SlideShare a Scribd company logo
1 of 87
Download to read offline
รายงาน 
วิชา 
Environmental Management Accounting (03760433) 
เรื่อง 
การศึกษาบัญชีสิ่งแวดล้อมตามพระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2535 
นาเสนอ 
ผศ. พัชนิจ เนาวพันธ์ 
จัดทาโดย 
นาย ชนินทร์ เสริมดารารัตน์ 5430160164 
นาย ชวนันท์ พละชัย 5430160181 
นาย ทรงชม นภาจันทร์เด่น 5430160300 
นาย ปฐมณัฐ ศิริสวัสดิ์ 5430160512 
นาย เสฏฐพัฒน์ เติมต่อ 5430160873 
รายงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชา Environmental Management Accounting (03760433) 
คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา 
ปีการศึกษา พ .ศ. 2557
คำนำ 
ในปัจจุบันบริษัทส่วนมากสนใจกับการทากาไรและหาผลประโยชน์เพียงอย่างเดียวโดยไม่คานึงถึง ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมจึงได้มีการจัดทารายงานเล่มนี้เพื่อดูและศึกษาการทาบัญชีสิ่งแวดล้อมที่มี ผลกระทบต่อรายการ สินทรัพย์ หนี้สิน รายได้ ค่าใช้จ่าย ทุนและต้นทุน ศึกษาการจัดทา CSR EIA และ ISO 14001 และ ISO ด้านต่างๆที่บริษัทได้รับรางวัล อีกทั้งยังศึกษาจากรายงานความยั่งยืนประจาปีของบริษัท และทาการเปรียบเทียบกับรายงานประจาปีของสานักงานคณะกรรมการกากับหลักทรัพย์และตลาด หลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) เพื่อหาข้อแตกต่างเกี่ยวกับการเปิดเผยข้อมูลด้านสิ่งแวดล้อม ศึกษาการดาเนินการของ บริษัทด้านการจัดการกับสิ่งแวดล้อมที่เป็นมิตรเปรียบเทียบกับกฎหมายพระราชบัญญัติสิ่งแวดล้อม (พ.ร.บ. สิ่งแวดล้อม) พ.ศ.2535 เพื่อเป็นความรู้ใช้ในการจัดทาบัญชีสิ่งแวดล้อมและใช้เป็นแนวทางให้ผู้ที่เกี่ยวข้อง กับการบริหารจัดการ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ได้เข้าใจถึงบทบาทของตนในการส่งเสริม พนักงานหรือชุมชน ให้รับรู้ ถึงสิทธิและแนวทางการมี ส่วนร่วมในการ บริหารจัดการ ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมในพื้นที่ รวมทั้งแนะนาเทคนิคในการให้ข่าวสารข้อมูลและการเลือกรูปแบบการประเมินผล กระทบต่อสิ่งแวดล้อม และมีขั้นตอนต่างๆในการส่งเสริมให้พนักงานมีส่วนร่วมในการจัดทาแผนการ จัดการทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อมในพื้นที่ด้วยตนเอง คณะผู้จัดทา
สำรบัญ 
เรื่อง หน้ำ กฎหมำยสิ่งแวดล้อม ฉบับที่เกี่ยวข้องกับการจัดการสิ่งแวดล้อม 1 การดาเนินการ 17 ผลกระทบต่อ สินทรัพย์ หนี้สิน ทุน รายได้ ต้นทุน ค่าใช้จ่าย ขององค์การ 20 การดาเนินการทางบัญชี 20 สภำพแวดล้อมของสถำนประกอบกำร ประเด็นสภาพแวดล้อม 21 การดาเนินการ 21 ผลกระทบต่อ สินทรัพย์ หนี้สิน ทุน รายได้ ต้นทุน ค่าใช้จ่าย ขององค์การ 23 การดาเนินการทางบัญชี 24 หลักกำรจัดกำรมลพิษ มลพิษ ประกอบด้วยอะไรบ้าง 28 แนวทางในการจัดการมลพิษ 30 ผลกระทบต่อ สินทรัพย์ หนี้สิน ทุน รายได้ ต้นทุน ค่าใช้จ่าย ขององค์การ 42 การดาเนินการทางบัญชี 44 กำรนำเสนอรำยงำนขององค์กำรที่ได้จัดทำบัญชีสิ่งแวดล้อมต่อสำธำรณะ ข้อมูลเกี่ยวกับองค์การ แนวคิด การดาเนินการ 46 ข้อมูลที่นาเสนอ 50 วิธีนาเสนอ 53 ข้อวิเคราะห์การนาเสนอ 54 
เปรียบเทียบกำรดำเนินงำนของบริษัทกับข้อกำหนดทำงกฎหมำย 55 เปรียบเทียบกับข้อกำหนดรำยงำนควำมยั่งยืนของ กลต. เปรียบเทียบ ประเด็นเหมือน ประเด็นต่าง 61 ตัวอย่างรายงาน 71 วิเคราะห์ ต่อองค์การ และระบบบัญชีบัญชีสิ่งแวดล้อมขององค์การ 73 ข้อพิพำทและปัญหำกำรดำเนินกำร 74 บรรณำณุกรม 84
1 พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535 แบ่งเป็น 7 หมวดใหญ่ๆดังนี้ หมวด ๑ คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ หมวด ๒ กองทุนสิ่งแวดล้อม หมวด ๓ การคุ้มครองสิ่งแวดล้อม ส่วนที่ ๑ มาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดล้อม ส่วนที่ ๒ การวางแผนจัดการคุณภาพสิ่งแวดล้อม ส่วนที่ ๓ เขตอนุรักษ์และพื้นที่คุ้มครองสิ่งแวดล้อม ส่วนที่ ๔ การทารายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม หมวด ๔ การควบคุมมลพิษ ส่วนที่ ๑ คณะกรรมการควบคุมมลพิษ ส่วนที่ ๒ มาตรฐานควบคุมมลพิษจากแหล่งกาเนิด ส่วนที่ ๓ เขตควบคุมมลพิษ ส่วนที่ ๔ มลพิษทางอากาศและเสียง ส่วนที่ ๕ มลพิษทางน้า ส่วนที่ ๖ มลพิษอื่นและของเสียอันตราย ส่วนที่ ๗ การตรวจสอบและควบคุม ส่วนที่ ๘ ค่าบริการและค่าปรับ หมวด ๕ มาตรการส่งเสริม หมวด ๖ ความรับผิดทางแพ่ง หมวด ๗ บทกาหนดโทษ กฎหมำยที่เกี่ยวข้องกับกำรจัดกำรสิ่งแวดล้อม ก่อนเริ่มหมวด ๑ มาตรา ๖ เพื่อประโยชน์ในการร่วมกันส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมของชาติบุคคลอาจมีสิทธิและ หน้าที่ดังต่อไปนี้ (๑) การได้รับทราบข้อมูลและข่าวสารจากทางราชการในเรื่องเกี่ยวกับการส่งเสริมและรักษาคุณภาพ สิ่งแวดล้อมเว้นแต่ข้อมูลหรือข่าวสารที่ทางราชการถือว่าเป็นความลับเกี่ยวข้องกับการรักษาความมั่นคง แห่งชาติ หรือเป็นความลับเกี่ยวกับสิทธิส่วนบุคคลสิทธิในทรัพย์สินหรือสิทธิในทางการค้าหรือกิจการของ บุคคลใดที่ได้รับความคุ้มครองตามกฎหมาย (๒) การได้รับชดใช้ค่าเสียหาย หรือค่าทดแทนจากรัฐ ในกรณีที่ได้รับความเสียหายจากภยันตรายที่
2 เกิดจากการแพร่กระจายของมลพิษหรือภาวะมลพิษ อันมีสาเหตุมาจากกิจการหรือโครงการใดที่ริเริ่ม สนับสนุนหรือดาเนินการโดยส่วนราชการหรือรัฐวิสาหกิจ (๓) การร้องเรียนกล่าวโทษผู้กระทาผิดต่อเจ้าพนักงานในกรณีที่ได้พบเห็นการกระทาใด ๆ อันเป็น การละเมิด หรือฝ่าฝืนกฎหมายเกี่ยวกับการควบคุมมลพิษ หรือการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ (๔) การให้ความร่วมมือและช่วยเหลือเจ้าพนักงานในการปฏิบัติหน้าที่ที่เกี่ยวข้องกับการส่งเสริมและ รักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม (๕) การปฏิบัติตามพระราชบัญญัตินี้หรือกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้องกับการส่งเสริมและรักษาคุณภาพ สิ่งแวดล้อมโดยเคร่งครัด ทั้งนี้ ตามที่พระราชบัญญัตินี้หรือกฎหมายว่าด้วยการนั้นบัญญัติไว้ มาตรา ๗ เพื่อเป็นการสนับสนุนการมีส่วนร่วมของประชาชนในการส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวด ล้อม ให้องค์กรเอกชนซึ่งมีฐานะเป็นนิติบุคคลตามกฎหมายไทย หรือกฎหมายต่างประเทศที่มีกิจกรรม เกี่ยวข้องโดยตรงกับการคุ้มครองสิ่งแวดล้อม หรืออนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ และมิได้มีวัตถุประสงค์ ในทางการเมือง หรือมุ่งค้าหากาไรจากการประกอบกิจกรรมดังกล่าว มีสิทธิขอจดทะเบียนเป็นองค์กร เอกชนด้านการคุ้มครองสิ่งแวดล้อม และอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติต่อกระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อม ตามหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขที่กาหนดในกฎกระทรวง มาตรา ๘ องค์กรเอกชนที่ได้จดทะเบียนตามมาตรา ๗ แล้วอาจได้รับการช่วยเหลือหรือได้รับการสนับสนุน จากทางราชการในเรื่องดังต่อไปนี้ 
(๑) การจัดให้มีอาสาสมัครเพื่อช่วยเหลือการปฏิบัติงานของเจ้าพนักงานตามพระราชบัญญัตินี้หรือ ตามกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้องกับการส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม 
(๒) การประชาสัมพันธ์ เผยแพร่ ข้อมูลหรือข่าวสาร เพื่อสร้างจิตสานึกของสาธารณชนที่ถูกต้อง เกี่ยวกับการคุ้มครองสิ่งแวดล้อมและอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ 
(๓) การช่วยเหลือประชาชนในพื้นที่ใดพื้นที่หนึ่ง ริเริ่มโครงการ หรือกิจกรรม เพื่อคุ้มครอง สิ่งแวดล้อมและอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติในพื้นที่นั้น 
(๔) การศึกษาวิจัยเกี่ยวกับการคุ้มครองสิ่งแวดล้อม และอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ และเสนอแนะ ความคิดเห็นต่อรัฐบาลหรือส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง
3 
(๕) การให้ความช่วยเหลือทางกฎหมายแก่ประชาชนผู้ได้รับอันตราย หรือความเสียหายจากภาวะ มลพิษอันเกิดจากการรั่วไหลหรือแพร่กระจายของมลพิษ รวมทั้งเป็นผู้แทนในคดีที่มีการฟ้องร้องต่อศาล เพื่อเรียกร้องค่าสินไหมทดแทน หรือค่าเสียหายให้แก่ผู้ที่ได้รับอันตรายหรือความเสียหายนั้นด้วย 
ในกรณีที่องค์กรเอกชนที่ได้จดทะเบียนประสบปัญหาหรืออุปสรรคในการดาเนินกิจการตามวรรค หนึ่ง และร้องขอให้คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติช่วยเหลือ ให้นายกรัฐมนตรีโดยคาแนะนาของ คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติมีอานาจสั่งให้ความช่วยเหลือตามความเหมาะสม หรือสั่งให้ส่วนราชการ หรือรัฐวิสาหกิจที่เกี่ยวข้องดาเนินการช่วยเหลือหรืออานวยความสะดวกต่อไป 
คณะกรรมการกองทุนโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติอาจพิจารณาจัดสรร เงินทุนอุดหนุน หรือเงินกู้ให้แก่องค์กรเอกชนที่ได้จดทะเบียนแล้ว เพื่อสนับสนุนกิจกรรมอย่างใดอย่างหนึ่ง ได้ตามที่เห็นสมควร 
องค์กรเอกชนที่ได้จดทะเบียนแล้วอาจเสนอชื่อผู้แทนภาคเอกชนเพื่อให้คณะรัฐมนตรีพิจารณาแต่งตั้ง เป็นกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติได้ 
ในกรณีที่องค์กรเอกชนใดที่ได้จดทะเบียนแล้วดาเนินกิจการโดยก่อความวุ่นวายหรือขัดต่อความสงบ เรียบร้อยหรือไม่เหมาะสม ให้รัฐมนตรีมีอานาจสั่งเพิกถอนการจดทะเบียนขององค์กรเอกชนนั้นได้ 
มาตรา ๙ เมื่อมีเหตุฉุกเฉินหรือเหตุภยันตรายต่อสาธารณชนอันเนื่องมาจากภัยธรรมชาติหรือภาวะมลพิษที่ เกิดจากการแพร่กระจายของมลพิษ ซึ่งหากปล่อยไว้เช่นนั้นจะเป็นอันตรายอย่างร้ายแรงต่อชีวิต ร่างกายหรือ สุขภาพอนามัยของประชาชน หรือก่อความเสียหายต่อทรัพย์สินของประชาชนหรือของรัฐเป็นอันมาก ให้ นายกรัฐมนตรีมีอานาจสั่งตามที่เห็นสมควรให้ส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ หรือบุคคลใด รวมทั้งบุคคลซึ่ง ได้รับหรืออาจได้รับอันตรายหรือความเสียหายดังกล่าว กระทาหรือร่วมกันกระทาการใด ๆ อันจะมีผลเป็น การควบคุม ระงับ หรือบรรเทาผลร้ายจากอันตรายและความเสียหายที่เกิดขึ้นนั้นได้อย่างทันท่วงที ในกรณีที่ ทราบว่าบุคคลใดเป็นผู้ก่อให้เกิดภาวะมลพิษดังกล่าว ให้นายกรัฐมนตรีมีอานาจสั่งบุคคลนั้นไม่ให้กระทา การใดอันจะมีผลเป็นการเพิ่มความรุนแรงแก่ภาวะมลพิษในระหว่างที่มีเหตุภยันตรายดังกล่าวด้วย อานาจในการสั่งตามวรรคหนึ่ง นายกรัฐมนตรีจะมอบอานาจให้ผู้ว่าราชการจังหวัดปฏิบัติราชการ ภายในเขตจังหวัดแทนนายกรัฐมนตรีได้โดยให้ทาเป็นคาสั่งและประกาศในราชกิจจานุเบกษา เมื่อนายกรัฐมนตรีได้สั่งตามวรรคหนึ่ง หรือผู้ว่าราชการจังหวัดในการปฏิบัติราชการแทน นายกรัฐมนตรีได้สั่งตามวรรคสองแล้ว ให้ประกาศคาสั่งดังกล่าวในราชกิจจานุเบกษาโดยมิชักช้า
4 มาตรา ๑๐ เพื่อเป็นการป้องกันแก้ไข ระงับหรือบรรเทาเหตุฉุกเฉิน หรือเหตุภยันตรายจากภาวะมลพิษตาม มาตรา ๙ ให้รัฐมนตรีกาหนดมาตรการป้องกันและจัดทาแผนฉุกเฉินเพื่อแก้ไขสถานการณ์ที่เกิดขึ้นไว้ ล่วงหน้า 
หมวด ๒ กองทุนสิ่งแวดล้อม มาตรา ๒๓ เงินกองทุนให้ใช้จ่ายเพื่อกิจการดังต่อไปนี้ (๑) ให้ส่วนราชการหรือราชการส่วนท้องถิ่นสาหรับการลงทุนและดาเนินงานระบบบาบัดน้าเสียรวม หรือระบบกาจัดของเสียรวม รวมทั้งการจัดหาจัดซื้อ ที่ดิน วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือและเครื่องใช้ที่จาเป็น สาหรับการดาเนินงานและบารุงรักษาระบบดังกล่าวด้วย (๒) ให้ราชการส่วนท้องถิ่นหรือรัฐวิสาหกิจกู้ยืม เพื่อจัดให้มีระบบบาบัดอากาศเสียหรือน้าเสีย ระบบ กาจัดของเสียหรืออุปกรณ์อื่นใด สาหรับใช้เฉพาะในกิจการของราชการส่วนท้องถิ่นหรือรัฐวิสาหกิจนั้น (๓) ให้เอกชนกู้ยืมในกรณีที่บุคคลนั้น มีหน้าที่ตามกฎหมายที่จะต้องจัดให้มีระบบบาบัดอากาศ เสีย หรือน้าเสีย ระบบกาจัดของเสีย หรืออุปกรณ์อื่นใด เพื่อการควบคุมบาบัดหรือขจัดมลพิษที่เกิดจาก กิจกรรมหรือการดาเนินกิจการของตนเองหรือบุคคลนั้นเป็นผู้ได้รับใบอนุญาตให้ประกอบกิจการเป็นผู้ รับจ้างให้บริการบาบัดน้าเสียหรือกาจัดของเสียตามพระราชบัญญัตินี้ (๔) เป็นเงินช่วยเหลือและอุดหนุนกิจการใด ๆ ที่เกี่ยวกับการส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม ตามที่คณะกรรมการกองทุนเห็นสมควรและโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ (๕) เป็นค่าใช้จ่ายในการบริหารกองทุน มาตรา ๒๗ ในการพิจารณาจัดสรรเงินกองทุนตามมาตรา ๒๓ (๑) ให้คณะกรรมการกองทุนพิจารณาคาขอ จัดสรรในแผนปฏิบัติการเพื่อการจัดการคุณภาพสิ่งแวดล้อมในระดับจังหวัดตามมาตรา ๓๙ เพื่อทาการ ก่อสร้างหรือดาเนินการให้มีระบบบาบัดน้าเสียหรือระบบกาจัดของเสีย ซึ่งได้รับการจัดสรรงบประมาณ แผ่นดินตามมาตรา ๓๙ ให้แล้วส่วนหนึ่ง หรือราชการส่วนท้องถิ่นได้จัดสรรเงินรายได้ของราชการส่วน ท้องถิ่นสมทบด้วยแล้วเป็นลาดับแรก สัดส่วนระหว่างเงินงบประมาณแผ่นดิน หรือเงินรายได้ของราชการส่วนท้องถิ่นกับเงินกองทุนที่ คณะกรรมการกองทุนจะพิจารณาอนุมัติจัดสรรให้ตามวรรคหนึ่งให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการ สิ่งแวดล้อมแห่งชาติกาหนด
5 มาตรา ๒๘ การจัดสรรเงินกองทุนให้ราชการส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ หรือเอกชน ทาการกู้ยืมตาม มาตรา ๒๓ (๒) หรือ (๓) ให้คณะกรรมการกองทุนพิจารณาตามหลักเกณฑ์และเงื่อนไขที่คณะกรรมการ สิ่งแวดล้อมแห่งชาติกาหนด เพื่อประโยชน์ในการส่งเสริมให้มีการปฏิบัติตามพระราชบัญญัตินี้คณะกรรมการกองทุนโดยความ เห็นชอบของคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติอาจจัดสรรเงินกองทุนให้ราชการส่วน ท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ หรือเอกชนรายหนึ่งรายใดกู้ยืมเงินกองทุนได้ โดยมีกาหนดระยะยาวเป็นพิเศษ และจะ กาหนดให้ลดอัตราดอกเบี้ยหรือยกเว้นดอกเบี้ยตามที่เห็นสมควรก็ได้ 
หมวด ๓ กำรคุ้มครองสิ่งแวดล้อม 
หมวด ๓ ส่วนที่ ๑ มำตรฐำนคุณภำพสิ่งแวดล้อม มาตรา ๓๒ เพื่อประโยชน์ในการส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม ให้คณะกรรมการสิ่งแวดล้อม แห่งชาติมีอานาจประกาศในราชกิจจานุเบกษา กาหนดมาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดล้อมในเรื่องต่อไปนี้ (๑) มาตรฐานคุณภาพน้าในแม่น้าลาคลอง หนอง บึง ทะเลสาบ อ่างเก็บน้า และแหล่งน้าสาธารณะ อื่น ๆ ที่อยู่ภายในผืนแผ่นดิน โดยจาแนกตามลักษณะการใช้ประโยชน์บริเวณพื้นที่ลุ่มน้าในแต่ละพื้นที่ (๒) มาตรฐานคุณภาพน้าทะเลชายฝั่งรวมทั้งบริเวณพื้นที่ปากแม่น้า (๓) มาตรฐานคุณภาพน้าบาดาล (๔) มาตรฐานคุณภาพอากาศในบรรยากาศโดยทั่วไป (๕) มาตรฐานระดับเสียงและความสั่นสะเทือนโดยทั่วไป (๖) มาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดล้อมในเรื่องอื่น ๆ การกาหนดมาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดล้อมตามวรรคหนึ่งจะต้องอาศัยหลักวิชาการ กฎเกณฑ์และ หลักฐานทางวิทยาศาสตร์เป็นพื้นฐาน และจะต้องคานึงถึงความเป็นไปได้ในเชิงเศรษฐกิจ สังคมและ เทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องด้วย หมวด ๓ ส่วนที่ ๒ กำรวำงแผนจัดกำรคุณภำพสิ่งแวดล้อม มาตรา ๓๙ แผนปฏิบัติการเพื่อการจัดการคุณภาพสิ่งแวดล้อมในระดับจังหวัดที่จะได้รับการพิจารณาจาก คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติในลาดับแรก จะต้องเสนอประมาณการเงินงบประมาณแผ่นดินและ เงินกองทุน สาหรับการก่อสร้างหรือดาเนินการเพื่อให้มีระบบบาบัดน้าเสียรวมหรือระบบกาจัดของเสีย รวม ตามมาตรา ๓๘ (๒) ด้วย ในกรณีที่จังหวัดใดยังไม่พร้อมที่จะดาเนินการเพื่อให้มีระบบบาบัดน้าเสีย รวมหรือระบบกาจัดของเสียรวมอาจเสนอแผนการส่งเสริมให้เอกชนลงทุนก่อสร้างและดาเนินการระบบ
6 บาบัดน้าเสียหรือระบบกาจัดของเสีย เพื่อให้บริการในเขตจังหวัดนั้นแทน การจัดทาแผนปฏิบัติการตามวรรคหนึ่งจะต้องมีแบบแปลนรายการละเอียดและประมาณการราคา ของโครงการก่อสร้าง ติดตั้ง ปรับปรุง ดัดแปลง ซ่อมแซม บารุงรักษา รวมทั้งกระบวนการและ วิธีดาเนินการระบบบาบัดน้าเสียรวมหรือระบบการกาจัดของเสียรวมที่เสนอขอจัดสรรเงินงบประมาณและ เงินกองทุนดังกล่าวประกอบคาขอด้วย เพื่อประโยชน์ในการให้ความเห็นชอบแผนปฏิบัติการเพื่อการจัดการคุณภาพสิ่งแวดล้อมในระดับ จังหวัดซึ่งจะต้องมีคาขอจัดสรรเงินงบประมาณแผ่นดินตามวรรคหนึ่ง ให้สานักงานนโยบายและแผน สิ่งแวดล้อม มีหน้าที่ในการรวบรวมและวิเคราะห์แผนปฏิบัติการเพื่อการจัดการคุณภาพสิ่งแวดล้อมใน ระดับจังหวัด เพื่อเสนอขอตั้งเป็นงบประมาณรายจ่ายประจาปีของสานักงานนโยบาย และแผนสิ่งแวดล้อม ไว้เพื่อการนี้โดยเฉพาะ หมวด ๓ ส่วนที่ ๔ กำรทำรำยงำนกำรวิเครำะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม มาตรา ๔๖ เพื่อประโยชน์ในการส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม ให้รัฐมนตรีโดยความเห็นชอบ ของคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ มีอานาจประกาศในราชกิจจานุเบกษากาหนดประเภทและขนาด ของโครงการ หรือกิจการของส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ หรือเอกชนที่มีผลกระทบสิ่งแวดล้อมซึ่งต้องจัดทา รายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม เพื่อเสนอขอความเห็นชอบตามมาตรา ๔๗ มาตรา ๔๘ และ มาตรา ๔๙ ในการประกาศตามวรรคหนึ่ง ให้กาหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ ระเบียบปฏิบัติ แนวทางการจัดทา รายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม ตลอดจนเอกสารที่เกี่ยวข้องซึ่งต้องเสนอพร้อมกับรายงานการ วิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม สาหรับโครงการหรือกิจการแต่ละประเภทและแต่ละขนาดด้วย ในกรณีที่โครงการหรือกิจการประเภทหรือขนาดใดหรือที่จะจัดตั้งขึ้นในพื้นที่ใดมีการวิเคราะห์ ผลกระทบสิ่งแวดล้อมไว้แล้ว และเป็นมาตรฐานที่สามารถใช้กับโครงการหรือกิจการประเภทหรือขนาด เดียวกันหรือในพื้นที่ลักษณะเดียวกันได้ รัฐมนตรีโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ อาจประกาศในราชกิจจานุเบกษากาหนดให้โครงการหรือกิจการในทานองเดียวกันได้รับยกเว้นไม่ต้อง จัดทารายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมก็ได้ แต่ทั้งนี้ โครงการหรือกิจการนั้นจะต้องแสดงความ ยินยอมปฏิบัติตามมาตรการต่าง ๆ ที่กาหนดไว้ในการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมสาหรับโครงการหรือ กิจการนั้นตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่รัฐมนตรีกาหนด
7 มาตรา ๔๗ ในกรณีที่โครงการหรือกิจการซึ่งต้องจัดทารายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมตาม มาตรา ๔๖ เป็นโครงการหรือกิจการของส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจหรือโครงการร่วมกับเอกชน ซึ่งต้องเสนอ ขอรับความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรีตามระเบียบปฏิบัติของทางราชการ ให้ส่วนราชการหรือรัฐวิสาหกิจ ซึ่งเป็นผู้รับผิดชอบโครงการหรือกิจการนั้น จัดทารายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม ตั้งแต่ในระยะ ทาการศึกษาความเหมาะสมของโครงการเสนอต่อคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ เพื่อเสนอความเห็น ประกอบการพิจารณาของคณะรัฐมนตรี ในการพิจารณาให้ความเห็นชอบรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมที่เสนอตามวรรค หนึ่ง คณะรัฐมนตรีอาจขอให้บุคคลหรือสถาบันใด ซึ่งเป็นผู้ชานาญการหรือเชี่ยวชาญเกี่ยวกับการวิเคราะห์ ผลกระทบสิ่งแวดล้อมทาการศึกษาและเสนอรายงานหรือความเห็นเพื่อประกอบการพิจารณาด้วยก็ได้ สาหรับโครงการหรือกิจการของส่วนราชการหรือรัฐวิสาหกิจตามมาตรา ๔๖ ซึ่งไม่จาต้องเสนอขอรับ ความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรีตามวรรคหนึ่ง ให้ส่วนราชการหรือรัฐวิสาหกิจ ซึ่งเป็นผู้รับผิดชอบ โครงการหรือกิจการนั้นจัดทารายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมเพื่อเสนอขอความเห็นชอบก่อนที่ จะดาเนินการตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กาหนดไว้ในมาตรา ๔๘ และมาตรา ๔๙ มาตรา ๔๘ ในกรณีที่โครงการหรือกิจการซึ่งต้องจัดทารายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมตาม มาตรา ๔๖ เป็นโครงการหรือกิจการซึ่งจะต้องได้รับอนุญาตจากทางราชการตามกฎหมายก่อนเริ่มการ ก่อสร้างหรือดาเนินการ ให้บุคคลผู้ขออนุญาตเสนอรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมต่อเจ้าหน้าที่ ซึ่งมีอานาจตามกฎหมายนั้น และต่อสานักงานนโยบายและแผนสิ่งแวดล้อม ในการเสนอรายงานดังกล่าว อาจจัดทาเป็นรายงานผลกระทบสิ่งแวดล้อมเบื้องต้นตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่รัฐมนตรีกาหนดตาม มาตรา ๔๖ วรรคสอง ก็ได้ ให้เจ้าหน้าที่ซึ่งมีอานาจอนุญาตตามกฎหมายรอการสั่งอนุญาตสาหรับโครงการหรือกิจการตามวรรค หนึ่งไว้ก่อนจนกว่าจะทราบผลการพิจารณารายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมตามมาตรา ๔๙ จาก สานักงานนโยบายและแผนสิ่งแวดล้อม ให้สานักงานนโยบายและแผนสิ่งแวดล้อมตรวจสอบรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมและ เอกสารที่เกี่ยวข้องที่เสนอมา หากเห็นว่ารายงานที่เสนอมามิได้จัดทาให้ถูกต้องตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่ กาหนดไว้ในมาตรา ๔๖ วรรคสอง หรือมีเอกสารข้อมูลไม่ครบถ้วน ให้สานักงานนโยบายและแผน สิ่งแวดล้อมแจ้งให้บุคคลผู้ขออนุญาตที่เสนอรายงานทราบภายในกาหนดเวลาสิบห้าวันนับแต่วันที่ได้รับ การเสนอรายงานนั้น
8 ในกรณีที่สานักงานนโยบายและแผนสิ่งแวดล้อมพิจารณาเห็นว่า รายงานการวิเคราะห์ผลกระทบ สิ่งแวดล้อมและเอกสารที่เกี่ยวข้องที่เสนอมาถูกต้องและมีข้อมูลครบถ้วน หรือได้มีการแก้ไขเพิ่มเติมให้ ถูกต้องครบถ้วนตามวรรคสามแล้ว ให้สานักงานนโยบายและแผนสิ่งแวดล้อม พิจารณาเสนอความเห็น เบื้องต้นเกี่ยวกับรายงานดังกล่าวให้แล้วเสร็จภายในกาหนดสามสิบวัน นับแต่วันที่ได้รับการเสนอรายงาน นั้น เพื่อนาเสนอให้คณะกรรมการผู้ชานาญการพิจารณาต่อไป การแต่งตั้งคณะกรรมการผู้ชานาญการตามวรรคสี่ ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่ คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติกาหนด ซึ่งจะต้องประกอบด้วยผู้ทรงคุณวุฒิหรือผู้เชี่ยวชาญในสาขาวิชา การต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง และจะต้องมีเจ้าหน้าที่ผู้มีอานาจอนุญาตตามกฎหมายสาหรับโครงการหรือกิจการ นั้น หรือผู้แทนร่วมเป็นกรรมการอยู่ด้วย มาตรา ๔๙ การพิจารณาของคณะกรรมการผู้ชานาญการตามมาตรา ๔๘ ให้กระทาให้แล้วเสร็จภายในสี่สิบ ห้าวันนับแต่วันที่ได้รับรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมจากสานักงานนโยบายและแผน สิ่งแวดล้อม ถ้าคณะกรรมการผู้ชานาญการมิได้พิจารณาให้เสร็จภายในกาหนดเวลาดังกล่าว ให้ถือว่า คณะกรรมการผู้ชานาญการให้ความเห็นชอบแล้ว ในกรณีที่คณะกรรมการผู้ชานาญการให้ความเห็นชอบ หรือในกรณีที่ให้ถือว่าคณะกรรมการผู้ชานาญ การให้ความเห็นชอบแล้ว ให้เจ้าหน้าที่ซึ่งมีอานาจตามกฎหมายสั่งอนุญาตแก่บุคคลซึ่งขออนุญาตได้ ในกรณีที่คณะกรรมการผู้ชานาญการไม่ให้ความเห็นชอบ ให้เจ้าหน้าที่รอการสั่งอนุญาตแก่บุคคลผู้ ขออนุญาตไว้ก่อนจนกว่าบุคคลดังกล่าวจะเสนอรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมตามที่คณะ กรรมผู้ชานาญการสั่งให้ทาการแก้ไขเพิ่มเติมหรือจัดทาใหม่ทั้งฉบับ ตามแนวทางหรือรายละเอียดที่ คณะกรรมการผู้ชานาญการกาหนด เมื่อบุคคลดังกล่าวได้เสนอรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมซึ่งได้ทาการแก้ไขเพิ่มเติม หรือได้จัดทาใหม่ทั้งฉบับแล้ว ให้คณะกรรมการผู้ชานาญการพิจารณารายงานดังกล่าวให้แล้วเสร็จภายใน สามสิบวันนับแต่วันที่ได้รับการเสนอรายงานดังกล่าว แต่ถ้าคณะกรรมผู้ชานาญการมิได้พิจารณาให้แล้ว เสร็จภายในกาหนดเวลาดังกล่าว ให้ถือว่าคณะกรรมการผู้ชานาญการเห็นชอบ และให้เจ้าหน้าที่ดังกล่าวสั่ง อนุญาตแก่บุคคลผู้ขออนุญาตได้ ในกรณีที่เห็นเป็นการสมควร รัฐมนตรีจะประกาศในราชกิจจานุเบกษากาหนดให้โครงการหรือ กิจการตามประเภทและขนาดที่ประกาศกาหนดตามมาตรา ๔๖ ต้องเสนอรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบ
9 สิ่งแวดล้อมในการขอต่ออายุใบอนุญาตสาหรับโครงการหรือกิจการนั้น ตามวิธีการเช่นเดียวกับการขอ อนุญาตด้วยก็ได้ มาตรา ๕๕ ให้รัฐมนตรีโดยคาแนะนาของคณะกรรมการควบคุมมลพิษและโดยความเห็นชอบของ คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ มีอานาจประกาศในราชกิจจานุเบกษากาหนดมาตรฐานควบคุมมลพิษ จากแหล่งกาเนิด สาหรับควบคุมการระบายน้าทิ้ง การปล่อยทิ้งอากาศเสีย การปล่อยทิ้งของเสีย หรือมลพิษ อื่นใดจากแหล่งกาเนิดออกสู่สิ่งแวดล้อม เพื่อรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมให้ได้มาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดล้อม ตามที่กาหนดไว้ในพระราชบัญญัตินี้ หมวด ๔ กำรควบคุมมลพิษ หมวด ๔ ส่วนที่ ๒ มำตรฐำนควบคุมมลพิษจำกแหล่งกำเนิด มาตรา ๕๖ ในกรณีที่มีการกาหนดมาตรฐานเกี่ยวกับการระบายน้าทิ้ง การปล่อยทิ้งอากาศเสีย การปล่อยทิ้ง ของเสีย หรือมลพิษอื่นใดจากแหล่งกาเนิดออกสู่สิ่งแวดล้อมโดยอาศัยอานาจตามกฎหมายอื่น และมาตรฐาน ดังกล่าวไม่ต่ากว่ามาตรฐานควบคุมมลพิษจากแหล่งกาเนิดที่รัฐมนตรีประกาศกาหนดตามมาตรา ๕๕ ให้ มาตรฐานดังกล่าวมีผลใช้บังคับต่อไปตามที่กาหนดไว้ในกฎหมายนั้น แต่ถ้ามาตรฐานดังกล่าวต่ากว่า มาตรฐานควบคุมมลพิษจากแหล่งกาเนิดที่รัฐมนตรีประกาศกาหนดตามมาตรา ๕๕ ให้ส่วนราชการที่มี อานาจตามกฎหมายนั้นแก้ไขให้เป็นไปตามมาตรฐานควบคุมมลพิษจากแหล่งกาเนิด ในกรณีที่มีอุปสรรค ไม่อาจดาเนินการเช่นว่านั้นได้ ให้คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติเป็นผู้ชี้ขาด เมื่อมีคาชี้ขาดเป็นประการ ใดให้ส่วนราชการที่เกี่ยวข้องดาเนินการตามคาชี้ขาดนั้น หมวด ๔ ส่วนที่ ๓ เขตควบคุมมลพิษ มาตรา ๕๙ ในกรณีที่ปรากฏว่าท้องที่ใดมีปัญหามลพิษซึ่งมีแนวโน้มที่จะร้ายแรงถึงขนาดเป็นอันตรายต่อ สุขภาพอนามัยของประชาชนหรืออาจก่อให้เกิดผลกระทบเสียหายต่อคุณภาพสิ่งแวดล้อม ให้คณะกรรมการ สิ่งแวดล้อมแห่งชาติมีอานาจประกาศในราชกิจจานุเบกษากาหนดให้ท้องที่นั้นเป็นเขตควบคุมมลพิษเพื่อ ดาเนินการควบคุม ลด และขจัดมลพิษได้ หมวด ๔ ส่วนที่ ๔ มลพิษทำงอำกำศและเสียง มาตรา ๖๔ ยานพาหนะที่จะนามาใช้จะต้องไม่ก่อให้เกิดมลพิษเกินกว่ามาตรฐานควบคุมมลพิษจาก แหล่งกาเนิดที่กาหนดตามมาตรา ๕๕
10 มาตรา ๖๕ ในกรณีที่พนักงานเจ้าหน้าที่ตรวจพบว่าได้มีการใช้ยานพาหนะโดยฝ่าฝืนตามมาตรา ๖๔ ให้ พนักงานเจ้าหน้าที่มีอานาจออกคาสั่งห้ามใช้ยานพาหนะนั้นโดยเด็ดขาดหรือจนกว่าจะได้มีการแก้ไข ปรับปรุงให้เป็นไปตามมาตรฐานควบคุมมลพิษจากแหล่งกาเนิดที่กาหนดตามมาตรา ๕๕ มาตรา ๖๖ ในการออกคาสั่งห้ามใช้ยานพาหนะตามมาตรา ๖๕ ให้พนักงานเจ้าหน้าที่ผู้ออกคาสั่งทา เครื่องหมายให้เห็นปรากฏเด่นชัดเป็นตัวอักษรที่มีข้อความว่า "ห้ามใช้เด็ดขาด" หรือ "ห้ามใช้ชั่วคราว" หรือ เครื่องหมายอื่นใดซึ่งเป็นที่รู้และเข้าใจของประชาชนโดยทั่วไปว่ามีความหมายอย่างเดียวกันไว้ ณ ส่วนใด ส่วนหนึ่งของยานพาหนะนั้นด้วย การทาและการยกเลิกเครื่องหมายห้ามใช้ตามวรรคหนึ่ง หรือการใช้ยานพาหนะในขณะที่มีเครื่องหมาย ดังกล่าว ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่กาหนดในกฎกระทรวง มาตรา ๖๘ ให้รัฐมนตรีโดยคาแนะนาของคณะกรรมการควบคุมมลพิษมีอานาจประกาศในราชกิจจา นุเบกษากาหนดประเภทของแหล่งกาเนิดมลพิษที่จะต้องถูกควบคุม การปล่อยอากาศเสีย รังสี หรือมลพิษ อื่นใดที่อยู่ในสภาพเป็นควัน ไอ ก๊าซ เขม่า ฝุ่น ละออง เถ้าถ่าน หรือมลพิษอากาศ ในรูปแบบใดออกสู่ บรรยากาศไม่เกินมาตรฐานควบคุมมลพิษจากแหล่งกาเนิดที่กาหนดตามมาตรา ๕๕ หรือมาตรฐานที่ส่วน ราชการใดกาหนดโดยอาศัยอานาจตามกฎหมายอื่นและมาตรฐานนั้นยังมีผลใช้บังคับตามมาตรา ๕๖ หรือ มาตรฐานที่ผู้ว่าราชการจังหวัดกาหนดเป็นพิเศษสาหรับเขตควบคุมมลพิษตามมาตรา ๕๘ เจ้าของหรือผู้ครอบครองแหล่งกาเนิดมลพิษที่กาหนดตามวรรคหนึ่ง มีหน้าที่ต้องติดตั้ง หรือจัดให้มี ระบบบาบัดอากาศเสีย อุปกรณ์ หรือเครื่องมืออื่นใดสาหรับการควบคุม กาจัด ลด หรือขจัดมลพิษซึ่งอาจมี ผลกระทบต่อคุณภาพอากาศตามที่เจ้าพนักงานควบคุมมลพิษกาหนด เว้นแต่จะได้มีระบบ อุปกรณ์หรือ เครื่องมือดังกล่าว ซึ่งเจ้าพนักงานควบคุมมลพิษได้ทาการตรวจสภาพและทดลอง แล้วเห็นว่ายังใช้การได้อยู่ แล้ว เพื่อการนี้เจ้าพนักงานควบคุมมลพิษจะกาหนดให้มีผู้ควบคุมการดาเนินงานระบบบาบัดอากาศ เสีย อุปกรณ์ หรือเครื่องมือดังกล่าวด้วยก็ได้ ให้นาความในวรรคหนึ่งและวรรคสองมาใช้บังคับกับแหล่งกาเนิดมลพิษที่ปล่อยหรือก่อให้เกิดเสียง หรือความสั่นสะเทือนเกินกว่าระดับมาตรฐานควบคุมมลพิษจากแหล่งกาเนิดที่กาหนดตามมาตรา ๕๕ หรือ มาตรฐานที่ส่วนราชการใดกาหนดโดยอาศัยอานาจตามกฎหมายอื่นและมาตรฐานนั้นยังมีผลใช้บังคับตาม มาตรา ๕๖ หรือมาตรฐานที่ผู้ว่าราชการจังหวัดกาหนดเป็นพิเศษสาหรับเขตควบคุมมลพิษตาม มาตรา ๕๘ ด้วยโดยอนุโลม
11 หมวด ๔ ส่วนที่ ๕ มลพิษทำงน้ำ มาตรา ๖๙ ให้รัฐมนตรีโดยคาแนะนาของคณะกรรมการควบคุมมลพิษมีอานาจประกาศในราชกิจจา นุเบกษากาหนดประเภทของแหล่งกาเนิดมลพิษที่จะต้องถูกควบคุมการปล่อยน้าเสียหรือของเสียลงสู่แหล่ง น้าสาธารณะ หรือออกสู่สิ่งแวดล้อมนอกเขตที่ตั้งแหล่งกาเนิดมลพิษไม่เกินมาตรฐานควบคุมมลพิษจาก แหล่งกาเนิดที่กาหนดตามมาตรา ๕๕ หรือมาตรฐานที่ส่วนราชการใด กาหนดโดยอาศัยอานาจตามกฎหมาย อื่นและมาตรฐานนั้นยังมีผลใช้บังคับตามมาตรา ๕๖ หรือมาตรฐานที่ผู้ว่าราชการจังหวัดกาหนดเป็นพิเศษ สาหรับเขตควบคุมมลพิษตามมาตรา ๕๘ มาตรา ๗๐ เจ้าของหรือผู้ครอบครองแหล่งกาเนิดมลพิษที่กาหนดตามมาตรา ๖๙ มีหน้าที่ต้องก่อสร้าง ติดตั้ง หรือจัดให้มีระบบบาบัดน้าเสียหรือระบบกาจัดของเสียตามที่เจ้าพนักงานควบคุมมลพิษกาหนด เพื่อการนี้ เจ้าพนักงานควบคุมมลพิษจะกาหนดให้เจ้าของหรือผู้ครอบครองมีผู้ควบคุมการดาเนินงานระบบบาบัดน้า เสียหรือระบบกาจัดของเสียที่กาหนดให้ทาการก่อสร้าง ติดตั้งหรือจัดให้มีขึ้นนั้นด้วยก็ได้ ในกรณีที่แหล่งกาเนิดมลพิษใดมีระบบบาบัดน้าเสียหรือระบบกาจัดของเสียอยู่แล้วก่อนวันที่มี ประกาศของรัฐมนตรีตามมาตรา ๖๙ ให้เจ้าของหรือผู้ครอบครองแหล่งกาเนิดมลพิษแจ้งต่อเจ้าพนักงาน ควบคุมมลพิษเพื่อตรวจสอบ หากเจ้าพนักงานควบคุมมลพิษเห็นว่าระบบบาบัดน้าเสียหรือระบบกาจัดของ เสียที่มีอยู่แล้วนั้นยังไม่สามารถทาการบาบัดน้าเสียหรือกาจัดของเสียให้เป็นไปตามมาตรฐานควบคุมมลพิษ จากแหล่งกาเนิดที่กาหนดไว้ เจ้าของหรือผู้ครอบครองแหล่งกาเนิดมลพิษมีหน้าที่ต้องดาเนินการแก้ไขหรือ ปรับปรุงตามที่เจ้าพนักงานควบคุมมลพิษกาหนด มาตรา ๗๑ ในเขตควบคุมมลพิษใดหรือเขตท้องที่ใดที่ทางราชการได้จัดให้มีระบบบาบัดน้าเสียรวมหรือ ระบบกาจัดของเสียรวมไว้แล้ว ให้เจ้าของหรือผู้ครอบครองแหล่งกาเนิดมลพิษตามมาตรา ๗๐ วรรคหนึ่ง ซึ่ง ยังมิได้ทาการก่อสร้าง ติดตั้งหรือจัดให้มีระบบบาบัดน้าเสียหรือระบบกาจัดของเสียตามที่เจ้าพนักงาน ควบคุมมลพิษกาหนด หรือไม่ประสงค์ที่จะทาการก่อสร้างหรือจัดให้มีระบบบาบัดน้าเสียหรือระบบกาจัด ของเสียตามที่เจ้าพนักงานควบคุมมลพิษกาหนดดังกล่าว มีหน้าที่ต้องจัดส่งน้าเสียหรือของเสียที่เกิดจากการ ดาเนินกิจการของตนไปทาการบาบัดหรือกาจัดโดยระบบบาบัดน้าเสียรวมหรือระบบกาจัดของเสียรวมที่มี อยู่ภายในเขตควบคุมมลพิษหรือเขตท้องที่นั้น และมีหน้าที่ต้องเสียค่าบริการตามอัตราที่กาหนดโดย พระราชบัญญัตินี้หรือโดยกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง มาตรา ๗๒ ในเขตควบคุมมลพิษใดหรือเขตท้องที่ใดที่ทางราชการได้จัดให้มีระบบบาบัดน้าเสียรวมหรือ ระบบกาจัดของเสียรวมไว้แล้ว ให้เจ้าของหรือผู้ครอบครองแหล่งกาเนิดมลพิษทุกประเภท เว้นแต่เจ้าของ
12 หรือผู้ครอบครองแหล่งกาเนิดมลพิษที่กาหนดตามมาตรา ๗๐ มีหน้าที่ต้องจัดส่งน้าเสียหรือของเสียที่เกิด จากแหล่งกาเนิดมลพิษของตนไปทาการบาบัดหรือกาจัดโดยระบบบาบัดน้าเสียรวมหรือระบบกาจัดของเสีย รวมที่มีอยู่ภายในเขตควบคุมมลพิษหรือเขตท้องที่นั้น และมีหน้าที่ต้องเสียค่าบริการตามอัตราที่กาหนดโดย พระราชบัญญัตินี้หรือโดยกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง เว้นแต่แหล่งกาเนิดมลพิษนั้น มีระบบบาบัดน้าเสียหรือ ระบบกาจัดของเสียของตนเองอยู่แล้ว และสามารถทาการบาบัดน้าเสียหรือกาจัดของเสียได้ตามมาตรฐานที่ กาหนดตามพระราชบัญญัตินี้ มาตรา ๗๔ ในเขตควบคุมมลพิษใดหรือในเขตท้องที่ใดที่ทางราชการยังมิได้จัดให้มีระบบบาบัดน้าเสียรวม หรือระบบกาจัดของเสียรวม แต่มีผู้ได้รับใบอนุญาตรับจ้างให้บริการบาบัดน้าเสียหรือกาจัดของเสียอยู่ใน เขตควบคุมมลพิษหรือเขตท้องที่นั้น ให้เจ้าของหรือผู้ครอบครองแหล่งกาเนิดมลพิษตามมาตรา ๗๑ และ มาตรา ๗๒ จัดส่งน้าเสียหรือของเสียจากแหล่งกาเนิดของตนไปให้ผู้รับจ้างให้บริการทาการบาบัดหรือกาจัด ตามหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขที่เจ้าพนักงานท้องถิ่นกาหนดโดยคาแนะนาของเจ้าพนักงานควบคุม มลพิษ มาตรา ๗๕ ในเขตควบคุมมลพิษใดหรือเขตท้องที่ใดที่ทางราชการยังมิได้จัดให้มีระบบบาบัดน้าเสียรวม หรือระบบกาจัดของเสียรวมและไม่มีผู้ได้รับใบอนุญาตรับจ้างให้บริการบาบัดน้าเสียหรือกาจัดของเสียอยู่ ในเขตควบคุมมลพิษ หรือเขตท้องที่นั้น เจ้าพนักงานท้องถิ่นโดยคาแนะนาของเจ้าพนักงานควบคุมมลพิษ อาจกาหนดวิธีการชั่วคราว สาหรับการบาบัดน้าเสียหรือกาจัดของเสียซึ่งเกิดจากแหล่งกาเนิดมลพิษตาม มาตรา ๗๑ และมาตรา ๗๑ ได้ตามที่จาเป็นจนกว่าจะได้มีการก่อสร้าง ติดตั้ง และเปิดดาเนินงานระบบบาบัด น้าเสียรวม หรือระบบกาจัดของเสียรวมในเขตควบคุมมลพิษหรือเขตท้องที่นั้นวิธีการชั่วคราวสาหรับการ บาบัดน้าเสียหรือกาจัดของเสียตามวรรคหนึ่ง ให้หมายความรวมถึงการเก็บรวบรวม การขนส่ง หรือการ จัดส่งน้าเสียหรือของเสียด้วยวิธีการใดๆ ที่เหมาะสม ไปทาการบาบัดหรือกาจัดโดยระบบบาบัดน้าเสียรวม หรือระบบกาจัดของเสียรวมของทางราชการที่อยู่ในเขตอื่น หรืออนุญาตให้ผู้ได้รับใบอนุญาตรับจ้าง ให้บริการบาบัดน้าเสียหรือกาจัดของเสียซึ่งรับจ้างให้บริการอยู่ในเขตอื่นเข้ามาเปิดดาเนินการรับจ้าง ให้บริการในเขตควบคุมมลพิษหรือเขตท้องที่นั้นเป็นการชั่วคราว หรืออนุญาตให้ผู้ได้รับใบอนุญาตรับจ้าง ให้บริการนั้นทาการเก็บรวบรวมน้าเสียหรือของเสียเพื่อนาขนเคลื่อนย้ายไปทาการบาบัดหรือกาจัดโดย ระบบบาบัดน้าเสียหรือระบบกาจัดของเสียของผู้นั้นซึ่งอยู่ในเขตท้องที่อื่นนอกเขตควบคุมมลพิษหรือเขต ท้องที่นั้น
13 หมวด ๔ ส่วนที่ ๖ มลพิษอื่นและของเสียอันตรำย มาตรา ๗๘ การเก็บรวบรวม การขนส่ง และการจัดการด้วยประการใด ๆ เพื่อบาบัดและขจัดขยะมูลฝอยและ ของเสียอื่นที่อยู่ในสภาพเป็นของแข็ง การป้องกันและควบคุมมลพิษที่เกิดจากหรือมีที่มาจากการทาเหมือง แร่ทั้งบนบกและในทะเล การป้องกันและควบคุมมลพิษที่เกิดจากหรือมีที่มาจากการสารวจ และขุดเจาะ น้ามัน ก๊าซธรรมชาติและสารไฮโดรคาร์บอนทุกชนิดทั้งบนบกและในทะเล หรือการป้องกันและควบคุม มลพิษที่เกิดจากหรือมีที่มาจากการปล่อยทิ้งน้ามันและการทิ้งเทของเสียและวัตถุอื่น ๆ จากเรือเดินทะเล เรือ บรรทุกน้ามัน และเรือประเภทอื่น ให้เป็นไปตามกฎหมายว่าด้วยการนั้น หมวด ๔ ส่วนที่ ๗ กำรตรวจสอบและควบคุม มาตรา ๘๐ เจ้าของหรือผู้ครอบครองแหล่งกาเนิดมลพิษ ซึ่งมีระบบบาบัดอากาศเสีย อุปกรณ์หรือเครื่องมือ สาหรับควบคุมการปล่อยทิ้งอากาศเสียหรือมลพิษอื่น ระบบบาบัดน้าเสีย หรือระบบกาจัดของเสีย ตาม มาตรา ๖๘ หรือ มาตรา ๗๐ เป็นของตนเองมีหน้าที่ต้องเก็บสถิติและข้อมูลซึ่งแสดงผลการทางานของระบบ หรืออุปกรณ์ และเครื่องมือดังกล่าวในแต่ละวัน และจัดทาบันทึกรายละเอียดเป็นหลักฐานไว้ ณ สถานที่ตั้ง แหล่งกาเนิดมลพิษนั้น และจะต้องจัดทารายงานสรุปผลการทางานของระบบ หรืออุปกรณ์และเครื่องมือ ดังกล่าวเสนอต่อเจ้าพนักงานท้องถิ่นแห่งท้องที่ที่แหล่งกาเนิดมลพิษนั้นตั้งอยู่อย่างน้อยเดือนละหนึ่งครั้ง มาตรา ๘๕ ในการปฏิบัติหน้าที่ตามพระราชบัญญัตินี้ให้เจ้าของหรือผู้ครอบครองสถานที่หรือยานพาหนะ หรือผู้มีหน้าที่เกี่ยวข้องอานวยความสะดวก ตามสมควร และให้พนักงานเจ้าหน้าที่และเจ้าพนักงานควบคุม มลพิษเป็นเจ้าพนักงานตามประมวลกฎหมายอาญา 
หมวด ๔ ส่วนที่ ๘ ค่ำบริกำรและค่ำปรับ มาตรา ๙๐ เจ้าของหรือผู้ครอบครองแหล่งกาเนิดมลพิษผู้ใดหลีกเลี่ยงไม่จัดส่งน้าเสียหรือของเสียไปทาการ บาบัดโดยระบบบาบัดน้าเสียรวมหรือระบบกาจัดของเสียรวมของทางราชการตามมาตรา ๗๑ หรือมาตรา ๗๒ และลักลอบปล่อยทิ้งน้าเสียหรือของเสียนั้นออกสู่สิ่งแวดล้อมภายนอกเขตที่ตั้งแหล่งกาเนิดมลพิษที่ตน เป็นเจ้าของหรือผู้ครอบครอง หรือจัดส่งน้าเสียหรือของเสียไปทาการบาบัดโดยระบบบาบัดน้าเสียรวมหรือ ระบบกาจัดของเสียรวมของทางราชการ แต่ไม่ยอมชาระค่าบริการที่กาหนดโดยไม่มีสิทธิได้รับยกเว้นตาม มาตรา ๘๙ วรรคสอง จะต้องเสียค่าปรับสี่เท่าของอัตราค่าบริการที่กาหนดตามมาตรา ๘๘ จนกว่าจะปฏิบัติ ตามบทบัญญัติแห่งพระราชบัญญัตินี้
14 มาตรา ๙๑ เจ้าของหรือผู้ครอบครองแหล่งกาเนิดมลพิษซึ่งมีระบบบาบัดน้าเสียหรือระบบกาจัดของเสียตาม มาตรา ๗๐ ผู้ใดลักลอบปล่อยทิ้งน้าเสียหรือของเสียลงสู่ระบบบาบัดน้าเสียรวม หรือระบบกาจัดของเสียรวม ของทางราชการ จะต้องเสียค่าปรับรายวันในอัตราสี่เท่าของจานวนเงินค่าใช้จ่ายประจาวันสาหรับการเปิด เดินเครื่องทางานระบบบาบัดน้าเสียหรือระบบกาจัดของเสียของตน ตลอดเวลาที่ดาเนินการเช่นว่านั้นและมี หน้าที่ต้องชดใช้ค่าเสียหายหากการปล่อยทิ้งน้าเสีย หรือของเสียนั้นก่อให้เกิดความชารุดเสียหายหรือความ บกพร่องแก่ระบบบาบัดน้าเสียรวมหรือระบบกาจัดของเสียรวมของทางราชการด้วยประการใดๆ มาตรา ๙๒ เจ้าของหรือผู้ครอบครองแหล่งกาเนิดมลพิษตามมาตรา ๖๘ หรือมาตรา ๗๐ ผู้ใดละเว้นไม่ใช้ อุปกรณ์และเครื่องมือของตนที่มีอยู่สาหรับการควบคุมมลพิษอากาศ เสียงและความสั่นสะเทือน หรือละเว้น ไม่ทาการบาบัดน้าเสียหรือกาจัดของเสียโดยใช้ระบบบาบัดน้าเสีย หรือระบบกาจัดของเสียของตนที่มีอยู่ และลักลอบปล่อยทิ้งมลพิษน้าเสียหรือของเสียดังกล่าวออกสู่สิ่งแวดล้อมภายนอกเขตแหล่งกาเนิดมลพิษ ของตนจะต้องเสียค่าปรับรายวันในอัตราสี่เท่าของจานวนเงินค่าใช้จ่ายประจาวันสาหรับการเปิดเดินเครื่อง ทางานของอุปกรณ์ เครื่องมือ หรือระบบบาบัดน้าเสียหรือระบบกาจัดของเสียของตนตลอดเวลาที่ดาเนินการ เช่นว่านั้น มาตรา ๙๓ ให้เจ้าพนักงานท้องถิ่นหรือพนักงานเจ้าหน้าที่ของส่วนราชการที่จัดให้มีระบบบาบัดน้าเสียรวม หรือระบบกาจัดของเสียรวมของทางราชการ มีอานาจหน้าที่จัดเก็บค่าบริการ ค่าปรับ และเรียกร้อง ค่าเสียหายตามที่บัญญัติไว้ในส่วนนี้ ทั้งนี้ เฉพาะในส่วนที่เกี่ยวข้องกับระบบบาบัดน้าเสียรวมหรือระบบ กาจัดของเสียรวมของทางราชการที่ราชการส่วนท้องถิ่นหรือส่วนราชการนั้นจัดให้มีขึ้น หมวด ๕ มำตรกำรส่งเสริม มาตรา ๙๔ เจ้าของหรือผู้ครอบครองแหล่งกาเนิดมลพิษผู้ใดซึ่งมีหน้าที่ตามพระราชบัญญัตินี้ หรือตาม กฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้องที่จะต้องจัดให้มีระบบบาบัดอากาศเสีย ระบบบาบัดน้าเสียหรือระบบกาจัดของเสีย อย่างอื่น รวมทั้งอุปกรณ์ เครื่องมือ เครื่องใช้ และวัสดุที่จาเป็นสาหรับแหล่งกาเนิดมลพิษนั้น หรือผู้รับจ้าง ให้บริการซึ่งได้รับอนุญาตตามพระราชบัญญัตินี้มีสิทธิขอรับการส่งเสริมและช่วยเหลือจากทางราชการได้ ดังต่อไปนี้ (๑) การขอรับความช่วยเหลือด้านอากรขาเข้าสาหรับการนาเข้ามาในราชอาณาจักรซึ่งเครื่องจักร อุปกรณ์ เครื่องมือ เครื่องใช้ หรือวัสดุที่จาเป็นซึ่งไม่สามารถจัดหาได้ภายในราชอาณาจักร
15 (๒) การขอรับอนุญาตนาผู้ชานาญการหรือผู้เชี่ยวชาญชาวต่างประเทศเข้ามาปฏิบัติหน้าที่เป็นผู้ ติดตั้ง ควบคุม หรือดาเนินงานระบบบาบัดอากาศเสีย ระบบบาบัดน้าเสียหรือระบบกาจัดของเสีย ในกรณีที่ ไม่สามารถจัดหาและว่าจ้างบุคคลที่มีคุณสมบัติที่จะเป็นผู้ควบคุมเครื่องจักร อุปกรณ์ เครื่องมือหรือเครื่องใช้ ที่นาเข้ามาในราชอาณาจักรตาม (๑) ได้ภายในราชอาณาจักร รวมทั้งขอยกเว้นภาษีเงินได้ของบุคคลนั้นที่จะ เกิดขึ้น เนื่องจากการเข้ามาปฏิบัติหน้าที่เป็นผู้ควบคุมในราชอาณาจักรด้วย เจ้าของหรือผู้ครอบครองแหล่งกาเนิดมลพิษที่ไม่มีหน้าที่ตามกฎหมายดังกล่าวในวรรคหนึ่ง แต่ประสงค์ที่ จะจัดให้มีระบบ อุปกรณ์ เครื่องมือหรือเครื่องใช้ของตนเอง เพื่อทาการบาบัดอากาศเสีย น้าเสีย หรือของเสียอย่างอื่นที่เกิดจากกิจการ หรือการดาเนินกิจการของตน มีสิทธิที่จะขอรับการส่งเสริม และช่วยเหลือจากทางราชการตามวรรคหนึ่งได้ มาตรา ๙๕ คาขอรับการส่งเสริมและช่วยเหลือจากทางราชการตามมาตรา ๙๔ ให้ยื่นต่อคณะกรรมการ สิ่งแวดล้อมแห่งชาติตามหลักเกณฑ์ วิธีการและแบบที่กาหนดในกฎกระทรวง ให้คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติพิจารณาคาขอรับการส่งเสริมและช่วยเหลือตามวรรคหนึ่งได้ ตามที่เห็นสมควร โดยคานึงถึงความจาเป็นในทางเศรษฐกิจการเงินและการลงทุนของผู้ยื่นคาขอแต่ละราย และในกรณีที่คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติเห็นสมควรให้ความช่วยเหลือแก่ผู้ยื่นคาขอ ให้ คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติแนะนาให้ส่วนราชการที่เกี่ยวข้องดาเนินการตามอานาจหน้าที่ของส่วน ราชการนั้นเพื่อให้การส่งเสริมหรือให้ความช่วยเหลือแก่ผู้ยื่นคาขอต่อไป หมวด ๖ ควำมรับผิดทำงแพ่ง มาตรา ๙๖ แหล่งกาเนิดมลพิษใดก่อให้เกิดหรือเป็นแหล่งกาเนิดของการรั่วไหลหรือแพร่กระจายของมลพิษ อันเป็นเหตุให้ผู้อื่นได้รับอันตรายแก่ชีวิต ร่างกายหรือสุขภาพอนามัย หรือเป็นเหตุให้ทรัพย์สินของผู้อื่น หรือของรัฐเสียหายด้วยประการใดๆ เจ้าของหรือผู้ครอบครองแหล่งกาเนิดมลพิษนั้น มีหน้าที่ต้องรับผิด ชดใช้ค่าสินไหมทดแทนหรือค่าเสียหายเพื่อการนั้น ไม่ว่าการรั่วไหลหรือแพร่กระจายของมลพิษนั้นจะเกิด จากการกระทาโดยจงใจหรือประมาทเลินเล่อของเจ้าของหรือผู้ครอบครองแหล่งกาเนิดมลพิษหรือไม่ก็ตาม เว้นแต่ในกรณีที่พิสูจน์ได้ว่ามลพิษเช่นว่านั้นเกิดจาก (๑) เหตุสุดวิสัยหรือการสงคราม (๒) การกระทาตามคาสั่งของรัฐบาลหรือเจ้าพนักงานของรัฐ (๓) การกระทาหรือละเว้นการกระทาของผู้ที่ได้รับอันตรายหรือความเสียหายเองหรือของ บุคคลอื่น ซึ่งมีหน้าที่รับผิดชอบโดยตรงหรือโดยอ้อม ในการรั่วไหลหรือการแพร่กระจายของมลพิษนั้น ค่าสินไหมทดแทนหรือค่าเสียหาย ซึ่งเจ้าของหรือผู้ครอบครองแหล่งกาเนิดมลพิษมีหน้าที่ต้องรับผิดตาม วรรคหนึ่ง หมายความรวมถึงค่าใช้จ่ายทั้งหมดที่ทางราชการต้องรับภาระจ่ายจริงในการขจัดมลพิษที่เกิดขึ้น นั้นด้วย
16 มาตรา ๙๗ ผู้ใดกระทาหรือละเว้นการกระทาด้วยประการใดโดยมิชอบด้วยกฎหมายอันเป็นการทาลายหรือ ทาให้สูญหายหรือเสียหายแก่ทรัพยากรธรรมชาติซึ่งเป็นของรัฐ หรือเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดิน มี หน้าที่ต้องรับผิดชอบชดใช้ค่าเสียหายให้แก่รัฐตามมูลค่าทั้งหมดของทรัพยากรธรรมชาติที่ถูกทาลาย สูญ หาย หรือเสียหายไปนั้น หมวด ๗ บทกำหนดโทษ มาตรา ๙๘ ผู้ใดฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามคาสั่งที่ออกตามมาตรา ๙ หรือขัดขวางการกระทาใดๆ ตามคาสั่ง ดังกล่าว ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินหนึ่งปีหรือปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรือทั้งจาทั้งปรับในกรณีที่ ผู้ฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามคาสั่งดังกล่าวหรือขัดขวางการกระทาใดๆ ตามคาสั่งดังกล่าวเป็นผู้ซึ่งก่อให้เกิด อันตราย หรือความเสียหายจากภาวะมลพิษ ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินห้าปี หรือปรับไม่เกินห้าแสนบาท หรือทั้งจาทั้งปรับ มาตรา ๙๙ ผู้ใดบุกรุกหรือครอบครองที่ดินของรัฐโดยไม่ชอบด้วยกฎหมายหรือเข้าไปกระทาด้วยประการ ใดๆ อันเป็นการทาลาย ทาให้สูญหาย หรือเสียหายแก่ทรัพยากรธรรมชาติหรือศิลปกรรมอันควรแก่การ อนุรักษ์ หรือก่อให้เกิดมลพิษอันมีผลกระทบต่อคุณภาพสิ่งแวดล้อม ในเขตพื้นที่คุ้มครองสิ่งแวดล้อมที่ กาหนดตามมาตรา ๔๓ ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินห้าปี หรือปรับไม่เกินห้าแสนบาท หรือทั้งจาทั้งปรับ มาตรา ๑๐๑ ผู้ใดแพร่หรือไขข่าวที่ไม่เป็นความจริงเกี่ยวกับอันตรายจากแหล่งกาเนิดมลพิษใดโดยมีเจตนาที่ จะทาลายชื่อเสียงหรือความไว้วางใจของสาธารณชนต่อการดาเนินกิจการโดยชอบด้วยกฎหมายของ แหล่งกาเนิดมลพิษนั้น ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินหนึ่งปี หรือปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรือทั้งจาทั้งปรับ มาตรา ๑๐๔ เจ้าของหรือผู้ครอบครองแหล่งกาเนิดมลพิษผู้ใดไม่ปฏิบัติตามมาตรา ๗๑ หรือผู้ใดไม่ปฏิบัติ ตามมาตรา ๗๒ หรือข้อกาหนดของเจ้าพนักงานท้องถิ่นตามมาตรา ๗๔ หรือมาตรา ๗๕ วรรคหนึ่ง หรือ กฎกระทรวงที่ออกตามมาตรา ๘๐ ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินหนึ่งปี หรือปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรือ ทั้งจาทั้งปรับ มาตรา ๑๐๕ ผู้ใดรับจ้างเป็นผู้ควบคุมหรือรับจ้างให้บริการบาบัดน้าเสีย หรือกาจัดของเสียโดยไม่ได้รับ ใบอนุญาตตามมาตรา ๗๓ ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินหนึ่งปี หรือปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรือทั้งจาทั้ง ปรับ
ร ปเล ม
ร ปเล ม
ร ปเล ม
ร ปเล ม
ร ปเล ม
ร ปเล ม
ร ปเล ม
ร ปเล ม
ร ปเล ม
ร ปเล ม
ร ปเล ม
ร ปเล ม
ร ปเล ม
ร ปเล ม
ร ปเล ม
ร ปเล ม
ร ปเล ม
ร ปเล ม
ร ปเล ม
ร ปเล ม
ร ปเล ม
ร ปเล ม
ร ปเล ม
ร ปเล ม
ร ปเล ม
ร ปเล ม
ร ปเล ม
ร ปเล ม
ร ปเล ม
ร ปเล ม
ร ปเล ม
ร ปเล ม
ร ปเล ม
ร ปเล ม
ร ปเล ม
ร ปเล ม
ร ปเล ม
ร ปเล ม
ร ปเล ม
ร ปเล ม
ร ปเล ม
ร ปเล ม
ร ปเล ม
ร ปเล ม
ร ปเล ม
ร ปเล ม
ร ปเล ม
ร ปเล ม
ร ปเล ม
ร ปเล ม
ร ปเล ม
ร ปเล ม
ร ปเล ม
ร ปเล ม
ร ปเล ม
ร ปเล ม
ร ปเล ม
ร ปเล ม
ร ปเล ม
ร ปเล ม
ร ปเล ม
ร ปเล ม
ร ปเล ม
ร ปเล ม
ร ปเล ม
ร ปเล ม
ร ปเล ม
ร ปเล ม

More Related Content

Similar to ร ปเล ม

นโยบายการดำเนินงาน รมต.สธ.
นโยบายการดำเนินงาน รมต.สธ.นโยบายการดำเนินงาน รมต.สธ.
นโยบายการดำเนินงาน รมต.สธ.Dr.Suradet Chawadet
 
Prและสังคม5
Prและสังคม5Prและสังคม5
Prและสังคม5Vivace Narasuwan
 
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ รายงานประจำปี 2557
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ  รายงานประจำปี 2557สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ  รายงานประจำปี 2557
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ รายงานประจำปี 2557Utai Sukviwatsirikul
 
กฎหมายออนไลน์ ระบบสุขภาพ.pdf
กฎหมายออนไลน์ ระบบสุขภาพ.pdfกฎหมายออนไลน์ ระบบสุขภาพ.pdf
กฎหมายออนไลน์ ระบบสุขภาพ.pdfIjimaruGin
 
Thailand's Health IT Future Directions (April 4, 2019)
Thailand's Health IT Future Directions (April 4, 2019)Thailand's Health IT Future Directions (April 4, 2019)
Thailand's Health IT Future Directions (April 4, 2019)Nawanan Theera-Ampornpunt
 
บทที่4
บทที่4บทที่4
บทที่4praphol
 
Managing Business Continuity During the COVID-19 Crisis (August 25, 2021)
Managing Business Continuity During the COVID-19 Crisis (August 25, 2021)Managing Business Continuity During the COVID-19 Crisis (August 25, 2021)
Managing Business Continuity During the COVID-19 Crisis (August 25, 2021)Nawanan Theera-Ampornpunt
 
Proposal54 mk 8_nov10(final)
Proposal54 mk 8_nov10(final)Proposal54 mk 8_nov10(final)
Proposal54 mk 8_nov10(final)chorchamp
 
ความท้าทาย...นโยบายหลักประกันสุขภาพ
ความท้าทาย...นโยบายหลักประกันสุขภาพความท้าทาย...นโยบายหลักประกันสุขภาพ
ความท้าทาย...นโยบายหลักประกันสุขภาพweeraboon wisartsakul
 
หลักสูตร Mini MM in Health 55
หลักสูตร Mini MM in Health 55หลักสูตร Mini MM in Health 55
หลักสูตร Mini MM in Health 55sivapong klongpanich
 

Similar to ร ปเล ม (20)

แนวทางการพัฒนาจริยธรรมของพยาบาล
แนวทางการพัฒนาจริยธรรมของพยาบาลแนวทางการพัฒนาจริยธรรมของพยาบาล
แนวทางการพัฒนาจริยธรรมของพยาบาล
 
White paper on_no_fault
White paper on_no_faultWhite paper on_no_fault
White paper on_no_fault
 
นโยบายการดำเนินงาน รมต.สธ.
นโยบายการดำเนินงาน รมต.สธ.นโยบายการดำเนินงาน รมต.สธ.
นโยบายการดำเนินงาน รมต.สธ.
 
Prและสังคม5
Prและสังคม5Prและสังคม5
Prและสังคม5
 
Siiim
SiiimSiiim
Siiim
 
Siiim
SiiimSiiim
Siiim
 
NHSO annual report_2557
NHSO annual report_2557NHSO annual report_2557
NHSO annual report_2557
 
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ รายงานประจำปี 2557
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ  รายงานประจำปี 2557สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ  รายงานประจำปี 2557
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ รายงานประจำปี 2557
 
Primary Health Care System_Padkao T
Primary Health Care System_Padkao TPrimary Health Care System_Padkao T
Primary Health Care System_Padkao T
 
กฎหมายออนไลน์ ระบบสุขภาพ.pdf
กฎหมายออนไลน์ ระบบสุขภาพ.pdfกฎหมายออนไลน์ ระบบสุขภาพ.pdf
กฎหมายออนไลน์ ระบบสุขภาพ.pdf
 
Thailand's Health IT Future Directions (April 4, 2019)
Thailand's Health IT Future Directions (April 4, 2019)Thailand's Health IT Future Directions (April 4, 2019)
Thailand's Health IT Future Directions (April 4, 2019)
 
บทที่4
บทที่4บทที่4
บทที่4
 
Managing Business Continuity During the COVID-19 Crisis (August 25, 2021)
Managing Business Continuity During the COVID-19 Crisis (August 25, 2021)Managing Business Continuity During the COVID-19 Crisis (August 25, 2021)
Managing Business Continuity During the COVID-19 Crisis (August 25, 2021)
 
Proposal54 mk 8_nov10(final)
Proposal54 mk 8_nov10(final)Proposal54 mk 8_nov10(final)
Proposal54 mk 8_nov10(final)
 
ความท้าทาย...นโยบายหลักประกันสุขภาพ
ความท้าทาย...นโยบายหลักประกันสุขภาพความท้าทาย...นโยบายหลักประกันสุขภาพ
ความท้าทาย...นโยบายหลักประกันสุขภาพ
 
RSU-SE3
RSU-SE3RSU-SE3
RSU-SE3
 
หลักสูตร Mini MM in Health 55
หลักสูตร Mini MM in Health 55หลักสูตร Mini MM in Health 55
หลักสูตร Mini MM in Health 55
 
แนวทางการพัฒนาจริยธรรมของพยาบาล
แนวทางการพัฒนาจริยธรรมของพยาบาลแนวทางการพัฒนาจริยธรรมของพยาบาล
แนวทางการพัฒนาจริยธรรมของพยาบาล
 
551212 moph policy
551212 moph policy551212 moph policy
551212 moph policy
 
Nopparat Hazmat Preparedness
Nopparat Hazmat PreparednessNopparat Hazmat Preparedness
Nopparat Hazmat Preparedness
 

More from สุชญา สกุลวงศ์

More from สุชญา สกุลวงศ์ (6)

Ema ส งแวดล_อม
Ema ส  งแวดล_อมEma ส  งแวดล_อม
Ema ส งแวดล_อม
 
บร ษ ท ผาแดงอ_นด_สทร_ จำก_ด (มหาชน)
บร ษ ท ผาแดงอ_นด_สทร_ จำก_ด (มหาชน)บร ษ ท ผาแดงอ_นด_สทร_ จำก_ด (มหาชน)
บร ษ ท ผาแดงอ_นด_สทร_ จำก_ด (มหาชน)
 
รายงานว ชาการ ทอท. 1_ _1_
รายงานว ชาการ ทอท.  1_ _1_รายงานว ชาการ ทอท.  1_ _1_
รายงานว ชาการ ทอท. 1_ _1_
 
เหมืองแร่
เหมืองแร่เหมืองแร่
เหมืองแร่
 
ข อ 2มาตรการจ ดการส__งแวดล_อมเก__ยวข_อง
ข อ 2มาตรการจ ดการส__งแวดล_อมเก__ยวข_องข อ 2มาตรการจ ดการส__งแวดล_อมเก__ยวข_อง
ข อ 2มาตรการจ ดการส__งแวดล_อมเก__ยวข_อง
 
พ.ร.บ.การส งเสร มและร_กษาค_ณภาพส__งแวดล_อม
พ.ร.บ.การส งเสร มและร_กษาค_ณภาพส__งแวดล_อมพ.ร.บ.การส งเสร มและร_กษาค_ณภาพส__งแวดล_อม
พ.ร.บ.การส งเสร มและร_กษาค_ณภาพส__งแวดล_อม
 

ร ปเล ม

  • 1. รายงาน วิชา Environmental Management Accounting (03760433) เรื่อง การศึกษาบัญชีสิ่งแวดล้อมตามพระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2535 นาเสนอ ผศ. พัชนิจ เนาวพันธ์ จัดทาโดย นาย ชนินทร์ เสริมดารารัตน์ 5430160164 นาย ชวนันท์ พละชัย 5430160181 นาย ทรงชม นภาจันทร์เด่น 5430160300 นาย ปฐมณัฐ ศิริสวัสดิ์ 5430160512 นาย เสฏฐพัฒน์ เติมต่อ 5430160873 รายงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชา Environmental Management Accounting (03760433) คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา ปีการศึกษา พ .ศ. 2557
  • 2. คำนำ ในปัจจุบันบริษัทส่วนมากสนใจกับการทากาไรและหาผลประโยชน์เพียงอย่างเดียวโดยไม่คานึงถึง ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมจึงได้มีการจัดทารายงานเล่มนี้เพื่อดูและศึกษาการทาบัญชีสิ่งแวดล้อมที่มี ผลกระทบต่อรายการ สินทรัพย์ หนี้สิน รายได้ ค่าใช้จ่าย ทุนและต้นทุน ศึกษาการจัดทา CSR EIA และ ISO 14001 และ ISO ด้านต่างๆที่บริษัทได้รับรางวัล อีกทั้งยังศึกษาจากรายงานความยั่งยืนประจาปีของบริษัท และทาการเปรียบเทียบกับรายงานประจาปีของสานักงานคณะกรรมการกากับหลักทรัพย์และตลาด หลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) เพื่อหาข้อแตกต่างเกี่ยวกับการเปิดเผยข้อมูลด้านสิ่งแวดล้อม ศึกษาการดาเนินการของ บริษัทด้านการจัดการกับสิ่งแวดล้อมที่เป็นมิตรเปรียบเทียบกับกฎหมายพระราชบัญญัติสิ่งแวดล้อม (พ.ร.บ. สิ่งแวดล้อม) พ.ศ.2535 เพื่อเป็นความรู้ใช้ในการจัดทาบัญชีสิ่งแวดล้อมและใช้เป็นแนวทางให้ผู้ที่เกี่ยวข้อง กับการบริหารจัดการ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ได้เข้าใจถึงบทบาทของตนในการส่งเสริม พนักงานหรือชุมชน ให้รับรู้ ถึงสิทธิและแนวทางการมี ส่วนร่วมในการ บริหารจัดการ ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมในพื้นที่ รวมทั้งแนะนาเทคนิคในการให้ข่าวสารข้อมูลและการเลือกรูปแบบการประเมินผล กระทบต่อสิ่งแวดล้อม และมีขั้นตอนต่างๆในการส่งเสริมให้พนักงานมีส่วนร่วมในการจัดทาแผนการ จัดการทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อมในพื้นที่ด้วยตนเอง คณะผู้จัดทา
  • 3. สำรบัญ เรื่อง หน้ำ กฎหมำยสิ่งแวดล้อม ฉบับที่เกี่ยวข้องกับการจัดการสิ่งแวดล้อม 1 การดาเนินการ 17 ผลกระทบต่อ สินทรัพย์ หนี้สิน ทุน รายได้ ต้นทุน ค่าใช้จ่าย ขององค์การ 20 การดาเนินการทางบัญชี 20 สภำพแวดล้อมของสถำนประกอบกำร ประเด็นสภาพแวดล้อม 21 การดาเนินการ 21 ผลกระทบต่อ สินทรัพย์ หนี้สิน ทุน รายได้ ต้นทุน ค่าใช้จ่าย ขององค์การ 23 การดาเนินการทางบัญชี 24 หลักกำรจัดกำรมลพิษ มลพิษ ประกอบด้วยอะไรบ้าง 28 แนวทางในการจัดการมลพิษ 30 ผลกระทบต่อ สินทรัพย์ หนี้สิน ทุน รายได้ ต้นทุน ค่าใช้จ่าย ขององค์การ 42 การดาเนินการทางบัญชี 44 กำรนำเสนอรำยงำนขององค์กำรที่ได้จัดทำบัญชีสิ่งแวดล้อมต่อสำธำรณะ ข้อมูลเกี่ยวกับองค์การ แนวคิด การดาเนินการ 46 ข้อมูลที่นาเสนอ 50 วิธีนาเสนอ 53 ข้อวิเคราะห์การนาเสนอ 54 เปรียบเทียบกำรดำเนินงำนของบริษัทกับข้อกำหนดทำงกฎหมำย 55 เปรียบเทียบกับข้อกำหนดรำยงำนควำมยั่งยืนของ กลต. เปรียบเทียบ ประเด็นเหมือน ประเด็นต่าง 61 ตัวอย่างรายงาน 71 วิเคราะห์ ต่อองค์การ และระบบบัญชีบัญชีสิ่งแวดล้อมขององค์การ 73 ข้อพิพำทและปัญหำกำรดำเนินกำร 74 บรรณำณุกรม 84
  • 4. 1 พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535 แบ่งเป็น 7 หมวดใหญ่ๆดังนี้ หมวด ๑ คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ หมวด ๒ กองทุนสิ่งแวดล้อม หมวด ๓ การคุ้มครองสิ่งแวดล้อม ส่วนที่ ๑ มาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดล้อม ส่วนที่ ๒ การวางแผนจัดการคุณภาพสิ่งแวดล้อม ส่วนที่ ๓ เขตอนุรักษ์และพื้นที่คุ้มครองสิ่งแวดล้อม ส่วนที่ ๔ การทารายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม หมวด ๔ การควบคุมมลพิษ ส่วนที่ ๑ คณะกรรมการควบคุมมลพิษ ส่วนที่ ๒ มาตรฐานควบคุมมลพิษจากแหล่งกาเนิด ส่วนที่ ๓ เขตควบคุมมลพิษ ส่วนที่ ๔ มลพิษทางอากาศและเสียง ส่วนที่ ๕ มลพิษทางน้า ส่วนที่ ๖ มลพิษอื่นและของเสียอันตราย ส่วนที่ ๗ การตรวจสอบและควบคุม ส่วนที่ ๘ ค่าบริการและค่าปรับ หมวด ๕ มาตรการส่งเสริม หมวด ๖ ความรับผิดทางแพ่ง หมวด ๗ บทกาหนดโทษ กฎหมำยที่เกี่ยวข้องกับกำรจัดกำรสิ่งแวดล้อม ก่อนเริ่มหมวด ๑ มาตรา ๖ เพื่อประโยชน์ในการร่วมกันส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมของชาติบุคคลอาจมีสิทธิและ หน้าที่ดังต่อไปนี้ (๑) การได้รับทราบข้อมูลและข่าวสารจากทางราชการในเรื่องเกี่ยวกับการส่งเสริมและรักษาคุณภาพ สิ่งแวดล้อมเว้นแต่ข้อมูลหรือข่าวสารที่ทางราชการถือว่าเป็นความลับเกี่ยวข้องกับการรักษาความมั่นคง แห่งชาติ หรือเป็นความลับเกี่ยวกับสิทธิส่วนบุคคลสิทธิในทรัพย์สินหรือสิทธิในทางการค้าหรือกิจการของ บุคคลใดที่ได้รับความคุ้มครองตามกฎหมาย (๒) การได้รับชดใช้ค่าเสียหาย หรือค่าทดแทนจากรัฐ ในกรณีที่ได้รับความเสียหายจากภยันตรายที่
  • 5. 2 เกิดจากการแพร่กระจายของมลพิษหรือภาวะมลพิษ อันมีสาเหตุมาจากกิจการหรือโครงการใดที่ริเริ่ม สนับสนุนหรือดาเนินการโดยส่วนราชการหรือรัฐวิสาหกิจ (๓) การร้องเรียนกล่าวโทษผู้กระทาผิดต่อเจ้าพนักงานในกรณีที่ได้พบเห็นการกระทาใด ๆ อันเป็น การละเมิด หรือฝ่าฝืนกฎหมายเกี่ยวกับการควบคุมมลพิษ หรือการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ (๔) การให้ความร่วมมือและช่วยเหลือเจ้าพนักงานในการปฏิบัติหน้าที่ที่เกี่ยวข้องกับการส่งเสริมและ รักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม (๕) การปฏิบัติตามพระราชบัญญัตินี้หรือกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้องกับการส่งเสริมและรักษาคุณภาพ สิ่งแวดล้อมโดยเคร่งครัด ทั้งนี้ ตามที่พระราชบัญญัตินี้หรือกฎหมายว่าด้วยการนั้นบัญญัติไว้ มาตรา ๗ เพื่อเป็นการสนับสนุนการมีส่วนร่วมของประชาชนในการส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวด ล้อม ให้องค์กรเอกชนซึ่งมีฐานะเป็นนิติบุคคลตามกฎหมายไทย หรือกฎหมายต่างประเทศที่มีกิจกรรม เกี่ยวข้องโดยตรงกับการคุ้มครองสิ่งแวดล้อม หรืออนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ และมิได้มีวัตถุประสงค์ ในทางการเมือง หรือมุ่งค้าหากาไรจากการประกอบกิจกรรมดังกล่าว มีสิทธิขอจดทะเบียนเป็นองค์กร เอกชนด้านการคุ้มครองสิ่งแวดล้อม และอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติต่อกระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อม ตามหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขที่กาหนดในกฎกระทรวง มาตรา ๘ องค์กรเอกชนที่ได้จดทะเบียนตามมาตรา ๗ แล้วอาจได้รับการช่วยเหลือหรือได้รับการสนับสนุน จากทางราชการในเรื่องดังต่อไปนี้ (๑) การจัดให้มีอาสาสมัครเพื่อช่วยเหลือการปฏิบัติงานของเจ้าพนักงานตามพระราชบัญญัตินี้หรือ ตามกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้องกับการส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม (๒) การประชาสัมพันธ์ เผยแพร่ ข้อมูลหรือข่าวสาร เพื่อสร้างจิตสานึกของสาธารณชนที่ถูกต้อง เกี่ยวกับการคุ้มครองสิ่งแวดล้อมและอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ (๓) การช่วยเหลือประชาชนในพื้นที่ใดพื้นที่หนึ่ง ริเริ่มโครงการ หรือกิจกรรม เพื่อคุ้มครอง สิ่งแวดล้อมและอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติในพื้นที่นั้น (๔) การศึกษาวิจัยเกี่ยวกับการคุ้มครองสิ่งแวดล้อม และอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ และเสนอแนะ ความคิดเห็นต่อรัฐบาลหรือส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง
  • 6. 3 (๕) การให้ความช่วยเหลือทางกฎหมายแก่ประชาชนผู้ได้รับอันตราย หรือความเสียหายจากภาวะ มลพิษอันเกิดจากการรั่วไหลหรือแพร่กระจายของมลพิษ รวมทั้งเป็นผู้แทนในคดีที่มีการฟ้องร้องต่อศาล เพื่อเรียกร้องค่าสินไหมทดแทน หรือค่าเสียหายให้แก่ผู้ที่ได้รับอันตรายหรือความเสียหายนั้นด้วย ในกรณีที่องค์กรเอกชนที่ได้จดทะเบียนประสบปัญหาหรืออุปสรรคในการดาเนินกิจการตามวรรค หนึ่ง และร้องขอให้คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติช่วยเหลือ ให้นายกรัฐมนตรีโดยคาแนะนาของ คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติมีอานาจสั่งให้ความช่วยเหลือตามความเหมาะสม หรือสั่งให้ส่วนราชการ หรือรัฐวิสาหกิจที่เกี่ยวข้องดาเนินการช่วยเหลือหรืออานวยความสะดวกต่อไป คณะกรรมการกองทุนโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติอาจพิจารณาจัดสรร เงินทุนอุดหนุน หรือเงินกู้ให้แก่องค์กรเอกชนที่ได้จดทะเบียนแล้ว เพื่อสนับสนุนกิจกรรมอย่างใดอย่างหนึ่ง ได้ตามที่เห็นสมควร องค์กรเอกชนที่ได้จดทะเบียนแล้วอาจเสนอชื่อผู้แทนภาคเอกชนเพื่อให้คณะรัฐมนตรีพิจารณาแต่งตั้ง เป็นกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติได้ ในกรณีที่องค์กรเอกชนใดที่ได้จดทะเบียนแล้วดาเนินกิจการโดยก่อความวุ่นวายหรือขัดต่อความสงบ เรียบร้อยหรือไม่เหมาะสม ให้รัฐมนตรีมีอานาจสั่งเพิกถอนการจดทะเบียนขององค์กรเอกชนนั้นได้ มาตรา ๙ เมื่อมีเหตุฉุกเฉินหรือเหตุภยันตรายต่อสาธารณชนอันเนื่องมาจากภัยธรรมชาติหรือภาวะมลพิษที่ เกิดจากการแพร่กระจายของมลพิษ ซึ่งหากปล่อยไว้เช่นนั้นจะเป็นอันตรายอย่างร้ายแรงต่อชีวิต ร่างกายหรือ สุขภาพอนามัยของประชาชน หรือก่อความเสียหายต่อทรัพย์สินของประชาชนหรือของรัฐเป็นอันมาก ให้ นายกรัฐมนตรีมีอานาจสั่งตามที่เห็นสมควรให้ส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ หรือบุคคลใด รวมทั้งบุคคลซึ่ง ได้รับหรืออาจได้รับอันตรายหรือความเสียหายดังกล่าว กระทาหรือร่วมกันกระทาการใด ๆ อันจะมีผลเป็น การควบคุม ระงับ หรือบรรเทาผลร้ายจากอันตรายและความเสียหายที่เกิดขึ้นนั้นได้อย่างทันท่วงที ในกรณีที่ ทราบว่าบุคคลใดเป็นผู้ก่อให้เกิดภาวะมลพิษดังกล่าว ให้นายกรัฐมนตรีมีอานาจสั่งบุคคลนั้นไม่ให้กระทา การใดอันจะมีผลเป็นการเพิ่มความรุนแรงแก่ภาวะมลพิษในระหว่างที่มีเหตุภยันตรายดังกล่าวด้วย อานาจในการสั่งตามวรรคหนึ่ง นายกรัฐมนตรีจะมอบอานาจให้ผู้ว่าราชการจังหวัดปฏิบัติราชการ ภายในเขตจังหวัดแทนนายกรัฐมนตรีได้โดยให้ทาเป็นคาสั่งและประกาศในราชกิจจานุเบกษา เมื่อนายกรัฐมนตรีได้สั่งตามวรรคหนึ่ง หรือผู้ว่าราชการจังหวัดในการปฏิบัติราชการแทน นายกรัฐมนตรีได้สั่งตามวรรคสองแล้ว ให้ประกาศคาสั่งดังกล่าวในราชกิจจานุเบกษาโดยมิชักช้า
  • 7. 4 มาตรา ๑๐ เพื่อเป็นการป้องกันแก้ไข ระงับหรือบรรเทาเหตุฉุกเฉิน หรือเหตุภยันตรายจากภาวะมลพิษตาม มาตรา ๙ ให้รัฐมนตรีกาหนดมาตรการป้องกันและจัดทาแผนฉุกเฉินเพื่อแก้ไขสถานการณ์ที่เกิดขึ้นไว้ ล่วงหน้า หมวด ๒ กองทุนสิ่งแวดล้อม มาตรา ๒๓ เงินกองทุนให้ใช้จ่ายเพื่อกิจการดังต่อไปนี้ (๑) ให้ส่วนราชการหรือราชการส่วนท้องถิ่นสาหรับการลงทุนและดาเนินงานระบบบาบัดน้าเสียรวม หรือระบบกาจัดของเสียรวม รวมทั้งการจัดหาจัดซื้อ ที่ดิน วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือและเครื่องใช้ที่จาเป็น สาหรับการดาเนินงานและบารุงรักษาระบบดังกล่าวด้วย (๒) ให้ราชการส่วนท้องถิ่นหรือรัฐวิสาหกิจกู้ยืม เพื่อจัดให้มีระบบบาบัดอากาศเสียหรือน้าเสีย ระบบ กาจัดของเสียหรืออุปกรณ์อื่นใด สาหรับใช้เฉพาะในกิจการของราชการส่วนท้องถิ่นหรือรัฐวิสาหกิจนั้น (๓) ให้เอกชนกู้ยืมในกรณีที่บุคคลนั้น มีหน้าที่ตามกฎหมายที่จะต้องจัดให้มีระบบบาบัดอากาศ เสีย หรือน้าเสีย ระบบกาจัดของเสีย หรืออุปกรณ์อื่นใด เพื่อการควบคุมบาบัดหรือขจัดมลพิษที่เกิดจาก กิจกรรมหรือการดาเนินกิจการของตนเองหรือบุคคลนั้นเป็นผู้ได้รับใบอนุญาตให้ประกอบกิจการเป็นผู้ รับจ้างให้บริการบาบัดน้าเสียหรือกาจัดของเสียตามพระราชบัญญัตินี้ (๔) เป็นเงินช่วยเหลือและอุดหนุนกิจการใด ๆ ที่เกี่ยวกับการส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม ตามที่คณะกรรมการกองทุนเห็นสมควรและโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ (๕) เป็นค่าใช้จ่ายในการบริหารกองทุน มาตรา ๒๗ ในการพิจารณาจัดสรรเงินกองทุนตามมาตรา ๒๓ (๑) ให้คณะกรรมการกองทุนพิจารณาคาขอ จัดสรรในแผนปฏิบัติการเพื่อการจัดการคุณภาพสิ่งแวดล้อมในระดับจังหวัดตามมาตรา ๓๙ เพื่อทาการ ก่อสร้างหรือดาเนินการให้มีระบบบาบัดน้าเสียหรือระบบกาจัดของเสีย ซึ่งได้รับการจัดสรรงบประมาณ แผ่นดินตามมาตรา ๓๙ ให้แล้วส่วนหนึ่ง หรือราชการส่วนท้องถิ่นได้จัดสรรเงินรายได้ของราชการส่วน ท้องถิ่นสมทบด้วยแล้วเป็นลาดับแรก สัดส่วนระหว่างเงินงบประมาณแผ่นดิน หรือเงินรายได้ของราชการส่วนท้องถิ่นกับเงินกองทุนที่ คณะกรรมการกองทุนจะพิจารณาอนุมัติจัดสรรให้ตามวรรคหนึ่งให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการ สิ่งแวดล้อมแห่งชาติกาหนด
  • 8. 5 มาตรา ๒๘ การจัดสรรเงินกองทุนให้ราชการส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ หรือเอกชน ทาการกู้ยืมตาม มาตรา ๒๓ (๒) หรือ (๓) ให้คณะกรรมการกองทุนพิจารณาตามหลักเกณฑ์และเงื่อนไขที่คณะกรรมการ สิ่งแวดล้อมแห่งชาติกาหนด เพื่อประโยชน์ในการส่งเสริมให้มีการปฏิบัติตามพระราชบัญญัตินี้คณะกรรมการกองทุนโดยความ เห็นชอบของคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติอาจจัดสรรเงินกองทุนให้ราชการส่วน ท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ หรือเอกชนรายหนึ่งรายใดกู้ยืมเงินกองทุนได้ โดยมีกาหนดระยะยาวเป็นพิเศษ และจะ กาหนดให้ลดอัตราดอกเบี้ยหรือยกเว้นดอกเบี้ยตามที่เห็นสมควรก็ได้ หมวด ๓ กำรคุ้มครองสิ่งแวดล้อม หมวด ๓ ส่วนที่ ๑ มำตรฐำนคุณภำพสิ่งแวดล้อม มาตรา ๓๒ เพื่อประโยชน์ในการส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม ให้คณะกรรมการสิ่งแวดล้อม แห่งชาติมีอานาจประกาศในราชกิจจานุเบกษา กาหนดมาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดล้อมในเรื่องต่อไปนี้ (๑) มาตรฐานคุณภาพน้าในแม่น้าลาคลอง หนอง บึง ทะเลสาบ อ่างเก็บน้า และแหล่งน้าสาธารณะ อื่น ๆ ที่อยู่ภายในผืนแผ่นดิน โดยจาแนกตามลักษณะการใช้ประโยชน์บริเวณพื้นที่ลุ่มน้าในแต่ละพื้นที่ (๒) มาตรฐานคุณภาพน้าทะเลชายฝั่งรวมทั้งบริเวณพื้นที่ปากแม่น้า (๓) มาตรฐานคุณภาพน้าบาดาล (๔) มาตรฐานคุณภาพอากาศในบรรยากาศโดยทั่วไป (๕) มาตรฐานระดับเสียงและความสั่นสะเทือนโดยทั่วไป (๖) มาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดล้อมในเรื่องอื่น ๆ การกาหนดมาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดล้อมตามวรรคหนึ่งจะต้องอาศัยหลักวิชาการ กฎเกณฑ์และ หลักฐานทางวิทยาศาสตร์เป็นพื้นฐาน และจะต้องคานึงถึงความเป็นไปได้ในเชิงเศรษฐกิจ สังคมและ เทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องด้วย หมวด ๓ ส่วนที่ ๒ กำรวำงแผนจัดกำรคุณภำพสิ่งแวดล้อม มาตรา ๓๙ แผนปฏิบัติการเพื่อการจัดการคุณภาพสิ่งแวดล้อมในระดับจังหวัดที่จะได้รับการพิจารณาจาก คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติในลาดับแรก จะต้องเสนอประมาณการเงินงบประมาณแผ่นดินและ เงินกองทุน สาหรับการก่อสร้างหรือดาเนินการเพื่อให้มีระบบบาบัดน้าเสียรวมหรือระบบกาจัดของเสีย รวม ตามมาตรา ๓๘ (๒) ด้วย ในกรณีที่จังหวัดใดยังไม่พร้อมที่จะดาเนินการเพื่อให้มีระบบบาบัดน้าเสีย รวมหรือระบบกาจัดของเสียรวมอาจเสนอแผนการส่งเสริมให้เอกชนลงทุนก่อสร้างและดาเนินการระบบ
  • 9. 6 บาบัดน้าเสียหรือระบบกาจัดของเสีย เพื่อให้บริการในเขตจังหวัดนั้นแทน การจัดทาแผนปฏิบัติการตามวรรคหนึ่งจะต้องมีแบบแปลนรายการละเอียดและประมาณการราคา ของโครงการก่อสร้าง ติดตั้ง ปรับปรุง ดัดแปลง ซ่อมแซม บารุงรักษา รวมทั้งกระบวนการและ วิธีดาเนินการระบบบาบัดน้าเสียรวมหรือระบบการกาจัดของเสียรวมที่เสนอขอจัดสรรเงินงบประมาณและ เงินกองทุนดังกล่าวประกอบคาขอด้วย เพื่อประโยชน์ในการให้ความเห็นชอบแผนปฏิบัติการเพื่อการจัดการคุณภาพสิ่งแวดล้อมในระดับ จังหวัดซึ่งจะต้องมีคาขอจัดสรรเงินงบประมาณแผ่นดินตามวรรคหนึ่ง ให้สานักงานนโยบายและแผน สิ่งแวดล้อม มีหน้าที่ในการรวบรวมและวิเคราะห์แผนปฏิบัติการเพื่อการจัดการคุณภาพสิ่งแวดล้อมใน ระดับจังหวัด เพื่อเสนอขอตั้งเป็นงบประมาณรายจ่ายประจาปีของสานักงานนโยบาย และแผนสิ่งแวดล้อม ไว้เพื่อการนี้โดยเฉพาะ หมวด ๓ ส่วนที่ ๔ กำรทำรำยงำนกำรวิเครำะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม มาตรา ๔๖ เพื่อประโยชน์ในการส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม ให้รัฐมนตรีโดยความเห็นชอบ ของคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ มีอานาจประกาศในราชกิจจานุเบกษากาหนดประเภทและขนาด ของโครงการ หรือกิจการของส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ หรือเอกชนที่มีผลกระทบสิ่งแวดล้อมซึ่งต้องจัดทา รายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม เพื่อเสนอขอความเห็นชอบตามมาตรา ๔๗ มาตรา ๔๘ และ มาตรา ๔๙ ในการประกาศตามวรรคหนึ่ง ให้กาหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ ระเบียบปฏิบัติ แนวทางการจัดทา รายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม ตลอดจนเอกสารที่เกี่ยวข้องซึ่งต้องเสนอพร้อมกับรายงานการ วิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม สาหรับโครงการหรือกิจการแต่ละประเภทและแต่ละขนาดด้วย ในกรณีที่โครงการหรือกิจการประเภทหรือขนาดใดหรือที่จะจัดตั้งขึ้นในพื้นที่ใดมีการวิเคราะห์ ผลกระทบสิ่งแวดล้อมไว้แล้ว และเป็นมาตรฐานที่สามารถใช้กับโครงการหรือกิจการประเภทหรือขนาด เดียวกันหรือในพื้นที่ลักษณะเดียวกันได้ รัฐมนตรีโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ อาจประกาศในราชกิจจานุเบกษากาหนดให้โครงการหรือกิจการในทานองเดียวกันได้รับยกเว้นไม่ต้อง จัดทารายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมก็ได้ แต่ทั้งนี้ โครงการหรือกิจการนั้นจะต้องแสดงความ ยินยอมปฏิบัติตามมาตรการต่าง ๆ ที่กาหนดไว้ในการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมสาหรับโครงการหรือ กิจการนั้นตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่รัฐมนตรีกาหนด
  • 10. 7 มาตรา ๔๗ ในกรณีที่โครงการหรือกิจการซึ่งต้องจัดทารายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมตาม มาตรา ๔๖ เป็นโครงการหรือกิจการของส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจหรือโครงการร่วมกับเอกชน ซึ่งต้องเสนอ ขอรับความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรีตามระเบียบปฏิบัติของทางราชการ ให้ส่วนราชการหรือรัฐวิสาหกิจ ซึ่งเป็นผู้รับผิดชอบโครงการหรือกิจการนั้น จัดทารายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม ตั้งแต่ในระยะ ทาการศึกษาความเหมาะสมของโครงการเสนอต่อคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ เพื่อเสนอความเห็น ประกอบการพิจารณาของคณะรัฐมนตรี ในการพิจารณาให้ความเห็นชอบรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมที่เสนอตามวรรค หนึ่ง คณะรัฐมนตรีอาจขอให้บุคคลหรือสถาบันใด ซึ่งเป็นผู้ชานาญการหรือเชี่ยวชาญเกี่ยวกับการวิเคราะห์ ผลกระทบสิ่งแวดล้อมทาการศึกษาและเสนอรายงานหรือความเห็นเพื่อประกอบการพิจารณาด้วยก็ได้ สาหรับโครงการหรือกิจการของส่วนราชการหรือรัฐวิสาหกิจตามมาตรา ๔๖ ซึ่งไม่จาต้องเสนอขอรับ ความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรีตามวรรคหนึ่ง ให้ส่วนราชการหรือรัฐวิสาหกิจ ซึ่งเป็นผู้รับผิดชอบ โครงการหรือกิจการนั้นจัดทารายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมเพื่อเสนอขอความเห็นชอบก่อนที่ จะดาเนินการตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กาหนดไว้ในมาตรา ๔๘ และมาตรา ๔๙ มาตรา ๔๘ ในกรณีที่โครงการหรือกิจการซึ่งต้องจัดทารายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมตาม มาตรา ๔๖ เป็นโครงการหรือกิจการซึ่งจะต้องได้รับอนุญาตจากทางราชการตามกฎหมายก่อนเริ่มการ ก่อสร้างหรือดาเนินการ ให้บุคคลผู้ขออนุญาตเสนอรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมต่อเจ้าหน้าที่ ซึ่งมีอานาจตามกฎหมายนั้น และต่อสานักงานนโยบายและแผนสิ่งแวดล้อม ในการเสนอรายงานดังกล่าว อาจจัดทาเป็นรายงานผลกระทบสิ่งแวดล้อมเบื้องต้นตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่รัฐมนตรีกาหนดตาม มาตรา ๔๖ วรรคสอง ก็ได้ ให้เจ้าหน้าที่ซึ่งมีอานาจอนุญาตตามกฎหมายรอการสั่งอนุญาตสาหรับโครงการหรือกิจการตามวรรค หนึ่งไว้ก่อนจนกว่าจะทราบผลการพิจารณารายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมตามมาตรา ๔๙ จาก สานักงานนโยบายและแผนสิ่งแวดล้อม ให้สานักงานนโยบายและแผนสิ่งแวดล้อมตรวจสอบรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมและ เอกสารที่เกี่ยวข้องที่เสนอมา หากเห็นว่ารายงานที่เสนอมามิได้จัดทาให้ถูกต้องตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่ กาหนดไว้ในมาตรา ๔๖ วรรคสอง หรือมีเอกสารข้อมูลไม่ครบถ้วน ให้สานักงานนโยบายและแผน สิ่งแวดล้อมแจ้งให้บุคคลผู้ขออนุญาตที่เสนอรายงานทราบภายในกาหนดเวลาสิบห้าวันนับแต่วันที่ได้รับ การเสนอรายงานนั้น
  • 11. 8 ในกรณีที่สานักงานนโยบายและแผนสิ่งแวดล้อมพิจารณาเห็นว่า รายงานการวิเคราะห์ผลกระทบ สิ่งแวดล้อมและเอกสารที่เกี่ยวข้องที่เสนอมาถูกต้องและมีข้อมูลครบถ้วน หรือได้มีการแก้ไขเพิ่มเติมให้ ถูกต้องครบถ้วนตามวรรคสามแล้ว ให้สานักงานนโยบายและแผนสิ่งแวดล้อม พิจารณาเสนอความเห็น เบื้องต้นเกี่ยวกับรายงานดังกล่าวให้แล้วเสร็จภายในกาหนดสามสิบวัน นับแต่วันที่ได้รับการเสนอรายงาน นั้น เพื่อนาเสนอให้คณะกรรมการผู้ชานาญการพิจารณาต่อไป การแต่งตั้งคณะกรรมการผู้ชานาญการตามวรรคสี่ ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่ คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติกาหนด ซึ่งจะต้องประกอบด้วยผู้ทรงคุณวุฒิหรือผู้เชี่ยวชาญในสาขาวิชา การต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง และจะต้องมีเจ้าหน้าที่ผู้มีอานาจอนุญาตตามกฎหมายสาหรับโครงการหรือกิจการ นั้น หรือผู้แทนร่วมเป็นกรรมการอยู่ด้วย มาตรา ๔๙ การพิจารณาของคณะกรรมการผู้ชานาญการตามมาตรา ๔๘ ให้กระทาให้แล้วเสร็จภายในสี่สิบ ห้าวันนับแต่วันที่ได้รับรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมจากสานักงานนโยบายและแผน สิ่งแวดล้อม ถ้าคณะกรรมการผู้ชานาญการมิได้พิจารณาให้เสร็จภายในกาหนดเวลาดังกล่าว ให้ถือว่า คณะกรรมการผู้ชานาญการให้ความเห็นชอบแล้ว ในกรณีที่คณะกรรมการผู้ชานาญการให้ความเห็นชอบ หรือในกรณีที่ให้ถือว่าคณะกรรมการผู้ชานาญ การให้ความเห็นชอบแล้ว ให้เจ้าหน้าที่ซึ่งมีอานาจตามกฎหมายสั่งอนุญาตแก่บุคคลซึ่งขออนุญาตได้ ในกรณีที่คณะกรรมการผู้ชานาญการไม่ให้ความเห็นชอบ ให้เจ้าหน้าที่รอการสั่งอนุญาตแก่บุคคลผู้ ขออนุญาตไว้ก่อนจนกว่าบุคคลดังกล่าวจะเสนอรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมตามที่คณะ กรรมผู้ชานาญการสั่งให้ทาการแก้ไขเพิ่มเติมหรือจัดทาใหม่ทั้งฉบับ ตามแนวทางหรือรายละเอียดที่ คณะกรรมการผู้ชานาญการกาหนด เมื่อบุคคลดังกล่าวได้เสนอรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมซึ่งได้ทาการแก้ไขเพิ่มเติม หรือได้จัดทาใหม่ทั้งฉบับแล้ว ให้คณะกรรมการผู้ชานาญการพิจารณารายงานดังกล่าวให้แล้วเสร็จภายใน สามสิบวันนับแต่วันที่ได้รับการเสนอรายงานดังกล่าว แต่ถ้าคณะกรรมผู้ชานาญการมิได้พิจารณาให้แล้ว เสร็จภายในกาหนดเวลาดังกล่าว ให้ถือว่าคณะกรรมการผู้ชานาญการเห็นชอบ และให้เจ้าหน้าที่ดังกล่าวสั่ง อนุญาตแก่บุคคลผู้ขออนุญาตได้ ในกรณีที่เห็นเป็นการสมควร รัฐมนตรีจะประกาศในราชกิจจานุเบกษากาหนดให้โครงการหรือ กิจการตามประเภทและขนาดที่ประกาศกาหนดตามมาตรา ๔๖ ต้องเสนอรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบ
  • 12. 9 สิ่งแวดล้อมในการขอต่ออายุใบอนุญาตสาหรับโครงการหรือกิจการนั้น ตามวิธีการเช่นเดียวกับการขอ อนุญาตด้วยก็ได้ มาตรา ๕๕ ให้รัฐมนตรีโดยคาแนะนาของคณะกรรมการควบคุมมลพิษและโดยความเห็นชอบของ คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ มีอานาจประกาศในราชกิจจานุเบกษากาหนดมาตรฐานควบคุมมลพิษ จากแหล่งกาเนิด สาหรับควบคุมการระบายน้าทิ้ง การปล่อยทิ้งอากาศเสีย การปล่อยทิ้งของเสีย หรือมลพิษ อื่นใดจากแหล่งกาเนิดออกสู่สิ่งแวดล้อม เพื่อรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมให้ได้มาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดล้อม ตามที่กาหนดไว้ในพระราชบัญญัตินี้ หมวด ๔ กำรควบคุมมลพิษ หมวด ๔ ส่วนที่ ๒ มำตรฐำนควบคุมมลพิษจำกแหล่งกำเนิด มาตรา ๕๖ ในกรณีที่มีการกาหนดมาตรฐานเกี่ยวกับการระบายน้าทิ้ง การปล่อยทิ้งอากาศเสีย การปล่อยทิ้ง ของเสีย หรือมลพิษอื่นใดจากแหล่งกาเนิดออกสู่สิ่งแวดล้อมโดยอาศัยอานาจตามกฎหมายอื่น และมาตรฐาน ดังกล่าวไม่ต่ากว่ามาตรฐานควบคุมมลพิษจากแหล่งกาเนิดที่รัฐมนตรีประกาศกาหนดตามมาตรา ๕๕ ให้ มาตรฐานดังกล่าวมีผลใช้บังคับต่อไปตามที่กาหนดไว้ในกฎหมายนั้น แต่ถ้ามาตรฐานดังกล่าวต่ากว่า มาตรฐานควบคุมมลพิษจากแหล่งกาเนิดที่รัฐมนตรีประกาศกาหนดตามมาตรา ๕๕ ให้ส่วนราชการที่มี อานาจตามกฎหมายนั้นแก้ไขให้เป็นไปตามมาตรฐานควบคุมมลพิษจากแหล่งกาเนิด ในกรณีที่มีอุปสรรค ไม่อาจดาเนินการเช่นว่านั้นได้ ให้คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติเป็นผู้ชี้ขาด เมื่อมีคาชี้ขาดเป็นประการ ใดให้ส่วนราชการที่เกี่ยวข้องดาเนินการตามคาชี้ขาดนั้น หมวด ๔ ส่วนที่ ๓ เขตควบคุมมลพิษ มาตรา ๕๙ ในกรณีที่ปรากฏว่าท้องที่ใดมีปัญหามลพิษซึ่งมีแนวโน้มที่จะร้ายแรงถึงขนาดเป็นอันตรายต่อ สุขภาพอนามัยของประชาชนหรืออาจก่อให้เกิดผลกระทบเสียหายต่อคุณภาพสิ่งแวดล้อม ให้คณะกรรมการ สิ่งแวดล้อมแห่งชาติมีอานาจประกาศในราชกิจจานุเบกษากาหนดให้ท้องที่นั้นเป็นเขตควบคุมมลพิษเพื่อ ดาเนินการควบคุม ลด และขจัดมลพิษได้ หมวด ๔ ส่วนที่ ๔ มลพิษทำงอำกำศและเสียง มาตรา ๖๔ ยานพาหนะที่จะนามาใช้จะต้องไม่ก่อให้เกิดมลพิษเกินกว่ามาตรฐานควบคุมมลพิษจาก แหล่งกาเนิดที่กาหนดตามมาตรา ๕๕
  • 13. 10 มาตรา ๖๕ ในกรณีที่พนักงานเจ้าหน้าที่ตรวจพบว่าได้มีการใช้ยานพาหนะโดยฝ่าฝืนตามมาตรา ๖๔ ให้ พนักงานเจ้าหน้าที่มีอานาจออกคาสั่งห้ามใช้ยานพาหนะนั้นโดยเด็ดขาดหรือจนกว่าจะได้มีการแก้ไข ปรับปรุงให้เป็นไปตามมาตรฐานควบคุมมลพิษจากแหล่งกาเนิดที่กาหนดตามมาตรา ๕๕ มาตรา ๖๖ ในการออกคาสั่งห้ามใช้ยานพาหนะตามมาตรา ๖๕ ให้พนักงานเจ้าหน้าที่ผู้ออกคาสั่งทา เครื่องหมายให้เห็นปรากฏเด่นชัดเป็นตัวอักษรที่มีข้อความว่า "ห้ามใช้เด็ดขาด" หรือ "ห้ามใช้ชั่วคราว" หรือ เครื่องหมายอื่นใดซึ่งเป็นที่รู้และเข้าใจของประชาชนโดยทั่วไปว่ามีความหมายอย่างเดียวกันไว้ ณ ส่วนใด ส่วนหนึ่งของยานพาหนะนั้นด้วย การทาและการยกเลิกเครื่องหมายห้ามใช้ตามวรรคหนึ่ง หรือการใช้ยานพาหนะในขณะที่มีเครื่องหมาย ดังกล่าว ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่กาหนดในกฎกระทรวง มาตรา ๖๘ ให้รัฐมนตรีโดยคาแนะนาของคณะกรรมการควบคุมมลพิษมีอานาจประกาศในราชกิจจา นุเบกษากาหนดประเภทของแหล่งกาเนิดมลพิษที่จะต้องถูกควบคุม การปล่อยอากาศเสีย รังสี หรือมลพิษ อื่นใดที่อยู่ในสภาพเป็นควัน ไอ ก๊าซ เขม่า ฝุ่น ละออง เถ้าถ่าน หรือมลพิษอากาศ ในรูปแบบใดออกสู่ บรรยากาศไม่เกินมาตรฐานควบคุมมลพิษจากแหล่งกาเนิดที่กาหนดตามมาตรา ๕๕ หรือมาตรฐานที่ส่วน ราชการใดกาหนดโดยอาศัยอานาจตามกฎหมายอื่นและมาตรฐานนั้นยังมีผลใช้บังคับตามมาตรา ๕๖ หรือ มาตรฐานที่ผู้ว่าราชการจังหวัดกาหนดเป็นพิเศษสาหรับเขตควบคุมมลพิษตามมาตรา ๕๘ เจ้าของหรือผู้ครอบครองแหล่งกาเนิดมลพิษที่กาหนดตามวรรคหนึ่ง มีหน้าที่ต้องติดตั้ง หรือจัดให้มี ระบบบาบัดอากาศเสีย อุปกรณ์ หรือเครื่องมืออื่นใดสาหรับการควบคุม กาจัด ลด หรือขจัดมลพิษซึ่งอาจมี ผลกระทบต่อคุณภาพอากาศตามที่เจ้าพนักงานควบคุมมลพิษกาหนด เว้นแต่จะได้มีระบบ อุปกรณ์หรือ เครื่องมือดังกล่าว ซึ่งเจ้าพนักงานควบคุมมลพิษได้ทาการตรวจสภาพและทดลอง แล้วเห็นว่ายังใช้การได้อยู่ แล้ว เพื่อการนี้เจ้าพนักงานควบคุมมลพิษจะกาหนดให้มีผู้ควบคุมการดาเนินงานระบบบาบัดอากาศ เสีย อุปกรณ์ หรือเครื่องมือดังกล่าวด้วยก็ได้ ให้นาความในวรรคหนึ่งและวรรคสองมาใช้บังคับกับแหล่งกาเนิดมลพิษที่ปล่อยหรือก่อให้เกิดเสียง หรือความสั่นสะเทือนเกินกว่าระดับมาตรฐานควบคุมมลพิษจากแหล่งกาเนิดที่กาหนดตามมาตรา ๕๕ หรือ มาตรฐานที่ส่วนราชการใดกาหนดโดยอาศัยอานาจตามกฎหมายอื่นและมาตรฐานนั้นยังมีผลใช้บังคับตาม มาตรา ๕๖ หรือมาตรฐานที่ผู้ว่าราชการจังหวัดกาหนดเป็นพิเศษสาหรับเขตควบคุมมลพิษตาม มาตรา ๕๘ ด้วยโดยอนุโลม
  • 14. 11 หมวด ๔ ส่วนที่ ๕ มลพิษทำงน้ำ มาตรา ๖๙ ให้รัฐมนตรีโดยคาแนะนาของคณะกรรมการควบคุมมลพิษมีอานาจประกาศในราชกิจจา นุเบกษากาหนดประเภทของแหล่งกาเนิดมลพิษที่จะต้องถูกควบคุมการปล่อยน้าเสียหรือของเสียลงสู่แหล่ง น้าสาธารณะ หรือออกสู่สิ่งแวดล้อมนอกเขตที่ตั้งแหล่งกาเนิดมลพิษไม่เกินมาตรฐานควบคุมมลพิษจาก แหล่งกาเนิดที่กาหนดตามมาตรา ๕๕ หรือมาตรฐานที่ส่วนราชการใด กาหนดโดยอาศัยอานาจตามกฎหมาย อื่นและมาตรฐานนั้นยังมีผลใช้บังคับตามมาตรา ๕๖ หรือมาตรฐานที่ผู้ว่าราชการจังหวัดกาหนดเป็นพิเศษ สาหรับเขตควบคุมมลพิษตามมาตรา ๕๘ มาตรา ๗๐ เจ้าของหรือผู้ครอบครองแหล่งกาเนิดมลพิษที่กาหนดตามมาตรา ๖๙ มีหน้าที่ต้องก่อสร้าง ติดตั้ง หรือจัดให้มีระบบบาบัดน้าเสียหรือระบบกาจัดของเสียตามที่เจ้าพนักงานควบคุมมลพิษกาหนด เพื่อการนี้ เจ้าพนักงานควบคุมมลพิษจะกาหนดให้เจ้าของหรือผู้ครอบครองมีผู้ควบคุมการดาเนินงานระบบบาบัดน้า เสียหรือระบบกาจัดของเสียที่กาหนดให้ทาการก่อสร้าง ติดตั้งหรือจัดให้มีขึ้นนั้นด้วยก็ได้ ในกรณีที่แหล่งกาเนิดมลพิษใดมีระบบบาบัดน้าเสียหรือระบบกาจัดของเสียอยู่แล้วก่อนวันที่มี ประกาศของรัฐมนตรีตามมาตรา ๖๙ ให้เจ้าของหรือผู้ครอบครองแหล่งกาเนิดมลพิษแจ้งต่อเจ้าพนักงาน ควบคุมมลพิษเพื่อตรวจสอบ หากเจ้าพนักงานควบคุมมลพิษเห็นว่าระบบบาบัดน้าเสียหรือระบบกาจัดของ เสียที่มีอยู่แล้วนั้นยังไม่สามารถทาการบาบัดน้าเสียหรือกาจัดของเสียให้เป็นไปตามมาตรฐานควบคุมมลพิษ จากแหล่งกาเนิดที่กาหนดไว้ เจ้าของหรือผู้ครอบครองแหล่งกาเนิดมลพิษมีหน้าที่ต้องดาเนินการแก้ไขหรือ ปรับปรุงตามที่เจ้าพนักงานควบคุมมลพิษกาหนด มาตรา ๗๑ ในเขตควบคุมมลพิษใดหรือเขตท้องที่ใดที่ทางราชการได้จัดให้มีระบบบาบัดน้าเสียรวมหรือ ระบบกาจัดของเสียรวมไว้แล้ว ให้เจ้าของหรือผู้ครอบครองแหล่งกาเนิดมลพิษตามมาตรา ๗๐ วรรคหนึ่ง ซึ่ง ยังมิได้ทาการก่อสร้าง ติดตั้งหรือจัดให้มีระบบบาบัดน้าเสียหรือระบบกาจัดของเสียตามที่เจ้าพนักงาน ควบคุมมลพิษกาหนด หรือไม่ประสงค์ที่จะทาการก่อสร้างหรือจัดให้มีระบบบาบัดน้าเสียหรือระบบกาจัด ของเสียตามที่เจ้าพนักงานควบคุมมลพิษกาหนดดังกล่าว มีหน้าที่ต้องจัดส่งน้าเสียหรือของเสียที่เกิดจากการ ดาเนินกิจการของตนไปทาการบาบัดหรือกาจัดโดยระบบบาบัดน้าเสียรวมหรือระบบกาจัดของเสียรวมที่มี อยู่ภายในเขตควบคุมมลพิษหรือเขตท้องที่นั้น และมีหน้าที่ต้องเสียค่าบริการตามอัตราที่กาหนดโดย พระราชบัญญัตินี้หรือโดยกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง มาตรา ๗๒ ในเขตควบคุมมลพิษใดหรือเขตท้องที่ใดที่ทางราชการได้จัดให้มีระบบบาบัดน้าเสียรวมหรือ ระบบกาจัดของเสียรวมไว้แล้ว ให้เจ้าของหรือผู้ครอบครองแหล่งกาเนิดมลพิษทุกประเภท เว้นแต่เจ้าของ
  • 15. 12 หรือผู้ครอบครองแหล่งกาเนิดมลพิษที่กาหนดตามมาตรา ๗๐ มีหน้าที่ต้องจัดส่งน้าเสียหรือของเสียที่เกิด จากแหล่งกาเนิดมลพิษของตนไปทาการบาบัดหรือกาจัดโดยระบบบาบัดน้าเสียรวมหรือระบบกาจัดของเสีย รวมที่มีอยู่ภายในเขตควบคุมมลพิษหรือเขตท้องที่นั้น และมีหน้าที่ต้องเสียค่าบริการตามอัตราที่กาหนดโดย พระราชบัญญัตินี้หรือโดยกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง เว้นแต่แหล่งกาเนิดมลพิษนั้น มีระบบบาบัดน้าเสียหรือ ระบบกาจัดของเสียของตนเองอยู่แล้ว และสามารถทาการบาบัดน้าเสียหรือกาจัดของเสียได้ตามมาตรฐานที่ กาหนดตามพระราชบัญญัตินี้ มาตรา ๗๔ ในเขตควบคุมมลพิษใดหรือในเขตท้องที่ใดที่ทางราชการยังมิได้จัดให้มีระบบบาบัดน้าเสียรวม หรือระบบกาจัดของเสียรวม แต่มีผู้ได้รับใบอนุญาตรับจ้างให้บริการบาบัดน้าเสียหรือกาจัดของเสียอยู่ใน เขตควบคุมมลพิษหรือเขตท้องที่นั้น ให้เจ้าของหรือผู้ครอบครองแหล่งกาเนิดมลพิษตามมาตรา ๗๑ และ มาตรา ๗๒ จัดส่งน้าเสียหรือของเสียจากแหล่งกาเนิดของตนไปให้ผู้รับจ้างให้บริการทาการบาบัดหรือกาจัด ตามหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขที่เจ้าพนักงานท้องถิ่นกาหนดโดยคาแนะนาของเจ้าพนักงานควบคุม มลพิษ มาตรา ๗๕ ในเขตควบคุมมลพิษใดหรือเขตท้องที่ใดที่ทางราชการยังมิได้จัดให้มีระบบบาบัดน้าเสียรวม หรือระบบกาจัดของเสียรวมและไม่มีผู้ได้รับใบอนุญาตรับจ้างให้บริการบาบัดน้าเสียหรือกาจัดของเสียอยู่ ในเขตควบคุมมลพิษ หรือเขตท้องที่นั้น เจ้าพนักงานท้องถิ่นโดยคาแนะนาของเจ้าพนักงานควบคุมมลพิษ อาจกาหนดวิธีการชั่วคราว สาหรับการบาบัดน้าเสียหรือกาจัดของเสียซึ่งเกิดจากแหล่งกาเนิดมลพิษตาม มาตรา ๗๑ และมาตรา ๗๑ ได้ตามที่จาเป็นจนกว่าจะได้มีการก่อสร้าง ติดตั้ง และเปิดดาเนินงานระบบบาบัด น้าเสียรวม หรือระบบกาจัดของเสียรวมในเขตควบคุมมลพิษหรือเขตท้องที่นั้นวิธีการชั่วคราวสาหรับการ บาบัดน้าเสียหรือกาจัดของเสียตามวรรคหนึ่ง ให้หมายความรวมถึงการเก็บรวบรวม การขนส่ง หรือการ จัดส่งน้าเสียหรือของเสียด้วยวิธีการใดๆ ที่เหมาะสม ไปทาการบาบัดหรือกาจัดโดยระบบบาบัดน้าเสียรวม หรือระบบกาจัดของเสียรวมของทางราชการที่อยู่ในเขตอื่น หรืออนุญาตให้ผู้ได้รับใบอนุญาตรับจ้าง ให้บริการบาบัดน้าเสียหรือกาจัดของเสียซึ่งรับจ้างให้บริการอยู่ในเขตอื่นเข้ามาเปิดดาเนินการรับจ้าง ให้บริการในเขตควบคุมมลพิษหรือเขตท้องที่นั้นเป็นการชั่วคราว หรืออนุญาตให้ผู้ได้รับใบอนุญาตรับจ้าง ให้บริการนั้นทาการเก็บรวบรวมน้าเสียหรือของเสียเพื่อนาขนเคลื่อนย้ายไปทาการบาบัดหรือกาจัดโดย ระบบบาบัดน้าเสียหรือระบบกาจัดของเสียของผู้นั้นซึ่งอยู่ในเขตท้องที่อื่นนอกเขตควบคุมมลพิษหรือเขต ท้องที่นั้น
  • 16. 13 หมวด ๔ ส่วนที่ ๖ มลพิษอื่นและของเสียอันตรำย มาตรา ๗๘ การเก็บรวบรวม การขนส่ง และการจัดการด้วยประการใด ๆ เพื่อบาบัดและขจัดขยะมูลฝอยและ ของเสียอื่นที่อยู่ในสภาพเป็นของแข็ง การป้องกันและควบคุมมลพิษที่เกิดจากหรือมีที่มาจากการทาเหมือง แร่ทั้งบนบกและในทะเล การป้องกันและควบคุมมลพิษที่เกิดจากหรือมีที่มาจากการสารวจ และขุดเจาะ น้ามัน ก๊าซธรรมชาติและสารไฮโดรคาร์บอนทุกชนิดทั้งบนบกและในทะเล หรือการป้องกันและควบคุม มลพิษที่เกิดจากหรือมีที่มาจากการปล่อยทิ้งน้ามันและการทิ้งเทของเสียและวัตถุอื่น ๆ จากเรือเดินทะเล เรือ บรรทุกน้ามัน และเรือประเภทอื่น ให้เป็นไปตามกฎหมายว่าด้วยการนั้น หมวด ๔ ส่วนที่ ๗ กำรตรวจสอบและควบคุม มาตรา ๘๐ เจ้าของหรือผู้ครอบครองแหล่งกาเนิดมลพิษ ซึ่งมีระบบบาบัดอากาศเสีย อุปกรณ์หรือเครื่องมือ สาหรับควบคุมการปล่อยทิ้งอากาศเสียหรือมลพิษอื่น ระบบบาบัดน้าเสีย หรือระบบกาจัดของเสีย ตาม มาตรา ๖๘ หรือ มาตรา ๗๐ เป็นของตนเองมีหน้าที่ต้องเก็บสถิติและข้อมูลซึ่งแสดงผลการทางานของระบบ หรืออุปกรณ์ และเครื่องมือดังกล่าวในแต่ละวัน และจัดทาบันทึกรายละเอียดเป็นหลักฐานไว้ ณ สถานที่ตั้ง แหล่งกาเนิดมลพิษนั้น และจะต้องจัดทารายงานสรุปผลการทางานของระบบ หรืออุปกรณ์และเครื่องมือ ดังกล่าวเสนอต่อเจ้าพนักงานท้องถิ่นแห่งท้องที่ที่แหล่งกาเนิดมลพิษนั้นตั้งอยู่อย่างน้อยเดือนละหนึ่งครั้ง มาตรา ๘๕ ในการปฏิบัติหน้าที่ตามพระราชบัญญัตินี้ให้เจ้าของหรือผู้ครอบครองสถานที่หรือยานพาหนะ หรือผู้มีหน้าที่เกี่ยวข้องอานวยความสะดวก ตามสมควร และให้พนักงานเจ้าหน้าที่และเจ้าพนักงานควบคุม มลพิษเป็นเจ้าพนักงานตามประมวลกฎหมายอาญา หมวด ๔ ส่วนที่ ๘ ค่ำบริกำรและค่ำปรับ มาตรา ๙๐ เจ้าของหรือผู้ครอบครองแหล่งกาเนิดมลพิษผู้ใดหลีกเลี่ยงไม่จัดส่งน้าเสียหรือของเสียไปทาการ บาบัดโดยระบบบาบัดน้าเสียรวมหรือระบบกาจัดของเสียรวมของทางราชการตามมาตรา ๗๑ หรือมาตรา ๗๒ และลักลอบปล่อยทิ้งน้าเสียหรือของเสียนั้นออกสู่สิ่งแวดล้อมภายนอกเขตที่ตั้งแหล่งกาเนิดมลพิษที่ตน เป็นเจ้าของหรือผู้ครอบครอง หรือจัดส่งน้าเสียหรือของเสียไปทาการบาบัดโดยระบบบาบัดน้าเสียรวมหรือ ระบบกาจัดของเสียรวมของทางราชการ แต่ไม่ยอมชาระค่าบริการที่กาหนดโดยไม่มีสิทธิได้รับยกเว้นตาม มาตรา ๘๙ วรรคสอง จะต้องเสียค่าปรับสี่เท่าของอัตราค่าบริการที่กาหนดตามมาตรา ๘๘ จนกว่าจะปฏิบัติ ตามบทบัญญัติแห่งพระราชบัญญัตินี้
  • 17. 14 มาตรา ๙๑ เจ้าของหรือผู้ครอบครองแหล่งกาเนิดมลพิษซึ่งมีระบบบาบัดน้าเสียหรือระบบกาจัดของเสียตาม มาตรา ๗๐ ผู้ใดลักลอบปล่อยทิ้งน้าเสียหรือของเสียลงสู่ระบบบาบัดน้าเสียรวม หรือระบบกาจัดของเสียรวม ของทางราชการ จะต้องเสียค่าปรับรายวันในอัตราสี่เท่าของจานวนเงินค่าใช้จ่ายประจาวันสาหรับการเปิด เดินเครื่องทางานระบบบาบัดน้าเสียหรือระบบกาจัดของเสียของตน ตลอดเวลาที่ดาเนินการเช่นว่านั้นและมี หน้าที่ต้องชดใช้ค่าเสียหายหากการปล่อยทิ้งน้าเสีย หรือของเสียนั้นก่อให้เกิดความชารุดเสียหายหรือความ บกพร่องแก่ระบบบาบัดน้าเสียรวมหรือระบบกาจัดของเสียรวมของทางราชการด้วยประการใดๆ มาตรา ๙๒ เจ้าของหรือผู้ครอบครองแหล่งกาเนิดมลพิษตามมาตรา ๖๘ หรือมาตรา ๗๐ ผู้ใดละเว้นไม่ใช้ อุปกรณ์และเครื่องมือของตนที่มีอยู่สาหรับการควบคุมมลพิษอากาศ เสียงและความสั่นสะเทือน หรือละเว้น ไม่ทาการบาบัดน้าเสียหรือกาจัดของเสียโดยใช้ระบบบาบัดน้าเสีย หรือระบบกาจัดของเสียของตนที่มีอยู่ และลักลอบปล่อยทิ้งมลพิษน้าเสียหรือของเสียดังกล่าวออกสู่สิ่งแวดล้อมภายนอกเขตแหล่งกาเนิดมลพิษ ของตนจะต้องเสียค่าปรับรายวันในอัตราสี่เท่าของจานวนเงินค่าใช้จ่ายประจาวันสาหรับการเปิดเดินเครื่อง ทางานของอุปกรณ์ เครื่องมือ หรือระบบบาบัดน้าเสียหรือระบบกาจัดของเสียของตนตลอดเวลาที่ดาเนินการ เช่นว่านั้น มาตรา ๙๓ ให้เจ้าพนักงานท้องถิ่นหรือพนักงานเจ้าหน้าที่ของส่วนราชการที่จัดให้มีระบบบาบัดน้าเสียรวม หรือระบบกาจัดของเสียรวมของทางราชการ มีอานาจหน้าที่จัดเก็บค่าบริการ ค่าปรับ และเรียกร้อง ค่าเสียหายตามที่บัญญัติไว้ในส่วนนี้ ทั้งนี้ เฉพาะในส่วนที่เกี่ยวข้องกับระบบบาบัดน้าเสียรวมหรือระบบ กาจัดของเสียรวมของทางราชการที่ราชการส่วนท้องถิ่นหรือส่วนราชการนั้นจัดให้มีขึ้น หมวด ๕ มำตรกำรส่งเสริม มาตรา ๙๔ เจ้าของหรือผู้ครอบครองแหล่งกาเนิดมลพิษผู้ใดซึ่งมีหน้าที่ตามพระราชบัญญัตินี้ หรือตาม กฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้องที่จะต้องจัดให้มีระบบบาบัดอากาศเสีย ระบบบาบัดน้าเสียหรือระบบกาจัดของเสีย อย่างอื่น รวมทั้งอุปกรณ์ เครื่องมือ เครื่องใช้ และวัสดุที่จาเป็นสาหรับแหล่งกาเนิดมลพิษนั้น หรือผู้รับจ้าง ให้บริการซึ่งได้รับอนุญาตตามพระราชบัญญัตินี้มีสิทธิขอรับการส่งเสริมและช่วยเหลือจากทางราชการได้ ดังต่อไปนี้ (๑) การขอรับความช่วยเหลือด้านอากรขาเข้าสาหรับการนาเข้ามาในราชอาณาจักรซึ่งเครื่องจักร อุปกรณ์ เครื่องมือ เครื่องใช้ หรือวัสดุที่จาเป็นซึ่งไม่สามารถจัดหาได้ภายในราชอาณาจักร
  • 18. 15 (๒) การขอรับอนุญาตนาผู้ชานาญการหรือผู้เชี่ยวชาญชาวต่างประเทศเข้ามาปฏิบัติหน้าที่เป็นผู้ ติดตั้ง ควบคุม หรือดาเนินงานระบบบาบัดอากาศเสีย ระบบบาบัดน้าเสียหรือระบบกาจัดของเสีย ในกรณีที่ ไม่สามารถจัดหาและว่าจ้างบุคคลที่มีคุณสมบัติที่จะเป็นผู้ควบคุมเครื่องจักร อุปกรณ์ เครื่องมือหรือเครื่องใช้ ที่นาเข้ามาในราชอาณาจักรตาม (๑) ได้ภายในราชอาณาจักร รวมทั้งขอยกเว้นภาษีเงินได้ของบุคคลนั้นที่จะ เกิดขึ้น เนื่องจากการเข้ามาปฏิบัติหน้าที่เป็นผู้ควบคุมในราชอาณาจักรด้วย เจ้าของหรือผู้ครอบครองแหล่งกาเนิดมลพิษที่ไม่มีหน้าที่ตามกฎหมายดังกล่าวในวรรคหนึ่ง แต่ประสงค์ที่ จะจัดให้มีระบบ อุปกรณ์ เครื่องมือหรือเครื่องใช้ของตนเอง เพื่อทาการบาบัดอากาศเสีย น้าเสีย หรือของเสียอย่างอื่นที่เกิดจากกิจการ หรือการดาเนินกิจการของตน มีสิทธิที่จะขอรับการส่งเสริม และช่วยเหลือจากทางราชการตามวรรคหนึ่งได้ มาตรา ๙๕ คาขอรับการส่งเสริมและช่วยเหลือจากทางราชการตามมาตรา ๙๔ ให้ยื่นต่อคณะกรรมการ สิ่งแวดล้อมแห่งชาติตามหลักเกณฑ์ วิธีการและแบบที่กาหนดในกฎกระทรวง ให้คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติพิจารณาคาขอรับการส่งเสริมและช่วยเหลือตามวรรคหนึ่งได้ ตามที่เห็นสมควร โดยคานึงถึงความจาเป็นในทางเศรษฐกิจการเงินและการลงทุนของผู้ยื่นคาขอแต่ละราย และในกรณีที่คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติเห็นสมควรให้ความช่วยเหลือแก่ผู้ยื่นคาขอ ให้ คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติแนะนาให้ส่วนราชการที่เกี่ยวข้องดาเนินการตามอานาจหน้าที่ของส่วน ราชการนั้นเพื่อให้การส่งเสริมหรือให้ความช่วยเหลือแก่ผู้ยื่นคาขอต่อไป หมวด ๖ ควำมรับผิดทำงแพ่ง มาตรา ๙๖ แหล่งกาเนิดมลพิษใดก่อให้เกิดหรือเป็นแหล่งกาเนิดของการรั่วไหลหรือแพร่กระจายของมลพิษ อันเป็นเหตุให้ผู้อื่นได้รับอันตรายแก่ชีวิต ร่างกายหรือสุขภาพอนามัย หรือเป็นเหตุให้ทรัพย์สินของผู้อื่น หรือของรัฐเสียหายด้วยประการใดๆ เจ้าของหรือผู้ครอบครองแหล่งกาเนิดมลพิษนั้น มีหน้าที่ต้องรับผิด ชดใช้ค่าสินไหมทดแทนหรือค่าเสียหายเพื่อการนั้น ไม่ว่าการรั่วไหลหรือแพร่กระจายของมลพิษนั้นจะเกิด จากการกระทาโดยจงใจหรือประมาทเลินเล่อของเจ้าของหรือผู้ครอบครองแหล่งกาเนิดมลพิษหรือไม่ก็ตาม เว้นแต่ในกรณีที่พิสูจน์ได้ว่ามลพิษเช่นว่านั้นเกิดจาก (๑) เหตุสุดวิสัยหรือการสงคราม (๒) การกระทาตามคาสั่งของรัฐบาลหรือเจ้าพนักงานของรัฐ (๓) การกระทาหรือละเว้นการกระทาของผู้ที่ได้รับอันตรายหรือความเสียหายเองหรือของ บุคคลอื่น ซึ่งมีหน้าที่รับผิดชอบโดยตรงหรือโดยอ้อม ในการรั่วไหลหรือการแพร่กระจายของมลพิษนั้น ค่าสินไหมทดแทนหรือค่าเสียหาย ซึ่งเจ้าของหรือผู้ครอบครองแหล่งกาเนิดมลพิษมีหน้าที่ต้องรับผิดตาม วรรคหนึ่ง หมายความรวมถึงค่าใช้จ่ายทั้งหมดที่ทางราชการต้องรับภาระจ่ายจริงในการขจัดมลพิษที่เกิดขึ้น นั้นด้วย
  • 19. 16 มาตรา ๙๗ ผู้ใดกระทาหรือละเว้นการกระทาด้วยประการใดโดยมิชอบด้วยกฎหมายอันเป็นการทาลายหรือ ทาให้สูญหายหรือเสียหายแก่ทรัพยากรธรรมชาติซึ่งเป็นของรัฐ หรือเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดิน มี หน้าที่ต้องรับผิดชอบชดใช้ค่าเสียหายให้แก่รัฐตามมูลค่าทั้งหมดของทรัพยากรธรรมชาติที่ถูกทาลาย สูญ หาย หรือเสียหายไปนั้น หมวด ๗ บทกำหนดโทษ มาตรา ๙๘ ผู้ใดฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามคาสั่งที่ออกตามมาตรา ๙ หรือขัดขวางการกระทาใดๆ ตามคาสั่ง ดังกล่าว ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินหนึ่งปีหรือปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรือทั้งจาทั้งปรับในกรณีที่ ผู้ฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามคาสั่งดังกล่าวหรือขัดขวางการกระทาใดๆ ตามคาสั่งดังกล่าวเป็นผู้ซึ่งก่อให้เกิด อันตราย หรือความเสียหายจากภาวะมลพิษ ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินห้าปี หรือปรับไม่เกินห้าแสนบาท หรือทั้งจาทั้งปรับ มาตรา ๙๙ ผู้ใดบุกรุกหรือครอบครองที่ดินของรัฐโดยไม่ชอบด้วยกฎหมายหรือเข้าไปกระทาด้วยประการ ใดๆ อันเป็นการทาลาย ทาให้สูญหาย หรือเสียหายแก่ทรัพยากรธรรมชาติหรือศิลปกรรมอันควรแก่การ อนุรักษ์ หรือก่อให้เกิดมลพิษอันมีผลกระทบต่อคุณภาพสิ่งแวดล้อม ในเขตพื้นที่คุ้มครองสิ่งแวดล้อมที่ กาหนดตามมาตรา ๔๓ ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินห้าปี หรือปรับไม่เกินห้าแสนบาท หรือทั้งจาทั้งปรับ มาตรา ๑๐๑ ผู้ใดแพร่หรือไขข่าวที่ไม่เป็นความจริงเกี่ยวกับอันตรายจากแหล่งกาเนิดมลพิษใดโดยมีเจตนาที่ จะทาลายชื่อเสียงหรือความไว้วางใจของสาธารณชนต่อการดาเนินกิจการโดยชอบด้วยกฎหมายของ แหล่งกาเนิดมลพิษนั้น ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินหนึ่งปี หรือปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรือทั้งจาทั้งปรับ มาตรา ๑๐๔ เจ้าของหรือผู้ครอบครองแหล่งกาเนิดมลพิษผู้ใดไม่ปฏิบัติตามมาตรา ๗๑ หรือผู้ใดไม่ปฏิบัติ ตามมาตรา ๗๒ หรือข้อกาหนดของเจ้าพนักงานท้องถิ่นตามมาตรา ๗๔ หรือมาตรา ๗๕ วรรคหนึ่ง หรือ กฎกระทรวงที่ออกตามมาตรา ๘๐ ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินหนึ่งปี หรือปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรือ ทั้งจาทั้งปรับ มาตรา ๑๐๕ ผู้ใดรับจ้างเป็นผู้ควบคุมหรือรับจ้างให้บริการบาบัดน้าเสีย หรือกาจัดของเสียโดยไม่ได้รับ ใบอนุญาตตามมาตรา ๗๓ ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินหนึ่งปี หรือปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรือทั้งจาทั้ง ปรับ