SlideShare a Scribd company logo
1 of 16
โดย
น.ส นพรัตน์ นำ้ำคำำ 533050406-1
น.ส นับเดือน บุตรละคร
533050432น.ส พิมพ์พลอย ศรไชย
533050438-8
ชั้นปีที่ 4 คณะศึกษำศำสตร์
สำขำกำรสอนภำษำจีนฯ
มหำวิทยำลัยขอนแก่น
สิ่งแวดล้อมทางการเรียน
รู้
สิ่งแวดล้อมทางการเรียน
รู้
ความหมายความหมาย
คือ การให้ความสำาคัญต่อการเรียนรู้ของผู้เรียน โดยผ่านการปฏิบัติ
ลงมือกระทำาด้วยตนเอง การพัฒนาศักยภาพทางการคิด ตลอดจนการแสวงหา
ความรู้ด้วยตนเอง ซึ่งเป็นการเปิดโอกาสให้ผู้เรียน วางแผน ดำาเนินการและ
การประเมินตนเอง และ มีปฏิสัมพันธ์กับแหล่งการเรียนรู้ต่างๆ ได้แก่ ครู
เทคโนโลยี พ่อแม่ ภูมิปัญญาท้องถิ่น และบุคคลอื่น ๆ ตลอดจน สื่อต่างๆ เพื่อที่
จะนำามาสู่การสร้างความรู้
โดย ครูเป็นผู้จัดสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้หรือสร้างความรู้ของ ผู้เรียน
ด้วยการนำาวิธีการ เทคโนโลยี และนวัตกรรมหรือสื่อ ตลอดจนภูมิปัญญาท้อง
ถิ่นมาใช้ร่วมกันเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการเรียนรู้
ประเภทของสิ่งแวดล้อม
ทางการเรียนรู้
ประเภทของสิ่งแวดล้อม
ทางการเรียนรู้
การร่วมมือกันแก้ปัญหา
(Collaboration)
ผู้เรียนได้แลกเปลี่ยนประสบการณ์กับผู้
อื่นเพื่อขยายมุมมองให้แก่ตนเอง การ
ร่วมมือกัน แก้ปัญหาจะสนับสนุนให้ผู้
เรียนเกิดการคิดไตร่ตรอง (Reflective
thinking) เป็นแหล่งที่เปิดโอกาสให้ทั้ง
ผู้เรียน ผู้สอน ผู้เชี่ยวชาญ ได้สนทนา
แลกเปลี่ยนความคิดเห็นของตนเองกับ
ผู้อื่น อีกทั้งยังป้องกันและปรับเปลี่ยน
ความเข้าใจที่คลาดเคลื่อน
(Misconception) ที่จะเกิดขึ้นในขณะ
ที่เรียนรู้ รวมทั้งการขยายแนวคิด
สถานการณ์ปัญหา
(Problem based
learning)
แหล่งเรียนรู้
( Resource )
ฐานความช่วยเหลือ
(Scaffolding) เป็นที่รวบรวมข้อมูล เนื้อหา
สารสนเทศ ที่ผู้เรียนจะใช้ใน
การ แก้สถานการณ์ปัญหาที่
ผู้เรียนเผชิญ ซึ่งแหล่งเรียนรู้
ในสิ่งแวดล้อมทางการเรียน
รู้ฯ นั้นคงไม่ใช่เพียง แค่เป็น
เพียงแหล่งรวบรวมเนื้อหา
เท่านั้น แต่รวมถึงสิ่งต่างๆที่ผู้
เรียนจะใช้ในการแสวงหา
และค้นพบ คำาตอบ
(Discovery)
เปลี่ยนบทบาทของครูที่ทำาหน้าที่ในการถ่ายทอด
ความรู้ มาเป็น “ผู้ฝึกสอน” ที่ให้ความช่วยเหลือ คำา
แนะนำา สำาหรับผู้เรียน จะเป็นการฝึกหัดผู้เรียนโดย
การให้ความรู้แก่ ผู้เรียนในเชิงการให้การรู้คิด
และการสร้างปัญหา
การโค้ช
(Coaching)
สถานการณ์ปัญหา
(Problem based
learning)
ประเภทของสิ่งแวดล้อม
ทางการเรียนรู้
ประเภทของสิ่งแวดล้อม
ทางการเรียนรู้
การร่วมมือกันแก้ปัญหา
(Collaboration)
ผู้เรียนได้แลกเปลี่ยนประสบการณ์กับผู้
อื่นเพื่อขยายมุมมองให้แก่ตนเอง การ
ร่วมมือกัน แก้ปัญหาจะสนับสนุนให้ผู้
เรียนเกิดการคิดไตร่ตรอง (Reflective
thinking) เป็นแหล่งที่เปิดโอกาสให้ทั้ง
ผู้เรียน ผู้สอน ผู้เชี่ยวชาญ ได้สนทนา
แลกเปลี่ยนความคิดเห็นของตนเองกับ
ผู้อื่น อีกทั้งยังป้องกันและปรับเปลี่ยน
ความเข้าใจที่คลาดเคลื่อน
(Misconception) ที่จะเกิดขึ้นในขณะ
ที่เรียนรู้ รวมทั้งการขยายแนวคิด
สถานการณ์ปัญหา
(Problem based
learning)
แหล่งเรียนรู้
( Resource )
ฐานความช่วยเหลือ
(Scaffolding) เป็นที่รวบรวมข้อมูล เนื้อหา
สารสนเทศ ที่ผู้เรียนจะใช้ใน
การ แก้สถานการณ์ปัญหาที่
ผู้เรียนเผชิญ ซึ่งแหล่งเรียนรู้
ในสิ่งแวดล้อมทางการเรียน
รู้ฯ นั้นคงไม่ใช่เพียง แค่เป็น
เพียงแหล่งรวบรวมเนื้อหา
เท่านั้น แต่รวมถึงสิ่งต่างๆที่ผู้
เรียนจะใช้ในการแสวงหา
และค้นพบ คำาตอบ
(Discovery)
เปลี่ยนบทบาทของครูที่ทำาหน้าที่ในการถ่ายทอด
ความรู้ มาเป็น “ผู้ฝึกสอน” ที่ให้ความช่วยเหลือ คำา
แนะนำา สำาหรับผู้เรียน จะเป็นการฝึกหัดผู้เรียนโดย
การให้ความรู้แก่ ผู้เรียนในเชิงการให้การรู้คิด
และการสร้างปัญหา
การโค้ช
(Coaching)
ฐานความช่วยเหลือ
(Scaffolding)
ประเภทของสิ่งแวดล้อม
ทางการเรียนรู้
ประเภทของสิ่งแวดล้อม
ทางการเรียนรู้การร่วมมือกันแก้ปัญหา
(Collaboration)
ผู้เรียนได้แลกเปลี่ยนประสบการณ์กับผู้
อื่นเพื่อขยายมุมมองให้แก่ตนเอง การ
ร่วมมือกัน แก้ปัญหาจะสนับสนุนให้ผู้
เรียนเกิดการคิดไตร่ตรอง (Reflective
thinking) เป็นแหล่งที่เปิดโอกาสให้ทั้ง
ผู้เรียน ผู้สอน ผู้เชี่ยวชาญ ได้สนทนา
แลกเปลี่ยนความคิดเห็นของตนเองกับ
ผู้อื่น อีกทั้งยังป้องกันและปรับเปลี่ยน
ความเข้าใจที่คลาดเคลื่อน
(Misconception) ที่จะเกิดขึ้นในขณะ
ที่เรียนรู้ รวมทั้งการขยายแนวคิด
สถานการณ์ปัญหา
(Problem based
learning)
แหล่งเรียนรู้
( Resource )
ฐานความช่วยเหลือ
(Scaffolding) เป็นที่รวบรวมข้อมูล เนื้อหา
สารสนเทศ ที่ผู้เรียนจะใช้ใน
การ แก้สถานการณ์ปัญหาที่
ผู้เรียนเผชิญ ซึ่งแหล่งเรียนรู้
ในสิ่งแวดล้อมทางการเรียน
รู้ฯ นั้นคงไม่ใช่เพียง แค่เป็น
เพียงแหล่งรวบรวมเนื้อหา
เท่านั้น แต่รวมถึงสิ่งต่างๆที่ผู้
เรียนจะใช้ในการแสวงหา
และค้นพบ คําตอบ
(Discovery)
เปลี่ยนบทบาทของครูที่ทําหน้าที่ในการถ่ายทอด
ความรู้ มาเป็น “ผู้ฝึกสอน” ที่ให้ความช่วยเหลือ คํา
แนะนํา สําหรับผู้เรียน จะเป็นการฝึกหัดผู้เรียนโดย
การให้ความรู้แก่ ผู้เรียนในเชิงการให้การรู้คิด
และการสร้างปัญหา
การโค้ช
(Coaching)
เปลี่ยนบทบาทของครูที่ทําหน้าที่ในการถ่ายทอดความรู้ มาเป็น
“ผู้ฝึกสอน” ที่ให้ความช่วยเหลือ คําแนะนํา สําหรับผู้เรียน จะ
เป็นการฝึกหัดผู้เรียนโดยการให้ความรู้แก่ ผู้เรียนในเชิงการ
ให้การรู้คิด และการสร้างปัญหา
การโค้ช
(Coaching)
ห่างไกลความเจริญ ไม่มีการเชื่อมโยงเครือข่าย
อินเตอร์เน็ต อยากจะได้สื่อที่ช่วยกระตุ้นให้เด็ก
มีความสนใจในการเรียนและ ผู้เรียนมี
ปฏิสัมพันธ์กับสื่อโดยตรงสามารถย้อนทบทวน
ส่วนที่ต้องการได้โดยไม่มีข้อจํากัด สามารถ
ประเมินเพื่อแก้ไขข้อบกพร่องของตนเองได้ พร้อมทั้ง
สอดแทรกเนื้อหาวิชาการเข้าไว้อย่างเหมาะสม
ชุด
การสอน
เป็นการนําสื่อการสอนหลายๆ
ชนิดมาประกอบเข้าด้วยกัน
ในรูปของสื่อประสมที่
สอดคล้องกับเนื้อหาและ
ประสบการณ์ โดยไม่ต้องมี
การเชื่อมโยงอินเตอร์เน็ต
เช่น แบบทดสอบ บัตรงาน
และสื่ออุปกรณ์ต่างๆ
ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการ
เรียนตามจุดมุ่งหมายที่ตั้งเอา
ไว้และสามารเปลี่ยนแปลง
พฤติกรรมการเรียนรู้ของ
นักเรียนได้อย่างมี
ประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการ
เรียนตามจุดมุ่งหมายที่ตั้งเอา
ไว้และสามารเปลี่ยนแปลง
พฤติกรรมการเรียนรู้ของ
นักเรียนได้อย่างมี
ประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
เลือกใช้นวัตกรรม
ต้องการนวัตกรรมที่แก้ไขข้อจำากัดด้านสถานที่ เวลา
โดยประยุกต์ใช้เว็บไซต์ที่โรงเรียนมีอยู่ สิ่งแรกที่
ต้องมีคือการลงทะเบียนเพื่อขอรหัสผ่านเข้าเรียน
หลังจากนั้นผู้เรียนศึกษาเนื้อหา ผู้เรียนสามารถ
กำาหนดการเรียนได้ด้วยตนเอง (Self-directed )
กำาหนดกรอบเวลาในการเรียนรู้ได้เหมาะสมกับความ
สามารถในการเรียนรู้ของตนเอง และยังสามารถเข้า
ถึงเนื้อหาได้ทุกที่ ทุกเวลา ทุกสถานที่
E-Learning
ผู้เรียนเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง
มีการเรียนรู้อย่างมีปฏิสัมพันธ์
และเรียนรู้ร่วมกัน สามารถ
เรียนรู้ได้ทุกที่ทุกเวลา เป็นคน
ที่สมัย ทันเหตุการณ์ เกิดการ
เรียนรู้ที่กว้างขวาง
ผู้เรียนเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง
มีการเรียนรู้อย่างมีปฏิสัมพันธ์
และเรียนรู้ร่วมกัน สามารถ
เรียนรู้ได้ทุกที่ทุกเวลา เป็นคน
ที่สมัย ทันเหตุการณ์ เกิดการ
เรียนรู้ที่กว้างขวาง
เลือกใช้นวัตกรรม
- เป็นเครื่องมือการเรียนรู้ที่ประยุกต์
กลยุทธ์การเรียนการสอนเพื่อการจำาแนก
ประเมิน และบูรณาการสารสนเทศต่างๆ
โดยใช้เว็บไซต์เป็นสื่อกลาง
- จัดประสบการณ์จำาลอง การ
ทดลองฝึกหัดออนไลน์ ให้เกิดการ
คิดร่วมกัน
- ผู้สอนเปลี่ยนตนเองจากเป็นผู้
ถ่ายทอดข้อมูลมาเป็นผู้ช่วยเหลือผู้
เรียนในการค้นหา
- การเรียนรู้เกิดขึ้นในลักษณะ
เกี่ยวข้องกันหลายวิชา
ต้องการออกแบบนวัตกรรมที่เน้นให้ผู้เรียนสามารถ
สร้างความรู้ด้วยตนเอง เผชิญสถานการณ์ปัญหา มี
แหล่งเรียนรู้ให้ผู้เรียนได้สืบค้น เมื่อไม่สามารถแก้
ปัญหาได้ก็มีฐานความช่วยเหลือ พร้อมทั้งมีเครื่อง
มือที่สนับสนุนการร่วมมือกันแก้ปัญหา สามารถแลก
เปลี่ยนความคิดเห็นระหว่างกันได้ตลอดเวลา
นอกจากนี้นวัตกรรมที่พัฒนาขึ้นต้องสามารถนำามา
ใช้กับผู้เรียนที่มีรูปแบบการเรียนรู้ที่แตกต่างกัน นำา
ไปใช้เรียนได้ทุกสถานที่ไม่ว่าจะเป็นใต้ร่มไม้ หรือ
สถานที่ที่ไม่มีคอมพิวเตอร์ก็สามารถใช้เรียนรู้เพื่อ
ให้เกิดประสิทธิภาพได้
การเรียนรู้บน
เครือข่าย
ผู้เรียน สร้างความรู้ด้วยตนเอง
สามารถแสดงความคิดเห็นร่วม
มือกันแก้ไขปัญหาได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ และเรียนรู้ได้ใน
ทุกสถานการณ์
ผู้เรียน สร้างความรู้ด้วยตนเอง
สามารถแสดงความคิดเห็นร่วม
มือกันแก้ไขปัญหาได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ และเรียนรู้ได้ใน
ทุกสถานการณ์
สามารถเชื่อมโยงเครือข่ายทั่วโลก
มีการเชื่อมโยงปูพื้นฐานที่ช่วยใน
การสร้างความรู้ ตลอดจนคุณ
ลักษะด้านการสื่อสารที่ สามารถใช้
แลกเปลี่ยนความรู้ ขยายแนวคิด
และมุมมองระหว่างกันได้ตลอด
เลือกใช้นวัตกรรม
มัลติมีเดีย
ข้อความ ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว
และเสียง รวมทั้งการเชื่อมโยง
หลายมิติ เช่น เกมสถานการณ์
จำาลอง
สื่อสิ่งพิมพ์ หนังสือ วีดิทัศน์
ภูมิปัญญาท้องถิ่น อุปกรณ์การ
ทดลอง รวมทั้งกิจกรรมต่างๆ
ชุดสร้างความรู้
โปรแกรมเรียนภาษาจีนออนไลน์
เป็นนวัตกรรมที่สร้างบนเครือค่ายอินเตอร์เน็ต โดยรวบรวมเนื้อหาภาษาจีนที่น่า
สนใจ มีสีสันสวยงาม ภาพเคลื่อนไหว ฝึกพูด ฝึกอ่านตาม และเพลงประกอบ
สามารถเรียนรู้ ฝึกฝน ทบทวนความรู้ได้ทุกที่ทุกเวลา และเมื่อมีคำาถามก็จะมีคำา
ตอบให้ทราบทันที ไม่น่าเบื่อ ย่อมทำาให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้ อยากรู้อยาก
เล่น และเมื่อเล่นแล้วก็เกิดการเรียนรู้ จำาศัพท์ได้ หรือจำาสิ่งที่ผู้สอนต้องการให้ผู้
เรียนรับรู้ จะทำาให้เกิดการเรียนภาษาจีนที่มีประสิทธิภาพ
โปรแกรมเรียนภาษาจีนออนไลน์
เป็นนวัตกรรมที่สร้างบนเครือค่ายอินเตอร์เน็ต โดยรวบรวมเนื้อหาภาษาจีนที่น่า
สนใจ มีสีสันสวยงาม ภาพเคลื่อนไหว ฝึกพูด ฝึกอ่านตาม และเพลงประกอบ
สามารถเรียนรู้ ฝึกฝน ทบทวนความรู้ได้ทุกที่ทุกเวลา และเมื่อมีคำาถามก็จะมีคำา
ตอบให้ทราบทันที ไม่น่าเบื่อ ย่อมทำาให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้ อยากรู้อยาก
เล่น และเมื่อเล่นแล้วก็เกิดการเรียนรู้ จำาศัพท์ได้ หรือจำาสิ่งที่ผู้สอนต้องการให้ผู้
เรียนรับรู้ จะทำาให้เกิดการเรียนภาษาจีนที่มีประสิทธิภาพ
งานเทคโนโลยี Chapter7

More Related Content

What's hot

วิจัยในชั้นเรียน ครูคิว2
วิจัยในชั้นเรียน ครูคิว2วิจัยในชั้นเรียน ครูคิว2
วิจัยในชั้นเรียน ครูคิว2Aroonswat
 
วิจัยในชั้นเรียน เรื่อง เจตคติของนักเรียนที่มีต่อวิชาวิทยาศาสตร์ โรงเรียนวัดธ...
วิจัยในชั้นเรียน เรื่อง เจตคติของนักเรียนที่มีต่อวิชาวิทยาศาสตร์ โรงเรียนวัดธ...วิจัยในชั้นเรียน เรื่อง เจตคติของนักเรียนที่มีต่อวิชาวิทยาศาสตร์ โรงเรียนวัดธ...
วิจัยในชั้นเรียน เรื่อง เจตคติของนักเรียนที่มีต่อวิชาวิทยาศาสตร์ โรงเรียนวัดธ...Joy Kularbam
 
บทความวิจัยของจีราศรีไทย ม.ราชภัฏสุรินทร์
บทความวิจัยของจีราศรีไทย ม.ราชภัฏสุรินทร์บทความวิจัยของจีราศรีไทย ม.ราชภัฏสุรินทร์
บทความวิจัยของจีราศรีไทย ม.ราชภัฏสุรินทร์JeeraJaree Srithai
 
โครงการห้องสมุดเพื่อน้อง
โครงการห้องสมุดเพื่อน้องโครงการห้องสมุดเพื่อน้อง
โครงการห้องสมุดเพื่อน้องBenjarat Meechalat
 
หัวข้อวิจัยทางวิทยาการเรียนรู้
หัวข้อวิจัยทางวิทยาการเรียนรู้หัวข้อวิจัยทางวิทยาการเรียนรู้
หัวข้อวิจัยทางวิทยาการเรียนรู้Prachyanun Nilsook
 
เด็กไม่ส่งการบ้าน
เด็กไม่ส่งการบ้านเด็กไม่ส่งการบ้าน
เด็กไม่ส่งการบ้านaapiaa
 
ศึกษารายการณี
ศึกษารายการณีศึกษารายการณี
ศึกษารายการณีSunisa199444
 
งานนำเสนอFlipclassroom
งานนำเสนอFlipclassroomงานนำเสนอFlipclassroom
งานนำเสนอFlipclassroomRatchakan Sungkawadee
 
ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59
ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59
ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59Natthapon Inhom
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Ploymnr
 
ใบงานที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร์ ใบงานที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร์ Mind Sirivimol
 
ใบงานคอมพิวเตอร์ ใบที่2 8
ใบงานคอมพิวเตอร์ ใบที่2 8ใบงานคอมพิวเตอร์ ใบที่2 8
ใบงานคอมพิวเตอร์ ใบที่2 8ฟาน. ฟฟฟ
 
ใบงานที่2-8
ใบงานที่2-8ใบงานที่2-8
ใบงานที่2-8Niraporn Pousiri
 
มคอ3อเงินยวง มนุษยสัมพันธ์
มคอ3อเงินยวง มนุษยสัมพันธ์มคอ3อเงินยวง มนุษยสัมพันธ์
มคอ3อเงินยวง มนุษยสัมพันธ์ไชยยา มะณี
 

What's hot (20)

Chapter 7
Chapter  7 Chapter  7
Chapter 7
 
Effective Teacher Education
Effective Teacher EducationEffective Teacher Education
Effective Teacher Education
 
วิจัยในชั้นเรียน ครูคิว2
วิจัยในชั้นเรียน ครูคิว2วิจัยในชั้นเรียน ครูคิว2
วิจัยในชั้นเรียน ครูคิว2
 
วิจัยในชั้นเรียน เรื่อง เจตคติของนักเรียนที่มีต่อวิชาวิทยาศาสตร์ โรงเรียนวัดธ...
วิจัยในชั้นเรียน เรื่อง เจตคติของนักเรียนที่มีต่อวิชาวิทยาศาสตร์ โรงเรียนวัดธ...วิจัยในชั้นเรียน เรื่อง เจตคติของนักเรียนที่มีต่อวิชาวิทยาศาสตร์ โรงเรียนวัดธ...
วิจัยในชั้นเรียน เรื่อง เจตคติของนักเรียนที่มีต่อวิชาวิทยาศาสตร์ โรงเรียนวัดธ...
 
บทความวิจัยของจีราศรีไทย ม.ราชภัฏสุรินทร์
บทความวิจัยของจีราศรีไทย ม.ราชภัฏสุรินทร์บทความวิจัยของจีราศรีไทย ม.ราชภัฏสุรินทร์
บทความวิจัยของจีราศรีไทย ม.ราชภัฏสุรินทร์
 
วิจัยในชั้นเรียน ครู เจี๊ยบ
วิจัยในชั้นเรียน ครู เจี๊ยบวิจัยในชั้นเรียน ครู เจี๊ยบ
วิจัยในชั้นเรียน ครู เจี๊ยบ
 
Toward a theory of online learning 57
Toward a theory of online learning 57Toward a theory of online learning 57
Toward a theory of online learning 57
 
โครงการห้องสมุดเพื่อน้อง
โครงการห้องสมุดเพื่อน้องโครงการห้องสมุดเพื่อน้อง
โครงการห้องสมุดเพื่อน้อง
 
5บทที่1
5บทที่1 5บทที่1
5บทที่1
 
หัวข้อวิจัยทางวิทยาการเรียนรู้
หัวข้อวิจัยทางวิทยาการเรียนรู้หัวข้อวิจัยทางวิทยาการเรียนรู้
หัวข้อวิจัยทางวิทยาการเรียนรู้
 
เด็กไม่ส่งการบ้าน
เด็กไม่ส่งการบ้านเด็กไม่ส่งการบ้าน
เด็กไม่ส่งการบ้าน
 
ศึกษารายการณี
ศึกษารายการณีศึกษารายการณี
ศึกษารายการณี
 
6บทที่2
6บทที่2 6บทที่2
6บทที่2
 
งานนำเสนอFlipclassroom
งานนำเสนอFlipclassroomงานนำเสนอFlipclassroom
งานนำเสนอFlipclassroom
 
ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59
ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59
ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
ใบงานที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร์ ใบงานที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร์
 
ใบงานคอมพิวเตอร์ ใบที่2 8
ใบงานคอมพิวเตอร์ ใบที่2 8ใบงานคอมพิวเตอร์ ใบที่2 8
ใบงานคอมพิวเตอร์ ใบที่2 8
 
ใบงานที่2-8
ใบงานที่2-8ใบงานที่2-8
ใบงานที่2-8
 
มคอ3อเงินยวง มนุษยสัมพันธ์
มคอ3อเงินยวง มนุษยสัมพันธ์มคอ3อเงินยวง มนุษยสัมพันธ์
มคอ3อเงินยวง มนุษยสัมพันธ์
 

Viewers also liked

บทที่1 แนวคิดเกี่ยวกับการรเรียนรู้ (1)
บทที่1 แนวคิดเกี่ยวกับการรเรียนรู้ (1)บทที่1 แนวคิดเกี่ยวกับการรเรียนรู้ (1)
บทที่1 แนวคิดเกี่ยวกับการรเรียนรู้ (1)นางสาวอัมพร แสงมณี
 
การพัฒนาแหล่งการเรียนรู้
การพัฒนาแหล่งการเรียนรู้การพัฒนาแหล่งการเรียนรู้
การพัฒนาแหล่งการเรียนรู้fonrin
 
การพัฒนาแหล่งเรียนรู้
การพัฒนาแหล่งเรียนรู้การพัฒนาแหล่งเรียนรู้
การพัฒนาแหล่งเรียนรู้bungon
 
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง(Constructivism)
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง(Constructivism)ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง(Constructivism)
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง(Constructivism)Mamoss CM
 
การบริหารแหล่งการเรียนรู้และสภาพแวดล้อม
การบริหารแหล่งการเรียนรู้และสภาพแวดล้อม การบริหารแหล่งการเรียนรู้และสภาพแวดล้อม
การบริหารแหล่งการเรียนรู้และสภาพแวดล้อม Sireetorn Buanak
 
การจัดการชั้นเรียน ดร.ไพรภ
การจัดการชั้นเรียน ดร.ไพรภการจัดการชั้นเรียน ดร.ไพรภ
การจัดการชั้นเรียน ดร.ไพรภpairop
 
Archivo Nacional de Chile
Archivo Nacional de ChileArchivo Nacional de Chile
Archivo Nacional de ChileRosy Penagos R
 

Viewers also liked (9)

บทที่1 แนวคิดเกี่ยวกับการรเรียนรู้ (1)
บทที่1 แนวคิดเกี่ยวกับการรเรียนรู้ (1)บทที่1 แนวคิดเกี่ยวกับการรเรียนรู้ (1)
บทที่1 แนวคิดเกี่ยวกับการรเรียนรู้ (1)
 
การพัฒนาแหล่งการเรียนรู้
การพัฒนาแหล่งการเรียนรู้การพัฒนาแหล่งการเรียนรู้
การพัฒนาแหล่งการเรียนรู้
 
การพัฒนาแหล่งเรียนรู้
การพัฒนาแหล่งเรียนรู้การพัฒนาแหล่งเรียนรู้
การพัฒนาแหล่งเรียนรู้
 
บทที่1 ทฤษฎีการเรียนรู้
บทที่1 ทฤษฎีการเรียนรู้บทที่1 ทฤษฎีการเรียนรู้
บทที่1 ทฤษฎีการเรียนรู้
 
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง(Constructivism)
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง(Constructivism)ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง(Constructivism)
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง(Constructivism)
 
การบริหารแหล่งการเรียนรู้และสภาพแวดล้อม
การบริหารแหล่งการเรียนรู้และสภาพแวดล้อม การบริหารแหล่งการเรียนรู้และสภาพแวดล้อม
การบริหารแหล่งการเรียนรู้และสภาพแวดล้อม
 
การจัดการชั้นเรียน ดร.ไพรภ
การจัดการชั้นเรียน ดร.ไพรภการจัดการชั้นเรียน ดร.ไพรภ
การจัดการชั้นเรียน ดร.ไพรภ
 
Chapter6
Chapter6Chapter6
Chapter6
 
Archivo Nacional de Chile
Archivo Nacional de ChileArchivo Nacional de Chile
Archivo Nacional de Chile
 

Similar to งานเทคโนโลยี Chapter7

Past 4 Introduction to technologies and educational media
Past 4 Introduction to technologies and educational mediaPast 4 Introduction to technologies and educational media
Past 4 Introduction to technologies and educational mediaPimploy Sornchai
 
โครงงานคอมพิวเตอร์.
โครงงานคอมพิวเตอร์.โครงงานคอมพิวเตอร์.
โครงงานคอมพิวเตอร์.Ploymnr
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ ใบงานที่ 5
โครงงานคอมพิวเตอร์ ใบงานที่ 5โครงงานคอมพิวเตอร์ ใบงานที่ 5
โครงงานคอมพิวเตอร์ ใบงานที่ 5Mind Sirivimol
 
Report1 5
Report1 5Report1 5
Report1 5kruwaeo
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์ โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์ gybrathtikan
 
ใบงานที่ 2.1
ใบงานที่ 2.1ใบงานที่ 2.1
ใบงานที่ 2.1Benjarin Puanloon
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์gybrathtikan
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์ โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์ RaksitaNueng
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์ โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์ gybrathtikan
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์ โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์ RaksitaNueng
 
04 แบบ ว-1ย-1ด-วณิชชา-แผนย่อย
04 แบบ ว-1ย-1ด-วณิชชา-แผนย่อย04 แบบ ว-1ย-1ด-วณิชชา-แผนย่อย
04 แบบ ว-1ย-1ด-วณิชชา-แผนย่อยKruBeeKa
 
บทที่9 เทคโน
บทที่9 เทคโนบทที่9 เทคโน
บทที่9 เทคโนPoppy'z Namkham
 
Computerproject3418
Computerproject3418Computerproject3418
Computerproject3418Review Wlp
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์ppnd18
 
INTRODUCTION TO TECHNOLOGIES AND EDUCATIONAL MEDIA
INTRODUCTION TO TECHNOLOGIES  AND  EDUCATIONAL MEDIAINTRODUCTION TO TECHNOLOGIES  AND  EDUCATIONAL MEDIA
INTRODUCTION TO TECHNOLOGIES AND EDUCATIONAL MEDIApompompam
 
Best01 ไม้เด็ดครู
Best01 ไม้เด็ดครูBest01 ไม้เด็ดครู
Best01 ไม้เด็ดครูPrasong Somarat
 

Similar to งานเทคโนโลยี Chapter7 (20)

Charpter 3
Charpter 3Charpter 3
Charpter 3
 
Past 4 Introduction to technologies and educational media
Past 4 Introduction to technologies and educational mediaPast 4 Introduction to technologies and educational media
Past 4 Introduction to technologies and educational media
 
โครงงานคอมพิวเตอร์.
โครงงานคอมพิวเตอร์.โครงงานคอมพิวเตอร์.
โครงงานคอมพิวเตอร์.
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ ใบงานที่ 5
โครงงานคอมพิวเตอร์ ใบงานที่ 5โครงงานคอมพิวเตอร์ ใบงานที่ 5
โครงงานคอมพิวเตอร์ ใบงานที่ 5
 
Report1 5
Report1 5Report1 5
Report1 5
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์ โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
ใบงานที่ 2.1
ใบงานที่ 2.1ใบงานที่ 2.1
ใบงานที่ 2.1
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์ โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์ โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์ โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
04 แบบ ว-1ย-1ด-วณิชชา-แผนย่อย
04 แบบ ว-1ย-1ด-วณิชชา-แผนย่อย04 แบบ ว-1ย-1ด-วณิชชา-แผนย่อย
04 แบบ ว-1ย-1ด-วณิชชา-แผนย่อย
 
บทที่9 เทคโน
บทที่9 เทคโนบทที่9 เทคโน
บทที่9 เทคโน
 
Computerproject3418
Computerproject3418Computerproject3418
Computerproject3418
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
INTRODUCTION TO TECHNOLOGIES AND EDUCATIONAL MEDIA
INTRODUCTION TO TECHNOLOGIES  AND  EDUCATIONAL MEDIAINTRODUCTION TO TECHNOLOGIES  AND  EDUCATIONAL MEDIA
INTRODUCTION TO TECHNOLOGIES AND EDUCATIONAL MEDIA
 
บทที่4
บทที่4บทที่4
บทที่4
 
ใบงานที่ 2 16
ใบงานที่ 2 16ใบงานที่ 2 16
ใบงานที่ 2 16
 
Best01 ไม้เด็ดครู
Best01 ไม้เด็ดครูBest01 ไม้เด็ดครู
Best01 ไม้เด็ดครู
 
ใบงานที่2-8
ใบงานที่2-8ใบงานที่2-8
ใบงานที่2-8
 

More from Poppy'z Namkham

งานเทคโนโลยี กลุ่ม 8
งานเทคโนโลยี กลุ่ม 8งานเทคโนโลยี กลุ่ม 8
งานเทคโนโลยี กลุ่ม 8Poppy'z Namkham
 
งานเทคโนโลยี 8
งานเทคโนโลยี 8งานเทคโนโลยี 8
งานเทคโนโลยี 8Poppy'z Namkham
 
งานเทคโนโลยี กลุ่ม 8
งานเทคโนโลยี กลุ่ม 8งานเทคโนโลยี กลุ่ม 8
งานเทคโนโลยี กลุ่ม 8Poppy'z Namkham
 
งานเทคโนโลยี 8
งานเทคโนโลยี 8งานเทคโนโลยี 8
งานเทคโนโลยี 8Poppy'z Namkham
 
งานเทคโนโลยี 8
งานเทคโนโลยี 8งานเทคโนโลยี 8
งานเทคโนโลยี 8Poppy'z Namkham
 
งานเทคโนโลยี 7
งานเทคโนโลยี 7งานเทคโนโลยี 7
งานเทคโนโลยี 7Poppy'z Namkham
 

More from Poppy'z Namkham (6)

งานเทคโนโลยี กลุ่ม 8
งานเทคโนโลยี กลุ่ม 8งานเทคโนโลยี กลุ่ม 8
งานเทคโนโลยี กลุ่ม 8
 
งานเทคโนโลยี 8
งานเทคโนโลยี 8งานเทคโนโลยี 8
งานเทคโนโลยี 8
 
งานเทคโนโลยี กลุ่ม 8
งานเทคโนโลยี กลุ่ม 8งานเทคโนโลยี กลุ่ม 8
งานเทคโนโลยี กลุ่ม 8
 
งานเทคโนโลยี 8
งานเทคโนโลยี 8งานเทคโนโลยี 8
งานเทคโนโลยี 8
 
งานเทคโนโลยี 8
งานเทคโนโลยี 8งานเทคโนโลยี 8
งานเทคโนโลยี 8
 
งานเทคโนโลยี 7
งานเทคโนโลยี 7งานเทคโนโลยี 7
งานเทคโนโลยี 7
 

งานเทคโนโลยี Chapter7

  • 1. โดย น.ส นพรัตน์ นำ้ำคำำ 533050406-1 น.ส นับเดือน บุตรละคร 533050432น.ส พิมพ์พลอย ศรไชย 533050438-8 ชั้นปีที่ 4 คณะศึกษำศำสตร์ สำขำกำรสอนภำษำจีนฯ มหำวิทยำลัยขอนแก่น
  • 2.
  • 3.
  • 4.
  • 5. สิ่งแวดล้อมทางการเรียน รู้ สิ่งแวดล้อมทางการเรียน รู้ ความหมายความหมาย คือ การให้ความสำาคัญต่อการเรียนรู้ของผู้เรียน โดยผ่านการปฏิบัติ ลงมือกระทำาด้วยตนเอง การพัฒนาศักยภาพทางการคิด ตลอดจนการแสวงหา ความรู้ด้วยตนเอง ซึ่งเป็นการเปิดโอกาสให้ผู้เรียน วางแผน ดำาเนินการและ การประเมินตนเอง และ มีปฏิสัมพันธ์กับแหล่งการเรียนรู้ต่างๆ ได้แก่ ครู เทคโนโลยี พ่อแม่ ภูมิปัญญาท้องถิ่น และบุคคลอื่น ๆ ตลอดจน สื่อต่างๆ เพื่อที่ จะนำามาสู่การสร้างความรู้ โดย ครูเป็นผู้จัดสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้หรือสร้างความรู้ของ ผู้เรียน ด้วยการนำาวิธีการ เทคโนโลยี และนวัตกรรมหรือสื่อ ตลอดจนภูมิปัญญาท้อง ถิ่นมาใช้ร่วมกันเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการเรียนรู้
  • 6. ประเภทของสิ่งแวดล้อม ทางการเรียนรู้ ประเภทของสิ่งแวดล้อม ทางการเรียนรู้ การร่วมมือกันแก้ปัญหา (Collaboration) ผู้เรียนได้แลกเปลี่ยนประสบการณ์กับผู้ อื่นเพื่อขยายมุมมองให้แก่ตนเอง การ ร่วมมือกัน แก้ปัญหาจะสนับสนุนให้ผู้ เรียนเกิดการคิดไตร่ตรอง (Reflective thinking) เป็นแหล่งที่เปิดโอกาสให้ทั้ง ผู้เรียน ผู้สอน ผู้เชี่ยวชาญ ได้สนทนา แลกเปลี่ยนความคิดเห็นของตนเองกับ ผู้อื่น อีกทั้งยังป้องกันและปรับเปลี่ยน ความเข้าใจที่คลาดเคลื่อน (Misconception) ที่จะเกิดขึ้นในขณะ ที่เรียนรู้ รวมทั้งการขยายแนวคิด สถานการณ์ปัญหา (Problem based learning) แหล่งเรียนรู้ ( Resource ) ฐานความช่วยเหลือ (Scaffolding) เป็นที่รวบรวมข้อมูล เนื้อหา สารสนเทศ ที่ผู้เรียนจะใช้ใน การ แก้สถานการณ์ปัญหาที่ ผู้เรียนเผชิญ ซึ่งแหล่งเรียนรู้ ในสิ่งแวดล้อมทางการเรียน รู้ฯ นั้นคงไม่ใช่เพียง แค่เป็น เพียงแหล่งรวบรวมเนื้อหา เท่านั้น แต่รวมถึงสิ่งต่างๆที่ผู้ เรียนจะใช้ในการแสวงหา และค้นพบ คำาตอบ (Discovery) เปลี่ยนบทบาทของครูที่ทำาหน้าที่ในการถ่ายทอด ความรู้ มาเป็น “ผู้ฝึกสอน” ที่ให้ความช่วยเหลือ คำา แนะนำา สำาหรับผู้เรียน จะเป็นการฝึกหัดผู้เรียนโดย การให้ความรู้แก่ ผู้เรียนในเชิงการให้การรู้คิด และการสร้างปัญหา การโค้ช (Coaching)
  • 8. ประเภทของสิ่งแวดล้อม ทางการเรียนรู้ ประเภทของสิ่งแวดล้อม ทางการเรียนรู้ การร่วมมือกันแก้ปัญหา (Collaboration) ผู้เรียนได้แลกเปลี่ยนประสบการณ์กับผู้ อื่นเพื่อขยายมุมมองให้แก่ตนเอง การ ร่วมมือกัน แก้ปัญหาจะสนับสนุนให้ผู้ เรียนเกิดการคิดไตร่ตรอง (Reflective thinking) เป็นแหล่งที่เปิดโอกาสให้ทั้ง ผู้เรียน ผู้สอน ผู้เชี่ยวชาญ ได้สนทนา แลกเปลี่ยนความคิดเห็นของตนเองกับ ผู้อื่น อีกทั้งยังป้องกันและปรับเปลี่ยน ความเข้าใจที่คลาดเคลื่อน (Misconception) ที่จะเกิดขึ้นในขณะ ที่เรียนรู้ รวมทั้งการขยายแนวคิด สถานการณ์ปัญหา (Problem based learning) แหล่งเรียนรู้ ( Resource ) ฐานความช่วยเหลือ (Scaffolding) เป็นที่รวบรวมข้อมูล เนื้อหา สารสนเทศ ที่ผู้เรียนจะใช้ใน การ แก้สถานการณ์ปัญหาที่ ผู้เรียนเผชิญ ซึ่งแหล่งเรียนรู้ ในสิ่งแวดล้อมทางการเรียน รู้ฯ นั้นคงไม่ใช่เพียง แค่เป็น เพียงแหล่งรวบรวมเนื้อหา เท่านั้น แต่รวมถึงสิ่งต่างๆที่ผู้ เรียนจะใช้ในการแสวงหา และค้นพบ คำาตอบ (Discovery) เปลี่ยนบทบาทของครูที่ทำาหน้าที่ในการถ่ายทอด ความรู้ มาเป็น “ผู้ฝึกสอน” ที่ให้ความช่วยเหลือ คำา แนะนำา สำาหรับผู้เรียน จะเป็นการฝึกหัดผู้เรียนโดย การให้ความรู้แก่ ผู้เรียนในเชิงการให้การรู้คิด และการสร้างปัญหา การโค้ช (Coaching)
  • 10. ประเภทของสิ่งแวดล้อม ทางการเรียนรู้ ประเภทของสิ่งแวดล้อม ทางการเรียนรู้การร่วมมือกันแก้ปัญหา (Collaboration) ผู้เรียนได้แลกเปลี่ยนประสบการณ์กับผู้ อื่นเพื่อขยายมุมมองให้แก่ตนเอง การ ร่วมมือกัน แก้ปัญหาจะสนับสนุนให้ผู้ เรียนเกิดการคิดไตร่ตรอง (Reflective thinking) เป็นแหล่งที่เปิดโอกาสให้ทั้ง ผู้เรียน ผู้สอน ผู้เชี่ยวชาญ ได้สนทนา แลกเปลี่ยนความคิดเห็นของตนเองกับ ผู้อื่น อีกทั้งยังป้องกันและปรับเปลี่ยน ความเข้าใจที่คลาดเคลื่อน (Misconception) ที่จะเกิดขึ้นในขณะ ที่เรียนรู้ รวมทั้งการขยายแนวคิด สถานการณ์ปัญหา (Problem based learning) แหล่งเรียนรู้ ( Resource ) ฐานความช่วยเหลือ (Scaffolding) เป็นที่รวบรวมข้อมูล เนื้อหา สารสนเทศ ที่ผู้เรียนจะใช้ใน การ แก้สถานการณ์ปัญหาที่ ผู้เรียนเผชิญ ซึ่งแหล่งเรียนรู้ ในสิ่งแวดล้อมทางการเรียน รู้ฯ นั้นคงไม่ใช่เพียง แค่เป็น เพียงแหล่งรวบรวมเนื้อหา เท่านั้น แต่รวมถึงสิ่งต่างๆที่ผู้ เรียนจะใช้ในการแสวงหา และค้นพบ คําตอบ (Discovery) เปลี่ยนบทบาทของครูที่ทําหน้าที่ในการถ่ายทอด ความรู้ มาเป็น “ผู้ฝึกสอน” ที่ให้ความช่วยเหลือ คํา แนะนํา สําหรับผู้เรียน จะเป็นการฝึกหัดผู้เรียนโดย การให้ความรู้แก่ ผู้เรียนในเชิงการให้การรู้คิด และการสร้างปัญหา การโค้ช (Coaching)
  • 11. เปลี่ยนบทบาทของครูที่ทําหน้าที่ในการถ่ายทอดความรู้ มาเป็น “ผู้ฝึกสอน” ที่ให้ความช่วยเหลือ คําแนะนํา สําหรับผู้เรียน จะ เป็นการฝึกหัดผู้เรียนโดยการให้ความรู้แก่ ผู้เรียนในเชิงการ ให้การรู้คิด และการสร้างปัญหา การโค้ช (Coaching)
  • 12. ห่างไกลความเจริญ ไม่มีการเชื่อมโยงเครือข่าย อินเตอร์เน็ต อยากจะได้สื่อที่ช่วยกระตุ้นให้เด็ก มีความสนใจในการเรียนและ ผู้เรียนมี ปฏิสัมพันธ์กับสื่อโดยตรงสามารถย้อนทบทวน ส่วนที่ต้องการได้โดยไม่มีข้อจํากัด สามารถ ประเมินเพื่อแก้ไขข้อบกพร่องของตนเองได้ พร้อมทั้ง สอดแทรกเนื้อหาวิชาการเข้าไว้อย่างเหมาะสม ชุด การสอน เป็นการนําสื่อการสอนหลายๆ ชนิดมาประกอบเข้าด้วยกัน ในรูปของสื่อประสมที่ สอดคล้องกับเนื้อหาและ ประสบการณ์ โดยไม่ต้องมี การเชื่อมโยงอินเตอร์เน็ต เช่น แบบทดสอบ บัตรงาน และสื่ออุปกรณ์ต่างๆ ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนตามจุดมุ่งหมายที่ตั้งเอา ไว้และสามารเปลี่ยนแปลง พฤติกรรมการเรียนรู้ของ นักเรียนได้อย่างมี ประสิทธิภาพยิ่งขึ้น ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนตามจุดมุ่งหมายที่ตั้งเอา ไว้และสามารเปลี่ยนแปลง พฤติกรรมการเรียนรู้ของ นักเรียนได้อย่างมี ประสิทธิภาพยิ่งขึ้น เลือกใช้นวัตกรรม
  • 13. ต้องการนวัตกรรมที่แก้ไขข้อจำากัดด้านสถานที่ เวลา โดยประยุกต์ใช้เว็บไซต์ที่โรงเรียนมีอยู่ สิ่งแรกที่ ต้องมีคือการลงทะเบียนเพื่อขอรหัสผ่านเข้าเรียน หลังจากนั้นผู้เรียนศึกษาเนื้อหา ผู้เรียนสามารถ กำาหนดการเรียนได้ด้วยตนเอง (Self-directed ) กำาหนดกรอบเวลาในการเรียนรู้ได้เหมาะสมกับความ สามารถในการเรียนรู้ของตนเอง และยังสามารถเข้า ถึงเนื้อหาได้ทุกที่ ทุกเวลา ทุกสถานที่ E-Learning ผู้เรียนเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง มีการเรียนรู้อย่างมีปฏิสัมพันธ์ และเรียนรู้ร่วมกัน สามารถ เรียนรู้ได้ทุกที่ทุกเวลา เป็นคน ที่สมัย ทันเหตุการณ์ เกิดการ เรียนรู้ที่กว้างขวาง ผู้เรียนเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง มีการเรียนรู้อย่างมีปฏิสัมพันธ์ และเรียนรู้ร่วมกัน สามารถ เรียนรู้ได้ทุกที่ทุกเวลา เป็นคน ที่สมัย ทันเหตุการณ์ เกิดการ เรียนรู้ที่กว้างขวาง เลือกใช้นวัตกรรม - เป็นเครื่องมือการเรียนรู้ที่ประยุกต์ กลยุทธ์การเรียนการสอนเพื่อการจำาแนก ประเมิน และบูรณาการสารสนเทศต่างๆ โดยใช้เว็บไซต์เป็นสื่อกลาง - จัดประสบการณ์จำาลอง การ ทดลองฝึกหัดออนไลน์ ให้เกิดการ คิดร่วมกัน - ผู้สอนเปลี่ยนตนเองจากเป็นผู้ ถ่ายทอดข้อมูลมาเป็นผู้ช่วยเหลือผู้ เรียนในการค้นหา - การเรียนรู้เกิดขึ้นในลักษณะ เกี่ยวข้องกันหลายวิชา
  • 14. ต้องการออกแบบนวัตกรรมที่เน้นให้ผู้เรียนสามารถ สร้างความรู้ด้วยตนเอง เผชิญสถานการณ์ปัญหา มี แหล่งเรียนรู้ให้ผู้เรียนได้สืบค้น เมื่อไม่สามารถแก้ ปัญหาได้ก็มีฐานความช่วยเหลือ พร้อมทั้งมีเครื่อง มือที่สนับสนุนการร่วมมือกันแก้ปัญหา สามารถแลก เปลี่ยนความคิดเห็นระหว่างกันได้ตลอดเวลา นอกจากนี้นวัตกรรมที่พัฒนาขึ้นต้องสามารถนำามา ใช้กับผู้เรียนที่มีรูปแบบการเรียนรู้ที่แตกต่างกัน นำา ไปใช้เรียนได้ทุกสถานที่ไม่ว่าจะเป็นใต้ร่มไม้ หรือ สถานที่ที่ไม่มีคอมพิวเตอร์ก็สามารถใช้เรียนรู้เพื่อ ให้เกิดประสิทธิภาพได้ การเรียนรู้บน เครือข่าย ผู้เรียน สร้างความรู้ด้วยตนเอง สามารถแสดงความคิดเห็นร่วม มือกันแก้ไขปัญหาได้อย่างมี ประสิทธิภาพ และเรียนรู้ได้ใน ทุกสถานการณ์ ผู้เรียน สร้างความรู้ด้วยตนเอง สามารถแสดงความคิดเห็นร่วม มือกันแก้ไขปัญหาได้อย่างมี ประสิทธิภาพ และเรียนรู้ได้ใน ทุกสถานการณ์ สามารถเชื่อมโยงเครือข่ายทั่วโลก มีการเชื่อมโยงปูพื้นฐานที่ช่วยใน การสร้างความรู้ ตลอดจนคุณ ลักษะด้านการสื่อสารที่ สามารถใช้ แลกเปลี่ยนความรู้ ขยายแนวคิด และมุมมองระหว่างกันได้ตลอด เลือกใช้นวัตกรรม มัลติมีเดีย ข้อความ ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว และเสียง รวมทั้งการเชื่อมโยง หลายมิติ เช่น เกมสถานการณ์ จำาลอง สื่อสิ่งพิมพ์ หนังสือ วีดิทัศน์ ภูมิปัญญาท้องถิ่น อุปกรณ์การ ทดลอง รวมทั้งกิจกรรมต่างๆ ชุดสร้างความรู้
  • 15. โปรแกรมเรียนภาษาจีนออนไลน์ เป็นนวัตกรรมที่สร้างบนเครือค่ายอินเตอร์เน็ต โดยรวบรวมเนื้อหาภาษาจีนที่น่า สนใจ มีสีสันสวยงาม ภาพเคลื่อนไหว ฝึกพูด ฝึกอ่านตาม และเพลงประกอบ สามารถเรียนรู้ ฝึกฝน ทบทวนความรู้ได้ทุกที่ทุกเวลา และเมื่อมีคำาถามก็จะมีคำา ตอบให้ทราบทันที ไม่น่าเบื่อ ย่อมทำาให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้ อยากรู้อยาก เล่น และเมื่อเล่นแล้วก็เกิดการเรียนรู้ จำาศัพท์ได้ หรือจำาสิ่งที่ผู้สอนต้องการให้ผู้ เรียนรับรู้ จะทำาให้เกิดการเรียนภาษาจีนที่มีประสิทธิภาพ โปรแกรมเรียนภาษาจีนออนไลน์ เป็นนวัตกรรมที่สร้างบนเครือค่ายอินเตอร์เน็ต โดยรวบรวมเนื้อหาภาษาจีนที่น่า สนใจ มีสีสันสวยงาม ภาพเคลื่อนไหว ฝึกพูด ฝึกอ่านตาม และเพลงประกอบ สามารถเรียนรู้ ฝึกฝน ทบทวนความรู้ได้ทุกที่ทุกเวลา และเมื่อมีคำาถามก็จะมีคำา ตอบให้ทราบทันที ไม่น่าเบื่อ ย่อมทำาให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้ อยากรู้อยาก เล่น และเมื่อเล่นแล้วก็เกิดการเรียนรู้ จำาศัพท์ได้ หรือจำาสิ่งที่ผู้สอนต้องการให้ผู้ เรียนรับรู้ จะทำาให้เกิดการเรียนภาษาจีนที่มีประสิทธิภาพ