SlideShare a Scribd company logo
1 of 12
1
บทที่ 1
บทนำ
ที่มำและควำมสำคัญ
สำคูเป็นชื่ออาหารว่างชนิดหนึ่ง ทาด้วยสาคูเม็ดเล็กนวดน้าร้อนให้ดิบ ๆสุก ๆปั้นเป็นก้อน
มีเนื้อหมูเป็นต้นสับผัดกับเครื่องปรุงทาเป็นไส้แล้วนึ่ง สาคู เราสามารถประยุกต์ ได้หลายรสชาติ หลายสี
หลายแบบ
สาคูไส้หมู สาคูไส้หวาน ซึ่งวัตถุดิบเหล่านี้เราสามารถหาได้ง่ายในท้องถิ่นของเราและ
หน้าของสาคูเราสามารถทาให้เป็นสี
เพื่อเป็นสื่อในการเรียนรู้และต่อยอดให้ผู้ที่สนใจได้ศึกษา
กลุ่มของข้าพเจ้าจึงสนใจจัดทาเป็นสื่อคลิปวิดีโอ เรื่อง
สาคูไส้หมูนุ่มนิ่งโดยการทาสาคูไส้หมูคณะผู้จัดทาได้เห็นถึงความสาคัญในการทาขนมสาคูยัดไส้ว่าเป็นการ
อนุรักษ์ขนมไทย ให้คนรุ่นหลังสืบทอดกันต่อไป และเป็นการใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์
และยังสามารถทาเป็นการหารายได้เสริมอีกด้วย
วัตถุประสงค์ในกำรทำโครงงำน
1 พัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา เรื่องสาคูไส้หมูนุ่มนิ่ง
2 เพื่อเผยแพร่ความรู้สื่อเพื่อการศึกษา เรื่องสาคูไส้หมูนุ่มนิ่ง
3 เพื่อประเมินความพึงพอใจสื่อเพื่อการศึกษา สาคูไส้หมูนุ่มนิ่ง
ขอบเขตกำรศึกษำโครงงำน
การศึกษาโครงงานในครั้งนี้เราตั้งอยู่ในหัวข้อเกี่ยวกับความเป็นไทย การอนุรักษ์วัฒนธรรมไทย
คณะผู้จัดทาจึงได้ทาโครงงานเกี่ยวกับขนมไทยโดยการเลือกสาคูไส้หมูในการทาโครงงานในครั้งนี้
ประโยชน์ที่คำดว่ำจะได้รับ
1. เพื่อเผยแพร่ความรู้ สาคูไส้หมูนุ่มนิ่ม แก่ผู้ที่สนใจไดศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม
ได้ง่ายและรวดเร็วยิ่งขึ้น
2. เพื่อนาความรู้และทักษะไปประยุกต์ใช้ในการจัดทาสื่อในเรื่องอื่นๆ ต่อไป
2
บทที่ 2
หลักกำรและทฤษฎี
2.1 สำคู
สำคูเป็นชื่ออาหารว่างชนิดหนึ่ง ทาด้วยสาคูเม็ดเล็กนวดน้าร้อนให้ดิบ ๆสุก ๆปั้นเป็นก้อน
มีเนื้อหมูเป็นต้นสับผัดกับเครื่องปรุงทาเป็นไส้แล้วนึ่ง สาคู เราสามารถประยุกต์ ได้หลายรสชาติ หลายสี
หลายแบบ
วิธีกำรทำ
1. กำรทำแป้ งสำคู
1. นาเม็ดสาคูและน้าอุ่นผสมกับ 2 ถ้วย
2. ค่อยๆนวดให้เข้ากันจนเป็นก้อนเดียวกันหมด
3. จากนั้นพักแป้งสาคูไว้อย่าให้เย็นจนเกินไป
2. กำรทำไส้สำคู
1. ใส่น้ามันพืชลงไปในกระทะรอให้น้ามันเดือดพอสมควร
จากนั้นใส่ผักชี+กระเทียม+พริกไทยดา ที่โครกรวมกันลงไปผัดให้หอม
2. จากนั้นใส่หอมแดง ผัดรวมกันตามด้วยหมูสับ
3. จากนั้นใส่หัวไขโป๊เค็มผัดจนหมูเปลี่ยนสี กลิ่นจะค่อยๆหอมขึ้น
4. จากนั้นปรุงรสด้วยน้าปลาและน้าตาลปี๊บ
5. จากนั้นใส่ถั่วลิสงและผัดเข้าด้วยกัน
6.
เมื่อผัดไส้เสร็จแล้วให้พักไส้ไว้ให้เย็นเพราะถ้าร้อนเกินไปไส้จะไม่สามารถจับตัวกันได้และทาให้เวลาห่อไ
ส้จะยากลาบาก
3. กำรทำน้ำอำจำด
1. นาน้าสมสายชู น้าเชื่อม แตงกวาสอย พริกขี้หนูหั่นหอมแดงสอยผสมรวมกัน
และครุกเคล้าเข้าด้วยกันก็จะได้น้าอาจาด
4. กำรปั้นสำคู
1. นาไส้สาคูปั้นเป็นก่อนเล็กๆและห่อด้วยแป้งสาคที่พักไว้เป็นลูกกลมๆ
3
2. เมื่อปั้นเสร็จแล้ว นาสาคูไปนึ่งไว้ 15นาที เมื่อครบแล้ว
สาคูไส้หมูนุ่มนิ่มของเราก็จะเสร็จสมบูรณ์
2.2 โปรแกรม AVS Video Editor
เป็นโปรแกรมสาหรับการสร้างและการประมวลผลวีดิโอคุณสมบัติครบถ้วน อย่างมืออาชีพเลยครับ
คุณสามารถที่จะบันทึกภาพวีดิโอจากกล้องวีดิโอและ TV
Tuner, วีดิโอต้นฉบับและสไลด์โชว์,ด้วยEffect และการเปลี่ยนภาพที่น่าตื่นตาตื่นใจ, สามารถสร้างและ Bur
n
DVD ได้ด้วย, แยกภาพยนตร์ออกมาเป็นวีดิโอได้เกือบทุกรูปแบบเลยครับ, แก้ไขและตกแต่งวีดิโอให้ดูดีขึ้น
และโอนย้ายข้อมูลไปยัง iPod, PSP, มือถือและเครื่องเล่นเคลื่อนที่อื่นๆ โดยตรง
สามารถตรวจพบฉากต่างๆ โดยอัตโนมัติและสามารถที่จะลบฉากหรือรวมฉากต่างๆ เข้าด้วยกัน
จุดเด่นของโปรแกรมตัวนี้คือมีเอฟเฟกต์ให้เลือกกว่า 200แบบทาให้การตกแต่งวีดีโอให้มีความหลา
กหลายมากขึ้น สามารถตัดต่อไฟล์ที่อยู่ในรูป HD-
Video รวมไปถึงคุณสมบัติใหม่ที่ได้รับการพัฒนาคือ ตัดต่อภาพและจัดเก็บลงในแผ่น Blur-Ray ได้
เอาใจผู้ที่ชื่นชอบการรับชมวีดีโอในระดับความละเอียดสูง นอกจากนี้ยังสามารถโอนถ่ายข้อมูลไปยัง iPod ,
PSP มือถือและเครื่องเล่นวีดีโอแบบพกพาอื่น ๆโดยตรง ทาให้ไม่ต้องเสียเวลาในการแปลงไฟล์อีก
รูปแบบของไฟล์วีดีโอและภำพเคลื่อนไหว
ทุกคนคงจะคุ้นเคยไฟล์สกุลต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับคอมพิวเตอร์มาบ้างแล้วนะครับ
ในที่นี้เราจะมาทาความรู้จักเกี่ยวกับสกุลไฟล์ต่างๆ ว่าแต่ละรูปแบบมีลักษณะอย่างไร
Quick Timeไฟล์วีดีโอรูปแบบหนึ่งที่พัฒนาโดยบริษัท Apple จะนามาใช้กับงานด้านมัลติมีเดีย
และเวปไซต์เป็นส่วนใหญ่ทั้งนี้ต้องติดตั้ง Plug Inไว้ที่เวปเบราเซอร์ (IE, Netscape)
ก่อนที่จะนาไฟล์มัลติมีเดียประเภทนี้ (หาดาวน์โหลดได้ที่ ) นอกจากนี้ยังเป็นรูปแบบที่เครื่อง Mcintosh
สามารถนาเสนองานรูปแบบนี้ได้ดีอีกด้วย
AVI เป็นไฟล์วีดีโอเช่นเดียวกัน โดยฟอร์แมตนี้จะถูกใช้งานบนเครื่อง พีซี
เช่นเมื่อโหลดภาพจากกล้องวีดีโอเข้ามาที่เครื่องคอมก็จะต้องทาเป็นฟอร์แมต AVI
ข้อเสียของมันก็คือขนาดใหญ่มากไฟล์วีดีโอแค่ 1นาที อาจจะต้องใช้พื้นที่เก็บประมาณ 5– 10 MB
มักจะนาไฟล์รูปแบบนี้ไปใช้หรือทาการแปลงเป็นไฟล์รูปแบบอื่นๆ เช่น Quick Time , MPEG และอื่นๆ
ได้อีกด้วยคุณภาพของการแปลงไฟล์ ภาพและเสียงจะแตกต่างกันเล็กน้อย
4
MPEG (Motion Picture Expert Group) เป็นรูปแบบของการบีบอัดไฟล์ข้อมูลเสียงหรือไฟล์
วีดีโอให้มีขนาดเล็กลง มักจะใช้ในการสร้างแผ่น VideoCD – VCD SVCD DVD หรือ
KaraOk(ไฟล์ที่มีนามสกุล *.mpg) จะต้องเปิดด้วยโปรแกรมเฉพาะอย่างเช่น Power DVD, XingMpeg
RM,RPM เป็นรูปแบบหนึ่งของไฟล์มัลติมีเดียที่พัฒนาขึ้นโดย RealNetwork Inc.
จะมีรูปแบบเฉพาะตัวในการเล่นไฟล์มัลติมีเดียภาพและเสียงอย่างต่อเนื่องที่เรียกว่า Streaming
โดยเฉพาะมีโปรแกรมสาหรับเปิดไฟล์ปะเภทนี้ได้แก่ RealPlayer RealAudio
สามารถนาเสนองานบนอินเตอร์เน็ตได้เป็นอย่างดี
DAT ไฟล์ใน Video-CD: VCD จะมีไฟล์รูปแบบหนึ่งที่มีนามสกุล *.dat
ซึ่งจะเป็นเป้าหมายหนึ่งของการแปลงไฟล์ภาพยนต์รูปแบบอื่นๆ ไปเป็นรูปแบบของ VCD
จัดว่าเป็นไฟล์ประเภท MPEG ซึ่งจะเปิดรูปแบบนี้ได้ทั้งบนเครื่องคอมพิวเตอร์และเครื่องเล่น VCD
Gif Animation (Graphics Interchange Format) รูปแบบหนึ่งของภาพเคลื่อนไหว
ที่นิยมใช้งานบนอินเตอร์เน็ตโดยการสร้างภาพเคลื่อนไหว 1 ภาพ จากการรวมหลายๆภาพเข้าด้วยกัน
สามารถเล่นวนได้หลายรอบแล้วแต่การกาหนด ซึ่งสร้างได้จากพวกโปรแกรม Gif Animation เช่น Ulead
Gif Animator,Gif Movie Gear
ไฟล์รูปภำพ
ไฟล์สกุล JPG (Joint Photographer’s Experts Group)
เป็นไฟล์หนึ่งที่นิยมใช้บน Internet มีความละเอียดสูง และใช้สีจานวนมาก (สนับสนุนถึง 24 bit
color) ไฟล์ชนิดนี้มักจะใช้กับภาพถ่ายที่นามาสแกน และต้องการนาไปใช้บนอินเทอร์เน็ต
เพราะให้ความคมชัดและความละเอียดของภาพสูง
จุดเด่น
สนับสนุนสีได้ถึง 24bit
สามารถกาหนดค่าการบีบไฟล์ได้ตามที่ต้องการ
มีระบบแสดงผลแบบหยาบและค่อยๆ ขยายไปสู่ละเอียดในระบบ Progressive
มีโปรแกรมสนับสนุนการสร้างจานวนมาก
เรียกดูได้กับ Graphics Browser ทุกตัว
ตั้งค่าการบีบไฟล์ได้ (compress files)
จุดด้อย
ทาให้พื้นของรูปโปร่งใสไม่ได้
พัฒนาโดยบริษัท CompuServe จัดเป็นไฟล์ภาพสาหรับการเผยแพร่ผ่านอินเทอร์เน็ตตั้งแต่ยุคแรก
ไฟล์สกุลGIF (Graphics Interlace File)
5
จุดเด่น สามารถใช้งานข้ามระบบ (Cross Platform) หมายความว่า คอมพิวเตอร์ทุกระบบ ไม่ว่าจะใช้
Windows, Unix ก็สามารถเรียกใช้ไฟล์ภาพสกุลนี้ได้
– มีขนาดไฟล์ต่า จากเทคโนโลยีการบีบอัดภาพ ทาให้สามารถส่งไฟล์ภาพได้รวดเร็ว
– สามารถทาพื้นของภาพให้เป็นพื้นแบบโปร่งใสได้ (Transparent)
– มีระบบแสดงผลแบบหยาบและค่อยๆ ขยายไปสู่ละเอียดในระบบ Interlace
– มีโปรแกรมสนับสนุนการสร้างจานวนมาก
– เรียกดูได้กับ Graphics Browser ทุกตัว
– ความสามารถด้านการนาเสนอแบบภาพเคลื่อนไหว (GIF Animation)
จุดด้อย ไฟล์ชนิดนี้ก็มีจุดด้อยในเรื่องของการแสดงสี ซึ่งแสดงได้เพียง 256สี ทาให้ การนาเสนอภาพถ่าย
หรือภาพที่ต้องการความคมชัดหรือภาพสดใส จะต้องอาศัยฟอร์แมตอื่น
ไฟล์สกุล PNG (Portable Network Graphics)
ไฟล์สกุลล่าสุดที่นาจุดเด่นของไฟล์ GIF และ JPEG มาพัฒนาร่วมกัน
ทาให้ภาพในสกุลนี้แสดงผลสีได้มากกว่า 256 สี และยังสามารถทาพื้นภาพให้โปร่งใสได้
จึงเป็นไฟล์ภาพที่ได้รับความนิยมมากในปัจจุบันด้วยอีกสกุลหนึ่ง คุณสมบัติของภาพคือ
สามารถใช้งานข้ามระบบ (Cross Platform) หมายความว่า ระบบคอมพิวเตอร์ทุกระบบ ไม่ว่าจะใช้
Windows, Unix ก็สามารถเรียกใช้ไฟล์ภาพสกุลนี้ได้
ขนาดไฟล์เล็ก ด้วยเทคนิคการบีบอัดคงสัญญาณ LZW
สามารถทาภาพโปร่งใสจากสีพื้น 256 ระดับ
แสดงภาพแบบสอดประสานเช่นเดียวกับ GIF โดยมีความคมชัดที่ดีกว่า
มีคุณสมบัติ Gamma ทาให้ภาพสามารถปรับตัวเองได้ตามจอภาพ
และปรับระดับความสว่างที่แท้จริงตามที่ควรจะเป็น
จุดเด่น
สนับสนุนสีได้ถึงตามค่า True color (16bit, 32bit หรือ 64 bit)
สามารถกาหนดค่าการบีบไฟล์ได้ตามที่ต้องการ
มีระบบแสดงผลแบบหยาบและค่อยๆ ขยายไปสู่ละเอียด (Interlace)
สามารถทาพื้นโปร่งใสได้
จุดด้อย
หากกาหนดค่าการบีบไฟล์ไว้สูง จะใช้เวลาในการคลายไฟล์สูงตามไปด้วย แต่ขนาดของไฟล์จะมีขนาดต่า
ไม่สนับสนุนกับ Graphic Browser รุ่นเก่า สนับสนุนเฉพาะ IE 4 และ Netscape 4
ความละเอียดของภาพและจานวนสีขึ้นอยู่กับ Video Card
โปรแกรมสนับสนุนในการสร้างมีน้อย
6
ชนิดของไฟล์เสียงในระบบคอมพิวเตอร์
ในงานคอมพิวเตอร์นั้น มีไฟล์เสียงหลายประเภทด้วยกัน แต่ละประเภทก็มีคุณสมบัติต่างกันออกไป
ทาให้เราควรรู้จักกับไฟล์เสียงประเภทต่างๆ จะได้เลือกใช้งานให้เหมาะสมกับงานของเราได้
ไฟล์เสียงบางชนิดอาจใช้งานได้กับบางโปรแกรมเท่านั้น หรือบางชนิดอาจใช้งานได้กับหลายๆโปรแกรม
ผมจะขออธิบายไฟล์เสียงที่มักจะได้พบเห็นกันบ่อยๆดังนี้ครับ
MIDI (.mid) ย่อมาจาก Musical Instrument Digital Interface เป็นไฟล์ที่ไม่สามารถบันทึกเสียงร้องได้
เพราะเป็นไฟล์ที่เก็บคาสั่งที่ส่งไปให้อุปกรณ์ดนตรีแสดงเสียงออกมาตามข้อมูลที่อยู่ข้างในได้
ทาให้อุปกรณ์ดนตรีที่ต่างกัน เมื่อได้ทางานกับไฟล์ midi อันเดียวกัน อาจทาเสียงออกมาไม่เหมือนกันก็ได้
แต่ไฟล์แบบนี้เป็นที่นิยมมาก เพราะมีขนาดเล็ก และแก้ไขได้ง่าย สามารถประยุกต์ให้ midi
เหล่านี้ออกมาเป็นเสียงดนตรีจริงๆได้ ดังนั้นคุณภาพเสียงที่อ่านได้จาก midi จะดีแค่ไหน จึงขึ้นอยู่กับ sound
card (supportmidi) หรือ อุปกรณ์+software ประเภท synthesizer
WAVE (.wav) เป็นไฟล์เสียงที่ได้มาจากการบันทึกเสียง แล้วเก็บไว้ในระบบดิจิตอล
ทาให้เราสามารถนาไฟล์เหล่านี้ไปประยุกต์ใช้งานต่างๆต่อได้อีก ไม่ว่าจะเป็นการปรับแต่งเสียง ผสมเสียง
หรือ convert ไปเป็นไฟล์เสียงประเภทอื่นๆได้ (เมื่อทางานร่วมกับ software) ไฟล์ประเภทนี้มีขนาดใหญ่
เพราะสามารถเก็บความละเอียดไว้ได้มากเท่าที่เราต้องการโดยไม่มีการบีบอัดข้อมูล
(นอกจากว่าจะมาปรับแต่งทีหลัง) เป็นไฟล์เสียงประเภทหนึ่งที่มักจะพบในวงการดนตรีมาก
(อย่างน้อยที่สุดก็เป็นเสียงของนักร้อง)
CD Audio (.cda) เป็นไฟล์เสียงที่บันทึกลงบนแผ่นซีดี ใช้เล่นกับเครื่องเสียงทั่วไป
ไฟล์ประเภทนี้มีความคมชัดของสัญญาณมาก เพราะไม่มีการบีบอัดข้อมูล เพียงเข้ารหัสในระบบ Linear
PCM เป็นไฟล์ .cda ที่มักจะตั้งค่าการเก็บข้อมูลเสียงโดยการสุ่มและแปลงสัญญาณไว้ที่ 44,100 ครั้งต่อวินาที
ปกติคอมพิวเตอร์จะไม่สามารถอ่านไฟล์นี้ได้โดยตรง ต้องเล่นผ่านอุปกรณ์อื่นๆ เช่น เครื่องเสียง , ซีดีรอม
หรือ software บางชนิด
MP3 (.mp3) เป็นที่นิยมมากในหมู่นักฟังเพลงทั่วไปในปัจจุบัน
เพราะเป็นไฟล์เสียงที่ถูกบีบข้อมูลให้เล็กลงจากสัญญาณเสียงจริงได้ถึง 10เท่า
โดยเราสามารถเลือกความละเอียดของการเข้ารหัสได้
ทาให้คุณภาพเสียงของไฟล์ประเภทนี้ที่บีบอัดข้อมูลไม่มากนัก มีคุณภาพดีใช้ได้เลยทีเดียว (bitrate 128
Kbps)
และเนื่องจากความเล็กของไฟล์ประเภทนี้ทาให้เป็นที่นิยมในการส่งไฟล์นี้ผ่านระบบอินเตอร์เน็ตกันด้วย
WMA (.wma) เป็นไฟล์เสียงที่ บ.ไมโครซอฟท์ คิดขึ้นมาให้ทางานร่วมกับโปรแกรม Windows Media
Player ของระบบวินโดว์ สามารถฟังเสียงผ่านระบบ streaming ได้ คือ ดาวน์โหลดข้อมูลไปด้วย
พร้อมกับถอดรหัสเสียงให้ฟังไปพร้อมๆกันเลย โดยไม่ต้องรอให้ดาวน์โหลดครบ 100%
ส่วนคุณภาพเสียงนั้นมีความละเอียดสูงไม่แพ้ mp3 128Kbps เลย แต่จะมีขนาดเล็กกว่า mp3
7
ที่ความละเอียดเสียงพอๆกัน เพราะเข้ารหัสแบบ bitrate 64 Kbps (ครึ่งเดียว)
ปัจจุบันเครื่องเสียงบ้านและรถยนต์ได้หันมารองรับไฟล์ระบบนี้มากขึ้นแล้ว
Real Audio (.ra) เป็นไฟล์เสียงที่ทางานคู่กับโปรแกรม Real Player เน้นการทางานแบบ Streaming
สามารถฟังเสียงและดูภาพขณะกาลังดาวน์โหลดข้อมูลได้พร้อมๆกันเลย
มีหลายความละเอียดให้เลือกหลายระดับ เป็นที่นิยมในหมู่นักดูหนังฟังเพลงในอินเตอร์เน็ตมาก
Audio Streaming Format (.asf) เป็นไฟล์เสียงหนึ่งที่มีรูปแบบ Streaming ที่เน้นส่งข้อมูลเสียงแบบ real
time ใช้กันมากในการฟังวิทยุออนไลน์บนอินเตอร์เน็ต
Audio Interchange File Format (.aif , .aiff) เป็นไฟล์ลักษณะคล้ายไฟล์ Wave แต่ใช้สาหรับเครื่อง
Macintosh
ACC (.acc) เป็นไฟล์เสียงที่มีคุณภาพสูงมาก สุ่มความถี่ได้ถึง 96kHz รองรับอัตราการเล่นไฟล์สูงถึง 576
Kbps สามารถแยกเสียงได้ถึงระบบ 5.1ช่อง เทียบเท่า Dolby Digital หรือ AC-3
2.3 สื่อเพื่อกำรเรียนรู้ เรื่อง สำคูไส้หมูนุ่มนิ่ม
เป็นวิดีโอสอนวิธีทาขนมไทยที่เป็นการบอกลายละเอียดวัสดุและขั้นตอนและวิธีการทา
โดยคณะผู้จัดทาได้เลือกสาคูไส้หมูเป็นโครงงานในครั้งนี้เนื่องจากว่า สาคูไส้หมูเป็นขนมไทยที่อร่อย
เป็นที่นิยม แต่วิธีการทาค่อนข้างยาก และวัสดุในการทานั้นเยอะ
จึงได้ทาสื่อเพื่อให้คนรุ่นหลังที่ยังไม่สามารถไม่มีความรู้เรื่องการทาสาคูไส้หมูได้ ได้ศึกษากันต่อไป
8
บทที่ 3
วัสดุอุปกรณ์และขั้นตอนกำรดำเนินงำน
วัสดุอุปกรณ์
1. โทรศัพท์มือถือ หรือกล้อง สาหรับถ่ายวีดีโอ
2. โปรแกรม AVS Video Editor
3. เม็ดสาคู
4. ถั่วลิสงโครกละเอียด
5. หมูสับ
6. หัวไชโป๊เค็ม
7. หอมแดงหั่นบาง
8. รากผักชี+กระเทียม+พริกไทยดา โครกรวมกัน
9. น้าปลา
10. น้าตาลปี๊บ
11. น้าสมสายชู
12. น้าเชื่อม
13. แตงกวาหั่นบาง
14. พริกขี้หนูหั่นบาง
9
ขั้นตอนและวิธีกำรทำดำเนินงำน
1. นาโทรศัพท์หรือกล้อง เพื่ออัดวีดีโอ ซึ่งมีเนื้อหาเกี่ยวกับการทา สาคูไส้มหูนุ่มนิ่มอร่อย ดังนี้
1. กำรทำแป้ งสำคู
1. นาเม็ดสาคูและน้าอุ่นผสมกับ 2 ถ้วย
2. ค่อยๆนวดให้เข้ากันจนเป็นก้อนเดียวกันหมด
3. จากนั้นพักแป้งสาคูไว้อย่าให้เย็นจนเกินไป
2. กำรทำไส้สำคู
1. ใส่น้ามันพืชลงไปในกระทะรอให้น้ามันเดือดพอสมควร
จากนั้นใส่ผักชี+กระเทียม+พริกไทยดา ที่โครกรวมกันลงไปผัดให้หอม
2. จากนั้นใส่หอมแดง ผัดรวมกันตามด้วยหมูสับ
3. จากนั้นใส่หัวไขโป๊เค็มผัดจนหมูเปลี่ยนสี กลิ่นจะค่อยๆหอมขึ้น
4. จากนั้นปรุงรสด้วยน้าปลาและน้าตาลปี๊บ
5. จากนั้นใส่ถั่วลิสงและผัดเข้าด้วยกัน
6.
เมื่อผัดไส้เสร็จแล้วให้พักไส้ไว้ให้เย็นเพราะถ้าร้อนเกินไปไส้จะไม่สามารถจับตัวกันได้และทาให้เวลาห่อไ
ส้จะยากลาบาก
3. กำรทำน้ำอำจำด
1. นาน้าสมสายชู น้าเชื่อม แตงกวาสอย พริกขี้หนูหั่นหอมแดงสอยผสมรวมกัน
และครุกเคล้าเข้าด้วยกันก็จะได้น้าอาจาด
4. กำรปั้นสำคู
1. นาไส้สาคูปั้นเป็นก่อนเล็กๆและห่อด้วยแป้งสาคูที่พักไว้เป็นลูกกลมๆ
2. เมื่อปั้นเสร็จแล้ว นาสาคูไปนึ่งไว้ 15นาที เมื่อครบแล้ว
สาคูไส้หมูนุ่มนิ่มของเราก็จะเสร็จสมบูรณ์
2. เปิดโปรแกรม AVS Video Editor ขึ้นมา
3. แล้วต่อไปเราจะนาวีดีโอที่เราต้องการจะตัดเข้ามาโดยการคลิกที่ Media Library แล้วตามด้วย
Import
4. ทาการลากไฟล์ที่เราจะตัดมาใว้ใน Track วีดีโอนะครับแล้วคลิกที่ Trim เพื่อตัดวีดีโอ
10
5. จากนั้นเพิ่มลูกเล่นต่างๆในแถบเมนูด้านล่าง
6. เมื่อเสร็จสิ้นแล้ว ทาการบันทึกวีดีดโอโดยการคลิกที่ Produce
7. จากนั้นให้กด File แล้วกด Next
8. จากนั้นจะมีแถบขึ้นให้เราเลือกกด AVI จากนั้นกด Next
9. จากนั้นวีดีโอจะทาการโหลดและ create เป็นอันจบการตัดต่อวีดีโอ
บทที่ 4
ผลกำรศึกษำค้นคว้ำ
ผลกำรศึกษำค้นคว้ำ
1. ได้ศึกษาหาความรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับอุปกรณ์
2. ได้ศึกษาวิธีการทาสาคูไส้หมู
3. ได้ศึกษาวิธีขั้นตอนการจัดทาสื่อเพื่อการเรียนรู้
4. ได้ใช้เป็นสื่อในการเรียนรู้ เรื่อง สาคูไส้หมูนุ่มนิ่ม
โดยการจัดทาสื่อวีดีโอเพื่อการศึกษาและได้นาสื่อลงทาง youtube
เพื่อให้ผู้ที่สนใจได้ศึกษาและต่อยอดต่อไปได้
https://www.youtube.com/watch?v=1NwRR2oqpeU&feature=youtu.be
11
บทที่ 5
สรุปผล อภิปรำยผล และข้อเสนอแนะ
สรุปผล
จากการศึกษาค้นคว้าสรุปได้ว่าการทาสื่อเพื่อการเรียนรู้ในครั้งนี้ประสบผลสาเร็จด้วยดีเนื่องจากคณะผู้จัดทา
มีความรู้และได้ศึกษาการทาสาคูเป็นอย่างดีและได้ึึกึนทักษะการทาวิดีโอการศึกษาหลายครั้ง
โครงงานในครั้งนี้จึงประสบผลสาเร็จและเสร็จตรงเวลาได้ตามเป้าหมายที่กาหนด
ทั้งนี้คณะผู้จัดจึงได้มีการเผยแพร่กระทาสาคูไส้หมูนุ่มนิ่มลงไปใน Social Network หรืออัพลง
youtube เพื่อให้เกิดการแพร่หลายต่อผู้ที่สนใจได้สืบค้นได้ง่าย
และตรงกับวัตถุประสงค์ของคณะผู้จัดทาอีกด้วย
อภิปรำยผล
การทาสื่อเพื่อการศึกษาในครั้งนี้ได้คลิปวีดีโอความยาว 6.42 นาที
ประโยชน์ของโครงงำน
1. สามารถเป็นการใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์
2. สามารถเรียนรู้ขั้นตอนวิธีการและจัดหาอุปกรณ์
12
3. สามารถเป็นสื่อในการเรียนรู้ของผู้ที่สนใจ
https://www.youtube.com/watch?v=1NwRR2oqpeU&feature=youtu.be

More Related Content

Viewers also liked

รายงานผลการวิจัยและพัฒนานวัตกรรม
รายงานผลการวิจัยและพัฒนานวัตกรรมรายงานผลการวิจัยและพัฒนานวัตกรรม
รายงานผลการวิจัยและพัฒนานวัตกรรมKruPor Sirirat Namthai
 
การแข่งขันอาหารระดับภาคกลางและภาคตะวันออก จังหวัดระยอง ๑๑ ธันวาคม ๒๕๕๕
การแข่งขันอาหารระดับภาคกลางและภาคตะวันออก จังหวัดระยอง ๑๑ ธันวาคม ๒๕๕๕การแข่งขันอาหารระดับภาคกลางและภาคตะวันออก จังหวัดระยอง ๑๑ ธันวาคม ๒๕๕๕
การแข่งขันอาหารระดับภาคกลางและภาคตะวันออก จังหวัดระยอง ๑๑ ธันวาคม ๒๕๕๕KruPor Sirirat Namthai
 
การค้นหาข้อมูลสารสนเทศ
การค้นหาข้อมูลสารสนเทศการค้นหาข้อมูลสารสนเทศ
การค้นหาข้อมูลสารสนเทศออ' เอ ฟอ
 
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่noonlove09
 
เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่
เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่
เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่Aii S'saii
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1sasithon_soot
 
เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่
เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่
เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่fhasia
 
เทคโนโลยีสาระสนเทศสมัยให
เทคโนโลยีสาระสนเทศสมัยใหเทคโนโลยีสาระสนเทศสมัยให
เทคโนโลยีสาระสนเทศสมัยใหAii Wayu
 
เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่
เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่
เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่Nongpech Boonchuai
 
เทคโนโลยีสาระสนเทศสมัยใหม่
เทคโนโลยีสาระสนเทศสมัยใหม่เทคโนโลยีสาระสนเทศสมัยใหม่
เทคโนโลยีสาระสนเทศสมัยใหม่Aii Wayu
 
เทคโนโลยีสาระสนเทศ
เทคโนโลยีสาระสนเทศเทคโนโลยีสาระสนเทศ
เทคโนโลยีสาระสนเทศAii'fon Kyky
 
เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่
เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่
เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่Kob07432
 

Viewers also liked (16)

รายงานผลการวิจัยและพัฒนานวัตกรรม
รายงานผลการวิจัยและพัฒนานวัตกรรมรายงานผลการวิจัยและพัฒนานวัตกรรม
รายงานผลการวิจัยและพัฒนานวัตกรรม
 
การแข่งขันอาหารระดับภาคกลางและภาคตะวันออก จังหวัดระยอง ๑๑ ธันวาคม ๒๕๕๕
การแข่งขันอาหารระดับภาคกลางและภาคตะวันออก จังหวัดระยอง ๑๑ ธันวาคม ๒๕๕๕การแข่งขันอาหารระดับภาคกลางและภาคตะวันออก จังหวัดระยอง ๑๑ ธันวาคม ๒๕๕๕
การแข่งขันอาหารระดับภาคกลางและภาคตะวันออก จังหวัดระยอง ๑๑ ธันวาคม ๒๕๕๕
 
การค้นหาข้อมูลสารสนเทศ
การค้นหาข้อมูลสารสนเทศการค้นหาข้อมูลสารสนเทศ
การค้นหาข้อมูลสารสนเทศ
 
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่
 
ใบงานที่ 1
ใบงานที่ 1ใบงานที่ 1
ใบงานที่ 1
 
เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่
เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่
เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่
เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่
เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่
 
เทคโนโลยีสาระสนเทศสมัยให
เทคโนโลยีสาระสนเทศสมัยใหเทคโนโลยีสาระสนเทศสมัยให
เทคโนโลยีสาระสนเทศสมัยให
 
เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่
เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่
เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่
 
เทคโนโลยี
เทคโนโลยีเทคโนโลยี
เทคโนโลยี
 
เทคโนโลยีสาระสนเทศสมัยใหม่
เทคโนโลยีสาระสนเทศสมัยใหม่เทคโนโลยีสาระสนเทศสมัยใหม่
เทคโนโลยีสาระสนเทศสมัยใหม่
 
เทคโนโลยีสาระสนเทศ
เทคโนโลยีสาระสนเทศเทคโนโลยีสาระสนเทศ
เทคโนโลยีสาระสนเทศ
 
เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่
เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่
เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่
เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่
เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่
 

Similar to โครงงานคลิปสอนทำสาคูนุ่มนิ่ม

e-Courseware with Microsoft Producer & HotPotatoes
e-Courseware with Microsoft Producer & HotPotatoese-Courseware with Microsoft Producer & HotPotatoes
e-Courseware with Microsoft Producer & HotPotatoesBoonlert Aroonpiboon
 
ข้อมูลมัลติมีเดีย
ข้อมูลมัลติมีเดียข้อมูลมัลติมีเดีย
ข้อมูลมัลติมีเดียDuangsuwun Lasadang
 
คู่มือ Photoshop cs3
คู่มือ Photoshop cs3คู่มือ Photoshop cs3
คู่มือ Photoshop cs3charuwarin
 
คู่มือการใช้งาน Adobe Photoshop cs3 เบื้องต้น
คู่มือการใช้งาน Adobe Photoshop cs3 เบื้องต้นคู่มือการใช้งาน Adobe Photoshop cs3 เบื้องต้น
คู่มือการใช้งาน Adobe Photoshop cs3 เบื้องต้นBeerza Kub
 
วิธีการทำ Photoshop cs3 2
วิธีการทำ Photoshop cs3 2วิธีการทำ Photoshop cs3 2
วิธีการทำ Photoshop cs3 2suphinya44
 
เอกสารประกอบการอบรม
เอกสารประกอบการอบรมเอกสารประกอบการอบรม
เอกสารประกอบการอบรมBurin Narin
 

Similar to โครงงานคลิปสอนทำสาคูนุ่มนิ่ม (9)

e-Courseware with Microsoft Producer & HotPotatoes
e-Courseware with Microsoft Producer & HotPotatoese-Courseware with Microsoft Producer & HotPotatoes
e-Courseware with Microsoft Producer & HotPotatoes
 
Digital Media
Digital MediaDigital Media
Digital Media
 
ข้อมูลมัลติมีเดีย
ข้อมูลมัลติมีเดียข้อมูลมัลติมีเดีย
ข้อมูลมัลติมีเดีย
 
คู่มือ Photoshop cs3
คู่มือ Photoshop cs3คู่มือ Photoshop cs3
คู่มือ Photoshop cs3
 
คู่มือการใช้งาน Adobe Photoshop cs3 เบื้องต้น
คู่มือการใช้งาน Adobe Photoshop cs3 เบื้องต้นคู่มือการใช้งาน Adobe Photoshop cs3 เบื้องต้น
คู่มือการใช้งาน Adobe Photoshop cs3 เบื้องต้น
 
วิธีการทำ Photoshop cs3 2
วิธีการทำ Photoshop cs3 2วิธีการทำ Photoshop cs3 2
วิธีการทำ Photoshop cs3 2
 
Window mm
Window mmWindow mm
Window mm
 
เอกสารประกอบการอบรม
เอกสารประกอบการอบรมเอกสารประกอบการอบรม
เอกสารประกอบการอบรม
 
Window mm
Window mmWindow mm
Window mm
 

More from KruPor Sirirat Namthai

การใช้งานเว็บไซต์ คปภ.
การใช้งานเว็บไซต์ คปภ.การใช้งานเว็บไซต์ คปภ.
การใช้งานเว็บไซต์ คปภ.KruPor Sirirat Namthai
 
ปพ.5 2560-1-ง33201คอมพิวเตอร์
ปพ.5 2560-1-ง33201คอมพิวเตอร์ปพ.5 2560-1-ง33201คอมพิวเตอร์
ปพ.5 2560-1-ง33201คอมพิวเตอร์KruPor Sirirat Namthai
 
ปพ.5 2560-1-ง33101การงานอาชีพและเทคโนโลยี
ปพ.5 2560-1-ง33101การงานอาชีพและเทคโนโลยีปพ.5 2560-1-ง33101การงานอาชีพและเทคโนโลยี
ปพ.5 2560-1-ง33101การงานอาชีพและเทคโนโลยีKruPor Sirirat Namthai
 
ปพ.5 2560-1-ง23201เทคโนโลยีสารสนเทศ
ปพ.5 2560-1-ง23201เทคโนโลยีสารสนเทศปพ.5 2560-1-ง23201เทคโนโลยีสารสนเทศ
ปพ.5 2560-1-ง23201เทคโนโลยีสารสนเทศKruPor Sirirat Namthai
 
โครงงานคอมพิวเตอร์น่ารู้
โครงงานคอมพิวเตอร์น่ารู้โครงงานคอมพิวเตอร์น่ารู้
โครงงานคอมพิวเตอร์น่ารู้KruPor Sirirat Namthai
 
พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ
พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ
พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ KruPor Sirirat Namthai
 
ปพ.5 2559-2-ง33202คอมพิวเตอร์
ปพ.5 2559-2-ง33202คอมพิวเตอร์ปพ.5 2559-2-ง33202คอมพิวเตอร์
ปพ.5 2559-2-ง33202คอมพิวเตอร์KruPor Sirirat Namthai
 
ปพ.5 2559-2-ง31202คอมพิวเตอร์
ปพ.5 2559-2-ง31202คอมพิวเตอร์ปพ.5 2559-2-ง31202คอมพิวเตอร์
ปพ.5 2559-2-ง31202คอมพิวเตอร์KruPor Sirirat Namthai
 
ปพ.5 2559-2-ง23202เทคโนโลยีสารสนเทศ
ปพ.5 2559-2-ง23202เทคโนโลยีสารสนเทศปพ.5 2559-2-ง23202เทคโนโลยีสารสนเทศ
ปพ.5 2559-2-ง23202เทคโนโลยีสารสนเทศKruPor Sirirat Namthai
 
ปพ.5 2559-2-ง23102การงานอาชีพและเทคโนโลยี
ปพ.5 2559-2-ง23102การงานอาชีพและเทคโนโลยีปพ.5 2559-2-ง23102การงานอาชีพและเทคโนโลยี
ปพ.5 2559-2-ง23102การงานอาชีพและเทคโนโลยีKruPor Sirirat Namthai
 
ปพ.5 2559-1-ง33201คอมพิวเตอร์
ปพ.5 2559-1-ง33201คอมพิวเตอร์ปพ.5 2559-1-ง33201คอมพิวเตอร์
ปพ.5 2559-1-ง33201คอมพิวเตอร์KruPor Sirirat Namthai
 
ปพ.5 2559-1-ง31201คอมพิวเตอร์
ปพ.5 2559-1-ง31201คอมพิวเตอร์ปพ.5 2559-1-ง31201คอมพิวเตอร์
ปพ.5 2559-1-ง31201คอมพิวเตอร์KruPor Sirirat Namthai
 
ปพ.5 2559-1-ง23201เทคโนโลยีสารสนเทศ
ปพ.5 2559-1-ง23201เทคโนโลยีสารสนเทศปพ.5 2559-1-ง23201เทคโนโลยีสารสนเทศ
ปพ.5 2559-1-ง23201เทคโนโลยีสารสนเทศKruPor Sirirat Namthai
 
คู่มือการใช้งานเว็บบล็อก
คู่มือการใช้งานเว็บบล็อกคู่มือการใช้งานเว็บบล็อก
คู่มือการใช้งานเว็บบล็อกKruPor Sirirat Namthai
 
รายวิชา การงานอาชีพและเทคโนโลยี
รายวิชา การงานอาชีพและเทคโนโลยีรายวิชา การงานอาชีพและเทคโนโลยี
รายวิชา การงานอาชีพและเทคโนโลยีKruPor Sirirat Namthai
 

More from KruPor Sirirat Namthai (20)

การใช้งานเว็บไซต์ คปภ.
การใช้งานเว็บไซต์ คปภ.การใช้งานเว็บไซต์ คปภ.
การใช้งานเว็บไซต์ คปภ.
 
ปพ.5 2560-1-ง33201คอมพิวเตอร์
ปพ.5 2560-1-ง33201คอมพิวเตอร์ปพ.5 2560-1-ง33201คอมพิวเตอร์
ปพ.5 2560-1-ง33201คอมพิวเตอร์
 
ปพ.5 2560-1-ง33101การงานอาชีพและเทคโนโลยี
ปพ.5 2560-1-ง33101การงานอาชีพและเทคโนโลยีปพ.5 2560-1-ง33101การงานอาชีพและเทคโนโลยี
ปพ.5 2560-1-ง33101การงานอาชีพและเทคโนโลยี
 
ปพ.5 2560-1-ง23201เทคโนโลยีสารสนเทศ
ปพ.5 2560-1-ง23201เทคโนโลยีสารสนเทศปพ.5 2560-1-ง23201เทคโนโลยีสารสนเทศ
ปพ.5 2560-1-ง23201เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
โครงงานคอมพิวเตอร์น่ารู้
โครงงานคอมพิวเตอร์น่ารู้โครงงานคอมพิวเตอร์น่ารู้
โครงงานคอมพิวเตอร์น่ารู้
 
พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ
พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ
พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ
 
หนังสั้น1212121
หนังสั้น1212121หนังสั้น1212121
หนังสั้น1212121
 
ปพ.5 2559-2-ง33202คอมพิวเตอร์
ปพ.5 2559-2-ง33202คอมพิวเตอร์ปพ.5 2559-2-ง33202คอมพิวเตอร์
ปพ.5 2559-2-ง33202คอมพิวเตอร์
 
ปพ.5 2559-2-ง31202คอมพิวเตอร์
ปพ.5 2559-2-ง31202คอมพิวเตอร์ปพ.5 2559-2-ง31202คอมพิวเตอร์
ปพ.5 2559-2-ง31202คอมพิวเตอร์
 
ปพ.5 2559-2-ง23202เทคโนโลยีสารสนเทศ
ปพ.5 2559-2-ง23202เทคโนโลยีสารสนเทศปพ.5 2559-2-ง23202เทคโนโลยีสารสนเทศ
ปพ.5 2559-2-ง23202เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ปพ.5 2559-2-ง23102การงานอาชีพและเทคโนโลยี
ปพ.5 2559-2-ง23102การงานอาชีพและเทคโนโลยีปพ.5 2559-2-ง23102การงานอาชีพและเทคโนโลยี
ปพ.5 2559-2-ง23102การงานอาชีพและเทคโนโลยี
 
ปพ.5 2559-1-ง33201คอมพิวเตอร์
ปพ.5 2559-1-ง33201คอมพิวเตอร์ปพ.5 2559-1-ง33201คอมพิวเตอร์
ปพ.5 2559-1-ง33201คอมพิวเตอร์
 
ปพ.5 2559-1-ง31201คอมพิวเตอร์
ปพ.5 2559-1-ง31201คอมพิวเตอร์ปพ.5 2559-1-ง31201คอมพิวเตอร์
ปพ.5 2559-1-ง31201คอมพิวเตอร์
 
ปพ.5 2559-1-ง23201เทคโนโลยีสารสนเทศ
ปพ.5 2559-1-ง23201เทคโนโลยีสารสนเทศปพ.5 2559-1-ง23201เทคโนโลยีสารสนเทศ
ปพ.5 2559-1-ง23201เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
เอ4bestp59
เอ4bestp59เอ4bestp59
เอ4bestp59
 
ทำ Mind mapping
ทำ Mind mappingทำ Mind mapping
ทำ Mind mapping
 
คู่มือการใช้งานเว็บบล็อก
คู่มือการใช้งานเว็บบล็อกคู่มือการใช้งานเว็บบล็อก
คู่มือการใช้งานเว็บบล็อก
 
รายวิชา การงานอาชีพและเทคโนโลยี
รายวิชา การงานอาชีพและเทคโนโลยีรายวิชา การงานอาชีพและเทคโนโลยี
รายวิชา การงานอาชีพและเทคโนโลยี
 
โครงสร้าง
โครงสร้างโครงสร้าง
โครงสร้าง
 
คู่มือ
คู่มือคู่มือ
คู่มือ
 

โครงงานคลิปสอนทำสาคูนุ่มนิ่ม

  • 1. 1 บทที่ 1 บทนำ ที่มำและควำมสำคัญ สำคูเป็นชื่ออาหารว่างชนิดหนึ่ง ทาด้วยสาคูเม็ดเล็กนวดน้าร้อนให้ดิบ ๆสุก ๆปั้นเป็นก้อน มีเนื้อหมูเป็นต้นสับผัดกับเครื่องปรุงทาเป็นไส้แล้วนึ่ง สาคู เราสามารถประยุกต์ ได้หลายรสชาติ หลายสี หลายแบบ สาคูไส้หมู สาคูไส้หวาน ซึ่งวัตถุดิบเหล่านี้เราสามารถหาได้ง่ายในท้องถิ่นของเราและ หน้าของสาคูเราสามารถทาให้เป็นสี เพื่อเป็นสื่อในการเรียนรู้และต่อยอดให้ผู้ที่สนใจได้ศึกษา กลุ่มของข้าพเจ้าจึงสนใจจัดทาเป็นสื่อคลิปวิดีโอ เรื่อง สาคูไส้หมูนุ่มนิ่งโดยการทาสาคูไส้หมูคณะผู้จัดทาได้เห็นถึงความสาคัญในการทาขนมสาคูยัดไส้ว่าเป็นการ อนุรักษ์ขนมไทย ให้คนรุ่นหลังสืบทอดกันต่อไป และเป็นการใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ และยังสามารถทาเป็นการหารายได้เสริมอีกด้วย วัตถุประสงค์ในกำรทำโครงงำน 1 พัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา เรื่องสาคูไส้หมูนุ่มนิ่ง 2 เพื่อเผยแพร่ความรู้สื่อเพื่อการศึกษา เรื่องสาคูไส้หมูนุ่มนิ่ง 3 เพื่อประเมินความพึงพอใจสื่อเพื่อการศึกษา สาคูไส้หมูนุ่มนิ่ง ขอบเขตกำรศึกษำโครงงำน การศึกษาโครงงานในครั้งนี้เราตั้งอยู่ในหัวข้อเกี่ยวกับความเป็นไทย การอนุรักษ์วัฒนธรรมไทย คณะผู้จัดทาจึงได้ทาโครงงานเกี่ยวกับขนมไทยโดยการเลือกสาคูไส้หมูในการทาโครงงานในครั้งนี้ ประโยชน์ที่คำดว่ำจะได้รับ 1. เพื่อเผยแพร่ความรู้ สาคูไส้หมูนุ่มนิ่ม แก่ผู้ที่สนใจไดศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม ได้ง่ายและรวดเร็วยิ่งขึ้น 2. เพื่อนาความรู้และทักษะไปประยุกต์ใช้ในการจัดทาสื่อในเรื่องอื่นๆ ต่อไป
  • 2. 2 บทที่ 2 หลักกำรและทฤษฎี 2.1 สำคู สำคูเป็นชื่ออาหารว่างชนิดหนึ่ง ทาด้วยสาคูเม็ดเล็กนวดน้าร้อนให้ดิบ ๆสุก ๆปั้นเป็นก้อน มีเนื้อหมูเป็นต้นสับผัดกับเครื่องปรุงทาเป็นไส้แล้วนึ่ง สาคู เราสามารถประยุกต์ ได้หลายรสชาติ หลายสี หลายแบบ วิธีกำรทำ 1. กำรทำแป้ งสำคู 1. นาเม็ดสาคูและน้าอุ่นผสมกับ 2 ถ้วย 2. ค่อยๆนวดให้เข้ากันจนเป็นก้อนเดียวกันหมด 3. จากนั้นพักแป้งสาคูไว้อย่าให้เย็นจนเกินไป 2. กำรทำไส้สำคู 1. ใส่น้ามันพืชลงไปในกระทะรอให้น้ามันเดือดพอสมควร จากนั้นใส่ผักชี+กระเทียม+พริกไทยดา ที่โครกรวมกันลงไปผัดให้หอม 2. จากนั้นใส่หอมแดง ผัดรวมกันตามด้วยหมูสับ 3. จากนั้นใส่หัวไขโป๊เค็มผัดจนหมูเปลี่ยนสี กลิ่นจะค่อยๆหอมขึ้น 4. จากนั้นปรุงรสด้วยน้าปลาและน้าตาลปี๊บ 5. จากนั้นใส่ถั่วลิสงและผัดเข้าด้วยกัน 6. เมื่อผัดไส้เสร็จแล้วให้พักไส้ไว้ให้เย็นเพราะถ้าร้อนเกินไปไส้จะไม่สามารถจับตัวกันได้และทาให้เวลาห่อไ ส้จะยากลาบาก 3. กำรทำน้ำอำจำด 1. นาน้าสมสายชู น้าเชื่อม แตงกวาสอย พริกขี้หนูหั่นหอมแดงสอยผสมรวมกัน และครุกเคล้าเข้าด้วยกันก็จะได้น้าอาจาด 4. กำรปั้นสำคู 1. นาไส้สาคูปั้นเป็นก่อนเล็กๆและห่อด้วยแป้งสาคที่พักไว้เป็นลูกกลมๆ
  • 3. 3 2. เมื่อปั้นเสร็จแล้ว นาสาคูไปนึ่งไว้ 15นาที เมื่อครบแล้ว สาคูไส้หมูนุ่มนิ่มของเราก็จะเสร็จสมบูรณ์ 2.2 โปรแกรม AVS Video Editor เป็นโปรแกรมสาหรับการสร้างและการประมวลผลวีดิโอคุณสมบัติครบถ้วน อย่างมืออาชีพเลยครับ คุณสามารถที่จะบันทึกภาพวีดิโอจากกล้องวีดิโอและ TV Tuner, วีดิโอต้นฉบับและสไลด์โชว์,ด้วยEffect และการเปลี่ยนภาพที่น่าตื่นตาตื่นใจ, สามารถสร้างและ Bur n DVD ได้ด้วย, แยกภาพยนตร์ออกมาเป็นวีดิโอได้เกือบทุกรูปแบบเลยครับ, แก้ไขและตกแต่งวีดิโอให้ดูดีขึ้น และโอนย้ายข้อมูลไปยัง iPod, PSP, มือถือและเครื่องเล่นเคลื่อนที่อื่นๆ โดยตรง สามารถตรวจพบฉากต่างๆ โดยอัตโนมัติและสามารถที่จะลบฉากหรือรวมฉากต่างๆ เข้าด้วยกัน จุดเด่นของโปรแกรมตัวนี้คือมีเอฟเฟกต์ให้เลือกกว่า 200แบบทาให้การตกแต่งวีดีโอให้มีความหลา กหลายมากขึ้น สามารถตัดต่อไฟล์ที่อยู่ในรูป HD- Video รวมไปถึงคุณสมบัติใหม่ที่ได้รับการพัฒนาคือ ตัดต่อภาพและจัดเก็บลงในแผ่น Blur-Ray ได้ เอาใจผู้ที่ชื่นชอบการรับชมวีดีโอในระดับความละเอียดสูง นอกจากนี้ยังสามารถโอนถ่ายข้อมูลไปยัง iPod , PSP มือถือและเครื่องเล่นวีดีโอแบบพกพาอื่น ๆโดยตรง ทาให้ไม่ต้องเสียเวลาในการแปลงไฟล์อีก รูปแบบของไฟล์วีดีโอและภำพเคลื่อนไหว ทุกคนคงจะคุ้นเคยไฟล์สกุลต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับคอมพิวเตอร์มาบ้างแล้วนะครับ ในที่นี้เราจะมาทาความรู้จักเกี่ยวกับสกุลไฟล์ต่างๆ ว่าแต่ละรูปแบบมีลักษณะอย่างไร Quick Timeไฟล์วีดีโอรูปแบบหนึ่งที่พัฒนาโดยบริษัท Apple จะนามาใช้กับงานด้านมัลติมีเดีย และเวปไซต์เป็นส่วนใหญ่ทั้งนี้ต้องติดตั้ง Plug Inไว้ที่เวปเบราเซอร์ (IE, Netscape) ก่อนที่จะนาไฟล์มัลติมีเดียประเภทนี้ (หาดาวน์โหลดได้ที่ ) นอกจากนี้ยังเป็นรูปแบบที่เครื่อง Mcintosh สามารถนาเสนองานรูปแบบนี้ได้ดีอีกด้วย AVI เป็นไฟล์วีดีโอเช่นเดียวกัน โดยฟอร์แมตนี้จะถูกใช้งานบนเครื่อง พีซี เช่นเมื่อโหลดภาพจากกล้องวีดีโอเข้ามาที่เครื่องคอมก็จะต้องทาเป็นฟอร์แมต AVI ข้อเสียของมันก็คือขนาดใหญ่มากไฟล์วีดีโอแค่ 1นาที อาจจะต้องใช้พื้นที่เก็บประมาณ 5– 10 MB มักจะนาไฟล์รูปแบบนี้ไปใช้หรือทาการแปลงเป็นไฟล์รูปแบบอื่นๆ เช่น Quick Time , MPEG และอื่นๆ ได้อีกด้วยคุณภาพของการแปลงไฟล์ ภาพและเสียงจะแตกต่างกันเล็กน้อย
  • 4. 4 MPEG (Motion Picture Expert Group) เป็นรูปแบบของการบีบอัดไฟล์ข้อมูลเสียงหรือไฟล์ วีดีโอให้มีขนาดเล็กลง มักจะใช้ในการสร้างแผ่น VideoCD – VCD SVCD DVD หรือ KaraOk(ไฟล์ที่มีนามสกุล *.mpg) จะต้องเปิดด้วยโปรแกรมเฉพาะอย่างเช่น Power DVD, XingMpeg RM,RPM เป็นรูปแบบหนึ่งของไฟล์มัลติมีเดียที่พัฒนาขึ้นโดย RealNetwork Inc. จะมีรูปแบบเฉพาะตัวในการเล่นไฟล์มัลติมีเดียภาพและเสียงอย่างต่อเนื่องที่เรียกว่า Streaming โดยเฉพาะมีโปรแกรมสาหรับเปิดไฟล์ปะเภทนี้ได้แก่ RealPlayer RealAudio สามารถนาเสนองานบนอินเตอร์เน็ตได้เป็นอย่างดี DAT ไฟล์ใน Video-CD: VCD จะมีไฟล์รูปแบบหนึ่งที่มีนามสกุล *.dat ซึ่งจะเป็นเป้าหมายหนึ่งของการแปลงไฟล์ภาพยนต์รูปแบบอื่นๆ ไปเป็นรูปแบบของ VCD จัดว่าเป็นไฟล์ประเภท MPEG ซึ่งจะเปิดรูปแบบนี้ได้ทั้งบนเครื่องคอมพิวเตอร์และเครื่องเล่น VCD Gif Animation (Graphics Interchange Format) รูปแบบหนึ่งของภาพเคลื่อนไหว ที่นิยมใช้งานบนอินเตอร์เน็ตโดยการสร้างภาพเคลื่อนไหว 1 ภาพ จากการรวมหลายๆภาพเข้าด้วยกัน สามารถเล่นวนได้หลายรอบแล้วแต่การกาหนด ซึ่งสร้างได้จากพวกโปรแกรม Gif Animation เช่น Ulead Gif Animator,Gif Movie Gear ไฟล์รูปภำพ ไฟล์สกุล JPG (Joint Photographer’s Experts Group) เป็นไฟล์หนึ่งที่นิยมใช้บน Internet มีความละเอียดสูง และใช้สีจานวนมาก (สนับสนุนถึง 24 bit color) ไฟล์ชนิดนี้มักจะใช้กับภาพถ่ายที่นามาสแกน และต้องการนาไปใช้บนอินเทอร์เน็ต เพราะให้ความคมชัดและความละเอียดของภาพสูง จุดเด่น สนับสนุนสีได้ถึง 24bit สามารถกาหนดค่าการบีบไฟล์ได้ตามที่ต้องการ มีระบบแสดงผลแบบหยาบและค่อยๆ ขยายไปสู่ละเอียดในระบบ Progressive มีโปรแกรมสนับสนุนการสร้างจานวนมาก เรียกดูได้กับ Graphics Browser ทุกตัว ตั้งค่าการบีบไฟล์ได้ (compress files) จุดด้อย ทาให้พื้นของรูปโปร่งใสไม่ได้ พัฒนาโดยบริษัท CompuServe จัดเป็นไฟล์ภาพสาหรับการเผยแพร่ผ่านอินเทอร์เน็ตตั้งแต่ยุคแรก ไฟล์สกุลGIF (Graphics Interlace File)
  • 5. 5 จุดเด่น สามารถใช้งานข้ามระบบ (Cross Platform) หมายความว่า คอมพิวเตอร์ทุกระบบ ไม่ว่าจะใช้ Windows, Unix ก็สามารถเรียกใช้ไฟล์ภาพสกุลนี้ได้ – มีขนาดไฟล์ต่า จากเทคโนโลยีการบีบอัดภาพ ทาให้สามารถส่งไฟล์ภาพได้รวดเร็ว – สามารถทาพื้นของภาพให้เป็นพื้นแบบโปร่งใสได้ (Transparent) – มีระบบแสดงผลแบบหยาบและค่อยๆ ขยายไปสู่ละเอียดในระบบ Interlace – มีโปรแกรมสนับสนุนการสร้างจานวนมาก – เรียกดูได้กับ Graphics Browser ทุกตัว – ความสามารถด้านการนาเสนอแบบภาพเคลื่อนไหว (GIF Animation) จุดด้อย ไฟล์ชนิดนี้ก็มีจุดด้อยในเรื่องของการแสดงสี ซึ่งแสดงได้เพียง 256สี ทาให้ การนาเสนอภาพถ่าย หรือภาพที่ต้องการความคมชัดหรือภาพสดใส จะต้องอาศัยฟอร์แมตอื่น ไฟล์สกุล PNG (Portable Network Graphics) ไฟล์สกุลล่าสุดที่นาจุดเด่นของไฟล์ GIF และ JPEG มาพัฒนาร่วมกัน ทาให้ภาพในสกุลนี้แสดงผลสีได้มากกว่า 256 สี และยังสามารถทาพื้นภาพให้โปร่งใสได้ จึงเป็นไฟล์ภาพที่ได้รับความนิยมมากในปัจจุบันด้วยอีกสกุลหนึ่ง คุณสมบัติของภาพคือ สามารถใช้งานข้ามระบบ (Cross Platform) หมายความว่า ระบบคอมพิวเตอร์ทุกระบบ ไม่ว่าจะใช้ Windows, Unix ก็สามารถเรียกใช้ไฟล์ภาพสกุลนี้ได้ ขนาดไฟล์เล็ก ด้วยเทคนิคการบีบอัดคงสัญญาณ LZW สามารถทาภาพโปร่งใสจากสีพื้น 256 ระดับ แสดงภาพแบบสอดประสานเช่นเดียวกับ GIF โดยมีความคมชัดที่ดีกว่า มีคุณสมบัติ Gamma ทาให้ภาพสามารถปรับตัวเองได้ตามจอภาพ และปรับระดับความสว่างที่แท้จริงตามที่ควรจะเป็น จุดเด่น สนับสนุนสีได้ถึงตามค่า True color (16bit, 32bit หรือ 64 bit) สามารถกาหนดค่าการบีบไฟล์ได้ตามที่ต้องการ มีระบบแสดงผลแบบหยาบและค่อยๆ ขยายไปสู่ละเอียด (Interlace) สามารถทาพื้นโปร่งใสได้ จุดด้อย หากกาหนดค่าการบีบไฟล์ไว้สูง จะใช้เวลาในการคลายไฟล์สูงตามไปด้วย แต่ขนาดของไฟล์จะมีขนาดต่า ไม่สนับสนุนกับ Graphic Browser รุ่นเก่า สนับสนุนเฉพาะ IE 4 และ Netscape 4 ความละเอียดของภาพและจานวนสีขึ้นอยู่กับ Video Card โปรแกรมสนับสนุนในการสร้างมีน้อย
  • 6. 6 ชนิดของไฟล์เสียงในระบบคอมพิวเตอร์ ในงานคอมพิวเตอร์นั้น มีไฟล์เสียงหลายประเภทด้วยกัน แต่ละประเภทก็มีคุณสมบัติต่างกันออกไป ทาให้เราควรรู้จักกับไฟล์เสียงประเภทต่างๆ จะได้เลือกใช้งานให้เหมาะสมกับงานของเราได้ ไฟล์เสียงบางชนิดอาจใช้งานได้กับบางโปรแกรมเท่านั้น หรือบางชนิดอาจใช้งานได้กับหลายๆโปรแกรม ผมจะขออธิบายไฟล์เสียงที่มักจะได้พบเห็นกันบ่อยๆดังนี้ครับ MIDI (.mid) ย่อมาจาก Musical Instrument Digital Interface เป็นไฟล์ที่ไม่สามารถบันทึกเสียงร้องได้ เพราะเป็นไฟล์ที่เก็บคาสั่งที่ส่งไปให้อุปกรณ์ดนตรีแสดงเสียงออกมาตามข้อมูลที่อยู่ข้างในได้ ทาให้อุปกรณ์ดนตรีที่ต่างกัน เมื่อได้ทางานกับไฟล์ midi อันเดียวกัน อาจทาเสียงออกมาไม่เหมือนกันก็ได้ แต่ไฟล์แบบนี้เป็นที่นิยมมาก เพราะมีขนาดเล็ก และแก้ไขได้ง่าย สามารถประยุกต์ให้ midi เหล่านี้ออกมาเป็นเสียงดนตรีจริงๆได้ ดังนั้นคุณภาพเสียงที่อ่านได้จาก midi จะดีแค่ไหน จึงขึ้นอยู่กับ sound card (supportmidi) หรือ อุปกรณ์+software ประเภท synthesizer WAVE (.wav) เป็นไฟล์เสียงที่ได้มาจากการบันทึกเสียง แล้วเก็บไว้ในระบบดิจิตอล ทาให้เราสามารถนาไฟล์เหล่านี้ไปประยุกต์ใช้งานต่างๆต่อได้อีก ไม่ว่าจะเป็นการปรับแต่งเสียง ผสมเสียง หรือ convert ไปเป็นไฟล์เสียงประเภทอื่นๆได้ (เมื่อทางานร่วมกับ software) ไฟล์ประเภทนี้มีขนาดใหญ่ เพราะสามารถเก็บความละเอียดไว้ได้มากเท่าที่เราต้องการโดยไม่มีการบีบอัดข้อมูล (นอกจากว่าจะมาปรับแต่งทีหลัง) เป็นไฟล์เสียงประเภทหนึ่งที่มักจะพบในวงการดนตรีมาก (อย่างน้อยที่สุดก็เป็นเสียงของนักร้อง) CD Audio (.cda) เป็นไฟล์เสียงที่บันทึกลงบนแผ่นซีดี ใช้เล่นกับเครื่องเสียงทั่วไป ไฟล์ประเภทนี้มีความคมชัดของสัญญาณมาก เพราะไม่มีการบีบอัดข้อมูล เพียงเข้ารหัสในระบบ Linear PCM เป็นไฟล์ .cda ที่มักจะตั้งค่าการเก็บข้อมูลเสียงโดยการสุ่มและแปลงสัญญาณไว้ที่ 44,100 ครั้งต่อวินาที ปกติคอมพิวเตอร์จะไม่สามารถอ่านไฟล์นี้ได้โดยตรง ต้องเล่นผ่านอุปกรณ์อื่นๆ เช่น เครื่องเสียง , ซีดีรอม หรือ software บางชนิด MP3 (.mp3) เป็นที่นิยมมากในหมู่นักฟังเพลงทั่วไปในปัจจุบัน เพราะเป็นไฟล์เสียงที่ถูกบีบข้อมูลให้เล็กลงจากสัญญาณเสียงจริงได้ถึง 10เท่า โดยเราสามารถเลือกความละเอียดของการเข้ารหัสได้ ทาให้คุณภาพเสียงของไฟล์ประเภทนี้ที่บีบอัดข้อมูลไม่มากนัก มีคุณภาพดีใช้ได้เลยทีเดียว (bitrate 128 Kbps) และเนื่องจากความเล็กของไฟล์ประเภทนี้ทาให้เป็นที่นิยมในการส่งไฟล์นี้ผ่านระบบอินเตอร์เน็ตกันด้วย WMA (.wma) เป็นไฟล์เสียงที่ บ.ไมโครซอฟท์ คิดขึ้นมาให้ทางานร่วมกับโปรแกรม Windows Media Player ของระบบวินโดว์ สามารถฟังเสียงผ่านระบบ streaming ได้ คือ ดาวน์โหลดข้อมูลไปด้วย พร้อมกับถอดรหัสเสียงให้ฟังไปพร้อมๆกันเลย โดยไม่ต้องรอให้ดาวน์โหลดครบ 100% ส่วนคุณภาพเสียงนั้นมีความละเอียดสูงไม่แพ้ mp3 128Kbps เลย แต่จะมีขนาดเล็กกว่า mp3
  • 7. 7 ที่ความละเอียดเสียงพอๆกัน เพราะเข้ารหัสแบบ bitrate 64 Kbps (ครึ่งเดียว) ปัจจุบันเครื่องเสียงบ้านและรถยนต์ได้หันมารองรับไฟล์ระบบนี้มากขึ้นแล้ว Real Audio (.ra) เป็นไฟล์เสียงที่ทางานคู่กับโปรแกรม Real Player เน้นการทางานแบบ Streaming สามารถฟังเสียงและดูภาพขณะกาลังดาวน์โหลดข้อมูลได้พร้อมๆกันเลย มีหลายความละเอียดให้เลือกหลายระดับ เป็นที่นิยมในหมู่นักดูหนังฟังเพลงในอินเตอร์เน็ตมาก Audio Streaming Format (.asf) เป็นไฟล์เสียงหนึ่งที่มีรูปแบบ Streaming ที่เน้นส่งข้อมูลเสียงแบบ real time ใช้กันมากในการฟังวิทยุออนไลน์บนอินเตอร์เน็ต Audio Interchange File Format (.aif , .aiff) เป็นไฟล์ลักษณะคล้ายไฟล์ Wave แต่ใช้สาหรับเครื่อง Macintosh ACC (.acc) เป็นไฟล์เสียงที่มีคุณภาพสูงมาก สุ่มความถี่ได้ถึง 96kHz รองรับอัตราการเล่นไฟล์สูงถึง 576 Kbps สามารถแยกเสียงได้ถึงระบบ 5.1ช่อง เทียบเท่า Dolby Digital หรือ AC-3 2.3 สื่อเพื่อกำรเรียนรู้ เรื่อง สำคูไส้หมูนุ่มนิ่ม เป็นวิดีโอสอนวิธีทาขนมไทยที่เป็นการบอกลายละเอียดวัสดุและขั้นตอนและวิธีการทา โดยคณะผู้จัดทาได้เลือกสาคูไส้หมูเป็นโครงงานในครั้งนี้เนื่องจากว่า สาคูไส้หมูเป็นขนมไทยที่อร่อย เป็นที่นิยม แต่วิธีการทาค่อนข้างยาก และวัสดุในการทานั้นเยอะ จึงได้ทาสื่อเพื่อให้คนรุ่นหลังที่ยังไม่สามารถไม่มีความรู้เรื่องการทาสาคูไส้หมูได้ ได้ศึกษากันต่อไป
  • 8. 8 บทที่ 3 วัสดุอุปกรณ์และขั้นตอนกำรดำเนินงำน วัสดุอุปกรณ์ 1. โทรศัพท์มือถือ หรือกล้อง สาหรับถ่ายวีดีโอ 2. โปรแกรม AVS Video Editor 3. เม็ดสาคู 4. ถั่วลิสงโครกละเอียด 5. หมูสับ 6. หัวไชโป๊เค็ม 7. หอมแดงหั่นบาง 8. รากผักชี+กระเทียม+พริกไทยดา โครกรวมกัน 9. น้าปลา 10. น้าตาลปี๊บ 11. น้าสมสายชู 12. น้าเชื่อม 13. แตงกวาหั่นบาง 14. พริกขี้หนูหั่นบาง
  • 9. 9 ขั้นตอนและวิธีกำรทำดำเนินงำน 1. นาโทรศัพท์หรือกล้อง เพื่ออัดวีดีโอ ซึ่งมีเนื้อหาเกี่ยวกับการทา สาคูไส้มหูนุ่มนิ่มอร่อย ดังนี้ 1. กำรทำแป้ งสำคู 1. นาเม็ดสาคูและน้าอุ่นผสมกับ 2 ถ้วย 2. ค่อยๆนวดให้เข้ากันจนเป็นก้อนเดียวกันหมด 3. จากนั้นพักแป้งสาคูไว้อย่าให้เย็นจนเกินไป 2. กำรทำไส้สำคู 1. ใส่น้ามันพืชลงไปในกระทะรอให้น้ามันเดือดพอสมควร จากนั้นใส่ผักชี+กระเทียม+พริกไทยดา ที่โครกรวมกันลงไปผัดให้หอม 2. จากนั้นใส่หอมแดง ผัดรวมกันตามด้วยหมูสับ 3. จากนั้นใส่หัวไขโป๊เค็มผัดจนหมูเปลี่ยนสี กลิ่นจะค่อยๆหอมขึ้น 4. จากนั้นปรุงรสด้วยน้าปลาและน้าตาลปี๊บ 5. จากนั้นใส่ถั่วลิสงและผัดเข้าด้วยกัน 6. เมื่อผัดไส้เสร็จแล้วให้พักไส้ไว้ให้เย็นเพราะถ้าร้อนเกินไปไส้จะไม่สามารถจับตัวกันได้และทาให้เวลาห่อไ ส้จะยากลาบาก 3. กำรทำน้ำอำจำด 1. นาน้าสมสายชู น้าเชื่อม แตงกวาสอย พริกขี้หนูหั่นหอมแดงสอยผสมรวมกัน และครุกเคล้าเข้าด้วยกันก็จะได้น้าอาจาด 4. กำรปั้นสำคู 1. นาไส้สาคูปั้นเป็นก่อนเล็กๆและห่อด้วยแป้งสาคูที่พักไว้เป็นลูกกลมๆ 2. เมื่อปั้นเสร็จแล้ว นาสาคูไปนึ่งไว้ 15นาที เมื่อครบแล้ว สาคูไส้หมูนุ่มนิ่มของเราก็จะเสร็จสมบูรณ์ 2. เปิดโปรแกรม AVS Video Editor ขึ้นมา 3. แล้วต่อไปเราจะนาวีดีโอที่เราต้องการจะตัดเข้ามาโดยการคลิกที่ Media Library แล้วตามด้วย Import 4. ทาการลากไฟล์ที่เราจะตัดมาใว้ใน Track วีดีโอนะครับแล้วคลิกที่ Trim เพื่อตัดวีดีโอ
  • 10. 10 5. จากนั้นเพิ่มลูกเล่นต่างๆในแถบเมนูด้านล่าง 6. เมื่อเสร็จสิ้นแล้ว ทาการบันทึกวีดีดโอโดยการคลิกที่ Produce 7. จากนั้นให้กด File แล้วกด Next 8. จากนั้นจะมีแถบขึ้นให้เราเลือกกด AVI จากนั้นกด Next 9. จากนั้นวีดีโอจะทาการโหลดและ create เป็นอันจบการตัดต่อวีดีโอ บทที่ 4 ผลกำรศึกษำค้นคว้ำ ผลกำรศึกษำค้นคว้ำ 1. ได้ศึกษาหาความรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับอุปกรณ์ 2. ได้ศึกษาวิธีการทาสาคูไส้หมู 3. ได้ศึกษาวิธีขั้นตอนการจัดทาสื่อเพื่อการเรียนรู้ 4. ได้ใช้เป็นสื่อในการเรียนรู้ เรื่อง สาคูไส้หมูนุ่มนิ่ม โดยการจัดทาสื่อวีดีโอเพื่อการศึกษาและได้นาสื่อลงทาง youtube เพื่อให้ผู้ที่สนใจได้ศึกษาและต่อยอดต่อไปได้ https://www.youtube.com/watch?v=1NwRR2oqpeU&feature=youtu.be
  • 11. 11 บทที่ 5 สรุปผล อภิปรำยผล และข้อเสนอแนะ สรุปผล จากการศึกษาค้นคว้าสรุปได้ว่าการทาสื่อเพื่อการเรียนรู้ในครั้งนี้ประสบผลสาเร็จด้วยดีเนื่องจากคณะผู้จัดทา มีความรู้และได้ศึกษาการทาสาคูเป็นอย่างดีและได้ึึกึนทักษะการทาวิดีโอการศึกษาหลายครั้ง โครงงานในครั้งนี้จึงประสบผลสาเร็จและเสร็จตรงเวลาได้ตามเป้าหมายที่กาหนด ทั้งนี้คณะผู้จัดจึงได้มีการเผยแพร่กระทาสาคูไส้หมูนุ่มนิ่มลงไปใน Social Network หรืออัพลง youtube เพื่อให้เกิดการแพร่หลายต่อผู้ที่สนใจได้สืบค้นได้ง่าย และตรงกับวัตถุประสงค์ของคณะผู้จัดทาอีกด้วย อภิปรำยผล การทาสื่อเพื่อการศึกษาในครั้งนี้ได้คลิปวีดีโอความยาว 6.42 นาที ประโยชน์ของโครงงำน 1. สามารถเป็นการใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ 2. สามารถเรียนรู้ขั้นตอนวิธีการและจัดหาอุปกรณ์