SlideShare a Scribd company logo
1 of 39
Download to read offline
1 
3. กรณีศึกษา บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน) (ทอท.) 
1. ข้อมูลองค์กร แนวคิด การดำเนินงาน 
ความเป็นมา 
กิจการของทอท. มีความเป็นมาทีÉยาวนานโดยเมืÉอปี 2454 ได้มีการเลือกพืÊนทีÉดอนเมืองเพืÉอ 
เป็นสนามบิน และเมืÉอวันทีÉ 8 มีนาคม พ.ศ. 2457 มีเครืÉองบินลงเป็นปฐมฤกษ์ ซึÉงในขณะนัÊน 
กรมการบินทหารบกเป็นผู้ดูแล สนามบินดอนเมือง ในระยะต่อมาได้มีการปรับปรุงสนามบินดอน 
เมืองเป็นท่าอากาศยานสากล ใช้ชืÉอว่า "ท่าอากาศยานดอนเมือง" และปี 2498 ได้เปลีÉยนมาใช้ชืÉอ 
อย่างเป็นทางการว่า "ท่าอากาศยานกรุงเทพ" โดย อยู่ในความดูแลของกองทัพอากาศต่อมารัฐสภา 
ได้ตราพระราชบัญญัติว่าด้วยการท่าอากาศยานแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2522 กำหนดให้จัดตัÊงการท่า 
อากาศยานแห่งประเทศไทย หรือทอท. และใช้ชืÉอภาษาอังกฤษว่า การท่าอากาศยานแห่งประเทศ 
ไทยย่อว่า AAT ให้ทอท. เป็นนิติบุคคลโดยมีวัตถุประสงค์ในการประกอบและ 
ส่งเสริมกิจการท่าอากาศยาน รวมทัÊงการดำเนินกิจการอืÉนทีÉเกีÉยวกับหรือต่อเนืÉองกับการประกอบ 
กิจการ ท่าอากาศยานซึÉงพนักงาน ทอท.ได้เข้าปฏิบัติงานตามพระราชบัญญัติ เมืÉอวันทีÉ 1 กรกฎาคม 
พ.ศ. 2522 จากนัÊน ทอท.ได้รับโอนท่าอากาศยานสากลในส่วนภูมิภาคอีก 4 แห่งจากกรมการบิน 
พาณิชย์ในขณะนัÊนมาดำเนินการ ตามลำดับ ได้แก่ ท่าอากาศยานเชียงใหม่ (รับโอนเมืÉอวันทีÉ 1 
มีนาคม พ.ศ. 2531) ท่าอากาศยานหาดใหญ่ (รับโอนเมืÉอวันทีÉ 26 สิงหาคม พ.ศ. 2531) ท่าอากาศ 
ยานภูเก็ต (รับโอนเมืÉอวันทีÉ 8 ตุลาคม พ.ศ. 2531) และ ท่าอากาศยานแม่ฟ้าหลวงเชียงราย (รับโอน 
เมืÉอวันทีÉ 2 ตุลาคม พ.ศ. 2541) และเข้าบริหารท่าอากาศยาน สุวรรณภูมิซึÉงต่อมาเปิดให้บริการเมืÉอ 
วันทีÉ 28 กันยายน พ.ศ. 2549 ทอท.ได้สร้างสรรค์และพัฒนาการดำเนินงานมาอย่างต่อเนืÉอง และ 
แปลงสภาพเป็น บริษัท มหาชนจำกัด
2 
เมืÉอปี 2545 โดยใช้ชืÉอ บริษัท ท่าอากาศยานไทยจำกัด (มหาชน) และยังคงเรียกชืÉอย่อว่า 
ทอท. เช่นเดิม ส่วนภาษาอังกฤษให้ใช้ว่า บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด เรียกโดยย่อว่าทอท 
ทอท.ได้คำนึงถึงการมุ่งสร้างองค์กรสู่ความเป็นเลิศ โดยมุ่งมันÉยกระดับการพัฒนาคุณภาพบริการ 
การพัฒนาสมรรถนะบุคลากรการปรับปรุงระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ ให้มีความพร้อมรองรับ 
การเปลีÉยนแปลง ทีÉก้าวไปอย่างไม่หยุดนิÉง รวมทัÊงได้ให้ความสำคัญในเรืÉองความรับผิดชอบต่อ 
สังคมและสิÉงแวดล้อมตามมาตรฐาน สากลอันจะเป็นแนวทางทีÉนำไปสู่การพัฒนาอย่างยังÉยืนเพืÉอ 
สร้างความมันÉใจและความพึงพอใจให้กับผู้ใช้บริการท่าอากาศยานภายใต้คำขวัญ "ปลอดภัยคือ 
มาตรฐานบริการคือหัวใจ" 
วิสัยทัศน์ 
บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน) (ทอท.) คือ ผู้นำธุรกิจท่าอากาศยานในภูมิภาค 
เอเชีย 
พันธกิจ 
ดำเนินธุรกิจท่าอากาศยานด้วยมาตรฐานเหนือระดับ ให้บริการด้วยใจรักพร้อมเทคโนโลยี 
ทีÉทันสมัยและสำนึกในความรับผิดชอบต่อสังคมและชุมชน 
ค่านิยม 
• ความปลอดภัยและการรักษาความปลอดภัย : ความปลอดภัยและการรักษาความ 
ปลอดภัยเป็นหัวใจการปฏิบัติงาน 
• จิตสำนึกในการให้บริการ : การให้บริการด้วยความเข้าใจความหมายของการให้บริการ 
• การร่วมกันทำงาน : ความสามัคคี ทำงานเป็นทีม ให้ความสำคัญกับเป้าหมายขององค์กร 
มากกว่าเป้าหมายส่วนตัว 
• การเรียนรู้อย่างต่อเนืÉอง : การศึกษาเรียนรู้การเปลีÉยนแปลงในเรืÉองต่างๆทีÉเกีÉยวข้องกับ 
ธุรกิจของ ทอท. และคู่เทียบ เพืÉอให้สามารถทีÉจะแข่งขันกับคู่เทียบได้และมีความตัÊงใจทีÉจะศึกษา 
พัฒนาตนเองให้มีความรู้ความสามารถในการปฏิบัติงานในหน้าทีÉให้ดียิงÉขึÊนไป 
• ความโปร่งใสและสำนึกในความรับผิดชอบ : การปฏิบัติงานด้วยความโปร่งใส 
ตรวจสอบได้และสำนึกในความรับผิดชอบต่อผู้ถือหุ้น ต่อคู่ค้า ต่อสังคมและประเทศชาติ
3 
ภาพรวมธุรกิจ 
บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน) หรือ ทอท. ขอจดทะเบียนจัดตัÊงกับกระทรวง 
พาณิชย์ เมืÉอวันทีÉ 30 กันยายน พ.ศ. 2545 โดยการแปลงสภาพทัÊงองค์กร รับโอนกิจการ สิทธิ หนีÊ 
ความรับผิด สินทรัพย์ และพนักงานทัÊงหมด จากการท่าอากาศยาน แห่งประเทศไทย ภายใต้ 
พระราชบัญญัติทุนรัฐวิสาหกิจ พ.ศ. 2542 มีทะเบียนเลขทีÉ บมจ. 0107545000292 ทุนจดทะเบียน 
เริÉมต้น 14,285 ล้านบาท จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และซืÊอขายครัÊงแรก เมืÉอ 
11 มีนาคม พ.ศ. 2547 มีกระทรวงการคลังเป็น ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ คงสภาพเป็นรัฐวิสาหกิจในกำ กับ 
ดูแลของกระทรวงคมนาคม ปัจจุบันผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของ ทอท. ได้แก่ กระทรวงการคลังถือหุ้น 
ร้อยละ 70 ส่วนทีÉเหลือเป็นการถือหุ้นโดยสถาบันและนักลงทุนทัวÉไป สำนักงานใหญ่ตัÊงอยู่ เลขทีÉ 
333 ถนนเชิดวุฒากาศ แขวงสีกัน เขตดอนเมือง กรุงเทพฯ 10210 หมายเลขโทรศัพท์ 0 2535 1111 
โทรสาร 0 2535 4061 หรือ 0 2504 3846เว็บไซต์ www.airportthai.co.th ในปี 2556 ทอท. มี 
พนักงานทัÊงสิÊน 5,303 คน พนักงานชาย 3,418 คน พนักงานหญิง 1,885 คน ปฏิบัติงานอยู่ ณ ท่า 
อากาศยานในความรับผิดชอบของ ทอท. ทัÊง 6 แห่งทัวÉประเทศ ได้แก่ ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ 
(ทสภ.) ท่าอากาศยานดอนเมือง (ทดม.) ท่าอากาศยานเชียงใหม่ (ทชม.) ท่าอากาศยานหาดใหญ่ 
(ทหญ.) ท่าอากาศยานภูเก็ต (ทภก.) ท่าอากาศยานแม่ฟ้าหลวง เชียงราย (ทชร.)(ข้อมูล ณ วันทีÉ 30 
กันยายน พ.ศ. 2556)ทอท. ประกอบธุรกิจท่าอากาศยานของประเทศไทย รวมทัÊงกิจการอืÉนทีÉ 
เกีÉยวกับหรือต่อเนืÉองกับการประกอบกิจการท่าอากาศยานโดยธุรกิจหลักประกอบด้วย การจัดการ 
การดำเนินงาน และการพัฒนาท่าอากาศยาน มุ่งเน้นตลาดการให้บริการไปทีÉผู้ให้บริการสายการ 
บินพาณิชย์ทัÊงเทีÉยวบินภายในประเทศและระหว่างประเทศ ผู้โดยสารและผู้ใช้บริการท่าอากาศยาน 
ทัÊงนีÊ ทอท. ยังมีความมุ่งมันÉทีÉจะเป็นศูนย์กลางการบิน การท่องเทีÉยว และการขนส่งสินค้าทาง 
อากาศชัÊนนำของเอเชียและของโลก โดยพัฒนาอาคารสถานทีÉและ สิÉงอำนวยความสะดวกอย่าง 
ต่อเนืÉองให้รองรับปริมาณการจราจรทางอากาศ และผู้โดยสารทีÉเพิÉมขึÊนอย่างต่อเนืÉอง ตลอดจน 
ปฏิบัติงาน ร่วมกับหน่วยงานต่างๆ ทัÊงภาครัฐและเอกชนทีÉเกีÉยวข้องกับกิจการท่าอากาศยานอย่าง 
ใกล้ชิด เพืÉอให้สามารถพัฒนาการให้บริการและแก้ไขปัญหาข้อขัดข้องได้อย่างรวดเร็วทันท่วงที6 
ท่าอากาศยานท่าอากาศยานทัÊง 6 แห่งนีÊ ให้บริการเทีÉยวบินทัÊงในประเทศและระหว่างประเทศ โดย 
มีท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ เป็นท่าอากาศยานหลักของประเทศ เปิดให้บริการเมืÉอวันทีÉ 28 กันยายน 
พ.ศ. 2549 เพืÉอรองรับปริมาณผู้โดยสารทีÉเพิÉมขึÊนอย่างต่อเนืÉอง โดยมีความสามารถในการรองรับ 
ผู้โดยสาร 45 ล้านคนต่อปี สามารถรองรับการขนถ่ายสินค้าได้ 3 ล้านตันต่อปี และสามารถรองรับ 
เทีÉยวบินได้ 76 เทีÉยวบินต่อชัÉวโมง ทอท. จึงมีส่วนช่วยผลักดันและดำเนินงานตามนโยบาย
4 
เศรษฐกิจของประเทศด้านโครงสร้างพืÊนฐานในการบริหารจัดการระบบขนส่งสินค้าและบริการ 
มุ่งพัฒนาท่าอากาศยานสากล ท่าอากาศยานภูมิภาคและอุตสาหกรรมการบินของประเทศไทย 
ลักษณะการประกอบธุรกิจ 
ทอท.ประกอบธุรกิจท่าอากาศยานของประเทศไทยโดยธุรกิจหลักประกอบด้วย การ 
จัดการ การดำเนินงานและการพัฒนาท่าอากาศยาน โดยมีท่าอากาศยานทีÉอยู่ในความรับผิดชอบ 6 
แห่ง ประกอบด้วย ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ท่าอากาศยานดอนเมือง ท่าอากาศยานเชียงใหม่ ท่า 
อากาศยานหาดใหญ่ ท่าอากาศยานภูเก็ตและท่าอากาศยานแม่ฟ้าหลวง เชียงราย ซึÉงท่าอากาศยาน 
ทัÊง 6 แห่งนีÊ ให้บริการเทีÉยวบินภายในประเทศและระหว่างประเทศ โดยมีท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ 
เป็นท่าอากาศยานหลักของประเทศ ซึÉงได้เปิดให้บริการเมืÉอวันทีÉ28 กันยายน พ.ศ.2549 เพืÉอรองรับ 
ปริมาณผู้โดยสารทีÉเพิÉมขึÊนอย่างต่อเนืÉอง โดยมีความสามารถในการรองรับผู้โดยสาร 45 ล้านคนต่อ 
ปี สามารถรองรับการขนถ่ายสินค้าได้ 3 ล้านตันต่อปี และสามารถรองรับเทีÉยวบินได้76 เทีÉยวบิน 
ต่อชัวÉโมงรายได้จากการดำเนินงานของ ทอท.ประกอบด้วยรายได้จาก 2 ส่วนทีÉสำคัญ คือ รายได้ 
จากกิจการการบินและรายได้ทีÉไม่เกีÉยวกับกิจการการบิน โดยรายได้จากกิจการการบินเป็นรายได้ทีÉ 
เกีÉยวข้องกับการจราจรทางอากาศโดยตรง เช่น รายได้ค่าธรรมเนียมสนามบิน รายได้ค่าธรรมเนียม 
การใช้สนามบิน และรายได้ค่าเครืÉองอำนวยความสะดวก ส่วนรายได้ทีÉไม่เกีÉยวกับกิจการการบิน 
เป็นรายได้ทีÉไม่เกีÉยวข้องกับการจราจรทางอากาศโดยตรง เช่น รายได้ค่าเช่าสำนักงานแล 
อสังหาริมทรัพย์ รายได้เกีÉยวกับบริการ และรายได้ส่วนแบ่งผลประโยชน์ นอกจากนีÊ ทอท.ยังถือ 
หุ้นใน 9 บริษัท ซึÉงเป็นผู้ให้บริการ และจำหน่ายสินค้าทีÉเกีÉยวข้องกับกิจการท่าอากาศยานของ 
ทอท.ได้แก่ บริษัท โรงแรมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ จำกัด บริษัท แอร์พอร์ต ดิวตีÊฟรี จำกัด บริษัท 
ไทยเชืÊอเพลิงการบิน จำกัด บริษัท ครัวการบินภูเก็ต จำกัด บริษัท แอร์พอร์ท แอสโซซิเอท จำกัด 
บริษัท ดอนเมือง อินเตอร์เนชันÉแนล แอร์พอร์ต โฮเต็ล จำกัด บริษัท บริการเชืÊอเพลิงการบิน 
กรุงเทพ จำกัด (มหาชน) บริษัท ไทย แอร์พอร์ต กราวด์ เซอร์วิสเซส จำกัด และบริษัท เทรดสยาม 
จำกัด 
รายได้จากการดำเนินงาน 
รายได้จากการดำเนินงานของ ทอท. ประกอบด้วย 2 ส่วนทีÉสำคัญ คือ 
 รายได้ทีÉเกีÉยวกับกิจการการบิน (Aeronautical Revenues)เป็นรายได้ทีÉเกีÉยวข้องกับ 
การจราจรทางอากาศโดยตรง เช่น รายได้ค่าธรรมเนียมสนามบิน (Landing and
5 
Parking charges) รายได้ค่าธรรมเนียมการใช้สนามบิน (Passenger Service 
charges) และรายได้ค่าสิÉงอำนวยความสะดวก เป็นต้น 
 รายได้ทีÉไม่เกีÉยวกับกิจการการบิน (Non - Aeronautical Revenues) เป็นรายได้ทีÉ 
ไม่เกีÉยวข้องกับการจราจรทางอากาศ โดยตรง เช่น ค่าเช่าสำนักงาน พืÊนทีÉและ 
อสังหาริมทรัพย์ รายได้เกีÉยวกับบริการ และรายได้ส่วนแบ่งผลประโยชน์ เป็นต้น 
นอกจากนีÊ ทอท.ได้เข้าร่วมลงทุนในบริษัททีÉประกอบธุรกิจเกีÉยวกับกิจการท่า 
อากาศยานและธุรกิจอืÉนทีÉเกีÉยวข้องหรือต่อเนืÉองกับกิจการของ ทอท. รวมทัÊงสิÊน 9 
บริษัท โดย ทอท. เข้าทำสัญญาต่างๆ กับบริษัทดังกล่าว เพืÉอประกอบกิจการ 
ภายใน ท่าอากาศยาน เช่น กิจการร้านค้าปลอดอากร บริการคลังสินค้า โรงแรม 
บริการเติมนÊำมันเชืÊอเพลิงอากาศยาน 
หลักการดำเนินธุรกิจ 
เป้าหมายความสำเร็จ 
ทอท. มีความมุ่งมันÉในการเป็นผู้นำ ธุรกิจท่าอากาศยาน ในภูมิภาคเอเชีย (Asia’s Leading 
Airport Business) โดยดำเนินธุรกิจท่าอากาศยานด้วยมาตรฐานเหนือระดับ ให้บริการด้วยใจรัก 
พร้อมเทคโนโลยีทีÉทันสมัย สร้างมูลค่าเพิÉม และสำนึกรับผิดชอบต่อสังคมและชุมชน ภายใต้ 
สโลแกนทีÉว่า “ปลอดภัยคือมาตรฐาน บริการคือหัวใจ” ทอท. ปลูกฝังพนักงานให้ตระหนักถึง 
ความสำ คัญด้านความปลอดภัยและการรักษาความปลอดภัย ซึÉงถือเป็นมาตรฐานสำคัญของการ 
ปฏิบัติงาน ส่งเสริมจิตสำนึกในการให้บริการเพราะถือว่าเป็นหัวใจในการร่วมกันทำงาน ความ 
สามัคคี ทำงานเป็นทีม รวมทัÊงการเรียนรู้และพัฒนาตนเองอย่างต่อเนืÉอง นอกจากนีÊ ทอท. ยังคง 
ดำเนินงานภายใต้จรรยาบรรณทีÉคำนึงถึงความโปร่งใสและสำนึกในความรับผิดชอบต่อสังคม คู่ค้า 
ผู้ถือหุ้น และผู้มี ส่วนได้เสียในทุกกลุ่มวัตถุประสงค์และแนวทางการดำเนินงาน เชิงกลยุทธ์ ทอท. 
ได้กำหนดจุดเน้นเชิงกลยุทธ์ (Strategic Themes) สำคัญ เพืÉอให้บรรลุเป้าหมายความสำเร็จของ 
องค์กร 3 ประการ ได้แก่ เพิÉมคุณค่าให้แก่ลูกค้าและลูกค้าต้องมาก่อน (Customer First) ทอท. ให้ 
ความสำคัญกับลูกค้าเป็นอันดับแรก เพืÉอให้สามารถสร้างคุณภาพการบริการทีÉเหนือกว่าความ 
คาดหมายและสนองต่อความต้องการของลูกค้าทุกกลุ่ม รวมถึงผู้โดยสารและสายการบิน ทัÊงนีÊ จะ
6 
ให้ความสำคัญกับหน่วยงานทีÉเกีÉยวข้อง เพืÉอให้การส่งมอบบริการเป็นไปตามเป้าหมายทีÉวางไว้ การ 
สร้างมูลค่าเพิÉมแก่องค์กร (Strive for Economic Profit) ทอท. มีการเพิÉมประสิทธิภาพในการ 
ดำเนินงาน การใช้ประโยชน์ทรัพย์สิน ควบคู่ไปกับการหาโอกาสและทางเลือก ในการดำ เนิน 
ธุรกิจใหม่ๆ เพืÉอให้คุ้มค่ากับต้นทนเงินทุนและ นำไปสู่การสร้างมูลค่าเพิÉมในอนาคต พัฒนาความ 
รับผิดชอบต่อสังคมและสิÉงแวดล้อมและการกำกับดูแลกิจการทีÉดี (Corporate Social Responsibility 
and Good Corporate Governance) เพืÉอให้เกิดการพัฒนาทีÉยังÉยืน ทอท. ให้ความสำคัญกับการสร้าง 
ความเชืÉอมันÉในมุมของนักลงทุนและสังคม โดยมุ่งเน้นการปฏิบัติตามหลักเกณฑ์และข้อกำหนด 
ของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และรักษามาตรฐานการดำเนินงานภายใต้หลักการกำกับ 
ดูแลกิจการทีÉดี เพืÉอนำองค์กร ไปสู่การเป็นบรรษัทภิบาล ตลอดจนเสริมสร้างความรับผิดชอบ ต่อ 
สังคมชุมชนและสิÉงแวดล้อม โดยการดำเนินกิจกรรมทีÉสร้าง การมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน เพืÉอ 
นำไปสู่การยอมรับและความร่วมมือในด้านต่างๆ อันจะนำไปสู่การเติบโตทีÉยังÉยืนขององค์กร 
ต่อไป 
2. การเปรียบเทียบการจัดการทางด้านสิÉงแวดล้อมของท่าอากาศยานไทยกับท่าอากาศ- 
ยานนานาชาติ 
การปฏิบัติการของ Frankfurt Airport การดำเนินการของบริษัท 
การจัดการมลพิษทางอากาศ 
1.มลพิษทางอากาศมีการวัดอย่างต่อเนืÉอง มีการ 
จัดตัÊงสถานีขึÊนเพืÉอใช้ในการตรวจสอบสาร 
ปนเปืÊอนในการปล่อยมลพิษและเผยแพร่ข้อมูล 
รายละเอียดเกีÉยวกับคุณภาพอากาศในรายงาน 
ประจำปีเกีÉยวกับสุขอนามัยอากาศ 
2.มีมาตรการในการลดการปล่อยก๊าซ 
ดำเนินการทีÉสถานทีÉก่อสร้าง 
3.การเพิÉมประสิทธิภาพของกระบวนการจัดการ 
เช่น การใช้ หน่วยพลังงานพืÊนดิน 400 เฮิรตซ์ 
1.ทำการตรวจวัดคุณภาพอากาศในบรรยากาศ 
รอบท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ เป็นไปตามวิธีทีÉ 
กำหนดไว้ในประกาศคณะกรรมสิÉงแวดล้อม 
แห่งชาติฉบับทีÉ 10 (พ.ศ. 2538) และฉบับทีÉ 24 
(พ.ศ. 2547) หรือวิธีอืÉนทีÉกรมควบคุมมลพิษ 
เห็นชอบปีละ 2 ครัÊง(ฤดูฝนและฤดูหนาว) เป็น 
เวลา 3 วันต่อเนืÉองและทำการตรวจวัดทุกสถานี 
พร้อมกัน 
2.นำผลทีÉได้มาเปรียบเทียบกับค่ามาตรฐาน 
คุณภาพอากาศในบรรยากาศของประเทศไทย
7 
การจัดการมลภาวะ เสียงเครืÉองบิน จาก 
เครืÉองบิน 
1.มีสถานีทีÉติดตัÊงเครืÉองตรวจวัดเสียง 
2.มีการแจ้งถึงระดับอัตราเสียงในปัจจุบันขิง 
ทางบริษัทให้ประชาชาชนรับทราบ 
3.มาตรการในการลดเสียงรบกวนทีÉใช้งานจะ 
พุ่งตรงไปทีÉการหลีกเลีÉยงหรือลดเสียงได้โดย 
ตรงทีÉแหล่งทีÉมา 
4.ระบบการทำงานขึÊนเครืÉองยนต์ใหม่ลดการ 
ปล่อยเสียงรบกวน 
5.มีมาตรการให้แรงจูงใจสำหรับ บริษัท สาย 
การบิน ทีÉไม่ทำให้เกิดมลภาวะทางเสียง 
6.มีมาตรการในการใช้โปรแกรมการลดเสียง 
รบกวน สำหรับการป้องกันเสียงรบกวนอากาศ 
ยาน 
7.สนับสนุนการศึกษาเกีÉยวกับผลกระทบของ 
เสียงโดยเวทีสนามบินภูมิภาค การศึกษาทีÉ 
ครอบคลุมเกีÉยวกับผลกระทบของ8.เสียงโดย 
การวิจัยและสถาบันการศึกษาทีÉมีความ 
เชีÉยวชาญในการแพทย์จิตวิทยาสังคมศาสตร์ 
และเปรียบเทียบกับผลการตรวจวัดในอดีตทีÉ 
ผ่านมา เพืÉอศึกษาแนวโน้มการเปลีÉยนแปลงของ 
ผลกระทบด้านสิÉงแวดล้อม 
1.สนับสนุนการป้องกันเสียงแก่สถานทีÉซึÉง 
ต้องการความเงียบเป็นพิเศษ เช่น 
สถาบันการศึกษา ศาสนสถาน สถานพยาบาล 
และสถานทีÉราชการ เป็นต้น 
2.เพิÉมการใช้ทางวิÉงทีÉมีผลกระทบน้อยทีÉสุด 
3.จำกัดการใช้เครืÉองบินเสียงดังโดยเก็บ 
ค่าธรรมเนียมหรืออืÉนๆ 
4.กำหนดให้สายการบินทีÉใช้ท่าอากาศยาน 
ปฏิบัติวิธีการบินขึÊน – ลงทีÉก่อให้เกิดเสียง 
รบกวนตํÉาทีÉสุด 
5.กำหนดให้นักบินปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ในการ 
บินและร่อนเครืÉองลงตามทีÉ ICAO กำหนดไว้ 
อย่างเคร่งครัด 
6.ประชาสัมพันธ์ข้อมูลการดำเนินงานของท่า 
อากาศยานและรับฟังคำร้องเรียน และแนะนำ 
จากหน่วยงานทีÉเกีÉยวข้อง 
7.ทอท. กำหนดให้มีการรายงานผลการตรวจวัด 
ให้คณะอนุกรรมการกำ กับการติดตาม 
ตรวจสอบและการปฏิบัติตามมาตรการด้าน 
สิÉงแวดล้อมของท่าอากาศยานสุวรรณภูมิทราบ 
ทุกเดือน และรายงานผลการตรวจวัดให้ 
สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติ 
และสิÉงแวดล้อมทราบทุก 6 เดือน เพืÉอติดตาม 
ตรวจสอบผลกระทบด้านเสียงจากอากาศยานใน 
ชุมชนโดยรอบท่าอากาศยาน
8 
การบำบัดนํÊาเสีย 
1.มีทำงานสองระบบระบายนÊำทีÉแยกต่างหาก 
สำหรับนÊำเสียและนÊำฝน 
2.การปรับสภาพนÊำเสีย ก่อนทีÉนÊำจะถูกปล่อย 
ออกมา 
3.คุณภาพและปริมาณของนÊำเสียจะตรวจสอบ 
อย่างเป็นระบบ 
การจัดการผลกระทบต่อความหลากหลายทาง 
ชีวภาพ 
1.โครงการบรรเทาสาธารณภัยมีการดำเนินการ 
อย่างรวดเร็ว 
2.พันธุ์พืชและสัตว์ทีÉถูกย้ายไปอยู่กับแหล่งทีÉอยู่ 
อาศัยทีÉเหมาะสมสำหรับการขยายพันธุ์ 
8.ติดตามตรวจสอบผลกระทบเสียงจากอากาศ 
ยานในพืÊนทีÉท่าอากาศยาน และตรวจสอบ 
เส้นทางบิน ระดับความสูงประเภทและสายการ 
บินของอากาศยานทีÉถูกร้องเรียนว่ามีเสียงดัง 
หรือปล่อยมลพิษ 
1.มีการบริหารจัดการนÊำเสียโดยใช้ระบบ BNR 
(Biological Nutrient Remove) ในรูปแบบ 
ตะกอนเร่งดัดแปลง (Modified Activated 
Sludge) ประสิทธิภาพของระบบนีÊคือนอกจาก 
จะกำจัดความสกปรกของนÊำเสียในรูปแบบ 
BOD แล้วยังสามารถกำจัดความสกปรกของนÊำ 
เสียในรูปแบบไนโตรเจนและฟอสฟอรัส 
2.มีการนำนÊำทีÉได้รับการบำบัดและนำไปใช้ 
หมุนเวียนซÊำ คิดเป็นร้อยละ 10.97 ของปริมาณ 
การใช้นÊำทัÊงหมด เพืÉอสร้างมูลค่าทาง 
เศรษฐศาสตร์และสิÉงแวดล้อมตามหลักการ 
Zero Discharge คือ ไม่มีการปล่อยมลภาวะออก 
สู่ สิÉงแวดล้อม/ชุมชน (การปล่อยมลภาวะออกสู่ 
สิÉงแวดล้อม/ชุมชนเป็นศูนย์) โดยนำนÊำเสียทีÉ 
ผ่านการบำบัดแล้วไปใช้ประโยชน์ต่อไป 
1.ในบริเวณท่าอากาศยานภูเก็ต ตัÊงอยู่ในพืÊนทีÉ 
บริเวณทีÉ 8 ตามประกาศกระทรวง ซึÉงกำหนดให้ 
บริเวณดังกล่าวมีได้เฉพาะอาคารทีÉมีความสูงไม่ 
เกิน 23 เมตร และต้องมีทีÉว่างปราศจากสิÉงปก 
คลุมไม่น้อยกว่าร้อยละ 30 ของพืÊนดินทีÉขอ
9 
การจัดการของเสีย 
1.แนวทางหลักการของการจัดการของเสีย การ 
รีไซเคิลของเสียทีÉหลีกเลีÉยงไม่ได้มากทีÉสุดเท่าทีÉ 
แยกขยะรวมทัÊงกระดาษแก้วเสียจากบรรจุภัณฑ์ 
เพืÉอช่วยในการรีไซเคิล 
2.ของเสียแยกจากกันเพืÉอนำไปรีไซเคิลเท่าทีÉจะ 
ทำได้ อย่างมืออาชีพในทีÉเหมาะสมในโรงงาน 
เผาหรือจำหน่ายโดยวิธีทางเคมีและทางกายภาพ 
ในโรงบำบัด 
3.มีการรับประกันในเทคโนโลยีการกำจัดของ 
เสียโดยทีมงานมืออาชีพ 
การจัดการสภาพภูมิอากาศ 
1.บริษัทปรับใช้โครงการป้องกันสภาพ 
ภูมิอากาศทัÊงบริษัท 
2.เครืÉองบินของบริษัทใช้มอเตอร์ไฟฟ้าแทน 
นÊำมันดีเซลช่วยลดการปล่อยคาร์บอน 20% 
3.ได้นำซอฟต์แวร์ใหม่มาใช้ในกระบวนการ 
การจัดการโดยควบคุมการจราจรทำให้มี 
ประสิทธิภาพ มากขึÊนทัÊงนีÊช่วยลดเชืÊอเพลิงโดย 
ไม่จำเป็นและลดการปล่อยของมลพิษในอากาศ 
4.สนามบินมีการดำเนินงานทีÉมีมาตรฐาน 
5.มีนวัตกรรมเทคโนโลยีทีÉช่วยในการประหยัด 
พลังงาน 
6.บริษัทมีส่วนร่วมในการผลักดันให้เป็น 
อนุญาตก่อสร้างอาคารนัÊน ซึÉงท่าอากาศยาน 
ภูเก็ตไม่มีการก่อสร้างอาคารสูงเกินกว่า 23 
เมตร และมีพืÊนทีÉว่างไม่น้อยกว่าร้อยละ 30 เมตร 
ดังนัÊน จึงไม่ขัดกับกฎกระทรวง 
1.มีการบริหารจัดการเป็นแบบ Zero Discharge 
ซึÉงเป็นการบริหารจัดการขยะทีÉไม่มีขยะรัÉวไหล 
หรือถูกนำออกไปรวมกับขยะชุมชนภายนอก 
โดยเด็ดขาดเพืÉอป้องกันการก่อปัญหาขยะให้แก่ 
ชุมชน โดยขยะภายในท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ 
จะถูกจัดเก็บและคัดแยกภายในสถานีขนถ่าย 
ขยะ ณ ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิเท่านัÊน สำหรับ 
ขยะทีÉเหลือจากการคัดแยกจะถูกนำไปกำจัด ณ 
สถานทีÉรับกำจัดทีÉได้รับรองตามมาตรฐาน ISO 
14001 ในระบบต่อวัน 
1.มีการวางแผนแม่บทท่าอากาศยานทีÉเป็นมิตร 
ต่อสิÉงแวดล้อม (Green Airport Master Plan)มี 
ระยะเวลาดำเนินการเริÉมต้นตัÊงแต่ปี 2556 - 2560 
และมีเป้าหมายลดการใช้พลังงานและลด 
ปริมาณคาร์บอนให้ได้ร้อยละ 18 ภายในปี 2563 
2.ก้าวไปสู่การเป็น Carbon Neutral Airport แบ่ง 
ขัÊนตอนการดำเนินงานออกเป็น4 ระดับ ได้แก่ 
3.การเทียบค่า (Mapping) ด้วยการจัดทำ Carbon 
Footprint 
4.การลดลง (Reduction) โดยบริหารจัดการให้มี 
การปล่อยก๊าซ CO2 ลดลง(Carbon Reduction) 
5.ประสิทธิผลสูงสุด (Optimization) ซึÉงเกิดจาก
10 
สนามบินทีÉลดการใช้คาร์บอน 
7.บริษัทมีส่วนร่วมในโครงการการเปิดเผย 
ข้อมูลคาร์บอน 
การจัดการสารปนเปืÊอนในนํÊาผิวดิน 
1.บริษัทมีการปรับใช้เทคโนโลยีนวัตกรรมใหม่ 
สำหรับเครืÉองบิน 
2.พืÊนทีÉปนเปืÊอนมลพิษในดินจะมีการทำความ 
สะอาดตรวจสอบนÊำใต้ดินร่วมมืออย่างใกล้ชิด 
กับหน่วยงานกำกับดูแลทีÉมีความรับผิดชอบ 
3.ระบบระบายนÊำและวิÉงออกจากพืÊนผิวทีÉได้รับ 
การทดสอบอย่างต่อเนืÉองสำหรับการรัÉวไหล 
4.คุณภาพและระดับของนÊำบาดาลจะถูก 
พิจารณาตามมาตราวัดของสถานีตรวจสอบ 
5.แผนเตือนภัยทางนÊำทำให้เกิดการตอบสนอง 
อย่างรวดเร็วในกรณีฉุกเฉิน 
การจัดการด้านพลังงาน 
1.จะมีการประหยัดพลังงานในอุปกรณ์และ 
อาคาร รวมถึงในอาคารทีÉสร้างใหม่ 
2.มีการเตรียมพาหนะกับมอเตอร์ไฟฟ้าเพืÉอ 
สำรองไว้ 
การมีส่วนร่วมจากองค์กรภายนอกในการร่วม 
จัดทำ ฉลากคาร์บอนและลดการปล่อยก๊าซ CO2 
6.การชดเชย (Neutrality) โดยการชดเชยปริมาณ 
ก๊าซ CO2 ทีÉเกิดจากการปลดปล่อยโดยตรง 
1.ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิยังได้มีการวิเคราะห์ 
คุณภาพนÊำผิวดินทีÉคลอง 2 แห่ง คือ คลองหนอง 
งูเห่า และคลองลาดกระบัง รวมจำนวน 4 สถานี 
เนืÉองจากนÊำฝนอาจเกิดการเจือปนได้จากการ 
รัÉวไหลของนÊำมันเชืÊอเพลิงอากาศยานและ 
สิÉงเจือปนต่างๆ ในระหว่างการปฏิบัติงาน 
2.มีการบำรุงรักษายานพาหนะให้บริการ 
ภาคพืÊนดิน รวมทัÊงการเก็บรักษาและกิจการใน 
การจัดการนÊำมันเชืÊอเพลิง ซึÉงนÊำฝนทีÉถูกเจือปน 
สามารถส่งผลกระทบสำคัญต่อสิÉงแวดล้อมโดย 
การสร้างมลพิษให้แก่ แหล่งนÊำปลายทาง 
1.ปฏิบัติตามพระราชบัญญัติการส่งเสริมการ 
อนุรักษ์พลังงาน 
2.จัดให้มีผู้รับผิดชอบด้านพลังงานประจำอาคาร 
ค ว บ คุม แ ต่ละ แ ห่ง ทีÉมีคุณ สม บัติต า ม ทีÉ 
กฎกระทรวงกำหนด 
3.จัดให้มีการจัดการพลังงานโดยการควบคุม 8 
ขัÊนตอน คือ การจัดตัÊงคณะทำงานด้านการจัด 
การพลังงาน การประเมินสถานภาพการจัด 
การพลังงานเบืÊองต้นการกำหนดนโยบาย 
อนุรักษ์พลังงาน การประเมินศักยภาพ การ
11 
สินค้าอันตรายและวัตถุอันตราย 
1.มีการลดความเสีÉยงของสินค้าทีÉเป็นอันตราย 
โดยการจัดเก็บข้อมูลและเอกสารทีÉปลอดภัย ใน 
สถานทีÉจัดเก็บคลังสินค้าอันตรายสินค้าทีÉได้ 
ดำเนินการไว้ 2.มีการจัดเก็บสินค้าอันตราย 
รวมถึงสารกัมมันตรังสีให้สอดคล้องกับ 
พระราชบัญญัติการควบคุม 
3. มีการตรวจสอบคุณสมบัติทางกายภาพและ 
เอกสารทีÉแต่ละทีÉฝากขายสินค้าทีÉเป็นอันตราย 
จากนัÊนมีการส่งต่อข้อมูลทีÉเป็นอันตรายไปยัง 
สนามบินทีÉได้รับสินค้าเหล่านัÊน และมีความ 
สะดวกในการจัดเก็บข้อมูลกลางสำหรับวัสดุ 
กัมมันตรังสี รวมถึงมีการจัดทำข้อควรระวัง 
สำหรับในกรณีฉุกเฉินรวมถึงมีการวางแผนและ 
การฝึกอบรม 
4.แผนฉุกเฉินถูกตัÊงขึÊนบนพืÊนฐานของการใช้ 
งานจริงและมีการทดสอบการดำเนินงานเป็น 
ประจำ โดยจะมีการฝึกอบรมในหมู่พนักงาน 
อนุรักษ์พลังงาน การกำหนดเป้าหมายและแผน 
อนุรักษ์พลังงานการดำเนินการตามแผนอนุรักษ์ 
พลังงาน การตรวจสอบและวิเคราะห์การปฏิบัติ 
ตามเป้าหมายและแผนอนุรักษ์พลังงาน การ 
ตรวจติดตามและประเมินการจัดการพลังงาน 
การทบทวน วิเคราะห์ และแก้ไขข้อบกพร่อง 
ของการจัดการพลังงาน 
1.การกำหนดมาตรการการรักษาความปลอดภัย 
2.การควบคุมคุณภาพด้านการรักษาความ 
ปลอดภัย 
3. การพัฒนาบุคลากรด้านการรักษาความ 
ปลอดภัย 
4.ตรวจความปลอดภัยและตรวจวัด 
สภาพแวดล้อมในการทำงาน 
5.ฝึกอบรมด้านความปลอดภัยและรณรงค์ 
ส่งเสริมความปลอดภัย
12 
การจัดการสิÉงแวดล้อมด้านต่างๆของท่าอากาศยานไทยเปรียบเทียบกับมาตรฐาน 
การบริหารจัดการความหลากหลายทางชีวภาพ 
ท่าอากาศยานภูเก็ตเป็น 1 ใน 6 ท่าอากาศยานในความรับผิดชอบของ ทอท. ทีÉให้ 
ความสำคัญกับการจัดการความหลากหลายทางชีวภาพ เนืÉองจากจังหวัดภูเก็ตได้ถูกประกาศเป็น 
พืÊนทีÉคุ้มครองสิÉงแวดล้อมตามประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิÉงแวดล้อมเรืÉองกำหนด 
เขตพืÊนทีÉและมาตรการคุ้มครองสิÉงแวดล้อมในบริเวณพืÊนทีÉจังหวัดภูเก็ต พ.ศ. 2553 โดยในบริเวณ 
ท่าอากาศยานภูเก็ต ตัÊงอยู่ในพืÊนทีÉบริเวณทีÉ 8 ตามประกาศกระทรวง ซึÉงกำหนดให้บริเวณดังกล่าวมี 
ได้เฉพาะอาคารทีÉมีความสูงไม่เกิน 23 เมตร และต้องมีทีÉว่างปราศจากสิÉงปกคลุมไม่น้อยกว่าร้อยละ 
30 ของพืÊนดินทีÉขออนุญาตก่อสร้างอาคารนัÊน ซึÉงท่าอากาศยานภูเก็ตไม่มีการก่อสร้างอาคารสูงเกิน 
กว่า 23 เมตร และมีพืÊนทีÉว่างไม่น้อยกว่าร้อยละ 30 เมตร ดังนัÊน จึงไม่ขัดกับกฎกระทรวงดังกล่าว 
และท่าอากาศยานภูเก็ตไม่มีมาตรการทำการก่อสร้างรุกเขตอุทยานแห่งชาติ อีกทัÊง ท่าอากาศยาน 
ภูเก็ตมีการระบายนÊำฝนจากในพืÊนทีÉท่าอากาศยานและมีการระบายนÊำทีÉผ่านการบำบัดตาม 
มาตรฐานคุณภาพนÊำทิÊงแล้วลงสู่ทะเล ดังนัÊน ท่าอากาศยานภูเก็ตจึงได้ทำการตรวจสอบคุณภาพนÊำ 
ทะเลในบริเวณชายฝัÉงทีÉติดกับท่าอากาศยาจำนวน2 จุด เป็นประจำทุกปีๆ ละ 2 ครัÊง คือ ในช่วงฤดู 
มรสุมและนอกฤดูมรสุม รวมทัÊงมีการติดตามตรวจสอบนิเวศวิทยาชายฝัÉงเพืÉอเฝ้าระวัง ผลกระทบทีÉ 
อาจเกิดขึÊนต่อคุณภาพนÊำทะเลและนิเวศวิทยาชายฝัÉงอย่างต่อเนืÉองมาโดยตลอด ผลจากการสำรวจ 
ไม่พบว่าการดำเนินงานท่าอากาศยานทำให้การเปลีÉยนแปลงคุณภาพนÊำทะเลบริเวณชายฝัÉงตํÉาลง 
และกิจกรรมของโครงการไม่ก่อให้เกิดผลกระทบใดต่อระบบนิเวศวิทยาชายฝัÉง
13 
ผลการติดตามตรวจสอบคุณภาพนํÊาทะเลชายฝัÉง ท่าอากาศยานภูเก็ต 
หมายเหตุ: 1/ ค่ามาตรฐานคุณภาพนÊำทะเลประเภททีÉ 2 เพืÉอการอนุรักษ์แหล่งปะการัง ตามประกาศ 
คณะกรรมการสิÉงแวดล้อมแห่งชาติ ฉบับทีÉ 27 (พ.ศ. 2549) เรืÉองกำหนดมาตรฐานคุณภาพนÊำทะเล 
การบริหารจัดการนํÊาเสียและหมุนเวียนนํÊาใช้ 
ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิมีการใช้นÊำประปาในปริมาณ 5,445,840 ลูกบาศก์เมตรต่อปี 
(ข้อมูลช่วงตุลาคม 2555 - กันยายน พ.ศ. 2556) และมีการบริหารจัดการนÊำเสียโดยใช้ระบบ BNR 
(Biological Nutrient Remove) ในรูปแบบตะกอนเร่งดัดแปลง (Modified Activated Sludge) ซึÉง 
เป็นประเภทระบบบำบัดนÊำเสียเพียงไม่กีÉแห่งเท่านัÊนในประเทศไทย (ประมาณ 10 แห่งทัวÉโลก) 
ประสิทธิภาพของระบบนีÊคือนอกจากจะกำจัดความสกปรกของนÊำเสียในรูปแบบ BOD แล้วยัง 
สามารถกำจัดความสกปรกของนÊำเสียในรูปแบบไนโตรเจนและฟอสฟอรัส ซึÉงเป็นสารสกปรกทีÉ 
ก่อให้เกิดปัญหาการแพร่พันธุ์ของวัชพืชนÊำทีÉจะส่งผลกระทบทำให้แหล่งนÊำเน่าเสียได้อีกด้วย 
ดังนัÊน นÊำทิÊงทีÉผ่านการบำบัดจากระบบบำบัดนÊำเสียส่วนกลางของท่าอากาศยานสุวรรณภูมิแล้ว 
สามารถปล่อยระบายทิÊงลงสู่แหล่งนÊำสาธารณะได้อย่างเป็นมิตรต่อสิÉงแวดล้อม ไม่ก่อให้เกิด 
ปัญหาวัชพืชเจริญเติบโตและสนับสนุนให้คุณภาพนÊำในแหล่งนÊำทีÉรองรับ มีคุณภาพสูงขึÊน
14 
ผลการวิเคราะห์คุณภาพนํÊาเสียทีÉผ่านการบำบัดแล้ว (ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ) 
นอกจากนีÊ ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิยังได้มีการวิเคราะห์คุณภาพนÊำผิวดินทีÉคลอง 2 แห่ง 
คือ คลองหนองงูเห่า และคลองลาดกระบัง รวมจำนวน 4 สถานี เนืÉองจากนÊำฝนอาจเกิดการเจือปน 
ได้จากการรัÉวไหลของนÊำมันเชืÊอเพลิงอากาศยานและ สิÉงเจือปนต่างๆ ในระหว่างการปฏิบัติงาน 
และ การบำรุงรักษายานพาหนะให้บริการภาคพืÊนดิน รวมทัÊงการเก็บรักษาและกิจการในการ 
จัดการนÊำมันเชืÊอเพลิง ซึÉงนÊำฝนทีÉถูกเจือปนสามารถส่งผลกระทบสำคัญต่อสิÉงแวดล้อมโดยการ 
สร้างมลพิษให้แก่ แหล่งนÊำปลายทางได้ผลการวิเคราะห์คุณภาพนÊำผิวดิน 
รอบปี 2556 แสดงได้ ดังนีÊ
15 
ผลการวิเคราะห์คุณภาพนํÊาผิวดิน (ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ) 
หมายเหตุ: 1/ กำหนดมาตรฐานคุณภาพนÊำในแหล่งนÊำผิวดินประเภททีÉ 4 ตามประกาศคณะกรรมการสิÉงแวดล้อม 
แห่งชาติฉบับทีÉ 8 (พ.ศ. 2537) ลงวันทีÉ 20 มกราคม 2537 • มาตรฐานคุณภาพนÊำผิวดินประเภททีÉ 4 ได้แก่ แหล่ง 
นÊำทีÉได้รับนÊำทิÊงจากกิจกรรมบางประเภท และสามารถเป็นประโยชน์ เพืÉอการอุปโภคและบริโภค โดยต้องผ่าน 
การฆ่าเชืÊอโรคตามปกติและผ่านกระบวนการปรับปรุงคุณภาพนÊำเป็นพิเศษก่อน และเพืÉอการอุตสาหกรรม 
ผลการวิเคราะห์คุณภาพนํÊา ผิวดิน (ท่าอากาศยานดอนเมือง)
16 
หมายเหตุ: 1/ ค่ามาตรฐานคุณภาพนÊำผิวดินประเภททีÉ 3 ตามประกาศคณะกรรมการสิÉงแวดล้อมแห่งชาติ ฉบับทีÉ 
8 (พ.ศ. 2537) ออกตาม ความในพระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิÉงแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535 เรืÉอง 
กำหนดมาตรฐานคุณภาพนÊำผิวดิน ในแหล่งนÊำผิวดิน, ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 111 ตอนพิเศษ 16ง เมืÉอวันทีÉ 24 
กุมภาพันธ์ 2537 
ผลการวิเคราะห์คุณภาพนํÊา ผิวดิน (ท่าอากาศยานเชียงใหม่) 
หมายเหตุ: 1/ ค่ามาตรฐานคุณภาพนÊำผิวดินประเภททีÉ 3 ตามประกาศคณะกรรมการสิÉงแวดล้อมแห่งชาติ ฉบับทีÉ 
8 (พ.ศ. 2537) ออกตาม ความในพระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิÉงแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535 เรืÉอง 
กำหนดมาตรฐานคุณภาพนÊำผิวดิน ในแหล่งนÊำผิวดิน, ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 111 ตอนพิเศษ 16ง เมืÉอวันทีÉ 24 
กุมภาพันธ์ 2537 
ผลการวิเคราะห์คุณภาพนํÊา ผิวดิน (ท่าอากาศยานภูเก็ต)
17 
หมายเหตุ: 1/ ค่ามาตรฐานคุณภาพนÊำผิวดินประเภททีÉ 3 ตามประกาศคณะกรรมการสิÉงแวดล้อม 
แห่งชาติ ฉบับทีÉ 8 (พ.ศ. 2537) ออกตาม ความในพระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพ 
สิÉงแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535 เรืÉอง กำหนดมาตรฐานคุณภาพนÊำผิวดิน ในแหล่งนÊำผิวดิน 
ผลการวิเคราะห์คุณภาพนํÊา ผิวดิน (ท่าอากาศยานแม่ฟ้าหลวง เชียงราย) 
หมายเหตุ: 1/ ค่ามาตรฐานคุณภาพนÊำผิวดินประเภททีÉ 3 ตามประกาศคณะกรรมการสิÉงแวดล้อมแห่งชาติ ฉบับทีÉ 
8 (พ.ศ. 2537) ออกตาม ความในพระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิÉงแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535 เรืÉอง 
กำหนดมาตรฐานคุณภาพนÊำผิวดิน ในแหล่งนÊำผิวดิน, ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 111 ตอนพิเศษ 16 ง เมืÉอวันทีÉ 24 
กุมภาพันธ์ 2537 สำหรับท่าอากาศยานอืÉนๆ มีข้อมูลการใช้ทรัพยากรนÊำ ปริมาณนÊำทีÉได้รับการบำบัดและผลการ
18 
วิเคราะห์คุณภาพนÊำทีÉผ่านการบำบัดแล้ว จำแนกตามพืÊนทีÉ ดังนีÊ 
ผลการวิเคราะห์คุณภาพนํÊา เสียทีÉผ่านการบำบัดแล้ว (ท่าอากาศยานดอนเมือง) 
หมายเหตุ: 1/ ค่ามาตรฐานตามประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิÉงแวดล้อม พ.ศ. 2548 เรืÉอง กำหนด 
มาตรฐานควบคุมระบายนำ◌้ทิÊงจากอาคารบางประเภท และบางขนาด (ประเภท ก) 
• Oil & Grease <0.5 mg/L, Sulfide <0.2 mg/L, Pb <0.04 mg/L, Cd <0.004 mg/L และ Hg <0.001 mg/L 
ผลการวิเคราะห์คุณภาพนํÊา เสียทีÉผ่านการบำ บัดแล้ว (ท่าอากาศยานเชียงใหม่) 
หมายเหตุ: • อ้างอิงมาตรฐานคุณภาพนÊำตามประกาศกระทรวงวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและสิÉงแวดล้อม พ.ศ. 
2537 • ND (Non - Detectable) หมายถึงตรวจพบค่าความเข้มข้นน้อยมาก: Oil & Grease <0.5 mg/L, Sulfide <0.2 
mg/L
19 
ผลการวิเคราะห์คุณภาพนํÊา เสียทีÉผ่านการบำบัดแล้ว (ท่าอากาศยานหาดใหญ่) 
หมายเหตุ: • ค่ามาตรฐานนÊำทิÊงตามประกาศกระทรวงวิทยาศาสตร์และสิÉงแวดล้อมประเภท ข ฉบับประกาศ 
ทัÉวไป (พ.ศ. 2537) • ตรวจโดยหน่วยเครืÉองมือกลาง คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขต 
หาดใหญ่ 
ผลการวิเคราะห์คุณภาพนํÊาเสียทีÉผ่านการบำบัดแล้ว (ท่าอากาศยานภูเก็ต) 
หมายเหตุ: 1/ มาตรฐานควบคุมการระบายนÊำทิÊงจากอาคาร ประเภท ก. ตามประกาศกระทรวง 
ทรัพยากรธรรมชาติและสิÉงแวดล้อม เรืÉอง กำหนดมาตรฐานควบคุม การระบายนÊำทิÊงจากอาคารบางประเภทและ 
บางขนาด ซึÉงประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 122 ตอนทีÉ 125 ง ลงวันทีÉ 29 ธันวาคม 2548 • ND = ตรวจไม่พบ
20 
ผลการวิเคราะห์คุณภาพนํÊา เสียทีÉผ่านการบำบัดแล้ว (ท่าอากาศยานแม่ฟ้าหลวง เชียงราย) 
หมายเหตุ: • อ้างอิงค่ามาตรฐานตามประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและ สิÉงแวดล้อม เรืÉอง กำหนด 
มาตรฐานควบคุมการระบายนÊำทิÊงจากอาคารบางประเภทและบางอาคาร ลงวันทีÉ 7 พฤศจิกายน 2548 ประกาศใน 
ราชกิจจานุเบกษา เล่มทีÉ 122 ตอนทีÉ 125 ง พ.ศ. 2548 
การบริหารจัดการอากาศ 
การตรวจวัดคุณภาพอากาศในบรรยากาศรอบท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ เป็นไปตามวิธีทีÉ 
กำหนดไว้ในประกาศคณะกรรมการสิÉงแวดล้อมแห่งชาติฉบับทีÉ 10 (พ.ศ. 2538) และฉบับทีÉ 24 
(พ.ศ. 2547) หรือวิธีอืÉนทีÉกรมควบคุมมลพิษเห็นชอบโดยดัชนีคุณภาพอากาศทีÉทำการตรวจวัด 
ประกอบด้วยปริมาณฝุ่นละอองขนาดเล็กกว่า 10 ไมครอน (PM-10) ปริมาณก๊าซไนโตรเจนได 
ออกไซด์เฉลีÉย 1 ชัÉวโมง (NO2) ปริมาณก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์เฉลีÉย 1 ชัÉวโมง(CO) Total 
Hydrocarbon (THC) Non - methane Hydrocarbon (NMHC) ได้ทำการตรวจวัดโดยบริษัทเอส จี 
เอส (ประเทศไทย) จำกัด ปีละ 2 ครัÊง(ฤดูฝนและฤดูหนาว) เป็นเวลา 3 วันต่อเนืÉอง ทำการตรวจวัด 
ทุกสถานีพร้อมกันซึÉงในรอบปีบัญชี 2556 มีการตรวจวัดระหว่างวันทีÉ 10 - 13 มกราคมพ.ศ. 2556 
และวันทีÉ 4 - 7 กรกฎาคม พ.ศ. 2556 จากนัÊนนำผลทีÉได้มาเปรียบเทียบกับค่ามาตรฐานคุณภาพ 
อากาศในบรรยากาศของประเทศไทยและเปรียบเทียบกับผลการตรวจวัดในอดีตทีÉผ่านมา เพืÉอ 
ศึกษาแนวโน้มการเปลีÉยนแปลงของผลกระทบด้านสิÉงแวดล้อม โดยข้อมูลการเปรียบเทียบผลการ 
ตรวจวัดคุณภาพอากาศในบรรยากาศโดยรอบท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ระหว่างปี 2550 - 2556
21 
ตารางเปรียบเทียบผลการตรวจวัดคุณภาพอากาศในบรรยากาศบริเวณรอบท่าอากาศยาน- 
สุวรรณภูมิ ระหว่างปี 2550 - 2556 
หมายเหตุ: • สนล. - ส่วนในล้านส่วน 1/ มาตรฐานคุณภาพอากาศในบรรยากาศโดยทัÉวไป ตามประกาศ 
คณะกรรมการสิÉงแวดล้อมแห่งชาติฉบับทีÉ 24 (พ.ศ. 2547) 2/ มาตรฐานคุณภาพอากาศในบรรยากาศโดยทัÉวไป 
ค่ามาตรฐานตามประกาศคณะกรรมการสิÉงแวดล้อมแห่งชาติฉบับทีÉ 10 (พ.ศ. 2538)
22 
ตารางเปรียบเทียบผลการตรวจวัดคุณภาพอากาศในบรรยากาศ บริเวณรอบท่าอากาศยานดอน 
เมืองในปีงบประมาณ 2556 
หมายเหตุ: • สนล. - ส่วนในล้านส่วน 1/ มาตรฐานคุณภาพอากาศในบรรยากาศโดยทัÉวไป ตามประกาศ 
คณะกรรมการสิÉงแวดล้อมแห่งชาติฉบับทีÉ 24 (พ.ศ. 2547) 2/ มาตรฐานค่าก๊าซไนโตรเจนไดออกไซด์ใน 
บรรยากาศทัÉวไป ตามประกาศคณะกรรมการสิÉงแวดล้อมแห่งชาติฉบับทีÉ 33 (พ.ศ. 2552) 3/ มาตรฐานคุณภาพ 
อากาศในบรรยากาศโดยทัÉวไป ค่ามาตรฐานตามประกาศคณะกรรมการสิÉงแวดล้อมแห่งชาติฉบับทีÉ 10 (พ.ศ. 
2538) – หมายถึงยังไม่มีการกำหนดค่ามาตรฐานสำหรับก๊าซไฮโดรคาร์บอนรวมในบรรยากาศ 
ตารางเปรียบเทียบผลการตรวจวัดคุณภาพอากาศในบรรยากาศ บริเวณรอบท่าอากาศยาน 
เชียงใหม่ในปีงบประมาณ 2556
23 
หมายเหตุ: • สนล. - ส่วนในล้านส่วน, สพล. - ส่วนในพันล้านส่วน 1/ มาตรฐานคุณภาพอากาศในบรรยากาศ 
ทัÉวไป ประกาศคณะกรรมการสิÉงแวดล้อมแห่งชาติ ฉบับทีÉ 10 (พ.ศ. 2538) และฉบับทีÉ 24 (พ.ศ. 2547) 
ตารางเปรียบเทียบผลการตรวจวัดคุณภาพอากาศในบรรยากาศ บริเวณรอบท่าอากาศยาน 
ภูเก็ตในปีงบประมาณ 2556 
หมายเหตุ: • สนล. - ส่วนในล้านส่วน 1/ ประกาศคณะกรรมการสิÉงแวดล้อมแห่งชาติ ฉบับทีÉ 10 (พ.ศ. 2538) 
ฉบับทีÉ 24 (พ.ศ. 2547) และฉบับทีÉ 33 (พ.ศ. 2552) ออกตาม ความในพระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพ 
สิÉงแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535 เรืÉองกำหนดมาตรฐานคุณภาพอากาศ ในบรรยากาศโดยทัวÉไป 
* หมายถึง ค่าเฉลีÉย 1 ชัÉวโมง 
ตารางเปรียบเทียบผลการตรวจวัดคุณภาพอากาศในบรรยากาศ บริเวณรอบท่าอากาศยาน 
แม่ฟ้าหลวง เชียงราย ระหว่างปี 2556
24 
อ้างอิง: 1/ ประกาศคณะกรรมการสิÉงแวดล้อมแห่งชาติฉบับทีÉ 24 (พ.ศ. 2547) 2/ ประกาศคณะกรรมการ 
สิÉงแวดล้อมแห่งชาติฉบับทีÉ 10 (พ.ศ. 2538) 3/ ประกาศคณะกรรมการสิÉงแวดล้อมแห่งชาติฉบับทีÉ 33 (พ.ศ. 2552) 
การกำจัดสิÉงปฏิกูลหรือของเสีย 
การบริหารจัดการขยะภายในท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ได้รับการรับรองตามมาตรฐาน ISO 
14001 และมีการบริหารจัดการเป็นแบบ Zero Discharge ซึÉงเป็นการบริหารจัดการขยะทีÉไม่มีขยะ 
รัÉวไหล หรือถูกนำออกไปรวมกับขยะชุมชนภายนอกโดยเด็ดขาดเพืÉอป้องกันการก่อปัญหาขยะ 
ให้แก่ชุมชน โดยขยะภายในท่าอากาศยานสุวรรณภูมิจะถูกจัดเก็บและคัดแยกภายในสถานีขนถ่าย 
ขยะ ณ ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิเท่านัÊน สำหรับขยะทีÉเหลือจากการคัดแยกจะถูกนำไปกำจัด ณ 
สถานทีÉรับกำจัดทีÉได้รับรองตามมาตรฐาน ISO 14001 ในระบบต่อวัน ข้อมูลการบริหารจัดการขยะ 
แต่ละประเภท มีดังนีÊ 
การเปรียบเทียบสิÉงปฏิกูลในรอบปี 2555 และ 2556 และวิธีการกำจัดของแต่ละท่าอากาศยาน
25 
การบริหารจัดการพลังงาน 
ทอท. เป็นหน่วยงานของรัฐสังกัดกระทรวงคมนาคมและอาคารสำนักงานเป็นอาคาร 
ควบคุมทีÉต้องปฏิบัติตามพระราชบัญญัติการส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน พ.ศ.2535 ซึÉงแก้ไข 
เพิÉมเติมโดยพระราชบัญญัติการส่งเสริมการอนุรักษ์ พลังงาน (ฉบับทีÉ 2) พ.ศ.2550 โดยกระทรวง 
พลังงานและได้มีประกาศกฎกระทรวงเพืÉอใช้แนวทางปฏิบัติให้เป็นไปตามพระราชบัญญัติซึÉง 
ทอท. มีอาคารควบคุมทีÉเป็นอาคารควบคุมขนาดใหญ่ทีÉต้องปฏิบัติตามพระราชบัญญัติการส่งเสริม 
การอนุรักษ์พลังงานรวม 6 อาคารควบคุม ประกอบด้วย อาคารควบคุมท่าอากาศยานดอนเมือง 
(รวมพืÊนทีÉสำนักงานใหญ่ เนืÉองจากระบบการรับไฟฟ้าจากการไฟฟ้าเป็นระบบเดียวกัน) อาคาร 
ควบคุม ท่าอากาศยานเชียงใหม่ อาคารควบคุมท่าอากาศยานแม่ฟ้าหลวง เชียงราย 
อาคารควบคุมท่าอากาศยานภูเก็ต อาคารควบคุมท่าอากาศยานหาดใหญ่ และอาคารควบคุมท่า 
อากาศยานสุวรรณภูมิทัÊงนีÊ ทอท. ได้ปฏิบัติตามกฎหมายว่าด้วยการส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน 
ฉบับล่าสุดทีÉได้กำหนดให้เจ้าของอาคารควบคุมต้องจัดให้มีผู้รับผิดชอบด้านพลังงานประจำอาคาร 
ควบคุมแต่ละแห่งทีÉมีคุณสมบัติตามทีÉกฎกระทรวงกำหนด และจัดให้มีการจัดการพลังงานโดยการ 
ควบคุม 8 ขัÊนตอน คือ การจัดตัÊงคณะทำงานด้านการจัดการพลังงาน การประเมินสถานภาพการจัด 
การพลังงานเบืÊองต้นการกำหนดนโยบายอนุรักษ์พลังงาน การประเมินศักยภาพ การอนุรักษ์ 
พลังงาน การกำหนดเป้าหมายและแผนอนุรักษ์พลังงานการดำเนินการตามแผนอนุรักษ์พลังงาน 
การตรวจสอบและวิเคราะห์การปฏิบัติตามเป้าหมายและแผนอนุรักษ์พลังงาน การตรวจติดตาม 
และประเมินการจัดการพลังงาน การทบทวน วิเคราะห์ และแก้ไขข้อบกพร่องของการจัด 
การพลังงาน 
ความรับผิดชอบต่อนโยบายด้านสิÉงแวดล้อม 
ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิได้มีการแต่งตัÊงคณะทำงานด้านการจัดการพลังงานของอาคาร 
ควบคุม ณ ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ เพืÉอให้การดำเนินการเป็นไปตามพระราชบัญญัติการส่งเสริม 
การอนุรักษ์พลังงาน (ฉบับทีÉ 2) พ.ศ.2550 โดยคณะทำงานฯ มีหน้าทีÉและความรับผิดชอบ ดังนีÊ 
1. ดำเนินการจัดการด้านพลังงานให้สอดคล้องกับพระราชบัญญัติการส่งเสริมการอนุรักษ์ 
พลังงานและนโยบายอนุรักษ์พลังงาน 
ของท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ 
2. ประสานงานกับหน่วยงานทุกฝ่ายทีÉเกีÉยวข้อง เพืÉอขอความร่วมมือในการปฏิบัติตาม 
นโยบายอนุรักษ์พลังงานและวิธีการจัดการ 
พลังงาน รวมทัÊงจัดการฝึกอบรมหรือกิจกรรมด้านการอนุรักษ์พลังงานให้เหมาะสมกับเจ้าหน้าทีÉ 
ในแต่ละหน่วยงาน
26 
3. ควบคุมดูแลให้วิธีการจัดการพลังงานของท่าอากาศยานสุวรรณภูมิดำเนินไปอย่างมี 
ประสิทธิภาพ 
4. รายงานผลการอนุรักษ์พลังงานและการจัดการพลังงานตามนโยบายอนุรักษ์พลังงาน 
และวิธีการจัดการพลังงาน 
5. ทบทวนนโยบายอนุรักษ์พลังงานและการจัดการพลังงานอย่างสมํÉาเสมอ พร้อมทัÊง 
รวบรวมข้อเสนอแนะเกีÉยวกับนโยบายและ วิธีการจัดการพลังงานในช่วงระยะเวลาทีÉมีการจัดตัÊง 
คณะทำงานฯ ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิได้มีการดำเนินมาตรการลดการปล่อย CO2 อย่างต่อเนืÉอง 
ส่งผลให้เกิดการลดทัÊงค่าใช้จ่ายการใช้พลังงาน อาทิ - การเลือกใช้ NGV แทนนÊำมันดีเซลและ 
นÊำมันเบนซิน - การเลือกใช้เครืÉองมือทีÉต้องใช้นÊำมันให้เหมาะสมกับงานทีÉใช้และใช้อย่างมี 
ประสิทธิภาพ - การลดการเปิดไฟโคมส่องหลังคาอาคารผู้โดยสารลงร้อยละ 50 - การลดการเปิด 
ไฟในส่วนทีÉไม่ได้ใช้ เช่น Concourse A, B, C, D, E และ F เป็นต้น - การปิดเครืÉองปรับอากาศหลัง 
เวลาเลิกงาน ระหว่างเวลา 16.00 - 06.30 น. และปิดทัÊงวันในวันเสาร์และอาทิตย์ของอาคาร 
สำนักงาน ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ 
ในรอบปี 2556 ทอท. มีการใช้พลังงานเชืÊอเพลิงสำหรับยานพาหนะและเครืÉองทุ่นแรง โดย 
มีการใช้พลังงานเชืÊอเพลิงรวมทัÊงสิÊน 40,073.0735 กิกะจูล คิดเป็นพลังงานเชืÊอเพลิงทีÉมีการใช้ลดลง 
เมืÉอเทียบกับปี 2555 ร้อยละ 2.622 (1,078.927 กิกะจูล และจากปี 2554 ร้อยละ 1,837 กิกะจูล) และ 
การใช้ไฟฟ้ารวม 1,781,545.066กิกะจูล (494,873,626.47 กิโลวัตต์ - ชัวÉโมง) คิดเป็นพลังงานไฟฟ้า 
ทีÉมี การใช้เพิÉมขึÊนจากปี 2555 ร้อยละ 9.51 (154,732.80 กิกะจูล) สามารถจำแนกตามชนิดของ 
พลังงานทีÉใช้ตามพืÊนทีÉใช้งาน ดังนีÊ
27 
หมายเหตุ: ยังไม่สามารถรวบรวมข้อมูลได้อย่างครบถ้วน เนืÉองจากการเก็บข้อมูลไม่ตรงกับรอบการรายงาน 
ผลการคำนวณ พบว่า แหล่งปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์หลักของท่าอากาศยานสุวรรณ 
ภูมิเกิดจากการใช้ไฟฟ้าภายในอากาศยาน(Scope 2) ในขณะทีÉแหล่งปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ 
อันดับสองมาจากการใช้เชืÊอเพลิงโดยมากกว่าร้อยละ 90 ของการใช้เชืÊอเพลิงเป็นการใช้สำหรับ 
ยานพาหนะและเครืÉองทุ่นแรงทีÉเคลืÉอนทีÉได้ (Mobile source) ของส่วนงานต่างๆ และมากกว่าร้อย 
ละ 80 ของเชืÊอเพลิงทีÉใช้เป็นนÊำมันดีเซล
28 
ปริมาณการใช้และการปล่อยก๊าซเรือนกระจกปี 2555 ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ 
การจัดการผลกระทบด้านเสียง 
ทอท. มีมาตรการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิÉงแวดล้อมในรายงานการประเมินผลกระทบ 
สิÉงแวดล้อม (EIA) โดยติดตัÊงระบบตรวจวัดเสียงอากาศยานอัตโนมัติแบบต่อเนืÉอง 24 ชัวÉโมงเพืÉอ 
ตรวจวัดค่า L90, Leq 24hrs, Lmax และ Ldn ในพืÊนทีÉท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ สำหรับพืÊนทีÉ 
โดยรอบได้มีการติดตัÊงเครืÉองตรวจวัดเสียงอัตโนมัติแบบต่อเนืÉอง 13 สถานี ได้แก่ 
• สถานี 1 วัดบึงบัว 
• สถานี 2 หมู่บ้านสุทธาธรณ์ 
• สถานี 3 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง 
• สถานี 4 อาคารพาณิชย์ข้างสำนักงาน ทศท.ลาดกระบัง 
• สถานี 5 หมู่บ้านพนาสนธิÍ 3 
• สถานี 6 หมู่บ้านแฮปปีÊเพลส 
• สถานี 7 หมู่บ้านเคหะนคร 2 
• สถานี 8 ซอยกิÉงแก้ว 56/3 
• สถานี 9 วัดบางพลีใหญ่ใน (สาวิตรีอพาร์ทเมนต์) 
• สถานี 10 หมู่บ้านกรีนเลค 
• สถานี 11 บ้านบางโฉลงหมู่ 6 
• สถานี 12 ข้างเกริกวิทยาลัย 
• สถานี 13 โรงเรียนวัดบางโฉลงในและพืÊนทีÉภายในท่าอากาศยานสุวรรณภูมิติดตัÊงเครืÉองตรวจวัด 
เสียงอัตโนมัติแบบต่อเนืÉอง 6 สถานี ได้แก่ 
• สถานี 14 Perimeter - South End Runway 01L/19R (A) 
• สถานี 15 Perimeter - North End Runway 01L/19R (B) 
• สถานี 16 Annex16 - North of Airport Site (C) 
• สถานี 17 Perimeter - North End Runway 01R/19L (D)
29 
• สถานี 18 Perimeter - South End Runway 01R/19L (E) 
• สถานี 19 Annex16 - South of Airport Site (F) 
ทัÊงนีÊ ทอท. กำหนดให้มีการรายงานผลการตรวจวัดให้คณะอนุกรรมการกำกับการติดตาม 
ตรวจสอบและการปฏิบัติตามมาตรการด้านสิÉงแวดล้อมของท่าอากาศยานสุวรรณภูมิทราบทุก 
เดือน และรายงานผลการตรวจวัดให้สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและ 
สิÉงแวดล้อมทราบทุก 6 เดือน เพืÉอติดตามตรวจสอบผลกระทบด้านเสียงจากอากาศยานในชุมชน 
โดยรอบท่าอากาศยาน ติดตามตรวจสอบผลกระทบเสียงจากอากาศยานในพืÊนทีÉท่าอากาศยาน และ 
ตรวจสอบเส้นทางบิน ระดับความสูงประเภทและสายการบินของอากาศยานทีÉถูกร้องเรียนว่ามี 
เสียงดังหรือปล่อยมลพิษ 
ผลการตรวจวัดระดับเสียงรบกวนโดยรอบท่าอากาศยานสุวรรณภูมิทัÊงในและนอกพืนÊทีÉ 
ประจำปี 2556 มีการตรวจวัด ทัÊงหมด 13 สถานี สำหรับสถานีอืนÉๆ ทีÉมิได้มีการวัดเนือÉงจากเป็น 
สถานีทีอÉยู่บริเวณเขตการบิน (Air Side) ตามกฎของ ICAO ซึÉงไม่มี ผลกระทบต่อชุมชน โดย 
สถานีทีÉมีการตรวจวัดทัÊงหมดสามารถแสดงผลการตรวจวัดระดับเสียงรบกวน ดังนี Ê
30 
หมายเหตุ: 1/ มาตรฐานระดับเสียงทัÉวไป ตามประกาศคณะกรรมการสิÉงแวดล้อมแห่งชาติ ฉบับทีÉ 15 (พ.ศ. 2540) 
- ช่องทีÉไม่มีผลการตรวจวัดเสียง เกิดจากระบบเครืÉองตรวจวัดเสียงได้มีปัญหาขัดข้องทางด้านเทคนิค จึงไม่ 
สามารถรวบรวมข้อมูลได้ 
นอกจากนีÊ ทอท. ยังได้กำหนดให้มีการติดตามตรวจสอบคุณภาพเสียงสำหรับท่าอากาศ 
ยานดอนเมืองและท่าอากาศยานภูมิภาค โดยมีผลการตรวจวัดคุณภาพเสียงบริเวณรอบท่าอากาศ 
ยาน ดังนีÊ 
ผลการตรวจวัดระดับเสียงรบกวน 11 สถานีโดยรอบท่าอากาศยานดอนเมือง ปีงบประมาณ 2556 
หมายเหตุ: 1/ มาตรฐานระดับเสียงทัÉวไป ตามประกาศคณะกรรมการสิÉงแวดล้อมแห่งชาติฉบับทีÉ 15 (พ.ศ. 2540) 
- ไม่มีค่ามาตรฐานกำหนดสำหรับระดับความดังของเสียงเฉลีÉยกลางวัน – กลางคืน
31 
ผลการตรวจวัดระดับเสียงรบกวน 6 สถานีโดยรอบท่าอากาศยานเชียงใหม่ ประจำปี 2556 
หมายเหตุ: 1/ มาตรฐานระดับเสียงทัÉวไป ตามประกาศคณะกรรมการสิÉงแวดล้อมแห่งชาติฉบับทีÉ 15 (พ.ศ. 2540) 
2/ มาตรฐานระดับเสียง Ldn ของ US Department of Housing and Urban Development ค่าทีÉยอมรับได้ <65 dBA 
ค่าทีÉพอจะยอมรับได้ 65 - 75 dBA และค่าทีÉยอมรับไม่ได้ >75 dBA 
ผลการตรวจวัดระดับเสียงรบกวน 5 สถานีโดยรอบท่าอากาศยานภูเก็ต ประจำปี 2556 
หมายเหตุ: 1/ ประกาศคณะกรรมการสิÉงแวดล้อมแห่งชาติฉบับทีÉ 15 (พ.ศ. 2540) เรืÉองกำหนดมาตรฐานระดับ 
เสียงโดยทัÉวไป - ไม่มีค่ามาตรฐานกำหนดสำหรับระดับความดังของเสียงเฉลีÉยกลางวัน - กลางคืน 2/ L90 
ค่าเฉลีÉย 24 ชม. (ตํÉาสุด + สูงสุด)
รายงานว ชาการ ทอท.  1_ _1_
รายงานว ชาการ ทอท.  1_ _1_
รายงานว ชาการ ทอท.  1_ _1_
รายงานว ชาการ ทอท.  1_ _1_
รายงานว ชาการ ทอท.  1_ _1_
รายงานว ชาการ ทอท.  1_ _1_
รายงานว ชาการ ทอท.  1_ _1_
รายงานว ชาการ ทอท.  1_ _1_

More Related Content

More from สุชญา สกุลวงศ์ (8)

ร ปเล ม
ร ปเล มร ปเล ม
ร ปเล ม
 
บร ษ ท ลานนาร_ซอร_สเซส จำก_ด
บร ษ ท ลานนาร_ซอร_สเซส จำก_ดบร ษ ท ลานนาร_ซอร_สเซส จำก_ด
บร ษ ท ลานนาร_ซอร_สเซส จำก_ด
 
Ema ส งแวดล_อม
Ema ส  งแวดล_อมEma ส  งแวดล_อม
Ema ส งแวดล_อม
 
บร ษ ท ผาแดงอ_นด_สทร_ จำก_ด (มหาชน)
บร ษ ท ผาแดงอ_นด_สทร_ จำก_ด (มหาชน)บร ษ ท ผาแดงอ_นด_สทร_ จำก_ด (มหาชน)
บร ษ ท ผาแดงอ_นด_สทร_ จำก_ด (มหาชน)
 
31 12-56
31 12-5631 12-56
31 12-56
 
เหมืองแร่
เหมืองแร่เหมืองแร่
เหมืองแร่
 
ข อ 2มาตรการจ ดการส__งแวดล_อมเก__ยวข_อง
ข อ 2มาตรการจ ดการส__งแวดล_อมเก__ยวข_องข อ 2มาตรการจ ดการส__งแวดล_อมเก__ยวข_อง
ข อ 2มาตรการจ ดการส__งแวดล_อมเก__ยวข_อง
 
พ.ร.บ.การส งเสร มและร_กษาค_ณภาพส__งแวดล_อม
พ.ร.บ.การส งเสร มและร_กษาค_ณภาพส__งแวดล_อมพ.ร.บ.การส งเสร มและร_กษาค_ณภาพส__งแวดล_อม
พ.ร.บ.การส งเสร มและร_กษาค_ณภาพส__งแวดล_อม
 

รายงานว ชาการ ทอท. 1_ _1_

  • 1. 1 3. กรณีศึกษา บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน) (ทอท.) 1. ข้อมูลองค์กร แนวคิด การดำเนินงาน ความเป็นมา กิจการของทอท. มีความเป็นมาทีÉยาวนานโดยเมืÉอปี 2454 ได้มีการเลือกพืÊนทีÉดอนเมืองเพืÉอ เป็นสนามบิน และเมืÉอวันทีÉ 8 มีนาคม พ.ศ. 2457 มีเครืÉองบินลงเป็นปฐมฤกษ์ ซึÉงในขณะนัÊน กรมการบินทหารบกเป็นผู้ดูแล สนามบินดอนเมือง ในระยะต่อมาได้มีการปรับปรุงสนามบินดอน เมืองเป็นท่าอากาศยานสากล ใช้ชืÉอว่า "ท่าอากาศยานดอนเมือง" และปี 2498 ได้เปลีÉยนมาใช้ชืÉอ อย่างเป็นทางการว่า "ท่าอากาศยานกรุงเทพ" โดย อยู่ในความดูแลของกองทัพอากาศต่อมารัฐสภา ได้ตราพระราชบัญญัติว่าด้วยการท่าอากาศยานแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2522 กำหนดให้จัดตัÊงการท่า อากาศยานแห่งประเทศไทย หรือทอท. และใช้ชืÉอภาษาอังกฤษว่า การท่าอากาศยานแห่งประเทศ ไทยย่อว่า AAT ให้ทอท. เป็นนิติบุคคลโดยมีวัตถุประสงค์ในการประกอบและ ส่งเสริมกิจการท่าอากาศยาน รวมทัÊงการดำเนินกิจการอืÉนทีÉเกีÉยวกับหรือต่อเนืÉองกับการประกอบ กิจการ ท่าอากาศยานซึÉงพนักงาน ทอท.ได้เข้าปฏิบัติงานตามพระราชบัญญัติ เมืÉอวันทีÉ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2522 จากนัÊน ทอท.ได้รับโอนท่าอากาศยานสากลในส่วนภูมิภาคอีก 4 แห่งจากกรมการบิน พาณิชย์ในขณะนัÊนมาดำเนินการ ตามลำดับ ได้แก่ ท่าอากาศยานเชียงใหม่ (รับโอนเมืÉอวันทีÉ 1 มีนาคม พ.ศ. 2531) ท่าอากาศยานหาดใหญ่ (รับโอนเมืÉอวันทีÉ 26 สิงหาคม พ.ศ. 2531) ท่าอากาศ ยานภูเก็ต (รับโอนเมืÉอวันทีÉ 8 ตุลาคม พ.ศ. 2531) และ ท่าอากาศยานแม่ฟ้าหลวงเชียงราย (รับโอน เมืÉอวันทีÉ 2 ตุลาคม พ.ศ. 2541) และเข้าบริหารท่าอากาศยาน สุวรรณภูมิซึÉงต่อมาเปิดให้บริการเมืÉอ วันทีÉ 28 กันยายน พ.ศ. 2549 ทอท.ได้สร้างสรรค์และพัฒนาการดำเนินงานมาอย่างต่อเนืÉอง และ แปลงสภาพเป็น บริษัท มหาชนจำกัด
  • 2. 2 เมืÉอปี 2545 โดยใช้ชืÉอ บริษัท ท่าอากาศยานไทยจำกัด (มหาชน) และยังคงเรียกชืÉอย่อว่า ทอท. เช่นเดิม ส่วนภาษาอังกฤษให้ใช้ว่า บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด เรียกโดยย่อว่าทอท ทอท.ได้คำนึงถึงการมุ่งสร้างองค์กรสู่ความเป็นเลิศ โดยมุ่งมันÉยกระดับการพัฒนาคุณภาพบริการ การพัฒนาสมรรถนะบุคลากรการปรับปรุงระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ ให้มีความพร้อมรองรับ การเปลีÉยนแปลง ทีÉก้าวไปอย่างไม่หยุดนิÉง รวมทัÊงได้ให้ความสำคัญในเรืÉองความรับผิดชอบต่อ สังคมและสิÉงแวดล้อมตามมาตรฐาน สากลอันจะเป็นแนวทางทีÉนำไปสู่การพัฒนาอย่างยังÉยืนเพืÉอ สร้างความมันÉใจและความพึงพอใจให้กับผู้ใช้บริการท่าอากาศยานภายใต้คำขวัญ "ปลอดภัยคือ มาตรฐานบริการคือหัวใจ" วิสัยทัศน์ บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน) (ทอท.) คือ ผู้นำธุรกิจท่าอากาศยานในภูมิภาค เอเชีย พันธกิจ ดำเนินธุรกิจท่าอากาศยานด้วยมาตรฐานเหนือระดับ ให้บริการด้วยใจรักพร้อมเทคโนโลยี ทีÉทันสมัยและสำนึกในความรับผิดชอบต่อสังคมและชุมชน ค่านิยม • ความปลอดภัยและการรักษาความปลอดภัย : ความปลอดภัยและการรักษาความ ปลอดภัยเป็นหัวใจการปฏิบัติงาน • จิตสำนึกในการให้บริการ : การให้บริการด้วยความเข้าใจความหมายของการให้บริการ • การร่วมกันทำงาน : ความสามัคคี ทำงานเป็นทีม ให้ความสำคัญกับเป้าหมายขององค์กร มากกว่าเป้าหมายส่วนตัว • การเรียนรู้อย่างต่อเนืÉอง : การศึกษาเรียนรู้การเปลีÉยนแปลงในเรืÉองต่างๆทีÉเกีÉยวข้องกับ ธุรกิจของ ทอท. และคู่เทียบ เพืÉอให้สามารถทีÉจะแข่งขันกับคู่เทียบได้และมีความตัÊงใจทีÉจะศึกษา พัฒนาตนเองให้มีความรู้ความสามารถในการปฏิบัติงานในหน้าทีÉให้ดียิงÉขึÊนไป • ความโปร่งใสและสำนึกในความรับผิดชอบ : การปฏิบัติงานด้วยความโปร่งใส ตรวจสอบได้และสำนึกในความรับผิดชอบต่อผู้ถือหุ้น ต่อคู่ค้า ต่อสังคมและประเทศชาติ
  • 3. 3 ภาพรวมธุรกิจ บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน) หรือ ทอท. ขอจดทะเบียนจัดตัÊงกับกระทรวง พาณิชย์ เมืÉอวันทีÉ 30 กันยายน พ.ศ. 2545 โดยการแปลงสภาพทัÊงองค์กร รับโอนกิจการ สิทธิ หนีÊ ความรับผิด สินทรัพย์ และพนักงานทัÊงหมด จากการท่าอากาศยาน แห่งประเทศไทย ภายใต้ พระราชบัญญัติทุนรัฐวิสาหกิจ พ.ศ. 2542 มีทะเบียนเลขทีÉ บมจ. 0107545000292 ทุนจดทะเบียน เริÉมต้น 14,285 ล้านบาท จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และซืÊอขายครัÊงแรก เมืÉอ 11 มีนาคม พ.ศ. 2547 มีกระทรวงการคลังเป็น ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ คงสภาพเป็นรัฐวิสาหกิจในกำ กับ ดูแลของกระทรวงคมนาคม ปัจจุบันผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของ ทอท. ได้แก่ กระทรวงการคลังถือหุ้น ร้อยละ 70 ส่วนทีÉเหลือเป็นการถือหุ้นโดยสถาบันและนักลงทุนทัวÉไป สำนักงานใหญ่ตัÊงอยู่ เลขทีÉ 333 ถนนเชิดวุฒากาศ แขวงสีกัน เขตดอนเมือง กรุงเทพฯ 10210 หมายเลขโทรศัพท์ 0 2535 1111 โทรสาร 0 2535 4061 หรือ 0 2504 3846เว็บไซต์ www.airportthai.co.th ในปี 2556 ทอท. มี พนักงานทัÊงสิÊน 5,303 คน พนักงานชาย 3,418 คน พนักงานหญิง 1,885 คน ปฏิบัติงานอยู่ ณ ท่า อากาศยานในความรับผิดชอบของ ทอท. ทัÊง 6 แห่งทัวÉประเทศ ได้แก่ ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ (ทสภ.) ท่าอากาศยานดอนเมือง (ทดม.) ท่าอากาศยานเชียงใหม่ (ทชม.) ท่าอากาศยานหาดใหญ่ (ทหญ.) ท่าอากาศยานภูเก็ต (ทภก.) ท่าอากาศยานแม่ฟ้าหลวง เชียงราย (ทชร.)(ข้อมูล ณ วันทีÉ 30 กันยายน พ.ศ. 2556)ทอท. ประกอบธุรกิจท่าอากาศยานของประเทศไทย รวมทัÊงกิจการอืÉนทีÉ เกีÉยวกับหรือต่อเนืÉองกับการประกอบกิจการท่าอากาศยานโดยธุรกิจหลักประกอบด้วย การจัดการ การดำเนินงาน และการพัฒนาท่าอากาศยาน มุ่งเน้นตลาดการให้บริการไปทีÉผู้ให้บริการสายการ บินพาณิชย์ทัÊงเทีÉยวบินภายในประเทศและระหว่างประเทศ ผู้โดยสารและผู้ใช้บริการท่าอากาศยาน ทัÊงนีÊ ทอท. ยังมีความมุ่งมันÉทีÉจะเป็นศูนย์กลางการบิน การท่องเทีÉยว และการขนส่งสินค้าทาง อากาศชัÊนนำของเอเชียและของโลก โดยพัฒนาอาคารสถานทีÉและ สิÉงอำนวยความสะดวกอย่าง ต่อเนืÉองให้รองรับปริมาณการจราจรทางอากาศ และผู้โดยสารทีÉเพิÉมขึÊนอย่างต่อเนืÉอง ตลอดจน ปฏิบัติงาน ร่วมกับหน่วยงานต่างๆ ทัÊงภาครัฐและเอกชนทีÉเกีÉยวข้องกับกิจการท่าอากาศยานอย่าง ใกล้ชิด เพืÉอให้สามารถพัฒนาการให้บริการและแก้ไขปัญหาข้อขัดข้องได้อย่างรวดเร็วทันท่วงที6 ท่าอากาศยานท่าอากาศยานทัÊง 6 แห่งนีÊ ให้บริการเทีÉยวบินทัÊงในประเทศและระหว่างประเทศ โดย มีท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ เป็นท่าอากาศยานหลักของประเทศ เปิดให้บริการเมืÉอวันทีÉ 28 กันยายน พ.ศ. 2549 เพืÉอรองรับปริมาณผู้โดยสารทีÉเพิÉมขึÊนอย่างต่อเนืÉอง โดยมีความสามารถในการรองรับ ผู้โดยสาร 45 ล้านคนต่อปี สามารถรองรับการขนถ่ายสินค้าได้ 3 ล้านตันต่อปี และสามารถรองรับ เทีÉยวบินได้ 76 เทีÉยวบินต่อชัÉวโมง ทอท. จึงมีส่วนช่วยผลักดันและดำเนินงานตามนโยบาย
  • 4. 4 เศรษฐกิจของประเทศด้านโครงสร้างพืÊนฐานในการบริหารจัดการระบบขนส่งสินค้าและบริการ มุ่งพัฒนาท่าอากาศยานสากล ท่าอากาศยานภูมิภาคและอุตสาหกรรมการบินของประเทศไทย ลักษณะการประกอบธุรกิจ ทอท.ประกอบธุรกิจท่าอากาศยานของประเทศไทยโดยธุรกิจหลักประกอบด้วย การ จัดการ การดำเนินงานและการพัฒนาท่าอากาศยาน โดยมีท่าอากาศยานทีÉอยู่ในความรับผิดชอบ 6 แห่ง ประกอบด้วย ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ท่าอากาศยานดอนเมือง ท่าอากาศยานเชียงใหม่ ท่า อากาศยานหาดใหญ่ ท่าอากาศยานภูเก็ตและท่าอากาศยานแม่ฟ้าหลวง เชียงราย ซึÉงท่าอากาศยาน ทัÊง 6 แห่งนีÊ ให้บริการเทีÉยวบินภายในประเทศและระหว่างประเทศ โดยมีท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ เป็นท่าอากาศยานหลักของประเทศ ซึÉงได้เปิดให้บริการเมืÉอวันทีÉ28 กันยายน พ.ศ.2549 เพืÉอรองรับ ปริมาณผู้โดยสารทีÉเพิÉมขึÊนอย่างต่อเนืÉอง โดยมีความสามารถในการรองรับผู้โดยสาร 45 ล้านคนต่อ ปี สามารถรองรับการขนถ่ายสินค้าได้ 3 ล้านตันต่อปี และสามารถรองรับเทีÉยวบินได้76 เทีÉยวบิน ต่อชัวÉโมงรายได้จากการดำเนินงานของ ทอท.ประกอบด้วยรายได้จาก 2 ส่วนทีÉสำคัญ คือ รายได้ จากกิจการการบินและรายได้ทีÉไม่เกีÉยวกับกิจการการบิน โดยรายได้จากกิจการการบินเป็นรายได้ทีÉ เกีÉยวข้องกับการจราจรทางอากาศโดยตรง เช่น รายได้ค่าธรรมเนียมสนามบิน รายได้ค่าธรรมเนียม การใช้สนามบิน และรายได้ค่าเครืÉองอำนวยความสะดวก ส่วนรายได้ทีÉไม่เกีÉยวกับกิจการการบิน เป็นรายได้ทีÉไม่เกีÉยวข้องกับการจราจรทางอากาศโดยตรง เช่น รายได้ค่าเช่าสำนักงานแล อสังหาริมทรัพย์ รายได้เกีÉยวกับบริการ และรายได้ส่วนแบ่งผลประโยชน์ นอกจากนีÊ ทอท.ยังถือ หุ้นใน 9 บริษัท ซึÉงเป็นผู้ให้บริการ และจำหน่ายสินค้าทีÉเกีÉยวข้องกับกิจการท่าอากาศยานของ ทอท.ได้แก่ บริษัท โรงแรมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ จำกัด บริษัท แอร์พอร์ต ดิวตีÊฟรี จำกัด บริษัท ไทยเชืÊอเพลิงการบิน จำกัด บริษัท ครัวการบินภูเก็ต จำกัด บริษัท แอร์พอร์ท แอสโซซิเอท จำกัด บริษัท ดอนเมือง อินเตอร์เนชันÉแนล แอร์พอร์ต โฮเต็ล จำกัด บริษัท บริการเชืÊอเพลิงการบิน กรุงเทพ จำกัด (มหาชน) บริษัท ไทย แอร์พอร์ต กราวด์ เซอร์วิสเซส จำกัด และบริษัท เทรดสยาม จำกัด รายได้จากการดำเนินงาน รายได้จากการดำเนินงานของ ทอท. ประกอบด้วย 2 ส่วนทีÉสำคัญ คือ  รายได้ทีÉเกีÉยวกับกิจการการบิน (Aeronautical Revenues)เป็นรายได้ทีÉเกีÉยวข้องกับ การจราจรทางอากาศโดยตรง เช่น รายได้ค่าธรรมเนียมสนามบิน (Landing and
  • 5. 5 Parking charges) รายได้ค่าธรรมเนียมการใช้สนามบิน (Passenger Service charges) และรายได้ค่าสิÉงอำนวยความสะดวก เป็นต้น  รายได้ทีÉไม่เกีÉยวกับกิจการการบิน (Non - Aeronautical Revenues) เป็นรายได้ทีÉ ไม่เกีÉยวข้องกับการจราจรทางอากาศ โดยตรง เช่น ค่าเช่าสำนักงาน พืÊนทีÉและ อสังหาริมทรัพย์ รายได้เกีÉยวกับบริการ และรายได้ส่วนแบ่งผลประโยชน์ เป็นต้น นอกจากนีÊ ทอท.ได้เข้าร่วมลงทุนในบริษัททีÉประกอบธุรกิจเกีÉยวกับกิจการท่า อากาศยานและธุรกิจอืÉนทีÉเกีÉยวข้องหรือต่อเนืÉองกับกิจการของ ทอท. รวมทัÊงสิÊน 9 บริษัท โดย ทอท. เข้าทำสัญญาต่างๆ กับบริษัทดังกล่าว เพืÉอประกอบกิจการ ภายใน ท่าอากาศยาน เช่น กิจการร้านค้าปลอดอากร บริการคลังสินค้า โรงแรม บริการเติมนÊำมันเชืÊอเพลิงอากาศยาน หลักการดำเนินธุรกิจ เป้าหมายความสำเร็จ ทอท. มีความมุ่งมันÉในการเป็นผู้นำ ธุรกิจท่าอากาศยาน ในภูมิภาคเอเชีย (Asia’s Leading Airport Business) โดยดำเนินธุรกิจท่าอากาศยานด้วยมาตรฐานเหนือระดับ ให้บริการด้วยใจรัก พร้อมเทคโนโลยีทีÉทันสมัย สร้างมูลค่าเพิÉม และสำนึกรับผิดชอบต่อสังคมและชุมชน ภายใต้ สโลแกนทีÉว่า “ปลอดภัยคือมาตรฐาน บริการคือหัวใจ” ทอท. ปลูกฝังพนักงานให้ตระหนักถึง ความสำ คัญด้านความปลอดภัยและการรักษาความปลอดภัย ซึÉงถือเป็นมาตรฐานสำคัญของการ ปฏิบัติงาน ส่งเสริมจิตสำนึกในการให้บริการเพราะถือว่าเป็นหัวใจในการร่วมกันทำงาน ความ สามัคคี ทำงานเป็นทีม รวมทัÊงการเรียนรู้และพัฒนาตนเองอย่างต่อเนืÉอง นอกจากนีÊ ทอท. ยังคง ดำเนินงานภายใต้จรรยาบรรณทีÉคำนึงถึงความโปร่งใสและสำนึกในความรับผิดชอบต่อสังคม คู่ค้า ผู้ถือหุ้น และผู้มี ส่วนได้เสียในทุกกลุ่มวัตถุประสงค์และแนวทางการดำเนินงาน เชิงกลยุทธ์ ทอท. ได้กำหนดจุดเน้นเชิงกลยุทธ์ (Strategic Themes) สำคัญ เพืÉอให้บรรลุเป้าหมายความสำเร็จของ องค์กร 3 ประการ ได้แก่ เพิÉมคุณค่าให้แก่ลูกค้าและลูกค้าต้องมาก่อน (Customer First) ทอท. ให้ ความสำคัญกับลูกค้าเป็นอันดับแรก เพืÉอให้สามารถสร้างคุณภาพการบริการทีÉเหนือกว่าความ คาดหมายและสนองต่อความต้องการของลูกค้าทุกกลุ่ม รวมถึงผู้โดยสารและสายการบิน ทัÊงนีÊ จะ
  • 6. 6 ให้ความสำคัญกับหน่วยงานทีÉเกีÉยวข้อง เพืÉอให้การส่งมอบบริการเป็นไปตามเป้าหมายทีÉวางไว้ การ สร้างมูลค่าเพิÉมแก่องค์กร (Strive for Economic Profit) ทอท. มีการเพิÉมประสิทธิภาพในการ ดำเนินงาน การใช้ประโยชน์ทรัพย์สิน ควบคู่ไปกับการหาโอกาสและทางเลือก ในการดำ เนิน ธุรกิจใหม่ๆ เพืÉอให้คุ้มค่ากับต้นทนเงินทุนและ นำไปสู่การสร้างมูลค่าเพิÉมในอนาคต พัฒนาความ รับผิดชอบต่อสังคมและสิÉงแวดล้อมและการกำกับดูแลกิจการทีÉดี (Corporate Social Responsibility and Good Corporate Governance) เพืÉอให้เกิดการพัฒนาทีÉยังÉยืน ทอท. ให้ความสำคัญกับการสร้าง ความเชืÉอมันÉในมุมของนักลงทุนและสังคม โดยมุ่งเน้นการปฏิบัติตามหลักเกณฑ์และข้อกำหนด ของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และรักษามาตรฐานการดำเนินงานภายใต้หลักการกำกับ ดูแลกิจการทีÉดี เพืÉอนำองค์กร ไปสู่การเป็นบรรษัทภิบาล ตลอดจนเสริมสร้างความรับผิดชอบ ต่อ สังคมชุมชนและสิÉงแวดล้อม โดยการดำเนินกิจกรรมทีÉสร้าง การมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน เพืÉอ นำไปสู่การยอมรับและความร่วมมือในด้านต่างๆ อันจะนำไปสู่การเติบโตทีÉยังÉยืนขององค์กร ต่อไป 2. การเปรียบเทียบการจัดการทางด้านสิÉงแวดล้อมของท่าอากาศยานไทยกับท่าอากาศ- ยานนานาชาติ การปฏิบัติการของ Frankfurt Airport การดำเนินการของบริษัท การจัดการมลพิษทางอากาศ 1.มลพิษทางอากาศมีการวัดอย่างต่อเนืÉอง มีการ จัดตัÊงสถานีขึÊนเพืÉอใช้ในการตรวจสอบสาร ปนเปืÊอนในการปล่อยมลพิษและเผยแพร่ข้อมูล รายละเอียดเกีÉยวกับคุณภาพอากาศในรายงาน ประจำปีเกีÉยวกับสุขอนามัยอากาศ 2.มีมาตรการในการลดการปล่อยก๊าซ ดำเนินการทีÉสถานทีÉก่อสร้าง 3.การเพิÉมประสิทธิภาพของกระบวนการจัดการ เช่น การใช้ หน่วยพลังงานพืÊนดิน 400 เฮิรตซ์ 1.ทำการตรวจวัดคุณภาพอากาศในบรรยากาศ รอบท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ เป็นไปตามวิธีทีÉ กำหนดไว้ในประกาศคณะกรรมสิÉงแวดล้อม แห่งชาติฉบับทีÉ 10 (พ.ศ. 2538) และฉบับทีÉ 24 (พ.ศ. 2547) หรือวิธีอืÉนทีÉกรมควบคุมมลพิษ เห็นชอบปีละ 2 ครัÊง(ฤดูฝนและฤดูหนาว) เป็น เวลา 3 วันต่อเนืÉองและทำการตรวจวัดทุกสถานี พร้อมกัน 2.นำผลทีÉได้มาเปรียบเทียบกับค่ามาตรฐาน คุณภาพอากาศในบรรยากาศของประเทศไทย
  • 7. 7 การจัดการมลภาวะ เสียงเครืÉองบิน จาก เครืÉองบิน 1.มีสถานีทีÉติดตัÊงเครืÉองตรวจวัดเสียง 2.มีการแจ้งถึงระดับอัตราเสียงในปัจจุบันขิง ทางบริษัทให้ประชาชาชนรับทราบ 3.มาตรการในการลดเสียงรบกวนทีÉใช้งานจะ พุ่งตรงไปทีÉการหลีกเลีÉยงหรือลดเสียงได้โดย ตรงทีÉแหล่งทีÉมา 4.ระบบการทำงานขึÊนเครืÉองยนต์ใหม่ลดการ ปล่อยเสียงรบกวน 5.มีมาตรการให้แรงจูงใจสำหรับ บริษัท สาย การบิน ทีÉไม่ทำให้เกิดมลภาวะทางเสียง 6.มีมาตรการในการใช้โปรแกรมการลดเสียง รบกวน สำหรับการป้องกันเสียงรบกวนอากาศ ยาน 7.สนับสนุนการศึกษาเกีÉยวกับผลกระทบของ เสียงโดยเวทีสนามบินภูมิภาค การศึกษาทีÉ ครอบคลุมเกีÉยวกับผลกระทบของ8.เสียงโดย การวิจัยและสถาบันการศึกษาทีÉมีความ เชีÉยวชาญในการแพทย์จิตวิทยาสังคมศาสตร์ และเปรียบเทียบกับผลการตรวจวัดในอดีตทีÉ ผ่านมา เพืÉอศึกษาแนวโน้มการเปลีÉยนแปลงของ ผลกระทบด้านสิÉงแวดล้อม 1.สนับสนุนการป้องกันเสียงแก่สถานทีÉซึÉง ต้องการความเงียบเป็นพิเศษ เช่น สถาบันการศึกษา ศาสนสถาน สถานพยาบาล และสถานทีÉราชการ เป็นต้น 2.เพิÉมการใช้ทางวิÉงทีÉมีผลกระทบน้อยทีÉสุด 3.จำกัดการใช้เครืÉองบินเสียงดังโดยเก็บ ค่าธรรมเนียมหรืออืÉนๆ 4.กำหนดให้สายการบินทีÉใช้ท่าอากาศยาน ปฏิบัติวิธีการบินขึÊน – ลงทีÉก่อให้เกิดเสียง รบกวนตํÉาทีÉสุด 5.กำหนดให้นักบินปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ในการ บินและร่อนเครืÉองลงตามทีÉ ICAO กำหนดไว้ อย่างเคร่งครัด 6.ประชาสัมพันธ์ข้อมูลการดำเนินงานของท่า อากาศยานและรับฟังคำร้องเรียน และแนะนำ จากหน่วยงานทีÉเกีÉยวข้อง 7.ทอท. กำหนดให้มีการรายงานผลการตรวจวัด ให้คณะอนุกรรมการกำ กับการติดตาม ตรวจสอบและการปฏิบัติตามมาตรการด้าน สิÉงแวดล้อมของท่าอากาศยานสุวรรณภูมิทราบ ทุกเดือน และรายงานผลการตรวจวัดให้ สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติ และสิÉงแวดล้อมทราบทุก 6 เดือน เพืÉอติดตาม ตรวจสอบผลกระทบด้านเสียงจากอากาศยานใน ชุมชนโดยรอบท่าอากาศยาน
  • 8. 8 การบำบัดนํÊาเสีย 1.มีทำงานสองระบบระบายนÊำทีÉแยกต่างหาก สำหรับนÊำเสียและนÊำฝน 2.การปรับสภาพนÊำเสีย ก่อนทีÉนÊำจะถูกปล่อย ออกมา 3.คุณภาพและปริมาณของนÊำเสียจะตรวจสอบ อย่างเป็นระบบ การจัดการผลกระทบต่อความหลากหลายทาง ชีวภาพ 1.โครงการบรรเทาสาธารณภัยมีการดำเนินการ อย่างรวดเร็ว 2.พันธุ์พืชและสัตว์ทีÉถูกย้ายไปอยู่กับแหล่งทีÉอยู่ อาศัยทีÉเหมาะสมสำหรับการขยายพันธุ์ 8.ติดตามตรวจสอบผลกระทบเสียงจากอากาศ ยานในพืÊนทีÉท่าอากาศยาน และตรวจสอบ เส้นทางบิน ระดับความสูงประเภทและสายการ บินของอากาศยานทีÉถูกร้องเรียนว่ามีเสียงดัง หรือปล่อยมลพิษ 1.มีการบริหารจัดการนÊำเสียโดยใช้ระบบ BNR (Biological Nutrient Remove) ในรูปแบบ ตะกอนเร่งดัดแปลง (Modified Activated Sludge) ประสิทธิภาพของระบบนีÊคือนอกจาก จะกำจัดความสกปรกของนÊำเสียในรูปแบบ BOD แล้วยังสามารถกำจัดความสกปรกของนÊำ เสียในรูปแบบไนโตรเจนและฟอสฟอรัส 2.มีการนำนÊำทีÉได้รับการบำบัดและนำไปใช้ หมุนเวียนซÊำ คิดเป็นร้อยละ 10.97 ของปริมาณ การใช้นÊำทัÊงหมด เพืÉอสร้างมูลค่าทาง เศรษฐศาสตร์และสิÉงแวดล้อมตามหลักการ Zero Discharge คือ ไม่มีการปล่อยมลภาวะออก สู่ สิÉงแวดล้อม/ชุมชน (การปล่อยมลภาวะออกสู่ สิÉงแวดล้อม/ชุมชนเป็นศูนย์) โดยนำนÊำเสียทีÉ ผ่านการบำบัดแล้วไปใช้ประโยชน์ต่อไป 1.ในบริเวณท่าอากาศยานภูเก็ต ตัÊงอยู่ในพืÊนทีÉ บริเวณทีÉ 8 ตามประกาศกระทรวง ซึÉงกำหนดให้ บริเวณดังกล่าวมีได้เฉพาะอาคารทีÉมีความสูงไม่ เกิน 23 เมตร และต้องมีทีÉว่างปราศจากสิÉงปก คลุมไม่น้อยกว่าร้อยละ 30 ของพืÊนดินทีÉขอ
  • 9. 9 การจัดการของเสีย 1.แนวทางหลักการของการจัดการของเสีย การ รีไซเคิลของเสียทีÉหลีกเลีÉยงไม่ได้มากทีÉสุดเท่าทีÉ แยกขยะรวมทัÊงกระดาษแก้วเสียจากบรรจุภัณฑ์ เพืÉอช่วยในการรีไซเคิล 2.ของเสียแยกจากกันเพืÉอนำไปรีไซเคิลเท่าทีÉจะ ทำได้ อย่างมืออาชีพในทีÉเหมาะสมในโรงงาน เผาหรือจำหน่ายโดยวิธีทางเคมีและทางกายภาพ ในโรงบำบัด 3.มีการรับประกันในเทคโนโลยีการกำจัดของ เสียโดยทีมงานมืออาชีพ การจัดการสภาพภูมิอากาศ 1.บริษัทปรับใช้โครงการป้องกันสภาพ ภูมิอากาศทัÊงบริษัท 2.เครืÉองบินของบริษัทใช้มอเตอร์ไฟฟ้าแทน นÊำมันดีเซลช่วยลดการปล่อยคาร์บอน 20% 3.ได้นำซอฟต์แวร์ใหม่มาใช้ในกระบวนการ การจัดการโดยควบคุมการจราจรทำให้มี ประสิทธิภาพ มากขึÊนทัÊงนีÊช่วยลดเชืÊอเพลิงโดย ไม่จำเป็นและลดการปล่อยของมลพิษในอากาศ 4.สนามบินมีการดำเนินงานทีÉมีมาตรฐาน 5.มีนวัตกรรมเทคโนโลยีทีÉช่วยในการประหยัด พลังงาน 6.บริษัทมีส่วนร่วมในการผลักดันให้เป็น อนุญาตก่อสร้างอาคารนัÊน ซึÉงท่าอากาศยาน ภูเก็ตไม่มีการก่อสร้างอาคารสูงเกินกว่า 23 เมตร และมีพืÊนทีÉว่างไม่น้อยกว่าร้อยละ 30 เมตร ดังนัÊน จึงไม่ขัดกับกฎกระทรวง 1.มีการบริหารจัดการเป็นแบบ Zero Discharge ซึÉงเป็นการบริหารจัดการขยะทีÉไม่มีขยะรัÉวไหล หรือถูกนำออกไปรวมกับขยะชุมชนภายนอก โดยเด็ดขาดเพืÉอป้องกันการก่อปัญหาขยะให้แก่ ชุมชน โดยขยะภายในท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ จะถูกจัดเก็บและคัดแยกภายในสถานีขนถ่าย ขยะ ณ ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิเท่านัÊน สำหรับ ขยะทีÉเหลือจากการคัดแยกจะถูกนำไปกำจัด ณ สถานทีÉรับกำจัดทีÉได้รับรองตามมาตรฐาน ISO 14001 ในระบบต่อวัน 1.มีการวางแผนแม่บทท่าอากาศยานทีÉเป็นมิตร ต่อสิÉงแวดล้อม (Green Airport Master Plan)มี ระยะเวลาดำเนินการเริÉมต้นตัÊงแต่ปี 2556 - 2560 และมีเป้าหมายลดการใช้พลังงานและลด ปริมาณคาร์บอนให้ได้ร้อยละ 18 ภายในปี 2563 2.ก้าวไปสู่การเป็น Carbon Neutral Airport แบ่ง ขัÊนตอนการดำเนินงานออกเป็น4 ระดับ ได้แก่ 3.การเทียบค่า (Mapping) ด้วยการจัดทำ Carbon Footprint 4.การลดลง (Reduction) โดยบริหารจัดการให้มี การปล่อยก๊าซ CO2 ลดลง(Carbon Reduction) 5.ประสิทธิผลสูงสุด (Optimization) ซึÉงเกิดจาก
  • 10. 10 สนามบินทีÉลดการใช้คาร์บอน 7.บริษัทมีส่วนร่วมในโครงการการเปิดเผย ข้อมูลคาร์บอน การจัดการสารปนเปืÊอนในนํÊาผิวดิน 1.บริษัทมีการปรับใช้เทคโนโลยีนวัตกรรมใหม่ สำหรับเครืÉองบิน 2.พืÊนทีÉปนเปืÊอนมลพิษในดินจะมีการทำความ สะอาดตรวจสอบนÊำใต้ดินร่วมมืออย่างใกล้ชิด กับหน่วยงานกำกับดูแลทีÉมีความรับผิดชอบ 3.ระบบระบายนÊำและวิÉงออกจากพืÊนผิวทีÉได้รับ การทดสอบอย่างต่อเนืÉองสำหรับการรัÉวไหล 4.คุณภาพและระดับของนÊำบาดาลจะถูก พิจารณาตามมาตราวัดของสถานีตรวจสอบ 5.แผนเตือนภัยทางนÊำทำให้เกิดการตอบสนอง อย่างรวดเร็วในกรณีฉุกเฉิน การจัดการด้านพลังงาน 1.จะมีการประหยัดพลังงานในอุปกรณ์และ อาคาร รวมถึงในอาคารทีÉสร้างใหม่ 2.มีการเตรียมพาหนะกับมอเตอร์ไฟฟ้าเพืÉอ สำรองไว้ การมีส่วนร่วมจากองค์กรภายนอกในการร่วม จัดทำ ฉลากคาร์บอนและลดการปล่อยก๊าซ CO2 6.การชดเชย (Neutrality) โดยการชดเชยปริมาณ ก๊าซ CO2 ทีÉเกิดจากการปลดปล่อยโดยตรง 1.ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิยังได้มีการวิเคราะห์ คุณภาพนÊำผิวดินทีÉคลอง 2 แห่ง คือ คลองหนอง งูเห่า และคลองลาดกระบัง รวมจำนวน 4 สถานี เนืÉองจากนÊำฝนอาจเกิดการเจือปนได้จากการ รัÉวไหลของนÊำมันเชืÊอเพลิงอากาศยานและ สิÉงเจือปนต่างๆ ในระหว่างการปฏิบัติงาน 2.มีการบำรุงรักษายานพาหนะให้บริการ ภาคพืÊนดิน รวมทัÊงการเก็บรักษาและกิจการใน การจัดการนÊำมันเชืÊอเพลิง ซึÉงนÊำฝนทีÉถูกเจือปน สามารถส่งผลกระทบสำคัญต่อสิÉงแวดล้อมโดย การสร้างมลพิษให้แก่ แหล่งนÊำปลายทาง 1.ปฏิบัติตามพระราชบัญญัติการส่งเสริมการ อนุรักษ์พลังงาน 2.จัดให้มีผู้รับผิดชอบด้านพลังงานประจำอาคาร ค ว บ คุม แ ต่ละ แ ห่ง ทีÉมีคุณ สม บัติต า ม ทีÉ กฎกระทรวงกำหนด 3.จัดให้มีการจัดการพลังงานโดยการควบคุม 8 ขัÊนตอน คือ การจัดตัÊงคณะทำงานด้านการจัด การพลังงาน การประเมินสถานภาพการจัด การพลังงานเบืÊองต้นการกำหนดนโยบาย อนุรักษ์พลังงาน การประเมินศักยภาพ การ
  • 11. 11 สินค้าอันตรายและวัตถุอันตราย 1.มีการลดความเสีÉยงของสินค้าทีÉเป็นอันตราย โดยการจัดเก็บข้อมูลและเอกสารทีÉปลอดภัย ใน สถานทีÉจัดเก็บคลังสินค้าอันตรายสินค้าทีÉได้ ดำเนินการไว้ 2.มีการจัดเก็บสินค้าอันตราย รวมถึงสารกัมมันตรังสีให้สอดคล้องกับ พระราชบัญญัติการควบคุม 3. มีการตรวจสอบคุณสมบัติทางกายภาพและ เอกสารทีÉแต่ละทีÉฝากขายสินค้าทีÉเป็นอันตราย จากนัÊนมีการส่งต่อข้อมูลทีÉเป็นอันตรายไปยัง สนามบินทีÉได้รับสินค้าเหล่านัÊน และมีความ สะดวกในการจัดเก็บข้อมูลกลางสำหรับวัสดุ กัมมันตรังสี รวมถึงมีการจัดทำข้อควรระวัง สำหรับในกรณีฉุกเฉินรวมถึงมีการวางแผนและ การฝึกอบรม 4.แผนฉุกเฉินถูกตัÊงขึÊนบนพืÊนฐานของการใช้ งานจริงและมีการทดสอบการดำเนินงานเป็น ประจำ โดยจะมีการฝึกอบรมในหมู่พนักงาน อนุรักษ์พลังงาน การกำหนดเป้าหมายและแผน อนุรักษ์พลังงานการดำเนินการตามแผนอนุรักษ์ พลังงาน การตรวจสอบและวิเคราะห์การปฏิบัติ ตามเป้าหมายและแผนอนุรักษ์พลังงาน การ ตรวจติดตามและประเมินการจัดการพลังงาน การทบทวน วิเคราะห์ และแก้ไขข้อบกพร่อง ของการจัดการพลังงาน 1.การกำหนดมาตรการการรักษาความปลอดภัย 2.การควบคุมคุณภาพด้านการรักษาความ ปลอดภัย 3. การพัฒนาบุคลากรด้านการรักษาความ ปลอดภัย 4.ตรวจความปลอดภัยและตรวจวัด สภาพแวดล้อมในการทำงาน 5.ฝึกอบรมด้านความปลอดภัยและรณรงค์ ส่งเสริมความปลอดภัย
  • 12. 12 การจัดการสิÉงแวดล้อมด้านต่างๆของท่าอากาศยานไทยเปรียบเทียบกับมาตรฐาน การบริหารจัดการความหลากหลายทางชีวภาพ ท่าอากาศยานภูเก็ตเป็น 1 ใน 6 ท่าอากาศยานในความรับผิดชอบของ ทอท. ทีÉให้ ความสำคัญกับการจัดการความหลากหลายทางชีวภาพ เนืÉองจากจังหวัดภูเก็ตได้ถูกประกาศเป็น พืÊนทีÉคุ้มครองสิÉงแวดล้อมตามประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิÉงแวดล้อมเรืÉองกำหนด เขตพืÊนทีÉและมาตรการคุ้มครองสิÉงแวดล้อมในบริเวณพืÊนทีÉจังหวัดภูเก็ต พ.ศ. 2553 โดยในบริเวณ ท่าอากาศยานภูเก็ต ตัÊงอยู่ในพืÊนทีÉบริเวณทีÉ 8 ตามประกาศกระทรวง ซึÉงกำหนดให้บริเวณดังกล่าวมี ได้เฉพาะอาคารทีÉมีความสูงไม่เกิน 23 เมตร และต้องมีทีÉว่างปราศจากสิÉงปกคลุมไม่น้อยกว่าร้อยละ 30 ของพืÊนดินทีÉขออนุญาตก่อสร้างอาคารนัÊน ซึÉงท่าอากาศยานภูเก็ตไม่มีการก่อสร้างอาคารสูงเกิน กว่า 23 เมตร และมีพืÊนทีÉว่างไม่น้อยกว่าร้อยละ 30 เมตร ดังนัÊน จึงไม่ขัดกับกฎกระทรวงดังกล่าว และท่าอากาศยานภูเก็ตไม่มีมาตรการทำการก่อสร้างรุกเขตอุทยานแห่งชาติ อีกทัÊง ท่าอากาศยาน ภูเก็ตมีการระบายนÊำฝนจากในพืÊนทีÉท่าอากาศยานและมีการระบายนÊำทีÉผ่านการบำบัดตาม มาตรฐานคุณภาพนÊำทิÊงแล้วลงสู่ทะเล ดังนัÊน ท่าอากาศยานภูเก็ตจึงได้ทำการตรวจสอบคุณภาพนÊำ ทะเลในบริเวณชายฝัÉงทีÉติดกับท่าอากาศยาจำนวน2 จุด เป็นประจำทุกปีๆ ละ 2 ครัÊง คือ ในช่วงฤดู มรสุมและนอกฤดูมรสุม รวมทัÊงมีการติดตามตรวจสอบนิเวศวิทยาชายฝัÉงเพืÉอเฝ้าระวัง ผลกระทบทีÉ อาจเกิดขึÊนต่อคุณภาพนÊำทะเลและนิเวศวิทยาชายฝัÉงอย่างต่อเนืÉองมาโดยตลอด ผลจากการสำรวจ ไม่พบว่าการดำเนินงานท่าอากาศยานทำให้การเปลีÉยนแปลงคุณภาพนÊำทะเลบริเวณชายฝัÉงตํÉาลง และกิจกรรมของโครงการไม่ก่อให้เกิดผลกระทบใดต่อระบบนิเวศวิทยาชายฝัÉง
  • 13. 13 ผลการติดตามตรวจสอบคุณภาพนํÊาทะเลชายฝัÉง ท่าอากาศยานภูเก็ต หมายเหตุ: 1/ ค่ามาตรฐานคุณภาพนÊำทะเลประเภททีÉ 2 เพืÉอการอนุรักษ์แหล่งปะการัง ตามประกาศ คณะกรรมการสิÉงแวดล้อมแห่งชาติ ฉบับทีÉ 27 (พ.ศ. 2549) เรืÉองกำหนดมาตรฐานคุณภาพนÊำทะเล การบริหารจัดการนํÊาเสียและหมุนเวียนนํÊาใช้ ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิมีการใช้นÊำประปาในปริมาณ 5,445,840 ลูกบาศก์เมตรต่อปี (ข้อมูลช่วงตุลาคม 2555 - กันยายน พ.ศ. 2556) และมีการบริหารจัดการนÊำเสียโดยใช้ระบบ BNR (Biological Nutrient Remove) ในรูปแบบตะกอนเร่งดัดแปลง (Modified Activated Sludge) ซึÉง เป็นประเภทระบบบำบัดนÊำเสียเพียงไม่กีÉแห่งเท่านัÊนในประเทศไทย (ประมาณ 10 แห่งทัวÉโลก) ประสิทธิภาพของระบบนีÊคือนอกจากจะกำจัดความสกปรกของนÊำเสียในรูปแบบ BOD แล้วยัง สามารถกำจัดความสกปรกของนÊำเสียในรูปแบบไนโตรเจนและฟอสฟอรัส ซึÉงเป็นสารสกปรกทีÉ ก่อให้เกิดปัญหาการแพร่พันธุ์ของวัชพืชนÊำทีÉจะส่งผลกระทบทำให้แหล่งนÊำเน่าเสียได้อีกด้วย ดังนัÊน นÊำทิÊงทีÉผ่านการบำบัดจากระบบบำบัดนÊำเสียส่วนกลางของท่าอากาศยานสุวรรณภูมิแล้ว สามารถปล่อยระบายทิÊงลงสู่แหล่งนÊำสาธารณะได้อย่างเป็นมิตรต่อสิÉงแวดล้อม ไม่ก่อให้เกิด ปัญหาวัชพืชเจริญเติบโตและสนับสนุนให้คุณภาพนÊำในแหล่งนÊำทีÉรองรับ มีคุณภาพสูงขึÊน
  • 14. 14 ผลการวิเคราะห์คุณภาพนํÊาเสียทีÉผ่านการบำบัดแล้ว (ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ) นอกจากนีÊ ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิยังได้มีการวิเคราะห์คุณภาพนÊำผิวดินทีÉคลอง 2 แห่ง คือ คลองหนองงูเห่า และคลองลาดกระบัง รวมจำนวน 4 สถานี เนืÉองจากนÊำฝนอาจเกิดการเจือปน ได้จากการรัÉวไหลของนÊำมันเชืÊอเพลิงอากาศยานและ สิÉงเจือปนต่างๆ ในระหว่างการปฏิบัติงาน และ การบำรุงรักษายานพาหนะให้บริการภาคพืÊนดิน รวมทัÊงการเก็บรักษาและกิจการในการ จัดการนÊำมันเชืÊอเพลิง ซึÉงนÊำฝนทีÉถูกเจือปนสามารถส่งผลกระทบสำคัญต่อสิÉงแวดล้อมโดยการ สร้างมลพิษให้แก่ แหล่งนÊำปลายทางได้ผลการวิเคราะห์คุณภาพนÊำผิวดิน รอบปี 2556 แสดงได้ ดังนีÊ
  • 15. 15 ผลการวิเคราะห์คุณภาพนํÊาผิวดิน (ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ) หมายเหตุ: 1/ กำหนดมาตรฐานคุณภาพนÊำในแหล่งนÊำผิวดินประเภททีÉ 4 ตามประกาศคณะกรรมการสิÉงแวดล้อม แห่งชาติฉบับทีÉ 8 (พ.ศ. 2537) ลงวันทีÉ 20 มกราคม 2537 • มาตรฐานคุณภาพนÊำผิวดินประเภททีÉ 4 ได้แก่ แหล่ง นÊำทีÉได้รับนÊำทิÊงจากกิจกรรมบางประเภท และสามารถเป็นประโยชน์ เพืÉอการอุปโภคและบริโภค โดยต้องผ่าน การฆ่าเชืÊอโรคตามปกติและผ่านกระบวนการปรับปรุงคุณภาพนÊำเป็นพิเศษก่อน และเพืÉอการอุตสาหกรรม ผลการวิเคราะห์คุณภาพนํÊา ผิวดิน (ท่าอากาศยานดอนเมือง)
  • 16. 16 หมายเหตุ: 1/ ค่ามาตรฐานคุณภาพนÊำผิวดินประเภททีÉ 3 ตามประกาศคณะกรรมการสิÉงแวดล้อมแห่งชาติ ฉบับทีÉ 8 (พ.ศ. 2537) ออกตาม ความในพระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิÉงแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535 เรืÉอง กำหนดมาตรฐานคุณภาพนÊำผิวดิน ในแหล่งนÊำผิวดิน, ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 111 ตอนพิเศษ 16ง เมืÉอวันทีÉ 24 กุมภาพันธ์ 2537 ผลการวิเคราะห์คุณภาพนํÊา ผิวดิน (ท่าอากาศยานเชียงใหม่) หมายเหตุ: 1/ ค่ามาตรฐานคุณภาพนÊำผิวดินประเภททีÉ 3 ตามประกาศคณะกรรมการสิÉงแวดล้อมแห่งชาติ ฉบับทีÉ 8 (พ.ศ. 2537) ออกตาม ความในพระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิÉงแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535 เรืÉอง กำหนดมาตรฐานคุณภาพนÊำผิวดิน ในแหล่งนÊำผิวดิน, ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 111 ตอนพิเศษ 16ง เมืÉอวันทีÉ 24 กุมภาพันธ์ 2537 ผลการวิเคราะห์คุณภาพนํÊา ผิวดิน (ท่าอากาศยานภูเก็ต)
  • 17. 17 หมายเหตุ: 1/ ค่ามาตรฐานคุณภาพนÊำผิวดินประเภททีÉ 3 ตามประกาศคณะกรรมการสิÉงแวดล้อม แห่งชาติ ฉบับทีÉ 8 (พ.ศ. 2537) ออกตาม ความในพระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพ สิÉงแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535 เรืÉอง กำหนดมาตรฐานคุณภาพนÊำผิวดิน ในแหล่งนÊำผิวดิน ผลการวิเคราะห์คุณภาพนํÊา ผิวดิน (ท่าอากาศยานแม่ฟ้าหลวง เชียงราย) หมายเหตุ: 1/ ค่ามาตรฐานคุณภาพนÊำผิวดินประเภททีÉ 3 ตามประกาศคณะกรรมการสิÉงแวดล้อมแห่งชาติ ฉบับทีÉ 8 (พ.ศ. 2537) ออกตาม ความในพระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิÉงแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535 เรืÉอง กำหนดมาตรฐานคุณภาพนÊำผิวดิน ในแหล่งนÊำผิวดิน, ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 111 ตอนพิเศษ 16 ง เมืÉอวันทีÉ 24 กุมภาพันธ์ 2537 สำหรับท่าอากาศยานอืÉนๆ มีข้อมูลการใช้ทรัพยากรนÊำ ปริมาณนÊำทีÉได้รับการบำบัดและผลการ
  • 18. 18 วิเคราะห์คุณภาพนÊำทีÉผ่านการบำบัดแล้ว จำแนกตามพืÊนทีÉ ดังนีÊ ผลการวิเคราะห์คุณภาพนํÊา เสียทีÉผ่านการบำบัดแล้ว (ท่าอากาศยานดอนเมือง) หมายเหตุ: 1/ ค่ามาตรฐานตามประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิÉงแวดล้อม พ.ศ. 2548 เรืÉอง กำหนด มาตรฐานควบคุมระบายนำ◌้ทิÊงจากอาคารบางประเภท และบางขนาด (ประเภท ก) • Oil & Grease <0.5 mg/L, Sulfide <0.2 mg/L, Pb <0.04 mg/L, Cd <0.004 mg/L และ Hg <0.001 mg/L ผลการวิเคราะห์คุณภาพนํÊา เสียทีÉผ่านการบำ บัดแล้ว (ท่าอากาศยานเชียงใหม่) หมายเหตุ: • อ้างอิงมาตรฐานคุณภาพนÊำตามประกาศกระทรวงวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและสิÉงแวดล้อม พ.ศ. 2537 • ND (Non - Detectable) หมายถึงตรวจพบค่าความเข้มข้นน้อยมาก: Oil & Grease <0.5 mg/L, Sulfide <0.2 mg/L
  • 19. 19 ผลการวิเคราะห์คุณภาพนํÊา เสียทีÉผ่านการบำบัดแล้ว (ท่าอากาศยานหาดใหญ่) หมายเหตุ: • ค่ามาตรฐานนÊำทิÊงตามประกาศกระทรวงวิทยาศาสตร์และสิÉงแวดล้อมประเภท ข ฉบับประกาศ ทัÉวไป (พ.ศ. 2537) • ตรวจโดยหน่วยเครืÉองมือกลาง คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขต หาดใหญ่ ผลการวิเคราะห์คุณภาพนํÊาเสียทีÉผ่านการบำบัดแล้ว (ท่าอากาศยานภูเก็ต) หมายเหตุ: 1/ มาตรฐานควบคุมการระบายนÊำทิÊงจากอาคาร ประเภท ก. ตามประกาศกระทรวง ทรัพยากรธรรมชาติและสิÉงแวดล้อม เรืÉอง กำหนดมาตรฐานควบคุม การระบายนÊำทิÊงจากอาคารบางประเภทและ บางขนาด ซึÉงประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 122 ตอนทีÉ 125 ง ลงวันทีÉ 29 ธันวาคม 2548 • ND = ตรวจไม่พบ
  • 20. 20 ผลการวิเคราะห์คุณภาพนํÊา เสียทีÉผ่านการบำบัดแล้ว (ท่าอากาศยานแม่ฟ้าหลวง เชียงราย) หมายเหตุ: • อ้างอิงค่ามาตรฐานตามประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและ สิÉงแวดล้อม เรืÉอง กำหนด มาตรฐานควบคุมการระบายนÊำทิÊงจากอาคารบางประเภทและบางอาคาร ลงวันทีÉ 7 พฤศจิกายน 2548 ประกาศใน ราชกิจจานุเบกษา เล่มทีÉ 122 ตอนทีÉ 125 ง พ.ศ. 2548 การบริหารจัดการอากาศ การตรวจวัดคุณภาพอากาศในบรรยากาศรอบท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ เป็นไปตามวิธีทีÉ กำหนดไว้ในประกาศคณะกรรมการสิÉงแวดล้อมแห่งชาติฉบับทีÉ 10 (พ.ศ. 2538) และฉบับทีÉ 24 (พ.ศ. 2547) หรือวิธีอืÉนทีÉกรมควบคุมมลพิษเห็นชอบโดยดัชนีคุณภาพอากาศทีÉทำการตรวจวัด ประกอบด้วยปริมาณฝุ่นละอองขนาดเล็กกว่า 10 ไมครอน (PM-10) ปริมาณก๊าซไนโตรเจนได ออกไซด์เฉลีÉย 1 ชัÉวโมง (NO2) ปริมาณก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์เฉลีÉย 1 ชัÉวโมง(CO) Total Hydrocarbon (THC) Non - methane Hydrocarbon (NMHC) ได้ทำการตรวจวัดโดยบริษัทเอส จี เอส (ประเทศไทย) จำกัด ปีละ 2 ครัÊง(ฤดูฝนและฤดูหนาว) เป็นเวลา 3 วันต่อเนืÉอง ทำการตรวจวัด ทุกสถานีพร้อมกันซึÉงในรอบปีบัญชี 2556 มีการตรวจวัดระหว่างวันทีÉ 10 - 13 มกราคมพ.ศ. 2556 และวันทีÉ 4 - 7 กรกฎาคม พ.ศ. 2556 จากนัÊนนำผลทีÉได้มาเปรียบเทียบกับค่ามาตรฐานคุณภาพ อากาศในบรรยากาศของประเทศไทยและเปรียบเทียบกับผลการตรวจวัดในอดีตทีÉผ่านมา เพืÉอ ศึกษาแนวโน้มการเปลีÉยนแปลงของผลกระทบด้านสิÉงแวดล้อม โดยข้อมูลการเปรียบเทียบผลการ ตรวจวัดคุณภาพอากาศในบรรยากาศโดยรอบท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ระหว่างปี 2550 - 2556
  • 21. 21 ตารางเปรียบเทียบผลการตรวจวัดคุณภาพอากาศในบรรยากาศบริเวณรอบท่าอากาศยาน- สุวรรณภูมิ ระหว่างปี 2550 - 2556 หมายเหตุ: • สนล. - ส่วนในล้านส่วน 1/ มาตรฐานคุณภาพอากาศในบรรยากาศโดยทัÉวไป ตามประกาศ คณะกรรมการสิÉงแวดล้อมแห่งชาติฉบับทีÉ 24 (พ.ศ. 2547) 2/ มาตรฐานคุณภาพอากาศในบรรยากาศโดยทัÉวไป ค่ามาตรฐานตามประกาศคณะกรรมการสิÉงแวดล้อมแห่งชาติฉบับทีÉ 10 (พ.ศ. 2538)
  • 22. 22 ตารางเปรียบเทียบผลการตรวจวัดคุณภาพอากาศในบรรยากาศ บริเวณรอบท่าอากาศยานดอน เมืองในปีงบประมาณ 2556 หมายเหตุ: • สนล. - ส่วนในล้านส่วน 1/ มาตรฐานคุณภาพอากาศในบรรยากาศโดยทัÉวไป ตามประกาศ คณะกรรมการสิÉงแวดล้อมแห่งชาติฉบับทีÉ 24 (พ.ศ. 2547) 2/ มาตรฐานค่าก๊าซไนโตรเจนไดออกไซด์ใน บรรยากาศทัÉวไป ตามประกาศคณะกรรมการสิÉงแวดล้อมแห่งชาติฉบับทีÉ 33 (พ.ศ. 2552) 3/ มาตรฐานคุณภาพ อากาศในบรรยากาศโดยทัÉวไป ค่ามาตรฐานตามประกาศคณะกรรมการสิÉงแวดล้อมแห่งชาติฉบับทีÉ 10 (พ.ศ. 2538) – หมายถึงยังไม่มีการกำหนดค่ามาตรฐานสำหรับก๊าซไฮโดรคาร์บอนรวมในบรรยากาศ ตารางเปรียบเทียบผลการตรวจวัดคุณภาพอากาศในบรรยากาศ บริเวณรอบท่าอากาศยาน เชียงใหม่ในปีงบประมาณ 2556
  • 23. 23 หมายเหตุ: • สนล. - ส่วนในล้านส่วน, สพล. - ส่วนในพันล้านส่วน 1/ มาตรฐานคุณภาพอากาศในบรรยากาศ ทัÉวไป ประกาศคณะกรรมการสิÉงแวดล้อมแห่งชาติ ฉบับทีÉ 10 (พ.ศ. 2538) และฉบับทีÉ 24 (พ.ศ. 2547) ตารางเปรียบเทียบผลการตรวจวัดคุณภาพอากาศในบรรยากาศ บริเวณรอบท่าอากาศยาน ภูเก็ตในปีงบประมาณ 2556 หมายเหตุ: • สนล. - ส่วนในล้านส่วน 1/ ประกาศคณะกรรมการสิÉงแวดล้อมแห่งชาติ ฉบับทีÉ 10 (พ.ศ. 2538) ฉบับทีÉ 24 (พ.ศ. 2547) และฉบับทีÉ 33 (พ.ศ. 2552) ออกตาม ความในพระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพ สิÉงแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535 เรืÉองกำหนดมาตรฐานคุณภาพอากาศ ในบรรยากาศโดยทัวÉไป * หมายถึง ค่าเฉลีÉย 1 ชัÉวโมง ตารางเปรียบเทียบผลการตรวจวัดคุณภาพอากาศในบรรยากาศ บริเวณรอบท่าอากาศยาน แม่ฟ้าหลวง เชียงราย ระหว่างปี 2556
  • 24. 24 อ้างอิง: 1/ ประกาศคณะกรรมการสิÉงแวดล้อมแห่งชาติฉบับทีÉ 24 (พ.ศ. 2547) 2/ ประกาศคณะกรรมการ สิÉงแวดล้อมแห่งชาติฉบับทีÉ 10 (พ.ศ. 2538) 3/ ประกาศคณะกรรมการสิÉงแวดล้อมแห่งชาติฉบับทีÉ 33 (พ.ศ. 2552) การกำจัดสิÉงปฏิกูลหรือของเสีย การบริหารจัดการขยะภายในท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ได้รับการรับรองตามมาตรฐาน ISO 14001 และมีการบริหารจัดการเป็นแบบ Zero Discharge ซึÉงเป็นการบริหารจัดการขยะทีÉไม่มีขยะ รัÉวไหล หรือถูกนำออกไปรวมกับขยะชุมชนภายนอกโดยเด็ดขาดเพืÉอป้องกันการก่อปัญหาขยะ ให้แก่ชุมชน โดยขยะภายในท่าอากาศยานสุวรรณภูมิจะถูกจัดเก็บและคัดแยกภายในสถานีขนถ่าย ขยะ ณ ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิเท่านัÊน สำหรับขยะทีÉเหลือจากการคัดแยกจะถูกนำไปกำจัด ณ สถานทีÉรับกำจัดทีÉได้รับรองตามมาตรฐาน ISO 14001 ในระบบต่อวัน ข้อมูลการบริหารจัดการขยะ แต่ละประเภท มีดังนีÊ การเปรียบเทียบสิÉงปฏิกูลในรอบปี 2555 และ 2556 และวิธีการกำจัดของแต่ละท่าอากาศยาน
  • 25. 25 การบริหารจัดการพลังงาน ทอท. เป็นหน่วยงานของรัฐสังกัดกระทรวงคมนาคมและอาคารสำนักงานเป็นอาคาร ควบคุมทีÉต้องปฏิบัติตามพระราชบัญญัติการส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน พ.ศ.2535 ซึÉงแก้ไข เพิÉมเติมโดยพระราชบัญญัติการส่งเสริมการอนุรักษ์ พลังงาน (ฉบับทีÉ 2) พ.ศ.2550 โดยกระทรวง พลังงานและได้มีประกาศกฎกระทรวงเพืÉอใช้แนวทางปฏิบัติให้เป็นไปตามพระราชบัญญัติซึÉง ทอท. มีอาคารควบคุมทีÉเป็นอาคารควบคุมขนาดใหญ่ทีÉต้องปฏิบัติตามพระราชบัญญัติการส่งเสริม การอนุรักษ์พลังงานรวม 6 อาคารควบคุม ประกอบด้วย อาคารควบคุมท่าอากาศยานดอนเมือง (รวมพืÊนทีÉสำนักงานใหญ่ เนืÉองจากระบบการรับไฟฟ้าจากการไฟฟ้าเป็นระบบเดียวกัน) อาคาร ควบคุม ท่าอากาศยานเชียงใหม่ อาคารควบคุมท่าอากาศยานแม่ฟ้าหลวง เชียงราย อาคารควบคุมท่าอากาศยานภูเก็ต อาคารควบคุมท่าอากาศยานหาดใหญ่ และอาคารควบคุมท่า อากาศยานสุวรรณภูมิทัÊงนีÊ ทอท. ได้ปฏิบัติตามกฎหมายว่าด้วยการส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน ฉบับล่าสุดทีÉได้กำหนดให้เจ้าของอาคารควบคุมต้องจัดให้มีผู้รับผิดชอบด้านพลังงานประจำอาคาร ควบคุมแต่ละแห่งทีÉมีคุณสมบัติตามทีÉกฎกระทรวงกำหนด และจัดให้มีการจัดการพลังงานโดยการ ควบคุม 8 ขัÊนตอน คือ การจัดตัÊงคณะทำงานด้านการจัดการพลังงาน การประเมินสถานภาพการจัด การพลังงานเบืÊองต้นการกำหนดนโยบายอนุรักษ์พลังงาน การประเมินศักยภาพ การอนุรักษ์ พลังงาน การกำหนดเป้าหมายและแผนอนุรักษ์พลังงานการดำเนินการตามแผนอนุรักษ์พลังงาน การตรวจสอบและวิเคราะห์การปฏิบัติตามเป้าหมายและแผนอนุรักษ์พลังงาน การตรวจติดตาม และประเมินการจัดการพลังงาน การทบทวน วิเคราะห์ และแก้ไขข้อบกพร่องของการจัด การพลังงาน ความรับผิดชอบต่อนโยบายด้านสิÉงแวดล้อม ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิได้มีการแต่งตัÊงคณะทำงานด้านการจัดการพลังงานของอาคาร ควบคุม ณ ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ เพืÉอให้การดำเนินการเป็นไปตามพระราชบัญญัติการส่งเสริม การอนุรักษ์พลังงาน (ฉบับทีÉ 2) พ.ศ.2550 โดยคณะทำงานฯ มีหน้าทีÉและความรับผิดชอบ ดังนีÊ 1. ดำเนินการจัดการด้านพลังงานให้สอดคล้องกับพระราชบัญญัติการส่งเสริมการอนุรักษ์ พลังงานและนโยบายอนุรักษ์พลังงาน ของท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ 2. ประสานงานกับหน่วยงานทุกฝ่ายทีÉเกีÉยวข้อง เพืÉอขอความร่วมมือในการปฏิบัติตาม นโยบายอนุรักษ์พลังงานและวิธีการจัดการ พลังงาน รวมทัÊงจัดการฝึกอบรมหรือกิจกรรมด้านการอนุรักษ์พลังงานให้เหมาะสมกับเจ้าหน้าทีÉ ในแต่ละหน่วยงาน
  • 26. 26 3. ควบคุมดูแลให้วิธีการจัดการพลังงานของท่าอากาศยานสุวรรณภูมิดำเนินไปอย่างมี ประสิทธิภาพ 4. รายงานผลการอนุรักษ์พลังงานและการจัดการพลังงานตามนโยบายอนุรักษ์พลังงาน และวิธีการจัดการพลังงาน 5. ทบทวนนโยบายอนุรักษ์พลังงานและการจัดการพลังงานอย่างสมํÉาเสมอ พร้อมทัÊง รวบรวมข้อเสนอแนะเกีÉยวกับนโยบายและ วิธีการจัดการพลังงานในช่วงระยะเวลาทีÉมีการจัดตัÊง คณะทำงานฯ ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิได้มีการดำเนินมาตรการลดการปล่อย CO2 อย่างต่อเนืÉอง ส่งผลให้เกิดการลดทัÊงค่าใช้จ่ายการใช้พลังงาน อาทิ - การเลือกใช้ NGV แทนนÊำมันดีเซลและ นÊำมันเบนซิน - การเลือกใช้เครืÉองมือทีÉต้องใช้นÊำมันให้เหมาะสมกับงานทีÉใช้และใช้อย่างมี ประสิทธิภาพ - การลดการเปิดไฟโคมส่องหลังคาอาคารผู้โดยสารลงร้อยละ 50 - การลดการเปิด ไฟในส่วนทีÉไม่ได้ใช้ เช่น Concourse A, B, C, D, E และ F เป็นต้น - การปิดเครืÉองปรับอากาศหลัง เวลาเลิกงาน ระหว่างเวลา 16.00 - 06.30 น. และปิดทัÊงวันในวันเสาร์และอาทิตย์ของอาคาร สำนักงาน ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ในรอบปี 2556 ทอท. มีการใช้พลังงานเชืÊอเพลิงสำหรับยานพาหนะและเครืÉองทุ่นแรง โดย มีการใช้พลังงานเชืÊอเพลิงรวมทัÊงสิÊน 40,073.0735 กิกะจูล คิดเป็นพลังงานเชืÊอเพลิงทีÉมีการใช้ลดลง เมืÉอเทียบกับปี 2555 ร้อยละ 2.622 (1,078.927 กิกะจูล และจากปี 2554 ร้อยละ 1,837 กิกะจูล) และ การใช้ไฟฟ้ารวม 1,781,545.066กิกะจูล (494,873,626.47 กิโลวัตต์ - ชัวÉโมง) คิดเป็นพลังงานไฟฟ้า ทีÉมี การใช้เพิÉมขึÊนจากปี 2555 ร้อยละ 9.51 (154,732.80 กิกะจูล) สามารถจำแนกตามชนิดของ พลังงานทีÉใช้ตามพืÊนทีÉใช้งาน ดังนีÊ
  • 27. 27 หมายเหตุ: ยังไม่สามารถรวบรวมข้อมูลได้อย่างครบถ้วน เนืÉองจากการเก็บข้อมูลไม่ตรงกับรอบการรายงาน ผลการคำนวณ พบว่า แหล่งปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์หลักของท่าอากาศยานสุวรรณ ภูมิเกิดจากการใช้ไฟฟ้าภายในอากาศยาน(Scope 2) ในขณะทีÉแหล่งปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ อันดับสองมาจากการใช้เชืÊอเพลิงโดยมากกว่าร้อยละ 90 ของการใช้เชืÊอเพลิงเป็นการใช้สำหรับ ยานพาหนะและเครืÉองทุ่นแรงทีÉเคลืÉอนทีÉได้ (Mobile source) ของส่วนงานต่างๆ และมากกว่าร้อย ละ 80 ของเชืÊอเพลิงทีÉใช้เป็นนÊำมันดีเซล
  • 28. 28 ปริมาณการใช้และการปล่อยก๊าซเรือนกระจกปี 2555 ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ การจัดการผลกระทบด้านเสียง ทอท. มีมาตรการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิÉงแวดล้อมในรายงานการประเมินผลกระทบ สิÉงแวดล้อม (EIA) โดยติดตัÊงระบบตรวจวัดเสียงอากาศยานอัตโนมัติแบบต่อเนืÉอง 24 ชัวÉโมงเพืÉอ ตรวจวัดค่า L90, Leq 24hrs, Lmax และ Ldn ในพืÊนทีÉท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ สำหรับพืÊนทีÉ โดยรอบได้มีการติดตัÊงเครืÉองตรวจวัดเสียงอัตโนมัติแบบต่อเนืÉอง 13 สถานี ได้แก่ • สถานี 1 วัดบึงบัว • สถานี 2 หมู่บ้านสุทธาธรณ์ • สถานี 3 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง • สถานี 4 อาคารพาณิชย์ข้างสำนักงาน ทศท.ลาดกระบัง • สถานี 5 หมู่บ้านพนาสนธิÍ 3 • สถานี 6 หมู่บ้านแฮปปีÊเพลส • สถานี 7 หมู่บ้านเคหะนคร 2 • สถานี 8 ซอยกิÉงแก้ว 56/3 • สถานี 9 วัดบางพลีใหญ่ใน (สาวิตรีอพาร์ทเมนต์) • สถานี 10 หมู่บ้านกรีนเลค • สถานี 11 บ้านบางโฉลงหมู่ 6 • สถานี 12 ข้างเกริกวิทยาลัย • สถานี 13 โรงเรียนวัดบางโฉลงในและพืÊนทีÉภายในท่าอากาศยานสุวรรณภูมิติดตัÊงเครืÉองตรวจวัด เสียงอัตโนมัติแบบต่อเนืÉอง 6 สถานี ได้แก่ • สถานี 14 Perimeter - South End Runway 01L/19R (A) • สถานี 15 Perimeter - North End Runway 01L/19R (B) • สถานี 16 Annex16 - North of Airport Site (C) • สถานี 17 Perimeter - North End Runway 01R/19L (D)
  • 29. 29 • สถานี 18 Perimeter - South End Runway 01R/19L (E) • สถานี 19 Annex16 - South of Airport Site (F) ทัÊงนีÊ ทอท. กำหนดให้มีการรายงานผลการตรวจวัดให้คณะอนุกรรมการกำกับการติดตาม ตรวจสอบและการปฏิบัติตามมาตรการด้านสิÉงแวดล้อมของท่าอากาศยานสุวรรณภูมิทราบทุก เดือน และรายงานผลการตรวจวัดให้สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและ สิÉงแวดล้อมทราบทุก 6 เดือน เพืÉอติดตามตรวจสอบผลกระทบด้านเสียงจากอากาศยานในชุมชน โดยรอบท่าอากาศยาน ติดตามตรวจสอบผลกระทบเสียงจากอากาศยานในพืÊนทีÉท่าอากาศยาน และ ตรวจสอบเส้นทางบิน ระดับความสูงประเภทและสายการบินของอากาศยานทีÉถูกร้องเรียนว่ามี เสียงดังหรือปล่อยมลพิษ ผลการตรวจวัดระดับเสียงรบกวนโดยรอบท่าอากาศยานสุวรรณภูมิทัÊงในและนอกพืนÊทีÉ ประจำปี 2556 มีการตรวจวัด ทัÊงหมด 13 สถานี สำหรับสถานีอืนÉๆ ทีÉมิได้มีการวัดเนือÉงจากเป็น สถานีทีอÉยู่บริเวณเขตการบิน (Air Side) ตามกฎของ ICAO ซึÉงไม่มี ผลกระทบต่อชุมชน โดย สถานีทีÉมีการตรวจวัดทัÊงหมดสามารถแสดงผลการตรวจวัดระดับเสียงรบกวน ดังนี Ê
  • 30. 30 หมายเหตุ: 1/ มาตรฐานระดับเสียงทัÉวไป ตามประกาศคณะกรรมการสิÉงแวดล้อมแห่งชาติ ฉบับทีÉ 15 (พ.ศ. 2540) - ช่องทีÉไม่มีผลการตรวจวัดเสียง เกิดจากระบบเครืÉองตรวจวัดเสียงได้มีปัญหาขัดข้องทางด้านเทคนิค จึงไม่ สามารถรวบรวมข้อมูลได้ นอกจากนีÊ ทอท. ยังได้กำหนดให้มีการติดตามตรวจสอบคุณภาพเสียงสำหรับท่าอากาศ ยานดอนเมืองและท่าอากาศยานภูมิภาค โดยมีผลการตรวจวัดคุณภาพเสียงบริเวณรอบท่าอากาศ ยาน ดังนีÊ ผลการตรวจวัดระดับเสียงรบกวน 11 สถานีโดยรอบท่าอากาศยานดอนเมือง ปีงบประมาณ 2556 หมายเหตุ: 1/ มาตรฐานระดับเสียงทัÉวไป ตามประกาศคณะกรรมการสิÉงแวดล้อมแห่งชาติฉบับทีÉ 15 (พ.ศ. 2540) - ไม่มีค่ามาตรฐานกำหนดสำหรับระดับความดังของเสียงเฉลีÉยกลางวัน – กลางคืน
  • 31. 31 ผลการตรวจวัดระดับเสียงรบกวน 6 สถานีโดยรอบท่าอากาศยานเชียงใหม่ ประจำปี 2556 หมายเหตุ: 1/ มาตรฐานระดับเสียงทัÉวไป ตามประกาศคณะกรรมการสิÉงแวดล้อมแห่งชาติฉบับทีÉ 15 (พ.ศ. 2540) 2/ มาตรฐานระดับเสียง Ldn ของ US Department of Housing and Urban Development ค่าทีÉยอมรับได้ <65 dBA ค่าทีÉพอจะยอมรับได้ 65 - 75 dBA และค่าทีÉยอมรับไม่ได้ >75 dBA ผลการตรวจวัดระดับเสียงรบกวน 5 สถานีโดยรอบท่าอากาศยานภูเก็ต ประจำปี 2556 หมายเหตุ: 1/ ประกาศคณะกรรมการสิÉงแวดล้อมแห่งชาติฉบับทีÉ 15 (พ.ศ. 2540) เรืÉองกำหนดมาตรฐานระดับ เสียงโดยทัÉวไป - ไม่มีค่ามาตรฐานกำหนดสำหรับระดับความดังของเสียงเฉลีÉยกลางวัน - กลางคืน 2/ L90 ค่าเฉลีÉย 24 ชม. (ตํÉาสุด + สูงสุด)