนทดแทนผู้ประสบภัย  กองทุนทดแทนผู้ประสบภัย ตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ พ.ศ. 2535 มี วัตถุประสงค์เพื่อเป็นทุนสาหรับจ่ายค่าเสียหายเบื้องต้นให้แก่ผู้ประสบภัย กรณีดังต่อไปนี้  1. รถคันที่ก่อให้เกิดความเสียหายแก่ผู้ประสบภัยมิได้จัดทาประกันภัยตามที่กฎหมายกาหนดไว้ และเจ้าของรถไม่จ่ายค่าเสียหายเบื้องต้น (กรณีบาดเจ็บเท่าที่รักษาจริงจะไม่เกิน 15,000 บาท หากเสียชีวิต 35,000 บาท ) 2. รถคันที่ก่อให้เกิดความเสียหายมิได้อยู่ในความครอบครองของเจ้าของรถในขณะเกิดเหตุ เพราะถูกยักยอก ฉ้อโกง กรรโชก ลักทรัพย์ ชิงทรัพย์ หรือปล้นทรัพย์ และได้มีการร้องทุกข์ต่อ พนักงานสอบสวนไว้แล้ว 3. รถนั้นไม่มีผู้แสดงตนเป็นเจ้าของรถและมิได้จัดให้มีการประกันความเสียหายตามที่กฎหมาย กาหนดไว้ 4. รถนั้นมีผู้ขับหลบหนีไปหรือไม่อาจทราบได้ว่าความเสียหายเกิดจากรถคันใด 5. บริษัทไม่จ่ายค่าเสียหายเบื้องต้นให้แก่ผู้ประสบภัยหรือจ่ายค่าเสียหายเบื้องต้นให้แก่ ผู้ประสบภัยไม่ครบจานวน 6. รถคันที่ก่อให้เกิดความเสียหายเป็นรถที่ได้รับการยกเว้นตามกฎหมาย  7. ผลของการไม่จัดให้มีการประกันภัยรถตาม พ.ร.บ.