SlideShare a Scribd company logo
1 of 40
Download to read offline
วิจัยในชั้นเรียน
การวิเคราะห์ผู้เรียนรายบุคคลชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/2
ปีการศึกษา 2560
โดย
นายพิพัฒน์พงษ์ สาจันทร์
นางสาววิดยะดา นาคะชัย
โรงเรียนเทพลีลา กรุงเทพมหานคร
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 2
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
กระทรวงศึกษาธิการ
เรื่อง การวิเคราะห์ผู้เรียนรายบุคคลชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/2
ปีการศึกษา 2560
โดย
นายพิพัฒน์พงษ์ สาจันทร์ นางสาววิดยะดา นาคะชัย
ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ชานาญการ ตาแหน่ง ครูผู้ช่วย
.....................................................................
(นางจุฑารัตน์ เศรษฐบุตร)
หัวหน้าระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
.....................................................................
(นางอุมาพร ไชยฤกษ์)
รองผู้อานวยการกลุ่มบริหารวิชาการ
.....................................................................
(นายชาญชัย โรจนะ)
ผู้อานวยการโรงเรียนเทพลีลา
ก
บทคัดย่อ
ชื่อเรื่อง การวิเคราะห์ผู้เรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/2 ปีการศึกษา 2560
โรงเรียนเทพลีลา เขตบางกะปิ กรุงเทพมหานคร
ผู้วิจัย นายพิพัฒน์พงษ์ สาจันทร์ และนางสาววิดยะดา นาคะชัย
ปีที่ทาการวิจัย ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2560
ประเภทวิจัย การวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน (Classroom Action Research)
................................................................................................................................................................
การวิเคราะห์ผู้เรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/2 โรงเรียนเทพลีลา ปีการศึกษา 2560 มี
วัตถุประสงค์ 1) เพื่อวิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐานด้านต่าง ๆ ของนักเรียนที่ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/2
โรงเรียนเทพลีลา ปีการศึกษา 2560 2) เพื่อศึกษาจุดเด่นและจุดด้อยที่ควรได้รับการพัฒนาและ
ปรับปรุงนักเรียนแต่ละคนในชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/2 โรงเรียนเทพลีลา ปีการศึกษา 2560 3) เพื่อ
ศึกษาแนวทางการออกแบบการจัดการเรียนการสอนของครูให้สามารถพัฒนาคุณภาพของแต่ละคน
และทุกคนในชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/2 โรงเรียนเทพลีลา ปีการศึกษา 2560 กลุ่มเป้าหมาย คือ นักเรียน
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/2 จานวน 39 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ประกอบด้วย
แบบทดสอบวัดความรู้พื้นฐานก่อนเรียน แบบวิเคราะห์ผู้เรียนรายบุคคล แบบสังเกต แบบสัมภาษณ์
แบบบันทึกวิเคราะห์ข้อมูล ด้วยค่าสถิติร้อยละ ,SWOTanalysis ,PMIA (Plus, Minus, Interesting
point, Approach) ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้
- การวิเคราะห์ข้อมูลด้านภูมิหลังครอบครัว สถานภาพบิดา-มารดา ส่วนใหญ่ อยู่ด้วยกัน
ร้อยละ 61.54 ที่พักของนักเรียน ส่วนใหญ่ หอพัก/บ้านเช่า ร้อยละ 74.36 อาชีพผู้ปกครอง
ส่วนใหญ่รับจ้างทั่วไป ร้อยละ 46.15 มีความจาเป็นที่ต้องการขอทุนการศึกษา ร้อยละ 61.54 วิธีเดินทาง
มาโรงเรียน ส่วนใหญ่ รถเมล์/รถประจาทาง ร้อยละ 53.85 เงินที่ได้รับจากผู้ปกครองในแต่ละวัน ส่วน
ใหญ่ 51-100 บาท ร้อยละ 64.10
- การวิเคราะห์ข้อมูลด้านผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ผลการเรียนเฉลี่ย (GPA) อันดับที่ 1
2.51–3.00 ร้อยละ 30.77 (12) อันดับที่ 2 2.01–2.50 และ 3.01-3.50 ร้อยละ 20.51 (8).อันดับที่ 4
1.51-2.00 ร้อยละ 15.38 (6) อันดับที่ 5 3.51-4.00 ร้อยละ 7.69 (3) และอันดับ 6 1.01-1.50
ร้อยละ 5.13 (2)
- การวิเคราะห์ข้อมูลด้านพัฒนาการด้านต่าง ๆ น้าหนักของนักเรียน อันดับที่ 1 ตามเกณฑ์
มาตรฐาน ร้อยละ 94.87 (37) อันดับที่ 2 สูงกว่าเกณฑ์มาตรฐาน ร้อยละ7.69 (3) ส่วนสูงของ
นักเรียน อันดับที่ 1 ตามเกณฑ์มาตรฐาน ร้อยละ 92.31 (36) อันดับที่ 2 ต่ากว่าเกณฑ์มาตรฐาน
ข
ร้อยละ 5.13 (2) สายตา อันดับที่ 1 ปกติ ร้อยละ 56.41 (22) อันดับที่ 2 สายตาสั้น ร้อยละ 43.59
(17) สุขภาพ/โรคประจาตัว อันดับที่ 1 แข็งแรง/ปกติ ร้อยละ74.36 (29) อันดับที่ 2 ภูมิแพ้ ร้อยละ
15.38 (6) อันดับที่ 3 หอบหืด ร้อยละ 7.69 (3) อันดับที่ 4 โรคอื่น ๆ ร้อยละ 2.56 (1) บุคลิกภาพ
ทางกาย/จิตใจ อันดับที่ 1 แจ่มใส ร่าเริง ร้อยละ 87.18 (34) อันดับที่ 2 ซุกซน/ไม่อยู่นิ่ง/สมาธิสั้น
ร้อยละ 12.82 (5)
- การวิเคราะห์ข้อมูลด้านความสนใจและความสามารถพิเศษ วิชาที่สอบที่สุด อันดับที่ 1
ภาษาอังกฤษ และชีววิทยาร้อยละ 23.08 (9) อันดับที่ 2 คณิตศาสตร์ ร้อยละ 12.82 (5) อันดับที่ 3
ฟิสิกส์ ร้อยละ 10.26 (4) ความสามารถพิเศษอันดับที่ 1 ด้านกีฬา ร้อยละ 30.77 (12) อันดับที่ 2
อื่น ๆ ร้อยละ 25.64 (10) อันดับที่ 3 ด้านดนตรี และ ด้านศิลปะ ร้อยละ20.51 (8) อาชีพที่ใฝ่ฝัน
อันดับที่ 1 อาชีพอิสระ ร้อยละ 46.15 (18) อันดับที่ 2 รับราชการ ร้อยละ 25.64 อันดับที่ 3 อื่น ๆ
ร้อยละ 23.08 (9) อันดับที่ 4 พนักงานบริษัท ร้อยละ 5.13 (2) การศึกษา อันดับที่ 1 ศึกษาต่อ
ร้อยละ 100 (39)
- การวิเคราะห์ผู้เรียนตามแบบ SWOT Analysis ด้านจุดแข็ง ครูมีเป้าหมายในการจัดการ
เรียนการสอนเพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียน โดยเฉพาะอย่างยิ่งการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนให้
ตามเกณฑ์ที่โรงเรียนและเขตพื้นที่การศึกษา กาหนด เป็นเกณฑ์มาตรฐาน ครูมีกระบวนการในการ
จัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญและมีระบบในการจัดเก็บข้อมูล เอกสารหลักฐานเพื่อแสดง
คุณภาพผู้เรียน และครูสามารถปฏิบัติงานตามมาตรฐานของโรงเรียนสากเหล็กวิทยา ได้แก่ มาตรฐาน
การจัดการเรียนการสอน มาตรฐานการปฏิบัติงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน และมาตรฐานความ
เป็นครู ด้านโอกาส โรงเรียนมีวิสัยทัศน์และมีเป้าหมายในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน เพื่อความสาเร็จ
ของผู้เรียน จึงมีการสนับสนุนในทุกด้าน โรงเรียนได้รับการสนับสนุนงบประมาณจากรัฐบาล
โดยเฉพาะโครงการสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาตั้งแต่อนุบาลจนถึงการศึกษาขั้นพื้นฐาน
(เรียนฟรี 15 ปี ) โรงเรียนได้รับความร่วมมือจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ คณะกรรมการ
สถานศึกษา สมาคมผู้ปกครองนักเรียน ผู้ปกครองเครือข่าย และไลน์กลุ่มนักเรียน และไลน์กลุ่ม
ผู้ปกครอง ด้านอุปสรรค จานวนนักเรียนต่อห้องมีจานวนมาก เป็นอุปสรรคต่อการจัดการเรียนการ
สอน นักเรียนมีความสนใจในการเรียนวิทยาศาสตร์ เพื่อการศึกษาต่อสูง แต่มีความรู้พื้นฐานทาง
วิทยาศาสตร์ และคณิตศาสตร์อยู่ในระดับต่า นักเรียนบางคนยังไม่รู้เป้าหมายของตัวเอง ด้านจุดอ่อน
มีนักเรียนที่ยังมีผลการเรียนไม่ผ่านร้อยละ 33.33 ผลการจัดกลุ่มคุณภาพอยู่ในระดับปานกลาง
ร้อยละ 51.28 และ ระดับปรับปรุง ร้อยละ 20.51 นักเรียนมีความรู้ ทักษะการคานวณค่อนข้างต่า
และผลการสอน O-net ไม่ผ่านเกณฑ์ขีดจากัดล่าง ตามที่เขตพื้นที่กาหนด
ค
กิตติกรรมประกาศ
การจัดทาวิจัยในชั้นเรียนในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาข้อมูลของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่
6/2 โรงเรียนเทพลีลา ปีการศึกษา 2560 ข้อสรุปของการวิจัยสามารถนาไปวางแผนการออกแบบ
กิจกรรมการเรียนรู้ให้เหมาะสม ซึ่งจะส่งผลให้ผู้เรียนได้รับการพัฒนาเต็มตามศักยภาพต่อไป ผู้วิจัย
ขอขอบคุณบุคคลที่เกี่ยวข้องในการวิจัย ดังต่อไปนี้
ขอขอบใจนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/2 โรงเรียนเทพลีลา ปีการศึกษา 2560 ทุกคนที่ให้
ความร่วมมือในการให้ข้อมูลเพื่อใช้ในการวิจัย
ขอบพระคุณครูจุฑารัตน์ เศรษฐบุตร หัวหน้าระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนเทพลีลา
ที่คอยให้คาแนะนา ให้กาลังใจในการปฏิบัติหน้าที่ครูประจาชั้นด้วยดีเสมอมา
ขอขอบพระคุณผู้อานวยการโรงเรียนเทพลีลา รองผู้อานวยโรงเรียนเทพลีลาทุกท่าน ที่คอย
อานวยความสะดวกและให้คาแนะนาในการทาวิจัยครั้งนี้ด้วยดีเสมอมา
กราบขอบพระคุณบิดา มารดา และญาติ ๆ ทุกคนที่คอยให้กาลังใจส่งผลให้การวิจัยครั้งนี้
สาเร็จลุล่วงตามวัตถุประสงค์ทุกประการ
ลงชื่อ ผู้วิจัย
(นายพิพัฒน์พงษ์ สาจันทร์)
ลงชื่อ ผู้วิจัย
(นางสาววิดยะดา นาคะชัย)
ง
สารบัญ
บทคัดย่อ.....................................................................................................................................ก
กิตติกรรมประกาศ.......................................................................................................................ค
สารบัญ.......................................................................................................................................ง
สารบัญตาราง.............................................................................................................................ฉ
บทที่ 1 บทนา.............................................................................................................................1
1. ความเป็นมา.....................................................................................................................1
2. วัตถุประสงค์ของการวิจัย.................................................................................................2
3. ขอบเขตของการวิจัย........................................................................................................2
4. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ...............................................................................................2
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง..........................................................................................................3
1. แนวคิดของการทาวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน ...................................................................3
2. หลักการ ของการทาวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน.................................................................3
3. คุณค่าของการทาวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน.....................................................................3
4. ด้านของข้อมูลที่จัดเก็บ....................................................................................................4
5. วิธีการจัดเก็บข้อมูล..........................................................................................................4
บทที่ 3 วิธีดาเนินการวิจัย...........................................................................................................5
1. กลุ่มเป้าหมาย..................................................................................................................5
2. สารสนเทศและข้อมูลที่เก็บรวบรวม ประกอบด้วย...........................................................5
3. แหล่งข้อมูล......................................................................................................................5
4. เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูล .........................................................................................5
5. วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล.................................................................................................5
6. การวิเคราะห์ข้อมูล..........................................................................................................6
บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล.....................................................................................................7
1. ผลการวิเคราะห์ข้อมูลด้านภูมิหลังครอบครัว ...................................................................7
2. ผลการวิเคราะห์ข้อมูลด้านผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน..........................................................9
3. ผลการวิเคราะห์ข้อมูลด้านพัฒนาการด้านต่าง ๆ..............................................................9
4. ผลการวิเคราะห์ข้อมูลด้านความสนใจและความสามารถพิเศษ......................................11
5. ผลการวิเคราะห์ผู้เรียนตามแบบ SWOT .......................................................................13
6. ผลการวิเคราะห์ PMIA...................................................................................................14
จ
บทที่ 5 สรุปผลการวิจัย.............................................................................................................19
1. สรุปผลการวิจัย..............................................................................................................19
2. ข้อเสนอแนะจากการวิจัย...............................................................................................21
บรรณานุกรม.............................................................................................................................22
ภาคผนวก.................................................................................................................................23
ประวัติผู้วิจัย.............................................................................................................................31
ฉ
สารบัญตาราง
ตารางที่ 1 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลด้านภูมิหลังครอบครัว....................................................................7
ตารางที่ 2 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลด้านผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน (GPA)................................................9
ตารางที่ 3 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลด้านพัฒนาการ...............................................................................9
ตารางที่ 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลด้านความสนใจและความสามารถพิเศษ.......................................11
ตารางที่ 5 การวิเคราะห์ PMIA ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/2................................................14
บทที่ 1
บทนา
1. ความเป็นมา
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 ที่ระบุไว้ว่า “ มาตรา 22 การจัดการศึกษาต้อง
ยึดหลักว่าผู้เรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ และถือว่าผู้เรียนมีความสาคัญมาก
ที่สุด กระบวนการจัดการศึกษาต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาตามธรรมชาติและเต็มตาม
ศักยภาพ”
การวิเคราะห์ผู้เรียน เพื่อศึกษาผู้เรียนเป็นรายบุคคล จึงมีความสาคัญและจาเป็นมาก
ประโยชน์ของการวิเคราะห์ผู้เรียน คือ การนาข้อมูลไปช่วยเหลือ แก้ไข ส่งเสริม และสนับสนุนให้
ผู้เรียนมีการพัฒนาได้อย่างเหมาะสม เต็มศักยภาพของแต่ละบุคคลและมีความสุข ครูผู้สอนจึงเป็นผู้มี
บทบาทสาคัญเกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้ให้ผู้เรียนรู้จักแสวงหาความรู้ พัฒนาตนเอง คิดเอง ปฏิบัติเอง
เพื่อนาไปสู่การสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง
สมศ. ได้กาหนดมาตรฐานคุณภาพครูในด้านการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ
อย่างมีประสิทธิภาพไว้ว่า ครูจะต้องทากิจกรรม 7 กิจกรรม คือ 1) การวิเคราะห์หลักสูตร 2) การ
วิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล 3)การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่หลากหลาย 4) การใช้เทคโนโลยีเป็น
แหล่งและสื่อการเรียนรู้ของตนเองและนักเรียน 5) การวัดผลและประเมินผลตามสภาพจริงอย่างรอบ
ด้านเน้นองค์รวมและเน้นพัฒนาการ 6) การใช้ผลการประเมินเพื่อแก้ไข ปรับปรุงและพัฒนาการ
จัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาผู้เรียนให้เต็มศักยภาพ 7) การใช้การวิจัยปฏิบัติการในการพัฒนา
นวัตกรรมเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ของนักเรียนและการสอนของตนเอง
ในปีการศึกษา 2560 ผู้วิจัยได้รับมอบหมายให้เป็นครูประจาชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/2 ซึ่งมี
นักเรียนจานวน 39 คน แยกเป็นนักเรียนชาย จานวน 12 คน นักเรียนหญิง จานวน 27 คน จาก
การศึกษาข้อมูลเบื้องต้นของนักเรียนดังกล่าวพบว่านักเรียนมีความแตกต่างกันทั้งทางด้านฐานะทาง
ครอบครัว ด้านผลการเรียน มีนักเรียนบางคนยังมีผลการเรียนที่ยังไม่ผ่านเป็นจานวนมาก
ดังนั้น ผู้วิจัยการจึงทาการวิเคราะห์ผู้เรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/2 โรงเรียนเทพลีลา
ปีการศึกษา 2560 เพื่อวิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐานของนักเรียน เพื่อศึกษาจุดเด่น และจุดด้อย ที่ควรได้รับ
การพัฒนาและปรับปรุงนักเรียนแต่ละคน เพื่อใช้เป็นแนวทางการออกแบบการจัดการเรียนการสอน
ของครูให้สามารถพัฒนาคุณภาพของแต่ละคนและทุกคนต่อไป
2
2. วัตถุประสงค์ของการวิจัย
2.1 เพื่อวิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐานของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/2 โรงเรียนเทพลีลา
ปีการศึกษา 2560
2.2 เพื่อศึกษาจุดเด่น และจุดด้อย ที่ควรได้รับการพัฒนาและปรับปรุงนักเรียนแต่ละคนในชั้น
มัธยมศึกษาปีที่ 6/2 โรงเรียนเทพลีลา ปีการศึกษา 2560
2.3 เพื่อใช้เป็นแนวทางการออกแบบการจัดการเรียนการสอนของครูให้สามารถพัฒนาคุณภาพ
ของแต่ละคนและทุกคนในชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/2 โรงเรียนเทพลีลา ปีการศึกษา 2560
3. ขอบเขตของการวิจัย
3.1 กลุ่มเป้าหมาย คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/2 โรงเรียนเทพลีลา เขตบางกะปิ
กรุงเทพมหานคร ปีการศึกษา 2560 จานวน 39 คน
3.2 ระยะเวลาในการวิจัย คือ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2560 ตั้งแต่วันจันทร์ที่ 15
เดือน พฤษภาคม พ.ศ. 2560 ถึงวันศุกร์ที่ 16 เดือน มิถุนายา พ.ศ. 2560
4. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
4.1 ครูผู้สอนสามารถออกแบบการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้เหมาะสมกับนักเรียน
4.2 แนวทางการเตรียมความพร้อมและพื้นฐานของนักเรียนจะเรียนเรื่องใหม่แนวทางการ
วางแผนพัฒนาและปรับปรุง นักเรียนให้สอดคล้องกับจุดเด่น จุดด้อยของผู้เรียนต่อไป
บทที่ 2
เอกสารที่เกี่ยวข้อง
1. แนวคิดของการทาวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน
มาตรฐานคุณภาพครูในด้านการจัดการเรียนการสอน ตามมาตรฐาน สมศ.ต้องเน้นที่ผู้เรียนเป็น
สาคัญอย่างมีประสิทธิภาพ การวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล เป็นกิจกรรมหนึ่ง ที่ผู้สอนต้องจัดทา
เพื่อใช้เป็นแนวทาง จัดกิจกรรมการเรียนการสอนเพื่อนาไปสู่การเกิดความรู้ ในสภาพที่แตกต่างของ
ผู้เรียน โดยการใช้การวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียนที่มีแนวคิดดังนี้
1) การวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน ( classroom action research - CAR) เป็นเครื่องมือใน
การเรียนรู้และสร้างความรู้ในการปฏิบัติงาน ยังผลให้ครูเกิดความเข้าใจ ในความสาเร็จ และปัญหาการ
ปฏิบัติงานจัดการเรียนการสอนของตนเอง นาไปสู่การพัฒนาความสามารถในการปรับปรุงและพัฒนา
ตนเองในการปฏิบัติงานวิชาชีพครู
2) เมื่อครูเผชิญกับ ปัญหา ในการจัดการเรียนการสอน ครู สามารถเปลี่ยนปัญหา ให้เป็น
ปัญญา และการสร้างสรรค์ ได้ด้วยการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน
3) ครูนักวิจัยจะเรียนรู้ตลอดเวลา สามารถนิเทศตนเองและเปลี่ยนแปลงตนเองได้อย่าง
ถูกต้องและสร้างสรรค์
4) การวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียนเพิ่มพลังอานาจให้ครูสามารถพึ่งตนเองในการพัฒนา
ทักษะ กระบวนการคิด และกระบวนการทางานให้ได้ตามมาตรฐานวิชาชีพครู ช่วยให้ครูได้เรียนรู้
เพื่อพัฒนาการปฏิบัติงานของตนเอง
2. หลักการ ของการทาวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน
1) การวิจัยปฏิบัติการในโรงเรียนแท้ ๆ ต้องเป็น งานที่เล็ก ๆ ง่าย ๆ และมีคุณค่า (a small,
simple and significant task) ที่บูรณาการอยู่ในการปฏิบัติงานการจัดการเรียนการสอนปกติของครู
2) เราทั้งผองสามารถเรียนรู้จากกันและกัน ( we all can learn from each others) เพื่อให้
บรรลุผลการเรียนอย่างมีประสิทธิภาพ
3. คุณค่าของการทาวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน
คุณค่าของการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน คือ การเรียนรู้และสร้างความรู้เพื่อการเปลี่ยนแปลง
ของครู ครูต้องทากิจกรรม 7 กิจกรรม อย่างต่อเนื่อง คือ
4
1) การวิเคราะห์หลักสูตร
2) การวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล
3)การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่หลากหลาย
4) การใช้เทคโนโลยีเป็นแหล่งและสื่อการเรียนรู้ของตนเองและนักเรียน
5) การวัดผลและประเมินผลตามสภาพจริงอย่างรอบด้านเน้นองค์รวมและเน้น
พัฒนาการ
6) การใช้ผลการประเมินเพื่อแก้ไข ปรับปรุงและพัฒนาการจัดการเรียนการสอนเพื่อ
พัฒนาผู้เรียนให้เต็มศักยภาพ
7) การใช้การวิจัยปฏิบัติการในการพัฒนานวัตกรรมเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ของนักเรียน
และการสอนของตนเองการวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล
เมื่อเปิดภาคเรียนแต่ละภาคเรียน โรงเรียนได้รับมอบหมายความรับผิดชอบให้ครูจัดการเรียนรู้
อย่างมีคุณภาพให้กับนักเรียนกลุ่มใหม่ ดังนั้นครูแต่ละคนจึงต้องเรียนรู้ วิเคราะห์ เพื่อรู้จักนักเรียน
เป็นรายบุคคลให้เพียงพอที่จะสามารถวางแผนจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ
4. ด้านของข้อมูลที่จัดเก็บ
ประกอบด้วย ด้าน ภูมิหลังทางครอบครัว ผลการเรียนรู้ตามหลักสูตร พัฒนาการด้านร่างกาย
อารมณ์ สังคม จิตใจ สติปัญญา ค่านิยม ความถนัด ความสนใจ ศักยภาพ ข้อจากัดสภาพปัญหา และ
ความต้องการจาเป็น
5. วิธีการจัดเก็บข้อมูล
ใช้วิธีการสังเกต การสัมภาษณ์และแบบสอบถาม แบบทดสอบวัดความรู้พื้นฐานก่อนเรียน และ
ผลการเรียนในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ผ่านมาแล้วมาวิเคราะห์ข้อมูลโดยวิธี ค่าร้อยละ SWOT
analysis ,PMIA (Plus, Minus, Interesting point, Approach)
บทที่ 3
วิธีดาเนินการวิจัย
1. กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมายที่ทาการวิจัยในครั้งนี้ คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/2 ปีการศึกษา 2560
โรงเรียนเทพลีลา จานวน 39 คน ชาย จานวน 12 คน หญิง จานวน 27 คน
2. สารสนเทศและข้อมูลที่เก็บรวบรวม ประกอบด้วย
2.1 ภูมิหลังทางครอบครัว
2.2 ผลการเรียนรู้ตามหลักสูตร
2.3 พัฒนาการด้าน ร่างกาย อารมณ์ สังคม จิตใจ สติปัญญา ค่านิยม
2.4 ความสนใจ ความถนัด ศักยภาพ และความต้องการจาเป็น
2.5 ปัญหา/ข้อจากัด
3. แหล่งข้อมูล
3.1 แหล่งข้อมูลเอกสาร เช่น ระเบียนสะสม ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในระดับชั้นมัธยมศึกษาปี
ที่ 5/2 ปีการศึกษา 2559 แบบสารวจ แบบบันทึก
3.2 แหล่งข้อมูลบุคคล เช่น ครูที่ปรึกษา ผู้ปกครอง เพื่อนนักเรียน ตัวนักเรียน ฯ
3.3 แหล่งข้อมูลเหตุการณ์ เช่น พฤติกรรมการเข้าแถว พฤติกรรมในห้องเรียน พฤติกรรมนอก
ห้องเรียน ฯลฯ
4. เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูล
4.1 แบบวิเคราะห์ผู้เรียนรายบุคคล
4.2 แบบสังเกต
4.3 แบบสัมภาษณ์
4.4 แบบบันทึก
5. วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล
5.1 ศึกษาเอกสารจากผลการเรียนของนักเรียน
5.2 สารวจข้อมูลรายบุคคล
5.3 สังเกตพฤติกรรมนักเรียน
6
6. การวิเคราะห์ข้อมูล
6.1 SWOT analysis
6.2 ค่าร้อยละ
6.3 PMIA (Plus, Minus, Interesting point, Approach)
บทที่ 4
ผลการวิเคราะห์ข้อมูล
การวิเคราะห์ผู้เรียนรายบุคคล ปีการศึกษา 2560 ได้วิเคราะห์ข้อมูลจากนักเรียน ชั้น
มัธยมศึกษาปีที่ 6/2 จานวน 39 คน แยกเป็นเพศชาย 12 คน คิดเป็นร้อยละ 30.77 เพศหญิง 27 คน
คิดเป็นร้อยละ 69.23 โดยวิเคราะห์ตามประเด็นการวิเคราะห์ผู้เรียนรายบุคคล 4 ด้านคือ 1) ด้าน
ข้อมูลภูมิหลังครอบครัว 2) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 3) พัฒนาการด้านต่าง ๆ (ร่างกาย, จิตใจ) 4)
ความสามารถ ได้แบ่งการนาเสนอดังนี้
1. ผลการวิเคราะห์ข้อมูลด้านภูมิหลังครอบครัว
ตารางที่ 1 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลด้านภูมิหลังครอบครัว
ข้อมูล รายการ
จานวนนักเรียน
คน ร้อยละ
1.สถานภาพบิดา-มารดา
อยู่ด้วยกัน 24 61.54
หย่าร้าง 9 23.08
แยกกันอยู่แต่ไม่หย่าร้าง 3 7.69
บิดาถึงแก่กรรม 3 7.69
มารดาถึงแก่กรรม 0 0.00
2. ที่พักของนักเรียน
บ้านของตนเอง 8 20.51
พักบ้านญาติ 2 5.13
หอพัก/บ้านเช่า 29 74.36
อื่น ๆ 0 0.00
3.อาชีพผู้ปกครอง
รับราชการ 1 2.56
พนักงานบริษัท 2 5.13
เกษตรกรรม 3 7.69
ประกอบธุรกิจส่วนตัว 3 7.69
ค้าขาย 7 17.95
รับจ้างทั่วไป 18 46.15
อื่น ๆ 5 12.82
4. ความต้องการทุนการศึกษา
มีความจาเป็น 24 61.54
ไม่มีความจาเป็น 15 38.46
8
ข้อมูล รายการ
จานวนนักเรียน
คน ร้อยละ
5.วิธีเดินทางมาโรงเรียน
เดินเท้า 4 10.26
ผู้ปกครองมาส่ง 3 7.69
รถเมล์/รถประจาทาง 21 53.85
มอเตอร์ไซด์ตัวเอง 3 7.69
วินมอเตอร์ไซด์ 7 17.95
อื่น ๆ 1 2.56
6. เงินที่ได้รับจากผู้ปกครอง
ในแต่ละวัน
0-50 บาท 2 5.13
51-100 บาท 25 64.10
101-150 บาท 8 20.51
151-200 บาท 4 10.26
มากกว่า 200 บาท 0 0.00
จากตารางที่ 1 พบว่า
สถานภาพบิดา-มารดา อันดับที่ 1 อยู่ด้วยกัน ร้อยละ 61.54 (24) อันดับที่ 2 หย่าร้าง
ร้อยละ 23.08 (8) อันดับที่ 3 แยกกันอยู่แต่ไม่หย่าร้าง และ บิดาถึงแก่กรรม ร้อยละ 7.69 (3)
ที่พักของนักเรียน อันดับที่ 1 หอพัก/บ้านเช่า ร้อยละ 74.36 (29) อันดับที่ 2 บ้าน
ของตนเอง ร้อยละ 20.51 อันดับที่ 3 พักบ้านญาติ ร้อยละ 5.13 (2)
อาชีพผู้ปกครอง อันดับที่ 1.รับจ้างทั่วไป ร้อยละ 46.15 (18) อันดับที่ 2 ค้าขาย ร้อยละ
17.95 (7) อันดับที่ 3 เกษตรกรรมและประกอบธุรกิจส่วนตัว ร้อยละ7.69 (3) อันดับที่ 5 พนักงาน
บริษัท ร้อยละ 5.13 (2) อันดับที่ 6 รับราชการ ร้อยละ 2.56 (1)
ความต้องการทุนการศึกษา มีความจาเป็นที่ต้องการขอทุนการศึกษา ร้อยละ 61.54
(24) ไม่มีความจาเป็นที่ต้องการขอทุนการศึกษา ร้อยละ 61.54 (24)
วิธีเดินทางมาโรงเรียน อันดับที่ 1 รถเมล์/รถประจาทาง ร้อยละ 53.85 (21) อันดับที่ 2
วินมอเตอร์ไซด์ ร้อยละ 17.95 (7) อันดับที่ 3 เดินเท้า ร้อยละ 10.26 (4) อันดับที่ 4 ผู้ปกครองมาส่ง
และมอเตอร์ไซด์ตัวเอง ร้อยละ 7.69 (3)
เงินที่ได้รับจากผู้ปกครองในแต่ละวัน อันดับที่ 1 51-100 บาท ร้อยละ 64.10 (25)
อันดับที่ 2 101-150 บาท ร้อยละ 20.51 (8) อันดับที่ 3 151-200 บาท ร้อยละ 10.26 (4) อันดับที่
4 0-50 บาท ร้อยละ 5.13 (2)
9
2. ผลการวิเคราะห์ข้อมูลด้านผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
ตารางที่ 2 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลด้านผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน (GPA)
ระดับผลการเรียนเฉลี่ย(GPA) จานวน(คน) ร้อยละ
0.00-1.00 0 0.00
1.01-1.50 2 5.13
1.51-2.00 6 15.38
2.01-2.50 8 20.51
2.51-3.00 12 30.77
3.01-3.50 8 20.51
3.51-4.00 3 7.69
รวม 39 100
จากตารางที่ 2 พบว่า ผลการเรียนเฉลี่ย (GPA) อันดับที่ 1 2.51–3.00 ร้อยละ 30.77 (12)
อันดับที่ 2 2.01–2.50 และ 3.01-3.50 ร้อยละ 20.51 (8).อันดับที่ 4 1.51-2.00 ร้อยละ 15.38 (6)
อันดับที่ 5 3.51-4.00 ร้อยละ 7.69 (3) และอันดับ 6 1.01-1.50 ร้อยละ 5.13 (2)
3. ผลการวิเคราะห์ข้อมูลด้านพัฒนาการด้านต่าง ๆ
ตารางที่ 3 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลด้านพัฒนาการ
ข้อมูล รายการ
จานวนนักเรียน
คน ร้อยละ
1.น้าหนัก
ต่ากว่าเกณฑ์มาตรฐาน 0 0.00
ตามเกณฑ์มาตรฐาน 36 92.31
สูงกว่าเกณฑ์มาตรฐาน 3 7.69
2. ส่วนสูง
ต่ากว่าเกณฑ์มาตรฐาน 2 5.13
ตามเกณฑ์มาตรฐาน 37 94.87
สูงกว่าเกณฑ์มาตรฐาน 0 0.00
10
ข้อมูล รายการ
จานวนนักเรียน
คน ร้อยละ
3. สายตา
ปกติ 22 56.41
สั้น 17 43.59
ยาว 0 0.00
บอดสี 0 0.00
อื่น ๆ 0 0.00
4. สุขภาพ/โรคประจาตัว
แข็งแรง/ปกติ 29 74.36
มีความบกพร่องทางร่างกาย
(มีความพิการ)
0 0.00
หัวใจ 0 0.00
หอบหืด 3 7.69
ภูมิแพ้ 6 15.38
กระเพราะอาหาร 0 0.00
โรคอื่น ๆ 1 2.56
3. บุคลิกภาพทางจิตใจ
แจ่มใส ร่าเริง 34 87.18
ซึมเศร้า 0 0.00
ซุกซน/ไม่อยู่นิ่ง/สมาธิสั้น 5 12.82
จริงจัง/เครียด 0 0.00
จากตารางที่ 3 พบว่า น้าหนักของนักเรียน อันดับที่ 1 ตามเกณฑ์มาตรฐาน ร้อยละ 94.87
(37) อันดับที่ 2 สูงกว่าเกณฑ์มาตรฐาน ร้อยละ7.69 (3)
ส่วนสูงของนักเรียน อันดับที่ 1 ตามเกณฑ์มาตรฐาน ร้อยละ 92.31 (36) อันดับที่ 2 ต่า
กว่าเกณฑ์มาตรฐาน ร้อยละ5.13 (2)
สายตา อันดับที่ 1 ปกติ ร้อยละ 56.41 (22) อันดับที่ 2 สายตาสั้น ร้อยละ 43.59 (17)
สุขภาพ/โรคประจาตัว อันดับที่ 1 แข็งแรง/ปกติ ร้อยละ74.36 (29) อันดับที่ 2 ภูมิแพ้
ร้อยละ 15.38 (6) อันดับที่ 3 หอบหืด ร้อยละ 7.69 (3) อันดับที่ 4 โรคอื่น ๆ ร้อยละ 2.56 (1)
บุคลิกภาพทางกาย/จิตใจ อันดับที่ 1 แจ่มใส ร่าเริง ร้อยละ 87.18 (34) อันดับที่ 2
ซุกซน/ไม่อยู่นิ่ง/สมาธิสั้น ร้อยละ 12.82 (5)
11
4. ผลการวิเคราะห์ข้อมูลด้านความสนใจและความสามารถพิเศษ
ตารางที่ 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลด้านความสนใจและความสามารถพิเศษ
ข้อมูล รายการ
จานวนนักเรียน
คน ร้อยละ
1.วิชาที่ชอบที่สุด
ภาษาไทย 0 0.00
สังคมศึกษา 1 2.56
ภาษาอังกฤษ 9 23.08
คณิตศาสตร์ 5 12.82
ฟิสิกส์ 4 10.26
เคมี 2 5.13
ชีววิทยา 9 23.08
โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ 1 2.56
สุขศึกษาและพลศึกษา 2 5.13
ศิลปะ 3 7.69
การงานอาชีพและเทคโนโลยี 3 7.69
2. ความสามารถพิเศษ
ด้านกีฬา 12 30.77
ด้านดนตรี 8 20.51
ด้านศิลปะ 8 20.51
ด้านคอมพิวเตอร์ 1 2.56
อื่น ๆ 10 25.64
3. อาชีพที่ใฝ่ฝัน
รับราชการ 10 25.64
พนักงานบริษัท 2 5.13
อาชีพอิสระ 18 46.15
อื่น ๆ 9 23.08
4. ความตั้งใจหลังจบชั้น
มัธยมศึกษาปีที่ 6
ศึกษาต่อ 39 100.00
ประกอบอาชีพ/ไม่ศึกษาต่อ 0 0.00
12
จากตารางที่ 4 พบว่า วิชาที่สอบที่สุด อันดับที่ 1ภาษาอังกฤษ และชีววิทยาร้อยละ 23.08
(9) อันดับที่ 2 คณิตศาสตร์ ร้อยละ 12.82 (5) อันดับที่ 3 ฟิสิกส์ ร้อยละ 10.26 (4)
ความสามารถพิเศษอันดับที่ 1 ด้านกีฬา ร้อยละ 30.77 (12) อันดับที่ 2 อื่น ๆ ร้อยละ
25.64 (10) อันดับที่ 3 ด้านดนตรี และ ด้านศิลปะ ร้อยละ20.51 (8)
อาชีพที่ใฝ่ฝัน อันดับที่ 1 อาชีพอิสระ ร้อยละ 46.15 (18) อันดับที่ 2 รับราชการ ร้อยละ
25.64 อันดับที่ 3 อื่น ๆ ร้อยละ 23.08 (9) อันดับที่ 4 พนักงานบริษัท ร้อยละ 5.13 (2)
การศึกษา อันดับที่ 1 ศึกษาต่อ ร้อยละ 100 (39)
13
5. ผลการวิเคราะห์ผู้เรียนตามแบบ SWOT Analysis
จุดแข็ง
1. ครูมีเป้าหมายในการจัดการเรียนการสอน
เพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียน โดยเฉพาะอย่าง
ยิ่งการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนให้
ตามเกณฑ์ที่โรงเรียนและเขตพื้นที่การศึกษา
กาหนด เป็นเกณฑ์มาตรฐาน
2. ครูมีกระบวนการในการจัดการเรียนรู้ที่เน้น
ผู้เรียนเป็นสาคัญและมีระบบในการจัดเก็บ
ข้อมูล เอกสารหลักฐานเพื่อแสดงคุณภาพ
ผู้เรียน
3. ครูสามารถปฏิบัติงานตามมาตรฐานของ
โรงเรียนเทพลีลา ได้แก่ มาตรฐานการ
จัดการเรียนการสอน มาตรฐานการ
ปฏิบัติงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน และ
มาตรฐานความเป็นครู
โอกาส
1. โรงเรียนมีวิสัยทัศน์และมีเป้าหมายในการ
พัฒนาคุณภาพผู้เรียน เพื่อความสาเร็จของ
ผู้เรียน จึงมีการสนับสนุนในทุกด้าน
2. โรงเรียนได้รับการสนับสนุนงบประมาณจาก
รัฐบาล โดยเฉพาะโครงการสนับสนุน
ค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาตั้งแต่อนุบาล
จนถึงการศึกษาขั้นพื้นฐาน (เรียนฟรี 15 ปี )
3. โรงเรียนได้รับความร่วมมือจากหน่วยงานที่
เกี่ยวข้อง ได้แก่ คณะกรรมการสถานศึกษา
สมาคมผู้ปกครองนักเรียน ผู้ปกครอง
เครือข่าย
4. ไลน์กลุ่มนักเรียน และไลน์กลุ่มผู้ปกครอง
อุปสรรค
1. จานวนนักเรียนต่อห้องมีจานวนมาก เป็น
อุปสรรคต่อการจัดการเรียนการสอน
2. นักเรียนมีความสนใจในการเรียน
วิทยาศาสตร์ เพื่อการศึกษาต่อสูง แต่มี
ความรู้พื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ และ
คณิตศาสตร์อยู่ในระดับต่า
3. นักเรียนบางคนยังไม่รู้เป้าหมายของตัวเอง
จุดอ่อน
1. มีนักเรียนที่ยังมีผลการเรียนไม่ผ่านร้อยละ
33.33
2. ผลการจัดกลุ่มคุณภาพอยู่ในระดับปาน
กลาง ร้อยละ51.28 และ ระดับปรับปรุง
ร้อยละ 20.51
3. นักเรียนมีความรู้ ทักษะการคานวณ
ค่อนข้างต่า
4. ผลการสอน O-net ไม่ผ่านเกณฑ์ขีดจากัด
ล่าง ตามที่เขตพื้นที่กาหนด
14
6. ผลการวิเคราะห์ PMIA (Plus, Minus, Interesting point, Approach)
ตารางที่ 5 การวิเคราะห์ PMIA ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/2
เลขที่ จุดเด่น (P: Plus) จุดด้อย (M : Minus)
จุดควรพัฒนา
(I: Interesting point)
แนวทางพัฒนา
(A : Approach)
1  แข็งแรง/ปกติ
 ด้านกีฬา
 ชอบภาษาอังกฤษ
 ซุกซน/ไม่อยู่นิ่ง/สมาธิสั้น
 ผลการเรียนอยู่ในระดับ
ปรับปรุง
 มีผลการเรียนที่ยังไม่ผ่าน
 ด้านกีฬา และ
ภาษาอังกฤษ
 ควรตั้งใจเรียนให้มากขึ้น
และฝึกฝนภาษาอังกฤษ
 ควรศึกษาต่อคณะเกี่ยวกับ
พลศึกษา หรือ
สังคมศาสตร์
2  แจ่มใส ร่าเริง
 ด้านกีฬา
 ชอบชีววิทยา
 ภูมิแพ้  ด้านกีฬาและชีววิทยา  ควรดูแลสุขภาพด้วยการ
ออกกาลังงาน
 ควรศึกษาต่อคณะที่
เกี่ยวข้องกับวิทยาศาสตร์
3  แจ่มใส ร่าเริง
 แข็งแรง/ปกติ
 ชอบเทคโนโลยี
 ผลการเรียนอยู่ในระดับ
ปรับปรุง
 มีผลการเรียนที่ยังไม่ผ่าน
 ด้านเทคโนโลยี  ควรตั้งใจเรียนให้มากขึ้น
 ควรศึกษาต่อคณะเกี่ยวกับ
คอมพิวเตอร์หรือ
เทคโนโลยี
4  แจ่มใส ร่าเริง
 แข็งแรง/ปกติ
 ด้านกีฬา
 ชอบคณิตศาสตร์
 ผลการเรียนอยู่ในระดับ
ปรับปรุง
 มีผลการเรียนที่ยังไม่ผ่าน
 ด้านกีฬา  ควรตั้งใจเรียนให้มากขึ้น
 ควรศึกษาต่อคณะเกี่ยวกับ
บัญชี เศรษฐศาสตร์ หรือ
ครุศาสตร์
5  แจ่มใส ร่าเริง
 แข็งแรง/ปกติ
 ด้านกีฬา
 ชอบชีววิทยา
 ผลการเรียนอยู่ในระดับ
ปรับปรุง
 มีผลการเรียนที่ยังไม่ผ่าน
 ด้านกีฬา
 ด้านชีววิทยา
 ควรตั้งใจเรียนให้มากขึ้น
 ควรศึกษาต่อคณะเกี่ยวกับ
วิทยาศาสตร์ ที่เกี่ยวกับ
ชีววิทยา
6  แจ่มใส ร่าเริง
 ด้านดนตรี
 ชอบฟิสิกส์
 หอบหืด
 ผลการเรียนอยู่ในระดับ
ปรับปรุง
 ด้านดนตรี

 ควรตั้งใจเรียนให้มากขึ้น
 ควรศึกษาต่อคณะเกี่ยวกับ
วิศวกรรมศาสตร์
วิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยี
7  แจ่มใส ร่าเริง
 แข็งแรง/ปกติ
 ชอบศิลปะ
  ด้านศิลปะ
 ด้านการแสดง
 ควรฝึกฝนด้านศิลปะให้
เชียวชาญ
 ควรศึกษาต่อคณะเกี่ยวกับ
ศิลปะหรือนิเทศศาสตร์
15
เลขที่ จุดเด่น (P: Plus) จุดด้อย (M : Minus)
จุดควรพัฒนา
(I: Interesting point)
แนวทางพัฒนา
(A : Approach)
8  แจ่มใส ร่าเริง
 ด้านกีฬา
 หอบหืด  ด้านกีฬา  ควรค้นหาตัวเองให้เร็วเพื่อ
จะได้เลือกคณะ/สาขาใน
การศึกษาต่อ
ระดับอุดมศึกษา
9  แข็งแรง/ปกติ
 ด้านคอมพิวเตอร์
 ซุกซน/ไม่อยู่นิ่ง/สมาธิสั้น
 มีผลการเรียนที่ยังไม่ผ่าน
 ด้านคอมพิวเตอร์  ควรตั้งใจเรียนให้มากขึ้น
 ควรศึกษาต่อคณะเกี่ยวกับ
คอมพิวเตอร์หรือ
เทคโนโลยี
10  แข็งแรง/ปกติ
 ด้านดนตรี
 ชอบฟิสิกส์
 ซุกซน/ไม่อยู่นิ่ง/สมาธิสั้น
 ผลการเรียนอยู่ในระดับ
ปรับปรุง
 ด้านดนตรี
 ด้านกีฬา
 ด้านการคานวณ
 ควรตั้งใจเรียนให้มากขึ้น
 ควรศึกษาต่อคณะเกี่ยวกับ
วิศวกรรมศาสตร์
วิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยี
11  แจ่มใส ร่าเริง
 แข็งแรง/ปกติ
 ชอบภาษาอังกฤษ
  ด้านภาษา  ควรฝึกฝนภาษาอังกฤษ
 ควรศึกษาต่อคณะทางสาย
ศิลป์
12  แจ่มใส ร่าเริง
 แข็งแรง/ปกติ
 ด้านกีฬา
 ชอบฟิสิกส์
  ด้านกีฬา
 ด้านการคานวณ
 ควรศึกษาต่อคณะเกี่ยวกับ
วิศวกรรมศาสตร์
วิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยี
13  แจ่มใส ร่าเริง
 ด้านคอมพิวเตอร์
 โลก ดาราศาสตร์ ฯ
 ภูมิแพ้
 มีผลการเรียนที่ยังไม่ผ่าน
 ด้านคอมพิวเตอร์
 ด้านดาราศาสตร์
 ควรศึกษาต่อคณะเกี่ยวกับ
วิศวกรรมศาสตร์
วิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยี
14  แข็งแรง/ปกติ
 ด้านศิลปะ
 ชอบชีววิทยา
 ซุกซน/ไม่อยู่นิ่ง/สมาธิสั้น  ด้านศิลปะ
 ด้านชีววิทยา
 ควรฝึกฝนด้านศิลปะให้
เชียวชาญ
 ควรศึกษาต่อคณะที่
เกี่ยวข้องกับวิทยาศาสตร์
15  แจ่มใส ร่าเริง
 ชอบชีววิทยา
 ภูมิแพ้  ด้านชีววิทยา  ควรศึกษาต่อคณะเกี่ยวกับ
วิทยาศาสตร์ ที่เกี่ยวกับ
ชีววิทยา
16  แจ่มใส ร่าเริง
 แข็งแรง/ปกติ
 ชอบชีววิทยา
 มีผลการเรียนที่ยังไม่ผ่าน  ด้านชีววิทยา  ควรตั้งใจเรียนให้มากขึ้น
 ควรศึกษาต่อคณะที่
เกี่ยวข้องกับวิทยาศาสตร์
16
เลขที่ จุดเด่น (P: Plus) จุดด้อย (M : Minus)
จุดควรพัฒนา
(I: Interesting point)
แนวทางพัฒนา
(A : Approach)
17  แจ่มใส ร่าเริง
 แข็งแรง/ปกติ
 ชอบชีววิทยา
  ด้านชีววิทยา
 ด้านวิทยาศาสตร์
ชีวภาพ
 ควรศึกษาต่อคณะที่
เกี่ยวข้องกับวิทยาศาสตร์
หรือสาขาวิทยาศาสตร์ที่มี
ใช้วิชาชีววิทยา
18  แจ่มใส ร่าเริง
 แข็งแรง/ปกติ
 ชอบชีววิทยา
  ด้านชีววิทยา
 ด้านวิทยาศาสตร์
ชีวภาพ
 ควรศึกษาต่อคณะที่
เกี่ยวข้องกับวิทยาศาสตร์
หรือสาขาวิทยาศาสตร์ที่มี
ใช้วิชาชีววิทยา
19  แจ่มใส ร่าเริง
 แข็งแรง/ปกติ
 ด้านศิลปะ
 เรียน รด.
  ด้านศิลปะ
 ด้านการแสดง
 ด้าน รด.
 ควรฝึกฝนด้านศิลปะให้
เชียวชาญ
 ควรศึกษาต่อคณะเกี่ยวกับ
ศิลปะหรือนิเทศศาสตร์
หรืออาจสอบเรียนต่อด้าน
ตารวจ ทหาร เนื่องจาก
เรียน รด.
20  แจ่มใส ร่าเริง
 ด้านดนตรี
 ชอบภาษาอังกฤษ
 ภูมิแพ้  ด้านดนตรี
 ด้านภาษา
 ควรฝึกฝนภาษาอังกฤษ
 ควรศึกษาต่อคณะทางสาย
ศิลป์
21  แจ่มใส ร่าเริง
 แข็งแรง/ปกติ
 ด้านกีฬา
 ชอบภาษาอังกฤษ
  ด้านกีฬา
 ด้านภาษา
 ควรฝึกฝนภาษาอังกฤษ
 ควรศึกษาต่อคณะทางสาย
ศิลป์
22  แจ่มใส ร่าเริง
 แข็งแรง/ปกติ
 ด้านศิลปะ
 ชอบภาษาอังกฤษ
  ด้านศิลปะ
 ด้านภาษา
 ควรฝึกฝนด้านศิลปะให้
เชียวชาญ
 ควรฝึกฝนภาษาอังกฤษ
 ควรศึกษาต่อคณะทางสาย
ศิลป์
23  แจ่มใส ร่าเริง
 แข็งแรง/ปกติ
 ด้านดนตรี
 ชอบเทคโนโลยี
 ผลการเรียนอยู่ในระดับ
ปรับปรุง
 มีผลการเรียนที่ยังไม่ผ่าน
 ด้านดนตรี
 ด้านเทคโนโลยี
 ควรตั้งใจเรียนให้มากขึ้น
 ควรศึกษาต่อด้าน
เทคโนโลยี
17
เลขที่ จุดเด่น (P: Plus) จุดด้อย (M : Minus)
จุดควรพัฒนา
(I: Interesting point)
แนวทางพัฒนา
(A : Approach)
24  แจ่มใส ร่าเริง
 ด้านศิลปะ
 ชอบเคมี
 โรคอื่น ๆ  ด้านศิลปะ
 ด้านเคมี
 ควรฝึกฝนด้านศิลปะให้
เชียวชาญ
 ควรศึกษาต่อคณะที่
เกี่ยวข้องกับวิทยาศาสตร์
หรือสาขาวิทยาศาสตร์ที่มี
ใช้วิชาเคมี
25  แจ่มใส ร่าเริง
 แข็งแรง/ปกติ
 ด้านดนตรี
 คณิตศาสตร์
  ด้านดนตรี
 ด้านคณิตศาสตร์
 ควรศึกษาต่อคณะที่
เกี่ยวข้องกับคณิตศาสตร์
เช่น คณะบัญชี
เศรษฐศาสตร์
26  แจ่มใส ร่าเริง
 แข็งแรง/ปกติ
 ด้านศิลปะ
  ด้านศิลปะ  ควรฝึกฝนด้านศิลปะให้
เชียวชาญ
27  แจ่มใส ร่าเริง
 แข็งแรง/ปกติ
 ชอบคณิตศาสตร์
  ด้านคณิตศาสตร์  ควรศึกษาต่อคณะที่
เกี่ยวข้องกับคณิตศาสตร์
เช่น คณะบัญชี
เศรษฐศาสตร์
28  แจ่มใส ร่าเริง
 แข็งแรง/ปกติ
 ด้านกีฬา
 สังคมศึกษา
  ด้านกีฬา
 ด้านสังคมศึกษา
 ควรศึกษาต่อคณะทางสาย
ศิลป์
29  แจ่มใส ร่าเริง
 แข็งแรง/ปกติ
 ด้านศิลปะ
 ชอบภาษาอังกฤษ
  ด้านภาษา
 ด้านศิลปะ
 ควรฝึกฝนด้านศิลปะให้
เชียวชาญ
 ควรศึกษาต่อคณะทางสาย
ศิลป์

30  แจ่มใส ร่าเริง
 แข็งแรง/ปกติ
 ชอบภาษาอังกฤษ
  ด้านดนตรี
 ด้านภาษา

 ควรศึกษาต่อคณะทางสาย
ศิลป์
31  แจ่มใส ร่าเริง
 แข็งแรง/ปกติ
 ด้านศิลปะ
 ชอบพลศึกษา
  ด้านศิลปะ
 ด้านพลศึกษา
 ควรตั้งใจเรียนให้มากขึ้น
 ควรฝึกฝนด้านศิลปะให้
เชียวชาญ
 ควรศึกษาต่อคณะที่
เกี่ยวข้องกับพลศึกษา
18
เลขที่ จุดเด่น (P: Plus) จุดด้อย (M : Minus)
จุดควรพัฒนา
(I: Interesting point)
แนวทางพัฒนา
(A : Approach)
32  แจ่มใส ร่าเริง
 แข็งแรง/ปกติ
 คณิตศาสตร์
  ด้านคณิตศาสตร์  ควรศึกษาต่อคณะที่
เกี่ยวข้องกับคณิตศาสตร์
เช่น คณะบัญชี
เศรษฐศาสตร์
33  แจ่มใส ร่าเริง
 แข็งแรง/ปกติ
 ด้านกีฬา
 ศิลปะ
 ผลการเรียนอยู่ในระดับ
ปรับปรุง
 มีผลการเรียนที่ยังไม่ผ่าน
 ด้านกีฬา
 ด้านศิลปะ
 ควรตั้งใจเรียนให้มากขึ้น
 ควรฝึกฝนด้านศิลปะให้
เชียวชาญ
34  ชอบคณิตศาสตร์  ซุกซน/ไม่อยู่นิ่ง/สมาธิสั้น
 ภูมิแพ้
 มีผลการเรียนที่ยังไม่ผ่าน
 ด้านคณิตศาสตร์  ควรตั้งใจเรียนให้มากขึ้น
 ควรตั้งใจเรียนให้มากขึ้น
 ควรศึกษาต่อคณะที่
เกี่ยวข้องกับคณิตศาสตร์
เช่น คณะบัญชี
เศรษฐศาสตร์
35  แจ่มใส ร่าเริง
 แข็งแรง/ปกติ
 ด้านดนตรี
 ชอบคณิตศาสตร์
 มีผลการเรียนที่ยังไม่ผ่าน  ด้านดนตรี
 ด้านคณิตศาสตร์
 ควรตั้งใจเรียนให้มากขึ้น
 ควรศึกษาต่อคณะที่
เกี่ยวข้องกับคณิตศาสตร์
เช่น คณะบัญชี เศรษฐศาสตร์
36  แจ่มใส ร่าเริง
 ด้านศิลปะ
 ชอบชีววิทยา
 ภูมิแพ้  ด้านศิลปะ
 ด้านชีววิทยา
 ควรฝึกฝนด้านศิลปะให้
เชียวชาญ
 ควรศึกษาต่อคณะที่
เกี่ยวข้องกับวิทยาศาสตร์
37  แจ่มใส ร่าเริง
 แข็งแรง/ปกติ
 ด้านคอมพิวเตอร์
 ชอบภาษาอังกฤษ
  ด้านคอมพิวเตอร์
 ด้านภาษาอังกฤษ

 ควรศึกษาต่อด้าน
คอมพิวเตอร์
 ควรศึกษาต่อคณะทางสาย
ศิลป์
38  แจ่มใส ร่าเริง
 แข็งแรง/ปกติ
 ด้านกีฬา
 ชอบภาษาอังกฤษ
 มีผลการเรียนที่ยังไม่ผ่าน  ด้านกีฬา
 ด้านภาษาอังกฤษ
 ควรตั้งใจเรียนให้มากขึ้น
 ควรศึกษาต่อคณะทางสาย
ศิลป์
39  แจ่มใส ร่าเริง
 แข็งแรง/ปกติ
 ด้านดนตรี
 ชอบเคมี
  ด้านดนตรี
 ด้านคอมพิวเตอร์
 ควรศึกษาต่อคณะที่
เกี่ยวข้องกับวิทยาศาสตร์
หรือสาขาวิทยาศาสตร์ที่มี
ใช้วิชาเคมี
บทที่ 5
สรุปผลการวิจัย
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ วิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐานของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/2
โรงเรียนเทพลีลา ปีการศึกษา 2560 ศึกษาจุดเด่น และจุดด้อย ที่ควรได้รับการพัฒนาและปรับปรุง
นักเรียนแต่ละคนในชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/2 โรงเรียนเทพลีลา ปีการศึกษา 2560 และศึกษาแนว
ทางการออกแบบการจัดการเรียนการสอนของครูให้สามารถพัฒนาคุณภาพของแต่ละคนและทุกคน
ในชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/2 โรงเรียนเทพลีลา ปีการศึกษา 2560
1. สรุปผลการวิจัย
1.1 การวิเคราะห์ข้อมูลด้านภูมิหลังครอบครัว
สถานภาพบิดา-มารดา ส่วนใหญ่ อยู่ด้วยกัน ร้อยละ 61.54 ที่พักของนักเรียน ส่วนใหญ่
หอพัก/บ้านเช่า ร้อยละ 74.36 อาชีพผู้ปกครอง ส่วนใหญ่.รับจ้างทั่วไป ร้อยละ 46.15 มีความจาเป็น
ที่ต้องการขอทุนการศึกษา ร้อยละ 61.54 วิธีเดินทางมาโรงเรียน ส่วนใหญ่ รถเมล์/รถประจาทาง ร้อย
ละ 53.85 เงินที่ได้รับจากผู้ปกครองในแต่ละวัน ส่วนใหญ่ 51-100 บาท ร้อยละ 64.10
1.2 การวิเคราะห์ข้อมูลด้านผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
ผลการเรียนเฉลี่ย (GPA) อันดับที่ 1 2.51–3.00 ร้อยละ 30.77 (12) อันดับที่ 2 2.01–
2.50 และ 3.01-3.50 ร้อยละ 20.51 (8).อันดับที่ 4 1.51-2.00 ร้อยละ 15.38 (6) อันดับที่ 5 3.51-
4.00 ร้อยละ 7.69 (3) และอันดับ 6 1.01-1.50 ร้อยละ 5.13 (2)
1.3 การวิเคราะห์ข้อมูลด้านพัฒนาการด้านต่าง ๆ
น้าหนักของนักเรียน อันดับที่ 1 ตามเกณฑ์มาตรฐาน ร้อยละ 94.87 (37) อันดับที่ 2 สูง
กว่าเกณฑ์มาตรฐาน ร้อยละ7.69 (3)
ส่วนสูงของนักเรียน อันดับที่ 1 ตามเกณฑ์มาตรฐาน ร้อยละ 92.31 (36) อันดับที่ 2 ต่า
กว่าเกณฑ์มาตรฐาน ร้อยละ5.13 (2)
สายตา อันดับที่ 1 ปกติ ร้อยละ 56.41 (22) อันดับที่ 2 สายตาสั้น ร้อยละ 43.59 (17)
สุขภาพ/โรคประจาตัว อันดับที่ 1 แข็งแรง/ปกติ ร้อยละ74.36 (29) อันดับที่ 2 ภูมิแพ้
ร้อยละ 15.38 (6) อันดับที่ 3 หอบหืด ร้อยละ 7.69 (3) อันดับที่ 4 โรคอื่น ๆ ร้อยละ 2.56 (1)
บุคลิกภาพทางกาย/จิตใจ อันดับที่ 1 แจ่มใส ร่าเริง ร้อยละ 87.18 (34) อันดับที่ 2
ซุกซน/ไม่อยู่นิ่ง/สมาธิสั้น ร้อยละ 12.82 (5)
20
1.4 การวิเคราะห์ข้อมูลด้านความสนใจและความสามารถพิเศษ
วิชาที่สอบที่สุด อันดับที่ 1ภาษาอังกฤษ และชีววิทยาร้อยละ 23.08 (9) อันดับที่ 2
คณิตศาสตร์ ร้อยละ 12.82 (5) อันดับที่ 3 ฟิสิกส์ ร้อยละ 10.26 (4)
ความสามารถพิเศษอันดับที่ 1 ด้านกีฬา ร้อยละ 30.77 (12) อันดับที่ 2 อื่น ๆ ร้อยละ
25.64 (10) อันดับที่ 3 ด้านดนตรี และ ด้านศิลปะ ร้อยละ20.51 (8)
อาชีพที่ใฝ่ฝัน อันดับที่ 1 อาชีพอิสระ ร้อยละ 46.15 (18) อันดับที่ 2 รับราชการ
ร้อยละ 25.64 อันดับที่ 3 อื่น ๆ ร้อยละ 23.08 (9) อันดับที่ 4 พนักงานบริษัท ร้อยละ 5.13 (2)
การศึกษา อันดับที่ 1 ศึกษาต่อ ร้อยละ 100 (39)
1.5 การวิเคราะห์ผู้เรียนตามแบบ SWOT Analysis
จุดแข็ง ครูมีเป้าหมายในการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียน โดยเฉพาะ
อย่างยิ่งการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนให้ตามเกณฑ์ที่โรงเรียนและเขตพื้นที่การศึกษา กาหนด
เป็นเกณฑ์มาตรฐาน ครูมีกระบวนการในการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญและมีระบบในการ
จัดเก็บข้อมูล เอกสารหลักฐานเพื่อแสดงคุณภาพผู้เรียน และครูสามารถปฏิบัติงานตามมาตรฐานของ
โรงเรียนเทพลีลา ได้แก่ มาตรฐานการจัดการเรียนการสอน มาตรฐานการปฏิบัติงานระบบดูแล
ช่วยเหลือนักเรียน และมาตรฐานความเป็นครู
โอกาส โรงเรียนมีวิสัยทัศน์และมีเป้าหมายในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน เพื่อความสาเร็จ
ของผู้เรียน จึงมีการสนับสนุนในทุกด้าน โรงเรียนได้รับการสนับสนุนงบประมาณจากรัฐบาล
โดยเฉพาะโครงการสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาตั้งแต่อนุบาลจนถึงการศึกษาขั้นพื้นฐาน
(เรียนฟรี 15 ปี ) โรงเรียนได้รับความร่วมมือจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ คณะกรรมการ
สถานศึกษา สมาคมผู้ปกครองนักเรียน ผู้ปกครองเครือข่าย และไลน์กลุ่มนักเรียน และไลน์กลุ่ม
ผู้ปกครอง
อุปสรรค จานวนนักเรียนต่อห้องมีจานวนมาก เป็นอุปสรรคต่อการจัดการเรียนการสอน
นักเรียนมีความสนใจในการเรียนวิทยาศาสตร์ เพื่อการศึกษาต่อสูง แต่มีความรู้พื้นฐานทาง
วิทยาศาสตร์ และคณิตศาสตร์อยู่ในระดับต่า นักเรียนบางคนยังไม่รู้เป้าหมายของตัวเอง
จุดอ่อน มีนักเรียนที่ยังมีผลการเรียนไม่ผ่านร้อยละ 33.33 ผลการจัดกลุ่มคุณภาพอยู่ใน
ระดับปานกลาง ร้อยละ51.28 และ ระดับปรับปรุง ร้อยละ 20.51 นักเรียนมีความรู้ ทักษะการ
คานวณค่อนข้างต่า และผลการสอน O-net ไม่ผ่านเกณฑ์ขีดจากัดล่าง ตามที่เขตพื้นที่กาหนด
21
2. ข้อเสนอแนะจากการวิจัย
เนื่องจากนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/2 เป็นนักเรียนแผนการเรียนวิทยาศาสตร์-คณิตศาสตร์
ส่วนใหญ่เป็นนักเรียนที่มีภูมิลาเนาอยู่ต่างจังหวัด บิดา มารดา มาประกอบอาชีพรับจ้างใน
กรุงเทพมหานคร อาศัยในอยู่ห้องเช่า-บ้านเช่าเป็นส่วนใหญ่ ทาให้สภาพทางครอบครัวไม่ส่งเสริมต่อ
การเรียนรู้เท่าที่ควร นักเรียนหลายคนที่ยังมีผลการเรียนไม่ผ่าน ความชอบ ความถนัด ความสนใจ
แตกต่างกัน ดังนั้นครูที่สอนนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/2 ในปีการศึกษา 2560 ควรจัดกิจกรรมการ
เรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ คานึงถึงความถนัดและความแตกต่างของแต่ละบุคคล วัดผลตามสภาพ
จริงด้วยวิธีการที่หลากหลาย เน้นสร้างแรงบันดาลใจให้กับนักเรียนเพื่อให้นักเรียนได้รับการพัฒนา
ตามความชอบและความถนัดของแต่ละบุคคล
22
บรรณานุกรม
สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน). (2559). รายงานผลการทดสอบทาง
การศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2558.
กรุงเทพฯ: สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน).
สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน). (2560). รายงานผลการทดสอบทาง
การศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2559.
กรุงเทพฯ: สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน).
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานกระทรวงศึกษาธิการ. (2557). นโยบายสานักงาน
คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ.2558. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ชุมนุม
สหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จากัด.
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ. (2545). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542
และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545. กรุงเทพฯ: สานักนายกรัฐมนตรี.
สานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน). (2555). การประเมิน
คุณภาพภายนอกรอบสาม (พ.ศ.2554 - 2558) ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน โรงเรียนเทพลีลา.
กรุงเทพฯ: ม.ป.พ.
23
ภาคผนวก
24
ผลการเรียนของนักเรียน
เลขที่ รหัส ชื่อ – สกุล GPAX
อันดับที่
ของห้อง
อันดับที่
ของระดับ
จานวนวิชา
ที่ไม่ผ่าน
1 26958 นาย กฤษดา โสภากิติบูรณ์ 1.88 33 237 5
2 26972 นาย ภูวนัย ปิยะวงค์ 2.48 23 187
3 27004 นาย หิรัญทร กิตติเลิศอนันต์ 1.6 35 248 7
4 27008 นาย ชนายุทธ ปัญญาชนวัฒน์ 1.95 31 234 1
5 29265 นาย ณัฐภูมิ ไชยแสง 1.37 37 252 17
6 29266 นาย มิตรภาพ บุญสมบัติ 1.74 34 243
7 29268 นาย ราชันย์ ขจรสมบัติ 2.55 18 178
8 29270 นาย วิวัฒน์ แก้วบุตรตา 2.3 25 204
9 29271 นาย ไวทยา ประสิทธิ์นอก 2.22 28 216 2
10 29272 นาย อภิสิทธิ์ แก้วทอง 1.99 30 231 2
11 30005 นาย นิวัติ โคตะนนท์ 3.24 7 70
12 30573 นาย อิสซาน หมานเบ็ญหีม 2.84 38 254
13 26990 น.ส. ภัทรวดี มั่นเจริญ 2.59 17 167 1
14 27050 น.ส. สุภาภรณ์ แคนดา 3.4 3 38
15 27079 น.ส. กัญญาพัชร สมนึก 2.97 11 118
16 27080 น.ส. เกศรินทร์ ติราวรัมย์ 2.29 26 206 2
17 27081 น.ส. ชนัญชิดา จันทะนนท์ 3.08 9 97
18 27090 น.ส. บุณยานุช วงศ์วัฒนะ 2.79 13 142
19 27096 น.ส. วัลภา อยู่ปูน 2.67 15 159
20 27099 น.ส. เสาวลักษณ์ พระบุญเพ็ง 2.98 10 116
21 27177 น.ส. ธัญสิริ พลรักษ์ 2.55 18 178
22 27324 น.ส. กัญญาภัค รักป่า 3.31 5 54
23 27331 น.ส. ณัฐิตา ทวีแสง 1.46 36 251 6
24 28705 น.ส. พรนิภา แสวงดี 2.96 12 120
25 29273 น.ส. จารุวรรณ เก่งมนตรี 3.31 5 54
25
เลขที่ รหัส ชื่อ – สกุล GPAX
อันดับที่
ของห้อง
อันดับที่
ของระดับ
จานวนวิชา
ที่ไม่ผ่าน
26 29274 น.ส. ณัฐวรรณ ตลับเงิน 2.29 26 206
27 29275 น.ส. ธิดารัตน์ อาจพงษา 3.71 1 7
28 29276 น.ส. นรีกานต์ นาคสุวรรณ 2.61 16 164
29 29277 น.ส. ลลิดา ชัยพระอินทร์ 3.59 2 15
30 29278 น.ส. วริศรา ประสารศรี 2.5 22 184
31 29279 น.ส. ศิริลักษณ์ พูลพิบูลย์ 2.51 21 183
32 29280 น.ส. สุธาสินี ชูศิริ 3.4 3 38
33 29283 น.ส. อรสา อาจศิริ 1.92 32 235 8
34 29285 น.ส. วันวิสาข์ จุลวงษ์ 3.24 7 70 1
35 29410 น.ส. ณัฐญา เก๋วัน 2.55 18 178 1
36 30006 น.ส. นริศรา อนาบาล 2.7 14 151
37 30007 น.ส. ธิญาดา ชะนะบุตร 2.19 29 218
38 30008 น.ส. ปทิตตา น้อยลาศ 2.32 24 202 1
39 30572 น.ส. ศศิธร มะทา 3.2 38 254
วิจัยในชั้นเรียน
วิจัยในชั้นเรียน
วิจัยในชั้นเรียน
วิจัยในชั้นเรียน
วิจัยในชั้นเรียน
วิจัยในชั้นเรียน
วิจัยในชั้นเรียน

More Related Content

What's hot

ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1prayut2516
 
หลักสูตร51 vs หลักสูตร 60
หลักสูตร51 vs หลักสูตร 60หลักสูตร51 vs หลักสูตร 60
หลักสูตร51 vs หลักสูตร 60Krittalak Chawat
 
ปัญหาการศึกษา
ปัญหาการศึกษาปัญหาการศึกษา
ปัญหาการศึกษาพัน พัน
 
วิเคราะห์หลักสูตรสังคม
วิเคราะห์หลักสูตรสังคมวิเคราะห์หลักสูตรสังคม
วิเคราะห์หลักสูตรสังคมkrusuparat01
 
ตัวอย่างบันทึกข้อความ
ตัวอย่างบันทึกข้อความตัวอย่างบันทึกข้อความ
ตัวอย่างบันทึกข้อความnurmedia
 
ใบงานช่องทางการขยายอาชีพ ม.ปลาย
ใบงานช่องทางการขยายอาชีพ ม.ปลายใบงานช่องทางการขยายอาชีพ ม.ปลาย
ใบงานช่องทางการขยายอาชีพ ม.ปลายpongtum
 
การเขียน กคศ.3 1
การเขียน กคศ.3 1การเขียน กคศ.3 1
การเขียน กคศ.3 1thanakit553
 
ทฤษฏีภาวะผู้นำและภาวะผู้นำทางวิชาการ
ทฤษฏีภาวะผู้นำและภาวะผู้นำทางวิชาการทฤษฏีภาวะผู้นำและภาวะผู้นำทางวิชาการ
ทฤษฏีภาวะผู้นำและภาวะผู้นำทางวิชาการTwatchai Tangutairuang
 
แผนพัฒนาตนเองตำแหน่งรองผู้อำนวยการสถานศึกษา
แผนพัฒนาตนเองตำแหน่งรองผู้อำนวยการสถานศึกษาแผนพัฒนาตนเองตำแหน่งรองผู้อำนวยการสถานศึกษา
แผนพัฒนาตนเองตำแหน่งรองผู้อำนวยการสถานศึกษาNontaporn Pilawut
 
แบบรายงานคุรุชนคนคุณธรรม เครดิตโดยครูโสภิญญา
แบบรายงานคุรุชนคนคุณธรรม เครดิตโดยครูโสภิญญาแบบรายงานคุรุชนคนคุณธรรม เครดิตโดยครูโสภิญญา
แบบรายงานคุรุชนคนคุณธรรม เครดิตโดยครูโสภิญญาSophinyaDara
 
เปรียบเทียบหลักสูตร 2551 กับ ปรับปรุง 2560
เปรียบเทียบหลักสูตร 2551 กับ ปรับปรุง 2560เปรียบเทียบหลักสูตร 2551 กับ ปรับปรุง 2560
เปรียบเทียบหลักสูตร 2551 กับ ปรับปรุง 2560daykrm
 
รวมเล่มรายงานผลการดำเนินงาน/ทำเนียบบ้านหนังสือชุมชน กศน.อำเภอเมืองขอนแก่น
รวมเล่มรายงานผลการดำเนินงาน/ทำเนียบบ้านหนังสือชุมชน กศน.อำเภอเมืองขอนแก่นรวมเล่มรายงานผลการดำเนินงาน/ทำเนียบบ้านหนังสือชุมชน กศน.อำเภอเมืองขอนแก่น
รวมเล่มรายงานผลการดำเนินงาน/ทำเนียบบ้านหนังสือชุมชน กศน.อำเภอเมืองขอนแก่นreaweewan
 
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์แวมไพร์ แวมไพร์
 
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2  ปีการศึกษา 2556แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2  ปีการศึกษา 2556
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556dnavaroj
 
วรรณคดีและวรรณกรรม
วรรณคดีและวรรณกรรมวรรณคดีและวรรณกรรม
วรรณคดีและวรรณกรรมAor's Sometime
 
ทะเบียนคุมเงินทุนการศึกษาประเภทไม่ต่อเนื่อง ปีการศึกษา 2553
ทะเบียนคุมเงินทุนการศึกษาประเภทไม่ต่อเนื่อง  ปีการศึกษา 2553ทะเบียนคุมเงินทุนการศึกษาประเภทไม่ต่อเนื่อง  ปีการศึกษา 2553
ทะเบียนคุมเงินทุนการศึกษาประเภทไม่ต่อเนื่อง ปีการศึกษา 2553Yutthana Sriumnaj
 
ดาวโหลดเอกสารเลือกตั้งประธานนักเรียน
ดาวโหลดเอกสารเลือกตั้งประธานนักเรียนดาวโหลดเอกสารเลือกตั้งประธานนักเรียน
ดาวโหลดเอกสารเลือกตั้งประธานนักเรียนwaranyuati
 
รายงานผลการดำเนินกิจกรรมสภานักเรียน ประจำปีการศึกษา 2560
รายงานผลการดำเนินกิจกรรมสภานักเรียน ประจำปีการศึกษา 2560รายงานผลการดำเนินกิจกรรมสภานักเรียน ประจำปีการศึกษา 2560
รายงานผลการดำเนินกิจกรรมสภานักเรียน ประจำปีการศึกษา 2560สภานักเรียน ส.ป. samutprakanstudentcouncil
 

What's hot (20)

ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
 
หลักสูตร51 vs หลักสูตร 60
หลักสูตร51 vs หลักสูตร 60หลักสูตร51 vs หลักสูตร 60
หลักสูตร51 vs หลักสูตร 60
 
ปัญหาการศึกษา
ปัญหาการศึกษาปัญหาการศึกษา
ปัญหาการศึกษา
 
วิเคราะห์หลักสูตรสังคม
วิเคราะห์หลักสูตรสังคมวิเคราะห์หลักสูตรสังคม
วิเคราะห์หลักสูตรสังคม
 
ตัวอย่างบันทึกข้อความ
ตัวอย่างบันทึกข้อความตัวอย่างบันทึกข้อความ
ตัวอย่างบันทึกข้อความ
 
ไตรสิกขา
ไตรสิกขาไตรสิกขา
ไตรสิกขา
 
ใบงานช่องทางการขยายอาชีพ ม.ปลาย
ใบงานช่องทางการขยายอาชีพ ม.ปลายใบงานช่องทางการขยายอาชีพ ม.ปลาย
ใบงานช่องทางการขยายอาชีพ ม.ปลาย
 
แผนผังขบวบวนพาเหรด
แผนผังขบวบวนพาเหรดแผนผังขบวบวนพาเหรด
แผนผังขบวบวนพาเหรด
 
การเขียน กคศ.3 1
การเขียน กคศ.3 1การเขียน กคศ.3 1
การเขียน กคศ.3 1
 
ทฤษฏีภาวะผู้นำและภาวะผู้นำทางวิชาการ
ทฤษฏีภาวะผู้นำและภาวะผู้นำทางวิชาการทฤษฏีภาวะผู้นำและภาวะผู้นำทางวิชาการ
ทฤษฏีภาวะผู้นำและภาวะผู้นำทางวิชาการ
 
แผนพัฒนาตนเองตำแหน่งรองผู้อำนวยการสถานศึกษา
แผนพัฒนาตนเองตำแหน่งรองผู้อำนวยการสถานศึกษาแผนพัฒนาตนเองตำแหน่งรองผู้อำนวยการสถานศึกษา
แผนพัฒนาตนเองตำแหน่งรองผู้อำนวยการสถานศึกษา
 
แบบรายงานคุรุชนคนคุณธรรม เครดิตโดยครูโสภิญญา
แบบรายงานคุรุชนคนคุณธรรม เครดิตโดยครูโสภิญญาแบบรายงานคุรุชนคนคุณธรรม เครดิตโดยครูโสภิญญา
แบบรายงานคุรุชนคนคุณธรรม เครดิตโดยครูโสภิญญา
 
เปรียบเทียบหลักสูตร 2551 กับ ปรับปรุง 2560
เปรียบเทียบหลักสูตร 2551 กับ ปรับปรุง 2560เปรียบเทียบหลักสูตร 2551 กับ ปรับปรุง 2560
เปรียบเทียบหลักสูตร 2551 กับ ปรับปรุง 2560
 
รวมเล่มรายงานผลการดำเนินงาน/ทำเนียบบ้านหนังสือชุมชน กศน.อำเภอเมืองขอนแก่น
รวมเล่มรายงานผลการดำเนินงาน/ทำเนียบบ้านหนังสือชุมชน กศน.อำเภอเมืองขอนแก่นรวมเล่มรายงานผลการดำเนินงาน/ทำเนียบบ้านหนังสือชุมชน กศน.อำเภอเมืองขอนแก่น
รวมเล่มรายงานผลการดำเนินงาน/ทำเนียบบ้านหนังสือชุมชน กศน.อำเภอเมืองขอนแก่น
 
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
 
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2  ปีการศึกษา 2556แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2  ปีการศึกษา 2556
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
 
วรรณคดีและวรรณกรรม
วรรณคดีและวรรณกรรมวรรณคดีและวรรณกรรม
วรรณคดีและวรรณกรรม
 
ทะเบียนคุมเงินทุนการศึกษาประเภทไม่ต่อเนื่อง ปีการศึกษา 2553
ทะเบียนคุมเงินทุนการศึกษาประเภทไม่ต่อเนื่อง  ปีการศึกษา 2553ทะเบียนคุมเงินทุนการศึกษาประเภทไม่ต่อเนื่อง  ปีการศึกษา 2553
ทะเบียนคุมเงินทุนการศึกษาประเภทไม่ต่อเนื่อง ปีการศึกษา 2553
 
ดาวโหลดเอกสารเลือกตั้งประธานนักเรียน
ดาวโหลดเอกสารเลือกตั้งประธานนักเรียนดาวโหลดเอกสารเลือกตั้งประธานนักเรียน
ดาวโหลดเอกสารเลือกตั้งประธานนักเรียน
 
รายงานผลการดำเนินกิจกรรมสภานักเรียน ประจำปีการศึกษา 2560
รายงานผลการดำเนินกิจกรรมสภานักเรียน ประจำปีการศึกษา 2560รายงานผลการดำเนินกิจกรรมสภานักเรียน ประจำปีการศึกษา 2560
รายงานผลการดำเนินกิจกรรมสภานักเรียน ประจำปีการศึกษา 2560
 

Similar to วิจัยในชั้นเรียน

ภูมิศาสตร์ครูปานใจ
ภูมิศาสตร์ครูปานใจภูมิศาสตร์ครูปานใจ
ภูมิศาสตร์ครูปานใจkrupanjairs
 
แบบรายงานผลการปฏิบัติงานและพัฒนาตนเองของกมลรัตน์ ฉิมพาลี
แบบรายงานผลการปฏิบัติงานและพัฒนาตนเองของกมลรัตน์ ฉิมพาลีแบบรายงานผลการปฏิบัติงานและพัฒนาตนเองของกมลรัตน์ ฉิมพาลี
แบบรายงานผลการปฏิบัติงานและพัฒนาตนเองของกมลรัตน์ ฉิมพาลีกมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
การคัดเลือกครูผู้สอนดีเด่น ประจำปี พ.ศ. ๒๕๕๖
การคัดเลือกครูผู้สอนดีเด่น ประจำปี พ.ศ. ๒๕๕๖การคัดเลือกครูผู้สอนดีเด่น ประจำปี พ.ศ. ๒๕๕๖
การคัดเลือกครูผู้สอนดีเด่น ประจำปี พ.ศ. ๒๕๕๖Jaturapad Pratoom
 
หลักสูตรwin win1
หลักสูตรwin win1หลักสูตรwin win1
หลักสูตรwin win1kruthailand
 
รายงานประจำปีของสถานศึกษา
รายงานประจำปีของสถานศึกษารายงานประจำปีของสถานศึกษา
รายงานประจำปีของสถานศึกษาKrupetch Songkwamjarearn
 
การแนะนำบทเรียน ม. 5 เทอม 1
การแนะนำบทเรียน ม. 5 เทอม 1การแนะนำบทเรียน ม. 5 เทอม 1
การแนะนำบทเรียน ม. 5 เทอม 1Wichai Likitponrak
 
หลักสูตร51สู่ห้องเรียน
หลักสูตร51สู่ห้องเรียนหลักสูตร51สู่ห้องเรียน
หลักสูตร51สู่ห้องเรียนPitima Boonprasit
 
แบบรายงานการใช้หลักสูตรสถานศึกษา โสภิญญา
แบบรายงานการใช้หลักสูตรสถานศึกษา โสภิญญาแบบรายงานการใช้หลักสูตรสถานศึกษา โสภิญญา
แบบรายงานการใช้หลักสูตรสถานศึกษา โสภิญญาSophinyaDara
 
แบบรายงานเพื่อรับการคัดเลือกครูดีเด่นศูนย์วิทยาศาสตร์
แบบรายงานเพื่อรับการคัดเลือกครูดีเด่นศูนย์วิทยาศาสตร์แบบรายงานเพื่อรับการคัดเลือกครูดีเด่นศูนย์วิทยาศาสตร์
แบบรายงานเพื่อรับการคัดเลือกครูดีเด่นศูนย์วิทยาศาสตร์Krupol Phato
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfWichai Likitponrak
 
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรม
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรมแผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรม
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรมWichai Likitponrak
 
หลักสูตรแกนกลาง2551(ล่าสุด)
หลักสูตรแกนกลาง2551(ล่าสุด)หลักสูตรแกนกลาง2551(ล่าสุด)
หลักสูตรแกนกลาง2551(ล่าสุด)wasan
 
หลักสูตรแกนกลาง2551(ล่าสุด)
หลักสูตรแกนกลาง2551(ล่าสุด)หลักสูตรแกนกลาง2551(ล่าสุด)
หลักสูตรแกนกลาง2551(ล่าสุด)wasan
 
เรื่องแต่งตั้งคณะกรรมการดําเนินงานจัดการแข่งขันและคัดเลือกตัวแทนนักเรียนระดับ...
เรื่องแต่งตั้งคณะกรรมการดําเนินงานจัดการแข่งขันและคัดเลือกตัวแทนนักเรียนระดับ...เรื่องแต่งตั้งคณะกรรมการดําเนินงานจัดการแข่งขันและคัดเลือกตัวแทนนักเรียนระดับ...
เรื่องแต่งตั้งคณะกรรมการดําเนินงานจัดการแข่งขันและคัดเลือกตัวแทนนักเรียนระดับ...waranyuati
 
การพัฒนาหลักสูตร โรงเรียนตะโหมด วีระพงศ์ เสือบุญทอง
การพัฒนาหลักสูตร โรงเรียนตะโหมด วีระพงศ์  เสือบุญทองการพัฒนาหลักสูตร โรงเรียนตะโหมด วีระพงศ์  เสือบุญทอง
การพัฒนาหลักสูตร โรงเรียนตะโหมด วีระพงศ์ เสือบุญทองneungzaba
 

Similar to วิจัยในชั้นเรียน (20)

ภูมิศาสตร์ครูปานใจ
ภูมิศาสตร์ครูปานใจภูมิศาสตร์ครูปานใจ
ภูมิศาสตร์ครูปานใจ
 
SAR 2560
SAR 2560SAR 2560
SAR 2560
 
แบบรายงานผลการปฏิบัติงานและพัฒนาตนเองของกมลรัตน์ ฉิมพาลี
แบบรายงานผลการปฏิบัติงานและพัฒนาตนเองของกมลรัตน์ ฉิมพาลีแบบรายงานผลการปฏิบัติงานและพัฒนาตนเองของกมลรัตน์ ฉิมพาลี
แบบรายงานผลการปฏิบัติงานและพัฒนาตนเองของกมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
การคัดเลือกครูผู้สอนดีเด่น ประจำปี พ.ศ. ๒๕๕๖
การคัดเลือกครูผู้สอนดีเด่น ประจำปี พ.ศ. ๒๕๕๖การคัดเลือกครูผู้สอนดีเด่น ประจำปี พ.ศ. ๒๕๕๖
การคัดเลือกครูผู้สอนดีเด่น ประจำปี พ.ศ. ๒๕๕๖
 
หลักสูตรwin win1
หลักสูตรwin win1หลักสูตรwin win1
หลักสูตรwin win1
 
รายงานประจำปีของสถานศึกษา
รายงานประจำปีของสถานศึกษารายงานประจำปีของสถานศึกษา
รายงานประจำปีของสถานศึกษา
 
Sar 59 wichai li
Sar 59 wichai liSar 59 wichai li
Sar 59 wichai li
 
การแนะนำบทเรียน ม. 5 เทอม 1
การแนะนำบทเรียน ม. 5 เทอม 1การแนะนำบทเรียน ม. 5 เทอม 1
การแนะนำบทเรียน ม. 5 เทอม 1
 
รายงานการประเมินตนเองรายบุคคล Sar
รายงานการประเมินตนเองรายบุคคล Sarรายงานการประเมินตนเองรายบุคคล Sar
รายงานการประเมินตนเองรายบุคคล Sar
 
หลักสูตร51สู่ห้องเรียน
หลักสูตร51สู่ห้องเรียนหลักสูตร51สู่ห้องเรียน
หลักสูตร51สู่ห้องเรียน
 
Sar 60 wichai li
Sar 60 wichai liSar 60 wichai li
Sar 60 wichai li
 
แบบรายงานการใช้หลักสูตรสถานศึกษา โสภิญญา
แบบรายงานการใช้หลักสูตรสถานศึกษา โสภิญญาแบบรายงานการใช้หลักสูตรสถานศึกษา โสภิญญา
แบบรายงานการใช้หลักสูตรสถานศึกษา โสภิญญา
 
แบบรายงานเพื่อรับการคัดเลือกครูดีเด่นศูนย์วิทยาศาสตร์
แบบรายงานเพื่อรับการคัดเลือกครูดีเด่นศูนย์วิทยาศาสตร์แบบรายงานเพื่อรับการคัดเลือกครูดีเด่นศูนย์วิทยาศาสตร์
แบบรายงานเพื่อรับการคัดเลือกครูดีเด่นศูนย์วิทยาศาสตร์
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
 
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรม
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรมแผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรม
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรม
 
หลักสูตรแกนกลาง2551(ล่าสุด)
หลักสูตรแกนกลาง2551(ล่าสุด)หลักสูตรแกนกลาง2551(ล่าสุด)
หลักสูตรแกนกลาง2551(ล่าสุด)
 
หลักสูตรแกนกลาง2551(ล่าสุด)
หลักสูตรแกนกลาง2551(ล่าสุด)หลักสูตรแกนกลาง2551(ล่าสุด)
หลักสูตรแกนกลาง2551(ล่าสุด)
 
เรื่องแต่งตั้งคณะกรรมการดําเนินงานจัดการแข่งขันและคัดเลือกตัวแทนนักเรียนระดับ...
เรื่องแต่งตั้งคณะกรรมการดําเนินงานจัดการแข่งขันและคัดเลือกตัวแทนนักเรียนระดับ...เรื่องแต่งตั้งคณะกรรมการดําเนินงานจัดการแข่งขันและคัดเลือกตัวแทนนักเรียนระดับ...
เรื่องแต่งตั้งคณะกรรมการดําเนินงานจัดการแข่งขันและคัดเลือกตัวแทนนักเรียนระดับ...
 
Sar peter 60
Sar peter 60Sar peter 60
Sar peter 60
 
การพัฒนาหลักสูตร โรงเรียนตะโหมด วีระพงศ์ เสือบุญทอง
การพัฒนาหลักสูตร โรงเรียนตะโหมด วีระพงศ์  เสือบุญทองการพัฒนาหลักสูตร โรงเรียนตะโหมด วีระพงศ์  เสือบุญทอง
การพัฒนาหลักสูตร โรงเรียนตะโหมด วีระพงศ์ เสือบุญทอง
 

More from โรงเรียนเทพลีลา

คู่มือการใช้นวัตกรรมคลื่นกลและเสียง
คู่มือการใช้นวัตกรรมคลื่นกลและเสียงคู่มือการใช้นวัตกรรมคลื่นกลและเสียง
คู่มือการใช้นวัตกรรมคลื่นกลและเสียงโรงเรียนเทพลีลา
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงโรงเรียนเทพลีลา
 
เอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงโรงเรียนเทพลีลา
 

More from โรงเรียนเทพลีลา (8)

คู่มือการใช้นวัตกรรมคลื่นกลและเสียง
คู่มือการใช้นวัตกรรมคลื่นกลและเสียงคู่มือการใช้นวัตกรรมคลื่นกลและเสียง
คู่มือการใช้นวัตกรรมคลื่นกลและเสียง
 
แผนประกอบวิจัยในชั้นเรียน
แผนประกอบวิจัยในชั้นเรียนแผนประกอบวิจัยในชั้นเรียน
แผนประกอบวิจัยในชั้นเรียน
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
 
เอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
 
คลื่นและเสียง
คลื่นและเสียงคลื่นและเสียง
คลื่นและเสียง
 
Earthscience
EarthscienceEarthscience
Earthscience
 
ฟิสิกส์พื้นฐาน
ฟิสิกส์พื้นฐานฟิสิกส์พื้นฐาน
ฟิสิกส์พื้นฐาน
 
โอเน็ตฟิสิกส์
โอเน็ตฟิสิกส์โอเน็ตฟิสิกส์
โอเน็ตฟิสิกส์
 

วิจัยในชั้นเรียน

  • 1. วิจัยในชั้นเรียน การวิเคราะห์ผู้เรียนรายบุคคลชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/2 ปีการศึกษา 2560 โดย นายพิพัฒน์พงษ์ สาจันทร์ นางสาววิดยะดา นาคะชัย โรงเรียนเทพลีลา กรุงเทพมหานคร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 2 สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ
  • 2. เรื่อง การวิเคราะห์ผู้เรียนรายบุคคลชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/2 ปีการศึกษา 2560 โดย นายพิพัฒน์พงษ์ สาจันทร์ นางสาววิดยะดา นาคะชัย ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ชานาญการ ตาแหน่ง ครูผู้ช่วย ..................................................................... (นางจุฑารัตน์ เศรษฐบุตร) หัวหน้าระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ..................................................................... (นางอุมาพร ไชยฤกษ์) รองผู้อานวยการกลุ่มบริหารวิชาการ ..................................................................... (นายชาญชัย โรจนะ) ผู้อานวยการโรงเรียนเทพลีลา
  • 3. ก บทคัดย่อ ชื่อเรื่อง การวิเคราะห์ผู้เรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/2 ปีการศึกษา 2560 โรงเรียนเทพลีลา เขตบางกะปิ กรุงเทพมหานคร ผู้วิจัย นายพิพัฒน์พงษ์ สาจันทร์ และนางสาววิดยะดา นาคะชัย ปีที่ทาการวิจัย ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2560 ประเภทวิจัย การวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน (Classroom Action Research) ................................................................................................................................................................ การวิเคราะห์ผู้เรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/2 โรงเรียนเทพลีลา ปีการศึกษา 2560 มี วัตถุประสงค์ 1) เพื่อวิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐานด้านต่าง ๆ ของนักเรียนที่ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/2 โรงเรียนเทพลีลา ปีการศึกษา 2560 2) เพื่อศึกษาจุดเด่นและจุดด้อยที่ควรได้รับการพัฒนาและ ปรับปรุงนักเรียนแต่ละคนในชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/2 โรงเรียนเทพลีลา ปีการศึกษา 2560 3) เพื่อ ศึกษาแนวทางการออกแบบการจัดการเรียนการสอนของครูให้สามารถพัฒนาคุณภาพของแต่ละคน และทุกคนในชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/2 โรงเรียนเทพลีลา ปีการศึกษา 2560 กลุ่มเป้าหมาย คือ นักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/2 จานวน 39 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ประกอบด้วย แบบทดสอบวัดความรู้พื้นฐานก่อนเรียน แบบวิเคราะห์ผู้เรียนรายบุคคล แบบสังเกต แบบสัมภาษณ์ แบบบันทึกวิเคราะห์ข้อมูล ด้วยค่าสถิติร้อยละ ,SWOTanalysis ,PMIA (Plus, Minus, Interesting point, Approach) ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ - การวิเคราะห์ข้อมูลด้านภูมิหลังครอบครัว สถานภาพบิดา-มารดา ส่วนใหญ่ อยู่ด้วยกัน ร้อยละ 61.54 ที่พักของนักเรียน ส่วนใหญ่ หอพัก/บ้านเช่า ร้อยละ 74.36 อาชีพผู้ปกครอง ส่วนใหญ่รับจ้างทั่วไป ร้อยละ 46.15 มีความจาเป็นที่ต้องการขอทุนการศึกษา ร้อยละ 61.54 วิธีเดินทาง มาโรงเรียน ส่วนใหญ่ รถเมล์/รถประจาทาง ร้อยละ 53.85 เงินที่ได้รับจากผู้ปกครองในแต่ละวัน ส่วน ใหญ่ 51-100 บาท ร้อยละ 64.10 - การวิเคราะห์ข้อมูลด้านผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ผลการเรียนเฉลี่ย (GPA) อันดับที่ 1 2.51–3.00 ร้อยละ 30.77 (12) อันดับที่ 2 2.01–2.50 และ 3.01-3.50 ร้อยละ 20.51 (8).อันดับที่ 4 1.51-2.00 ร้อยละ 15.38 (6) อันดับที่ 5 3.51-4.00 ร้อยละ 7.69 (3) และอันดับ 6 1.01-1.50 ร้อยละ 5.13 (2) - การวิเคราะห์ข้อมูลด้านพัฒนาการด้านต่าง ๆ น้าหนักของนักเรียน อันดับที่ 1 ตามเกณฑ์ มาตรฐาน ร้อยละ 94.87 (37) อันดับที่ 2 สูงกว่าเกณฑ์มาตรฐาน ร้อยละ7.69 (3) ส่วนสูงของ นักเรียน อันดับที่ 1 ตามเกณฑ์มาตรฐาน ร้อยละ 92.31 (36) อันดับที่ 2 ต่ากว่าเกณฑ์มาตรฐาน
  • 4. ข ร้อยละ 5.13 (2) สายตา อันดับที่ 1 ปกติ ร้อยละ 56.41 (22) อันดับที่ 2 สายตาสั้น ร้อยละ 43.59 (17) สุขภาพ/โรคประจาตัว อันดับที่ 1 แข็งแรง/ปกติ ร้อยละ74.36 (29) อันดับที่ 2 ภูมิแพ้ ร้อยละ 15.38 (6) อันดับที่ 3 หอบหืด ร้อยละ 7.69 (3) อันดับที่ 4 โรคอื่น ๆ ร้อยละ 2.56 (1) บุคลิกภาพ ทางกาย/จิตใจ อันดับที่ 1 แจ่มใส ร่าเริง ร้อยละ 87.18 (34) อันดับที่ 2 ซุกซน/ไม่อยู่นิ่ง/สมาธิสั้น ร้อยละ 12.82 (5) - การวิเคราะห์ข้อมูลด้านความสนใจและความสามารถพิเศษ วิชาที่สอบที่สุด อันดับที่ 1 ภาษาอังกฤษ และชีววิทยาร้อยละ 23.08 (9) อันดับที่ 2 คณิตศาสตร์ ร้อยละ 12.82 (5) อันดับที่ 3 ฟิสิกส์ ร้อยละ 10.26 (4) ความสามารถพิเศษอันดับที่ 1 ด้านกีฬา ร้อยละ 30.77 (12) อันดับที่ 2 อื่น ๆ ร้อยละ 25.64 (10) อันดับที่ 3 ด้านดนตรี และ ด้านศิลปะ ร้อยละ20.51 (8) อาชีพที่ใฝ่ฝัน อันดับที่ 1 อาชีพอิสระ ร้อยละ 46.15 (18) อันดับที่ 2 รับราชการ ร้อยละ 25.64 อันดับที่ 3 อื่น ๆ ร้อยละ 23.08 (9) อันดับที่ 4 พนักงานบริษัท ร้อยละ 5.13 (2) การศึกษา อันดับที่ 1 ศึกษาต่อ ร้อยละ 100 (39) - การวิเคราะห์ผู้เรียนตามแบบ SWOT Analysis ด้านจุดแข็ง ครูมีเป้าหมายในการจัดการ เรียนการสอนเพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียน โดยเฉพาะอย่างยิ่งการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนให้ ตามเกณฑ์ที่โรงเรียนและเขตพื้นที่การศึกษา กาหนด เป็นเกณฑ์มาตรฐาน ครูมีกระบวนการในการ จัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญและมีระบบในการจัดเก็บข้อมูล เอกสารหลักฐานเพื่อแสดง คุณภาพผู้เรียน และครูสามารถปฏิบัติงานตามมาตรฐานของโรงเรียนสากเหล็กวิทยา ได้แก่ มาตรฐาน การจัดการเรียนการสอน มาตรฐานการปฏิบัติงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน และมาตรฐานความ เป็นครู ด้านโอกาส โรงเรียนมีวิสัยทัศน์และมีเป้าหมายในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน เพื่อความสาเร็จ ของผู้เรียน จึงมีการสนับสนุนในทุกด้าน โรงเรียนได้รับการสนับสนุนงบประมาณจากรัฐบาล โดยเฉพาะโครงการสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาตั้งแต่อนุบาลจนถึงการศึกษาขั้นพื้นฐาน (เรียนฟรี 15 ปี ) โรงเรียนได้รับความร่วมมือจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ คณะกรรมการ สถานศึกษา สมาคมผู้ปกครองนักเรียน ผู้ปกครองเครือข่าย และไลน์กลุ่มนักเรียน และไลน์กลุ่ม ผู้ปกครอง ด้านอุปสรรค จานวนนักเรียนต่อห้องมีจานวนมาก เป็นอุปสรรคต่อการจัดการเรียนการ สอน นักเรียนมีความสนใจในการเรียนวิทยาศาสตร์ เพื่อการศึกษาต่อสูง แต่มีความรู้พื้นฐานทาง วิทยาศาสตร์ และคณิตศาสตร์อยู่ในระดับต่า นักเรียนบางคนยังไม่รู้เป้าหมายของตัวเอง ด้านจุดอ่อน มีนักเรียนที่ยังมีผลการเรียนไม่ผ่านร้อยละ 33.33 ผลการจัดกลุ่มคุณภาพอยู่ในระดับปานกลาง ร้อยละ 51.28 และ ระดับปรับปรุง ร้อยละ 20.51 นักเรียนมีความรู้ ทักษะการคานวณค่อนข้างต่า และผลการสอน O-net ไม่ผ่านเกณฑ์ขีดจากัดล่าง ตามที่เขตพื้นที่กาหนด
  • 5. ค กิตติกรรมประกาศ การจัดทาวิจัยในชั้นเรียนในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาข้อมูลของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/2 โรงเรียนเทพลีลา ปีการศึกษา 2560 ข้อสรุปของการวิจัยสามารถนาไปวางแผนการออกแบบ กิจกรรมการเรียนรู้ให้เหมาะสม ซึ่งจะส่งผลให้ผู้เรียนได้รับการพัฒนาเต็มตามศักยภาพต่อไป ผู้วิจัย ขอขอบคุณบุคคลที่เกี่ยวข้องในการวิจัย ดังต่อไปนี้ ขอขอบใจนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/2 โรงเรียนเทพลีลา ปีการศึกษา 2560 ทุกคนที่ให้ ความร่วมมือในการให้ข้อมูลเพื่อใช้ในการวิจัย ขอบพระคุณครูจุฑารัตน์ เศรษฐบุตร หัวหน้าระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนเทพลีลา ที่คอยให้คาแนะนา ให้กาลังใจในการปฏิบัติหน้าที่ครูประจาชั้นด้วยดีเสมอมา ขอขอบพระคุณผู้อานวยการโรงเรียนเทพลีลา รองผู้อานวยโรงเรียนเทพลีลาทุกท่าน ที่คอย อานวยความสะดวกและให้คาแนะนาในการทาวิจัยครั้งนี้ด้วยดีเสมอมา กราบขอบพระคุณบิดา มารดา และญาติ ๆ ทุกคนที่คอยให้กาลังใจส่งผลให้การวิจัยครั้งนี้ สาเร็จลุล่วงตามวัตถุประสงค์ทุกประการ ลงชื่อ ผู้วิจัย (นายพิพัฒน์พงษ์ สาจันทร์) ลงชื่อ ผู้วิจัย (นางสาววิดยะดา นาคะชัย)
  • 6. ง สารบัญ บทคัดย่อ.....................................................................................................................................ก กิตติกรรมประกาศ.......................................................................................................................ค สารบัญ.......................................................................................................................................ง สารบัญตาราง.............................................................................................................................ฉ บทที่ 1 บทนา.............................................................................................................................1 1. ความเป็นมา.....................................................................................................................1 2. วัตถุประสงค์ของการวิจัย.................................................................................................2 3. ขอบเขตของการวิจัย........................................................................................................2 4. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ...............................................................................................2 บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง..........................................................................................................3 1. แนวคิดของการทาวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน ...................................................................3 2. หลักการ ของการทาวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน.................................................................3 3. คุณค่าของการทาวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน.....................................................................3 4. ด้านของข้อมูลที่จัดเก็บ....................................................................................................4 5. วิธีการจัดเก็บข้อมูล..........................................................................................................4 บทที่ 3 วิธีดาเนินการวิจัย...........................................................................................................5 1. กลุ่มเป้าหมาย..................................................................................................................5 2. สารสนเทศและข้อมูลที่เก็บรวบรวม ประกอบด้วย...........................................................5 3. แหล่งข้อมูล......................................................................................................................5 4. เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูล .........................................................................................5 5. วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล.................................................................................................5 6. การวิเคราะห์ข้อมูล..........................................................................................................6 บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล.....................................................................................................7 1. ผลการวิเคราะห์ข้อมูลด้านภูมิหลังครอบครัว ...................................................................7 2. ผลการวิเคราะห์ข้อมูลด้านผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน..........................................................9 3. ผลการวิเคราะห์ข้อมูลด้านพัฒนาการด้านต่าง ๆ..............................................................9 4. ผลการวิเคราะห์ข้อมูลด้านความสนใจและความสามารถพิเศษ......................................11 5. ผลการวิเคราะห์ผู้เรียนตามแบบ SWOT .......................................................................13 6. ผลการวิเคราะห์ PMIA...................................................................................................14
  • 7. จ บทที่ 5 สรุปผลการวิจัย.............................................................................................................19 1. สรุปผลการวิจัย..............................................................................................................19 2. ข้อเสนอแนะจากการวิจัย...............................................................................................21 บรรณานุกรม.............................................................................................................................22 ภาคผนวก.................................................................................................................................23 ประวัติผู้วิจัย.............................................................................................................................31
  • 8. ฉ สารบัญตาราง ตารางที่ 1 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลด้านภูมิหลังครอบครัว....................................................................7 ตารางที่ 2 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลด้านผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน (GPA)................................................9 ตารางที่ 3 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลด้านพัฒนาการ...............................................................................9 ตารางที่ 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลด้านความสนใจและความสามารถพิเศษ.......................................11 ตารางที่ 5 การวิเคราะห์ PMIA ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/2................................................14
  • 9. บทที่ 1 บทนา 1. ความเป็นมา พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 ที่ระบุไว้ว่า “ มาตรา 22 การจัดการศึกษาต้อง ยึดหลักว่าผู้เรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ และถือว่าผู้เรียนมีความสาคัญมาก ที่สุด กระบวนการจัดการศึกษาต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาตามธรรมชาติและเต็มตาม ศักยภาพ” การวิเคราะห์ผู้เรียน เพื่อศึกษาผู้เรียนเป็นรายบุคคล จึงมีความสาคัญและจาเป็นมาก ประโยชน์ของการวิเคราะห์ผู้เรียน คือ การนาข้อมูลไปช่วยเหลือ แก้ไข ส่งเสริม และสนับสนุนให้ ผู้เรียนมีการพัฒนาได้อย่างเหมาะสม เต็มศักยภาพของแต่ละบุคคลและมีความสุข ครูผู้สอนจึงเป็นผู้มี บทบาทสาคัญเกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้ให้ผู้เรียนรู้จักแสวงหาความรู้ พัฒนาตนเอง คิดเอง ปฏิบัติเอง เพื่อนาไปสู่การสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง สมศ. ได้กาหนดมาตรฐานคุณภาพครูในด้านการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ อย่างมีประสิทธิภาพไว้ว่า ครูจะต้องทากิจกรรม 7 กิจกรรม คือ 1) การวิเคราะห์หลักสูตร 2) การ วิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล 3)การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่หลากหลาย 4) การใช้เทคโนโลยีเป็น แหล่งและสื่อการเรียนรู้ของตนเองและนักเรียน 5) การวัดผลและประเมินผลตามสภาพจริงอย่างรอบ ด้านเน้นองค์รวมและเน้นพัฒนาการ 6) การใช้ผลการประเมินเพื่อแก้ไข ปรับปรุงและพัฒนาการ จัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาผู้เรียนให้เต็มศักยภาพ 7) การใช้การวิจัยปฏิบัติการในการพัฒนา นวัตกรรมเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ของนักเรียนและการสอนของตนเอง ในปีการศึกษา 2560 ผู้วิจัยได้รับมอบหมายให้เป็นครูประจาชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/2 ซึ่งมี นักเรียนจานวน 39 คน แยกเป็นนักเรียนชาย จานวน 12 คน นักเรียนหญิง จานวน 27 คน จาก การศึกษาข้อมูลเบื้องต้นของนักเรียนดังกล่าวพบว่านักเรียนมีความแตกต่างกันทั้งทางด้านฐานะทาง ครอบครัว ด้านผลการเรียน มีนักเรียนบางคนยังมีผลการเรียนที่ยังไม่ผ่านเป็นจานวนมาก ดังนั้น ผู้วิจัยการจึงทาการวิเคราะห์ผู้เรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/2 โรงเรียนเทพลีลา ปีการศึกษา 2560 เพื่อวิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐานของนักเรียน เพื่อศึกษาจุดเด่น และจุดด้อย ที่ควรได้รับ การพัฒนาและปรับปรุงนักเรียนแต่ละคน เพื่อใช้เป็นแนวทางการออกแบบการจัดการเรียนการสอน ของครูให้สามารถพัฒนาคุณภาพของแต่ละคนและทุกคนต่อไป
  • 10. 2 2. วัตถุประสงค์ของการวิจัย 2.1 เพื่อวิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐานของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/2 โรงเรียนเทพลีลา ปีการศึกษา 2560 2.2 เพื่อศึกษาจุดเด่น และจุดด้อย ที่ควรได้รับการพัฒนาและปรับปรุงนักเรียนแต่ละคนในชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 6/2 โรงเรียนเทพลีลา ปีการศึกษา 2560 2.3 เพื่อใช้เป็นแนวทางการออกแบบการจัดการเรียนการสอนของครูให้สามารถพัฒนาคุณภาพ ของแต่ละคนและทุกคนในชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/2 โรงเรียนเทพลีลา ปีการศึกษา 2560 3. ขอบเขตของการวิจัย 3.1 กลุ่มเป้าหมาย คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/2 โรงเรียนเทพลีลา เขตบางกะปิ กรุงเทพมหานคร ปีการศึกษา 2560 จานวน 39 คน 3.2 ระยะเวลาในการวิจัย คือ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2560 ตั้งแต่วันจันทร์ที่ 15 เดือน พฤษภาคม พ.ศ. 2560 ถึงวันศุกร์ที่ 16 เดือน มิถุนายา พ.ศ. 2560 4. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 4.1 ครูผู้สอนสามารถออกแบบการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้เหมาะสมกับนักเรียน 4.2 แนวทางการเตรียมความพร้อมและพื้นฐานของนักเรียนจะเรียนเรื่องใหม่แนวทางการ วางแผนพัฒนาและปรับปรุง นักเรียนให้สอดคล้องกับจุดเด่น จุดด้อยของผู้เรียนต่อไป
  • 11. บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง 1. แนวคิดของการทาวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน มาตรฐานคุณภาพครูในด้านการจัดการเรียนการสอน ตามมาตรฐาน สมศ.ต้องเน้นที่ผู้เรียนเป็น สาคัญอย่างมีประสิทธิภาพ การวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล เป็นกิจกรรมหนึ่ง ที่ผู้สอนต้องจัดทา เพื่อใช้เป็นแนวทาง จัดกิจกรรมการเรียนการสอนเพื่อนาไปสู่การเกิดความรู้ ในสภาพที่แตกต่างของ ผู้เรียน โดยการใช้การวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียนที่มีแนวคิดดังนี้ 1) การวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน ( classroom action research - CAR) เป็นเครื่องมือใน การเรียนรู้และสร้างความรู้ในการปฏิบัติงาน ยังผลให้ครูเกิดความเข้าใจ ในความสาเร็จ และปัญหาการ ปฏิบัติงานจัดการเรียนการสอนของตนเอง นาไปสู่การพัฒนาความสามารถในการปรับปรุงและพัฒนา ตนเองในการปฏิบัติงานวิชาชีพครู 2) เมื่อครูเผชิญกับ ปัญหา ในการจัดการเรียนการสอน ครู สามารถเปลี่ยนปัญหา ให้เป็น ปัญญา และการสร้างสรรค์ ได้ด้วยการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน 3) ครูนักวิจัยจะเรียนรู้ตลอดเวลา สามารถนิเทศตนเองและเปลี่ยนแปลงตนเองได้อย่าง ถูกต้องและสร้างสรรค์ 4) การวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียนเพิ่มพลังอานาจให้ครูสามารถพึ่งตนเองในการพัฒนา ทักษะ กระบวนการคิด และกระบวนการทางานให้ได้ตามมาตรฐานวิชาชีพครู ช่วยให้ครูได้เรียนรู้ เพื่อพัฒนาการปฏิบัติงานของตนเอง 2. หลักการ ของการทาวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน 1) การวิจัยปฏิบัติการในโรงเรียนแท้ ๆ ต้องเป็น งานที่เล็ก ๆ ง่าย ๆ และมีคุณค่า (a small, simple and significant task) ที่บูรณาการอยู่ในการปฏิบัติงานการจัดการเรียนการสอนปกติของครู 2) เราทั้งผองสามารถเรียนรู้จากกันและกัน ( we all can learn from each others) เพื่อให้ บรรลุผลการเรียนอย่างมีประสิทธิภาพ 3. คุณค่าของการทาวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน คุณค่าของการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน คือ การเรียนรู้และสร้างความรู้เพื่อการเปลี่ยนแปลง ของครู ครูต้องทากิจกรรม 7 กิจกรรม อย่างต่อเนื่อง คือ
  • 12. 4 1) การวิเคราะห์หลักสูตร 2) การวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล 3)การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่หลากหลาย 4) การใช้เทคโนโลยีเป็นแหล่งและสื่อการเรียนรู้ของตนเองและนักเรียน 5) การวัดผลและประเมินผลตามสภาพจริงอย่างรอบด้านเน้นองค์รวมและเน้น พัฒนาการ 6) การใช้ผลการประเมินเพื่อแก้ไข ปรับปรุงและพัฒนาการจัดการเรียนการสอนเพื่อ พัฒนาผู้เรียนให้เต็มศักยภาพ 7) การใช้การวิจัยปฏิบัติการในการพัฒนานวัตกรรมเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ของนักเรียน และการสอนของตนเองการวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล เมื่อเปิดภาคเรียนแต่ละภาคเรียน โรงเรียนได้รับมอบหมายความรับผิดชอบให้ครูจัดการเรียนรู้ อย่างมีคุณภาพให้กับนักเรียนกลุ่มใหม่ ดังนั้นครูแต่ละคนจึงต้องเรียนรู้ วิเคราะห์ เพื่อรู้จักนักเรียน เป็นรายบุคคลให้เพียงพอที่จะสามารถวางแผนจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ 4. ด้านของข้อมูลที่จัดเก็บ ประกอบด้วย ด้าน ภูมิหลังทางครอบครัว ผลการเรียนรู้ตามหลักสูตร พัฒนาการด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม จิตใจ สติปัญญา ค่านิยม ความถนัด ความสนใจ ศักยภาพ ข้อจากัดสภาพปัญหา และ ความต้องการจาเป็น 5. วิธีการจัดเก็บข้อมูล ใช้วิธีการสังเกต การสัมภาษณ์และแบบสอบถาม แบบทดสอบวัดความรู้พื้นฐานก่อนเรียน และ ผลการเรียนในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ผ่านมาแล้วมาวิเคราะห์ข้อมูลโดยวิธี ค่าร้อยละ SWOT analysis ,PMIA (Plus, Minus, Interesting point, Approach)
  • 13. บทที่ 3 วิธีดาเนินการวิจัย 1. กลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเป้าหมายที่ทาการวิจัยในครั้งนี้ คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/2 ปีการศึกษา 2560 โรงเรียนเทพลีลา จานวน 39 คน ชาย จานวน 12 คน หญิง จานวน 27 คน 2. สารสนเทศและข้อมูลที่เก็บรวบรวม ประกอบด้วย 2.1 ภูมิหลังทางครอบครัว 2.2 ผลการเรียนรู้ตามหลักสูตร 2.3 พัฒนาการด้าน ร่างกาย อารมณ์ สังคม จิตใจ สติปัญญา ค่านิยม 2.4 ความสนใจ ความถนัด ศักยภาพ และความต้องการจาเป็น 2.5 ปัญหา/ข้อจากัด 3. แหล่งข้อมูล 3.1 แหล่งข้อมูลเอกสาร เช่น ระเบียนสะสม ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในระดับชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5/2 ปีการศึกษา 2559 แบบสารวจ แบบบันทึก 3.2 แหล่งข้อมูลบุคคล เช่น ครูที่ปรึกษา ผู้ปกครอง เพื่อนนักเรียน ตัวนักเรียน ฯ 3.3 แหล่งข้อมูลเหตุการณ์ เช่น พฤติกรรมการเข้าแถว พฤติกรรมในห้องเรียน พฤติกรรมนอก ห้องเรียน ฯลฯ 4. เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูล 4.1 แบบวิเคราะห์ผู้เรียนรายบุคคล 4.2 แบบสังเกต 4.3 แบบสัมภาษณ์ 4.4 แบบบันทึก 5. วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล 5.1 ศึกษาเอกสารจากผลการเรียนของนักเรียน 5.2 สารวจข้อมูลรายบุคคล 5.3 สังเกตพฤติกรรมนักเรียน
  • 14. 6 6. การวิเคราะห์ข้อมูล 6.1 SWOT analysis 6.2 ค่าร้อยละ 6.3 PMIA (Plus, Minus, Interesting point, Approach)
  • 15. บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล การวิเคราะห์ผู้เรียนรายบุคคล ปีการศึกษา 2560 ได้วิเคราะห์ข้อมูลจากนักเรียน ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 6/2 จานวน 39 คน แยกเป็นเพศชาย 12 คน คิดเป็นร้อยละ 30.77 เพศหญิง 27 คน คิดเป็นร้อยละ 69.23 โดยวิเคราะห์ตามประเด็นการวิเคราะห์ผู้เรียนรายบุคคล 4 ด้านคือ 1) ด้าน ข้อมูลภูมิหลังครอบครัว 2) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 3) พัฒนาการด้านต่าง ๆ (ร่างกาย, จิตใจ) 4) ความสามารถ ได้แบ่งการนาเสนอดังนี้ 1. ผลการวิเคราะห์ข้อมูลด้านภูมิหลังครอบครัว ตารางที่ 1 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลด้านภูมิหลังครอบครัว ข้อมูล รายการ จานวนนักเรียน คน ร้อยละ 1.สถานภาพบิดา-มารดา อยู่ด้วยกัน 24 61.54 หย่าร้าง 9 23.08 แยกกันอยู่แต่ไม่หย่าร้าง 3 7.69 บิดาถึงแก่กรรม 3 7.69 มารดาถึงแก่กรรม 0 0.00 2. ที่พักของนักเรียน บ้านของตนเอง 8 20.51 พักบ้านญาติ 2 5.13 หอพัก/บ้านเช่า 29 74.36 อื่น ๆ 0 0.00 3.อาชีพผู้ปกครอง รับราชการ 1 2.56 พนักงานบริษัท 2 5.13 เกษตรกรรม 3 7.69 ประกอบธุรกิจส่วนตัว 3 7.69 ค้าขาย 7 17.95 รับจ้างทั่วไป 18 46.15 อื่น ๆ 5 12.82 4. ความต้องการทุนการศึกษา มีความจาเป็น 24 61.54 ไม่มีความจาเป็น 15 38.46
  • 16. 8 ข้อมูล รายการ จานวนนักเรียน คน ร้อยละ 5.วิธีเดินทางมาโรงเรียน เดินเท้า 4 10.26 ผู้ปกครองมาส่ง 3 7.69 รถเมล์/รถประจาทาง 21 53.85 มอเตอร์ไซด์ตัวเอง 3 7.69 วินมอเตอร์ไซด์ 7 17.95 อื่น ๆ 1 2.56 6. เงินที่ได้รับจากผู้ปกครอง ในแต่ละวัน 0-50 บาท 2 5.13 51-100 บาท 25 64.10 101-150 บาท 8 20.51 151-200 บาท 4 10.26 มากกว่า 200 บาท 0 0.00 จากตารางที่ 1 พบว่า สถานภาพบิดา-มารดา อันดับที่ 1 อยู่ด้วยกัน ร้อยละ 61.54 (24) อันดับที่ 2 หย่าร้าง ร้อยละ 23.08 (8) อันดับที่ 3 แยกกันอยู่แต่ไม่หย่าร้าง และ บิดาถึงแก่กรรม ร้อยละ 7.69 (3) ที่พักของนักเรียน อันดับที่ 1 หอพัก/บ้านเช่า ร้อยละ 74.36 (29) อันดับที่ 2 บ้าน ของตนเอง ร้อยละ 20.51 อันดับที่ 3 พักบ้านญาติ ร้อยละ 5.13 (2) อาชีพผู้ปกครอง อันดับที่ 1.รับจ้างทั่วไป ร้อยละ 46.15 (18) อันดับที่ 2 ค้าขาย ร้อยละ 17.95 (7) อันดับที่ 3 เกษตรกรรมและประกอบธุรกิจส่วนตัว ร้อยละ7.69 (3) อันดับที่ 5 พนักงาน บริษัท ร้อยละ 5.13 (2) อันดับที่ 6 รับราชการ ร้อยละ 2.56 (1) ความต้องการทุนการศึกษา มีความจาเป็นที่ต้องการขอทุนการศึกษา ร้อยละ 61.54 (24) ไม่มีความจาเป็นที่ต้องการขอทุนการศึกษา ร้อยละ 61.54 (24) วิธีเดินทางมาโรงเรียน อันดับที่ 1 รถเมล์/รถประจาทาง ร้อยละ 53.85 (21) อันดับที่ 2 วินมอเตอร์ไซด์ ร้อยละ 17.95 (7) อันดับที่ 3 เดินเท้า ร้อยละ 10.26 (4) อันดับที่ 4 ผู้ปกครองมาส่ง และมอเตอร์ไซด์ตัวเอง ร้อยละ 7.69 (3) เงินที่ได้รับจากผู้ปกครองในแต่ละวัน อันดับที่ 1 51-100 บาท ร้อยละ 64.10 (25) อันดับที่ 2 101-150 บาท ร้อยละ 20.51 (8) อันดับที่ 3 151-200 บาท ร้อยละ 10.26 (4) อันดับที่ 4 0-50 บาท ร้อยละ 5.13 (2)
  • 17. 9 2. ผลการวิเคราะห์ข้อมูลด้านผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ตารางที่ 2 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลด้านผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน (GPA) ระดับผลการเรียนเฉลี่ย(GPA) จานวน(คน) ร้อยละ 0.00-1.00 0 0.00 1.01-1.50 2 5.13 1.51-2.00 6 15.38 2.01-2.50 8 20.51 2.51-3.00 12 30.77 3.01-3.50 8 20.51 3.51-4.00 3 7.69 รวม 39 100 จากตารางที่ 2 พบว่า ผลการเรียนเฉลี่ย (GPA) อันดับที่ 1 2.51–3.00 ร้อยละ 30.77 (12) อันดับที่ 2 2.01–2.50 และ 3.01-3.50 ร้อยละ 20.51 (8).อันดับที่ 4 1.51-2.00 ร้อยละ 15.38 (6) อันดับที่ 5 3.51-4.00 ร้อยละ 7.69 (3) และอันดับ 6 1.01-1.50 ร้อยละ 5.13 (2) 3. ผลการวิเคราะห์ข้อมูลด้านพัฒนาการด้านต่าง ๆ ตารางที่ 3 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลด้านพัฒนาการ ข้อมูล รายการ จานวนนักเรียน คน ร้อยละ 1.น้าหนัก ต่ากว่าเกณฑ์มาตรฐาน 0 0.00 ตามเกณฑ์มาตรฐาน 36 92.31 สูงกว่าเกณฑ์มาตรฐาน 3 7.69 2. ส่วนสูง ต่ากว่าเกณฑ์มาตรฐาน 2 5.13 ตามเกณฑ์มาตรฐาน 37 94.87 สูงกว่าเกณฑ์มาตรฐาน 0 0.00
  • 18. 10 ข้อมูล รายการ จานวนนักเรียน คน ร้อยละ 3. สายตา ปกติ 22 56.41 สั้น 17 43.59 ยาว 0 0.00 บอดสี 0 0.00 อื่น ๆ 0 0.00 4. สุขภาพ/โรคประจาตัว แข็งแรง/ปกติ 29 74.36 มีความบกพร่องทางร่างกาย (มีความพิการ) 0 0.00 หัวใจ 0 0.00 หอบหืด 3 7.69 ภูมิแพ้ 6 15.38 กระเพราะอาหาร 0 0.00 โรคอื่น ๆ 1 2.56 3. บุคลิกภาพทางจิตใจ แจ่มใส ร่าเริง 34 87.18 ซึมเศร้า 0 0.00 ซุกซน/ไม่อยู่นิ่ง/สมาธิสั้น 5 12.82 จริงจัง/เครียด 0 0.00 จากตารางที่ 3 พบว่า น้าหนักของนักเรียน อันดับที่ 1 ตามเกณฑ์มาตรฐาน ร้อยละ 94.87 (37) อันดับที่ 2 สูงกว่าเกณฑ์มาตรฐาน ร้อยละ7.69 (3) ส่วนสูงของนักเรียน อันดับที่ 1 ตามเกณฑ์มาตรฐาน ร้อยละ 92.31 (36) อันดับที่ 2 ต่า กว่าเกณฑ์มาตรฐาน ร้อยละ5.13 (2) สายตา อันดับที่ 1 ปกติ ร้อยละ 56.41 (22) อันดับที่ 2 สายตาสั้น ร้อยละ 43.59 (17) สุขภาพ/โรคประจาตัว อันดับที่ 1 แข็งแรง/ปกติ ร้อยละ74.36 (29) อันดับที่ 2 ภูมิแพ้ ร้อยละ 15.38 (6) อันดับที่ 3 หอบหืด ร้อยละ 7.69 (3) อันดับที่ 4 โรคอื่น ๆ ร้อยละ 2.56 (1) บุคลิกภาพทางกาย/จิตใจ อันดับที่ 1 แจ่มใส ร่าเริง ร้อยละ 87.18 (34) อันดับที่ 2 ซุกซน/ไม่อยู่นิ่ง/สมาธิสั้น ร้อยละ 12.82 (5)
  • 19. 11 4. ผลการวิเคราะห์ข้อมูลด้านความสนใจและความสามารถพิเศษ ตารางที่ 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลด้านความสนใจและความสามารถพิเศษ ข้อมูล รายการ จานวนนักเรียน คน ร้อยละ 1.วิชาที่ชอบที่สุด ภาษาไทย 0 0.00 สังคมศึกษา 1 2.56 ภาษาอังกฤษ 9 23.08 คณิตศาสตร์ 5 12.82 ฟิสิกส์ 4 10.26 เคมี 2 5.13 ชีววิทยา 9 23.08 โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ 1 2.56 สุขศึกษาและพลศึกษา 2 5.13 ศิลปะ 3 7.69 การงานอาชีพและเทคโนโลยี 3 7.69 2. ความสามารถพิเศษ ด้านกีฬา 12 30.77 ด้านดนตรี 8 20.51 ด้านศิลปะ 8 20.51 ด้านคอมพิวเตอร์ 1 2.56 อื่น ๆ 10 25.64 3. อาชีพที่ใฝ่ฝัน รับราชการ 10 25.64 พนักงานบริษัท 2 5.13 อาชีพอิสระ 18 46.15 อื่น ๆ 9 23.08 4. ความตั้งใจหลังจบชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 6 ศึกษาต่อ 39 100.00 ประกอบอาชีพ/ไม่ศึกษาต่อ 0 0.00
  • 20. 12 จากตารางที่ 4 พบว่า วิชาที่สอบที่สุด อันดับที่ 1ภาษาอังกฤษ และชีววิทยาร้อยละ 23.08 (9) อันดับที่ 2 คณิตศาสตร์ ร้อยละ 12.82 (5) อันดับที่ 3 ฟิสิกส์ ร้อยละ 10.26 (4) ความสามารถพิเศษอันดับที่ 1 ด้านกีฬา ร้อยละ 30.77 (12) อันดับที่ 2 อื่น ๆ ร้อยละ 25.64 (10) อันดับที่ 3 ด้านดนตรี และ ด้านศิลปะ ร้อยละ20.51 (8) อาชีพที่ใฝ่ฝัน อันดับที่ 1 อาชีพอิสระ ร้อยละ 46.15 (18) อันดับที่ 2 รับราชการ ร้อยละ 25.64 อันดับที่ 3 อื่น ๆ ร้อยละ 23.08 (9) อันดับที่ 4 พนักงานบริษัท ร้อยละ 5.13 (2) การศึกษา อันดับที่ 1 ศึกษาต่อ ร้อยละ 100 (39)
  • 21. 13 5. ผลการวิเคราะห์ผู้เรียนตามแบบ SWOT Analysis จุดแข็ง 1. ครูมีเป้าหมายในการจัดการเรียนการสอน เพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียน โดยเฉพาะอย่าง ยิ่งการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนให้ ตามเกณฑ์ที่โรงเรียนและเขตพื้นที่การศึกษา กาหนด เป็นเกณฑ์มาตรฐาน 2. ครูมีกระบวนการในการจัดการเรียนรู้ที่เน้น ผู้เรียนเป็นสาคัญและมีระบบในการจัดเก็บ ข้อมูล เอกสารหลักฐานเพื่อแสดงคุณภาพ ผู้เรียน 3. ครูสามารถปฏิบัติงานตามมาตรฐานของ โรงเรียนเทพลีลา ได้แก่ มาตรฐานการ จัดการเรียนการสอน มาตรฐานการ ปฏิบัติงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน และ มาตรฐานความเป็นครู โอกาส 1. โรงเรียนมีวิสัยทัศน์และมีเป้าหมายในการ พัฒนาคุณภาพผู้เรียน เพื่อความสาเร็จของ ผู้เรียน จึงมีการสนับสนุนในทุกด้าน 2. โรงเรียนได้รับการสนับสนุนงบประมาณจาก รัฐบาล โดยเฉพาะโครงการสนับสนุน ค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาตั้งแต่อนุบาล จนถึงการศึกษาขั้นพื้นฐาน (เรียนฟรี 15 ปี ) 3. โรงเรียนได้รับความร่วมมือจากหน่วยงานที่ เกี่ยวข้อง ได้แก่ คณะกรรมการสถานศึกษา สมาคมผู้ปกครองนักเรียน ผู้ปกครอง เครือข่าย 4. ไลน์กลุ่มนักเรียน และไลน์กลุ่มผู้ปกครอง อุปสรรค 1. จานวนนักเรียนต่อห้องมีจานวนมาก เป็น อุปสรรคต่อการจัดการเรียนการสอน 2. นักเรียนมีความสนใจในการเรียน วิทยาศาสตร์ เพื่อการศึกษาต่อสูง แต่มี ความรู้พื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ และ คณิตศาสตร์อยู่ในระดับต่า 3. นักเรียนบางคนยังไม่รู้เป้าหมายของตัวเอง จุดอ่อน 1. มีนักเรียนที่ยังมีผลการเรียนไม่ผ่านร้อยละ 33.33 2. ผลการจัดกลุ่มคุณภาพอยู่ในระดับปาน กลาง ร้อยละ51.28 และ ระดับปรับปรุง ร้อยละ 20.51 3. นักเรียนมีความรู้ ทักษะการคานวณ ค่อนข้างต่า 4. ผลการสอน O-net ไม่ผ่านเกณฑ์ขีดจากัด ล่าง ตามที่เขตพื้นที่กาหนด
  • 22. 14 6. ผลการวิเคราะห์ PMIA (Plus, Minus, Interesting point, Approach) ตารางที่ 5 การวิเคราะห์ PMIA ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/2 เลขที่ จุดเด่น (P: Plus) จุดด้อย (M : Minus) จุดควรพัฒนา (I: Interesting point) แนวทางพัฒนา (A : Approach) 1  แข็งแรง/ปกติ  ด้านกีฬา  ชอบภาษาอังกฤษ  ซุกซน/ไม่อยู่นิ่ง/สมาธิสั้น  ผลการเรียนอยู่ในระดับ ปรับปรุง  มีผลการเรียนที่ยังไม่ผ่าน  ด้านกีฬา และ ภาษาอังกฤษ  ควรตั้งใจเรียนให้มากขึ้น และฝึกฝนภาษาอังกฤษ  ควรศึกษาต่อคณะเกี่ยวกับ พลศึกษา หรือ สังคมศาสตร์ 2  แจ่มใส ร่าเริง  ด้านกีฬา  ชอบชีววิทยา  ภูมิแพ้  ด้านกีฬาและชีววิทยา  ควรดูแลสุขภาพด้วยการ ออกกาลังงาน  ควรศึกษาต่อคณะที่ เกี่ยวข้องกับวิทยาศาสตร์ 3  แจ่มใส ร่าเริง  แข็งแรง/ปกติ  ชอบเทคโนโลยี  ผลการเรียนอยู่ในระดับ ปรับปรุง  มีผลการเรียนที่ยังไม่ผ่าน  ด้านเทคโนโลยี  ควรตั้งใจเรียนให้มากขึ้น  ควรศึกษาต่อคณะเกี่ยวกับ คอมพิวเตอร์หรือ เทคโนโลยี 4  แจ่มใส ร่าเริง  แข็งแรง/ปกติ  ด้านกีฬา  ชอบคณิตศาสตร์  ผลการเรียนอยู่ในระดับ ปรับปรุง  มีผลการเรียนที่ยังไม่ผ่าน  ด้านกีฬา  ควรตั้งใจเรียนให้มากขึ้น  ควรศึกษาต่อคณะเกี่ยวกับ บัญชี เศรษฐศาสตร์ หรือ ครุศาสตร์ 5  แจ่มใส ร่าเริง  แข็งแรง/ปกติ  ด้านกีฬา  ชอบชีววิทยา  ผลการเรียนอยู่ในระดับ ปรับปรุง  มีผลการเรียนที่ยังไม่ผ่าน  ด้านกีฬา  ด้านชีววิทยา  ควรตั้งใจเรียนให้มากขึ้น  ควรศึกษาต่อคณะเกี่ยวกับ วิทยาศาสตร์ ที่เกี่ยวกับ ชีววิทยา 6  แจ่มใส ร่าเริง  ด้านดนตรี  ชอบฟิสิกส์  หอบหืด  ผลการเรียนอยู่ในระดับ ปรับปรุง  ด้านดนตรี   ควรตั้งใจเรียนให้มากขึ้น  ควรศึกษาต่อคณะเกี่ยวกับ วิศวกรรมศาสตร์ วิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี 7  แจ่มใส ร่าเริง  แข็งแรง/ปกติ  ชอบศิลปะ   ด้านศิลปะ  ด้านการแสดง  ควรฝึกฝนด้านศิลปะให้ เชียวชาญ  ควรศึกษาต่อคณะเกี่ยวกับ ศิลปะหรือนิเทศศาสตร์
  • 23. 15 เลขที่ จุดเด่น (P: Plus) จุดด้อย (M : Minus) จุดควรพัฒนา (I: Interesting point) แนวทางพัฒนา (A : Approach) 8  แจ่มใส ร่าเริง  ด้านกีฬา  หอบหืด  ด้านกีฬา  ควรค้นหาตัวเองให้เร็วเพื่อ จะได้เลือกคณะ/สาขาใน การศึกษาต่อ ระดับอุดมศึกษา 9  แข็งแรง/ปกติ  ด้านคอมพิวเตอร์  ซุกซน/ไม่อยู่นิ่ง/สมาธิสั้น  มีผลการเรียนที่ยังไม่ผ่าน  ด้านคอมพิวเตอร์  ควรตั้งใจเรียนให้มากขึ้น  ควรศึกษาต่อคณะเกี่ยวกับ คอมพิวเตอร์หรือ เทคโนโลยี 10  แข็งแรง/ปกติ  ด้านดนตรี  ชอบฟิสิกส์  ซุกซน/ไม่อยู่นิ่ง/สมาธิสั้น  ผลการเรียนอยู่ในระดับ ปรับปรุง  ด้านดนตรี  ด้านกีฬา  ด้านการคานวณ  ควรตั้งใจเรียนให้มากขึ้น  ควรศึกษาต่อคณะเกี่ยวกับ วิศวกรรมศาสตร์ วิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี 11  แจ่มใส ร่าเริง  แข็งแรง/ปกติ  ชอบภาษาอังกฤษ   ด้านภาษา  ควรฝึกฝนภาษาอังกฤษ  ควรศึกษาต่อคณะทางสาย ศิลป์ 12  แจ่มใส ร่าเริง  แข็งแรง/ปกติ  ด้านกีฬา  ชอบฟิสิกส์   ด้านกีฬา  ด้านการคานวณ  ควรศึกษาต่อคณะเกี่ยวกับ วิศวกรรมศาสตร์ วิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี 13  แจ่มใส ร่าเริง  ด้านคอมพิวเตอร์  โลก ดาราศาสตร์ ฯ  ภูมิแพ้  มีผลการเรียนที่ยังไม่ผ่าน  ด้านคอมพิวเตอร์  ด้านดาราศาสตร์  ควรศึกษาต่อคณะเกี่ยวกับ วิศวกรรมศาสตร์ วิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี 14  แข็งแรง/ปกติ  ด้านศิลปะ  ชอบชีววิทยา  ซุกซน/ไม่อยู่นิ่ง/สมาธิสั้น  ด้านศิลปะ  ด้านชีววิทยา  ควรฝึกฝนด้านศิลปะให้ เชียวชาญ  ควรศึกษาต่อคณะที่ เกี่ยวข้องกับวิทยาศาสตร์ 15  แจ่มใส ร่าเริง  ชอบชีววิทยา  ภูมิแพ้  ด้านชีววิทยา  ควรศึกษาต่อคณะเกี่ยวกับ วิทยาศาสตร์ ที่เกี่ยวกับ ชีววิทยา 16  แจ่มใส ร่าเริง  แข็งแรง/ปกติ  ชอบชีววิทยา  มีผลการเรียนที่ยังไม่ผ่าน  ด้านชีววิทยา  ควรตั้งใจเรียนให้มากขึ้น  ควรศึกษาต่อคณะที่ เกี่ยวข้องกับวิทยาศาสตร์
  • 24. 16 เลขที่ จุดเด่น (P: Plus) จุดด้อย (M : Minus) จุดควรพัฒนา (I: Interesting point) แนวทางพัฒนา (A : Approach) 17  แจ่มใส ร่าเริง  แข็งแรง/ปกติ  ชอบชีววิทยา   ด้านชีววิทยา  ด้านวิทยาศาสตร์ ชีวภาพ  ควรศึกษาต่อคณะที่ เกี่ยวข้องกับวิทยาศาสตร์ หรือสาขาวิทยาศาสตร์ที่มี ใช้วิชาชีววิทยา 18  แจ่มใส ร่าเริง  แข็งแรง/ปกติ  ชอบชีววิทยา   ด้านชีววิทยา  ด้านวิทยาศาสตร์ ชีวภาพ  ควรศึกษาต่อคณะที่ เกี่ยวข้องกับวิทยาศาสตร์ หรือสาขาวิทยาศาสตร์ที่มี ใช้วิชาชีววิทยา 19  แจ่มใส ร่าเริง  แข็งแรง/ปกติ  ด้านศิลปะ  เรียน รด.   ด้านศิลปะ  ด้านการแสดง  ด้าน รด.  ควรฝึกฝนด้านศิลปะให้ เชียวชาญ  ควรศึกษาต่อคณะเกี่ยวกับ ศิลปะหรือนิเทศศาสตร์ หรืออาจสอบเรียนต่อด้าน ตารวจ ทหาร เนื่องจาก เรียน รด. 20  แจ่มใส ร่าเริง  ด้านดนตรี  ชอบภาษาอังกฤษ  ภูมิแพ้  ด้านดนตรี  ด้านภาษา  ควรฝึกฝนภาษาอังกฤษ  ควรศึกษาต่อคณะทางสาย ศิลป์ 21  แจ่มใส ร่าเริง  แข็งแรง/ปกติ  ด้านกีฬา  ชอบภาษาอังกฤษ   ด้านกีฬา  ด้านภาษา  ควรฝึกฝนภาษาอังกฤษ  ควรศึกษาต่อคณะทางสาย ศิลป์ 22  แจ่มใส ร่าเริง  แข็งแรง/ปกติ  ด้านศิลปะ  ชอบภาษาอังกฤษ   ด้านศิลปะ  ด้านภาษา  ควรฝึกฝนด้านศิลปะให้ เชียวชาญ  ควรฝึกฝนภาษาอังกฤษ  ควรศึกษาต่อคณะทางสาย ศิลป์ 23  แจ่มใส ร่าเริง  แข็งแรง/ปกติ  ด้านดนตรี  ชอบเทคโนโลยี  ผลการเรียนอยู่ในระดับ ปรับปรุง  มีผลการเรียนที่ยังไม่ผ่าน  ด้านดนตรี  ด้านเทคโนโลยี  ควรตั้งใจเรียนให้มากขึ้น  ควรศึกษาต่อด้าน เทคโนโลยี
  • 25. 17 เลขที่ จุดเด่น (P: Plus) จุดด้อย (M : Minus) จุดควรพัฒนา (I: Interesting point) แนวทางพัฒนา (A : Approach) 24  แจ่มใส ร่าเริง  ด้านศิลปะ  ชอบเคมี  โรคอื่น ๆ  ด้านศิลปะ  ด้านเคมี  ควรฝึกฝนด้านศิลปะให้ เชียวชาญ  ควรศึกษาต่อคณะที่ เกี่ยวข้องกับวิทยาศาสตร์ หรือสาขาวิทยาศาสตร์ที่มี ใช้วิชาเคมี 25  แจ่มใส ร่าเริง  แข็งแรง/ปกติ  ด้านดนตรี  คณิตศาสตร์   ด้านดนตรี  ด้านคณิตศาสตร์  ควรศึกษาต่อคณะที่ เกี่ยวข้องกับคณิตศาสตร์ เช่น คณะบัญชี เศรษฐศาสตร์ 26  แจ่มใส ร่าเริง  แข็งแรง/ปกติ  ด้านศิลปะ   ด้านศิลปะ  ควรฝึกฝนด้านศิลปะให้ เชียวชาญ 27  แจ่มใส ร่าเริง  แข็งแรง/ปกติ  ชอบคณิตศาสตร์   ด้านคณิตศาสตร์  ควรศึกษาต่อคณะที่ เกี่ยวข้องกับคณิตศาสตร์ เช่น คณะบัญชี เศรษฐศาสตร์ 28  แจ่มใส ร่าเริง  แข็งแรง/ปกติ  ด้านกีฬา  สังคมศึกษา   ด้านกีฬา  ด้านสังคมศึกษา  ควรศึกษาต่อคณะทางสาย ศิลป์ 29  แจ่มใส ร่าเริง  แข็งแรง/ปกติ  ด้านศิลปะ  ชอบภาษาอังกฤษ   ด้านภาษา  ด้านศิลปะ  ควรฝึกฝนด้านศิลปะให้ เชียวชาญ  ควรศึกษาต่อคณะทางสาย ศิลป์  30  แจ่มใส ร่าเริง  แข็งแรง/ปกติ  ชอบภาษาอังกฤษ   ด้านดนตรี  ด้านภาษา   ควรศึกษาต่อคณะทางสาย ศิลป์ 31  แจ่มใส ร่าเริง  แข็งแรง/ปกติ  ด้านศิลปะ  ชอบพลศึกษา   ด้านศิลปะ  ด้านพลศึกษา  ควรตั้งใจเรียนให้มากขึ้น  ควรฝึกฝนด้านศิลปะให้ เชียวชาญ  ควรศึกษาต่อคณะที่ เกี่ยวข้องกับพลศึกษา
  • 26. 18 เลขที่ จุดเด่น (P: Plus) จุดด้อย (M : Minus) จุดควรพัฒนา (I: Interesting point) แนวทางพัฒนา (A : Approach) 32  แจ่มใส ร่าเริง  แข็งแรง/ปกติ  คณิตศาสตร์   ด้านคณิตศาสตร์  ควรศึกษาต่อคณะที่ เกี่ยวข้องกับคณิตศาสตร์ เช่น คณะบัญชี เศรษฐศาสตร์ 33  แจ่มใส ร่าเริง  แข็งแรง/ปกติ  ด้านกีฬา  ศิลปะ  ผลการเรียนอยู่ในระดับ ปรับปรุง  มีผลการเรียนที่ยังไม่ผ่าน  ด้านกีฬา  ด้านศิลปะ  ควรตั้งใจเรียนให้มากขึ้น  ควรฝึกฝนด้านศิลปะให้ เชียวชาญ 34  ชอบคณิตศาสตร์  ซุกซน/ไม่อยู่นิ่ง/สมาธิสั้น  ภูมิแพ้  มีผลการเรียนที่ยังไม่ผ่าน  ด้านคณิตศาสตร์  ควรตั้งใจเรียนให้มากขึ้น  ควรตั้งใจเรียนให้มากขึ้น  ควรศึกษาต่อคณะที่ เกี่ยวข้องกับคณิตศาสตร์ เช่น คณะบัญชี เศรษฐศาสตร์ 35  แจ่มใส ร่าเริง  แข็งแรง/ปกติ  ด้านดนตรี  ชอบคณิตศาสตร์  มีผลการเรียนที่ยังไม่ผ่าน  ด้านดนตรี  ด้านคณิตศาสตร์  ควรตั้งใจเรียนให้มากขึ้น  ควรศึกษาต่อคณะที่ เกี่ยวข้องกับคณิตศาสตร์ เช่น คณะบัญชี เศรษฐศาสตร์ 36  แจ่มใส ร่าเริง  ด้านศิลปะ  ชอบชีววิทยา  ภูมิแพ้  ด้านศิลปะ  ด้านชีววิทยา  ควรฝึกฝนด้านศิลปะให้ เชียวชาญ  ควรศึกษาต่อคณะที่ เกี่ยวข้องกับวิทยาศาสตร์ 37  แจ่มใส ร่าเริง  แข็งแรง/ปกติ  ด้านคอมพิวเตอร์  ชอบภาษาอังกฤษ   ด้านคอมพิวเตอร์  ด้านภาษาอังกฤษ   ควรศึกษาต่อด้าน คอมพิวเตอร์  ควรศึกษาต่อคณะทางสาย ศิลป์ 38  แจ่มใส ร่าเริง  แข็งแรง/ปกติ  ด้านกีฬา  ชอบภาษาอังกฤษ  มีผลการเรียนที่ยังไม่ผ่าน  ด้านกีฬา  ด้านภาษาอังกฤษ  ควรตั้งใจเรียนให้มากขึ้น  ควรศึกษาต่อคณะทางสาย ศิลป์ 39  แจ่มใส ร่าเริง  แข็งแรง/ปกติ  ด้านดนตรี  ชอบเคมี   ด้านดนตรี  ด้านคอมพิวเตอร์  ควรศึกษาต่อคณะที่ เกี่ยวข้องกับวิทยาศาสตร์ หรือสาขาวิทยาศาสตร์ที่มี ใช้วิชาเคมี
  • 27. บทที่ 5 สรุปผลการวิจัย การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ วิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐานของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/2 โรงเรียนเทพลีลา ปีการศึกษา 2560 ศึกษาจุดเด่น และจุดด้อย ที่ควรได้รับการพัฒนาและปรับปรุง นักเรียนแต่ละคนในชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/2 โรงเรียนเทพลีลา ปีการศึกษา 2560 และศึกษาแนว ทางการออกแบบการจัดการเรียนการสอนของครูให้สามารถพัฒนาคุณภาพของแต่ละคนและทุกคน ในชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/2 โรงเรียนเทพลีลา ปีการศึกษา 2560 1. สรุปผลการวิจัย 1.1 การวิเคราะห์ข้อมูลด้านภูมิหลังครอบครัว สถานภาพบิดา-มารดา ส่วนใหญ่ อยู่ด้วยกัน ร้อยละ 61.54 ที่พักของนักเรียน ส่วนใหญ่ หอพัก/บ้านเช่า ร้อยละ 74.36 อาชีพผู้ปกครอง ส่วนใหญ่.รับจ้างทั่วไป ร้อยละ 46.15 มีความจาเป็น ที่ต้องการขอทุนการศึกษา ร้อยละ 61.54 วิธีเดินทางมาโรงเรียน ส่วนใหญ่ รถเมล์/รถประจาทาง ร้อย ละ 53.85 เงินที่ได้รับจากผู้ปกครองในแต่ละวัน ส่วนใหญ่ 51-100 บาท ร้อยละ 64.10 1.2 การวิเคราะห์ข้อมูลด้านผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ผลการเรียนเฉลี่ย (GPA) อันดับที่ 1 2.51–3.00 ร้อยละ 30.77 (12) อันดับที่ 2 2.01– 2.50 และ 3.01-3.50 ร้อยละ 20.51 (8).อันดับที่ 4 1.51-2.00 ร้อยละ 15.38 (6) อันดับที่ 5 3.51- 4.00 ร้อยละ 7.69 (3) และอันดับ 6 1.01-1.50 ร้อยละ 5.13 (2) 1.3 การวิเคราะห์ข้อมูลด้านพัฒนาการด้านต่าง ๆ น้าหนักของนักเรียน อันดับที่ 1 ตามเกณฑ์มาตรฐาน ร้อยละ 94.87 (37) อันดับที่ 2 สูง กว่าเกณฑ์มาตรฐาน ร้อยละ7.69 (3) ส่วนสูงของนักเรียน อันดับที่ 1 ตามเกณฑ์มาตรฐาน ร้อยละ 92.31 (36) อันดับที่ 2 ต่า กว่าเกณฑ์มาตรฐาน ร้อยละ5.13 (2) สายตา อันดับที่ 1 ปกติ ร้อยละ 56.41 (22) อันดับที่ 2 สายตาสั้น ร้อยละ 43.59 (17) สุขภาพ/โรคประจาตัว อันดับที่ 1 แข็งแรง/ปกติ ร้อยละ74.36 (29) อันดับที่ 2 ภูมิแพ้ ร้อยละ 15.38 (6) อันดับที่ 3 หอบหืด ร้อยละ 7.69 (3) อันดับที่ 4 โรคอื่น ๆ ร้อยละ 2.56 (1) บุคลิกภาพทางกาย/จิตใจ อันดับที่ 1 แจ่มใส ร่าเริง ร้อยละ 87.18 (34) อันดับที่ 2 ซุกซน/ไม่อยู่นิ่ง/สมาธิสั้น ร้อยละ 12.82 (5)
  • 28. 20 1.4 การวิเคราะห์ข้อมูลด้านความสนใจและความสามารถพิเศษ วิชาที่สอบที่สุด อันดับที่ 1ภาษาอังกฤษ และชีววิทยาร้อยละ 23.08 (9) อันดับที่ 2 คณิตศาสตร์ ร้อยละ 12.82 (5) อันดับที่ 3 ฟิสิกส์ ร้อยละ 10.26 (4) ความสามารถพิเศษอันดับที่ 1 ด้านกีฬา ร้อยละ 30.77 (12) อันดับที่ 2 อื่น ๆ ร้อยละ 25.64 (10) อันดับที่ 3 ด้านดนตรี และ ด้านศิลปะ ร้อยละ20.51 (8) อาชีพที่ใฝ่ฝัน อันดับที่ 1 อาชีพอิสระ ร้อยละ 46.15 (18) อันดับที่ 2 รับราชการ ร้อยละ 25.64 อันดับที่ 3 อื่น ๆ ร้อยละ 23.08 (9) อันดับที่ 4 พนักงานบริษัท ร้อยละ 5.13 (2) การศึกษา อันดับที่ 1 ศึกษาต่อ ร้อยละ 100 (39) 1.5 การวิเคราะห์ผู้เรียนตามแบบ SWOT Analysis จุดแข็ง ครูมีเป้าหมายในการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียน โดยเฉพาะ อย่างยิ่งการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนให้ตามเกณฑ์ที่โรงเรียนและเขตพื้นที่การศึกษา กาหนด เป็นเกณฑ์มาตรฐาน ครูมีกระบวนการในการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญและมีระบบในการ จัดเก็บข้อมูล เอกสารหลักฐานเพื่อแสดงคุณภาพผู้เรียน และครูสามารถปฏิบัติงานตามมาตรฐานของ โรงเรียนเทพลีลา ได้แก่ มาตรฐานการจัดการเรียนการสอน มาตรฐานการปฏิบัติงานระบบดูแล ช่วยเหลือนักเรียน และมาตรฐานความเป็นครู โอกาส โรงเรียนมีวิสัยทัศน์และมีเป้าหมายในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน เพื่อความสาเร็จ ของผู้เรียน จึงมีการสนับสนุนในทุกด้าน โรงเรียนได้รับการสนับสนุนงบประมาณจากรัฐบาล โดยเฉพาะโครงการสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาตั้งแต่อนุบาลจนถึงการศึกษาขั้นพื้นฐาน (เรียนฟรี 15 ปี ) โรงเรียนได้รับความร่วมมือจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ คณะกรรมการ สถานศึกษา สมาคมผู้ปกครองนักเรียน ผู้ปกครองเครือข่าย และไลน์กลุ่มนักเรียน และไลน์กลุ่ม ผู้ปกครอง อุปสรรค จานวนนักเรียนต่อห้องมีจานวนมาก เป็นอุปสรรคต่อการจัดการเรียนการสอน นักเรียนมีความสนใจในการเรียนวิทยาศาสตร์ เพื่อการศึกษาต่อสูง แต่มีความรู้พื้นฐานทาง วิทยาศาสตร์ และคณิตศาสตร์อยู่ในระดับต่า นักเรียนบางคนยังไม่รู้เป้าหมายของตัวเอง จุดอ่อน มีนักเรียนที่ยังมีผลการเรียนไม่ผ่านร้อยละ 33.33 ผลการจัดกลุ่มคุณภาพอยู่ใน ระดับปานกลาง ร้อยละ51.28 และ ระดับปรับปรุง ร้อยละ 20.51 นักเรียนมีความรู้ ทักษะการ คานวณค่อนข้างต่า และผลการสอน O-net ไม่ผ่านเกณฑ์ขีดจากัดล่าง ตามที่เขตพื้นที่กาหนด
  • 29. 21 2. ข้อเสนอแนะจากการวิจัย เนื่องจากนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/2 เป็นนักเรียนแผนการเรียนวิทยาศาสตร์-คณิตศาสตร์ ส่วนใหญ่เป็นนักเรียนที่มีภูมิลาเนาอยู่ต่างจังหวัด บิดา มารดา มาประกอบอาชีพรับจ้างใน กรุงเทพมหานคร อาศัยในอยู่ห้องเช่า-บ้านเช่าเป็นส่วนใหญ่ ทาให้สภาพทางครอบครัวไม่ส่งเสริมต่อ การเรียนรู้เท่าที่ควร นักเรียนหลายคนที่ยังมีผลการเรียนไม่ผ่าน ความชอบ ความถนัด ความสนใจ แตกต่างกัน ดังนั้นครูที่สอนนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/2 ในปีการศึกษา 2560 ควรจัดกิจกรรมการ เรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ คานึงถึงความถนัดและความแตกต่างของแต่ละบุคคล วัดผลตามสภาพ จริงด้วยวิธีการที่หลากหลาย เน้นสร้างแรงบันดาลใจให้กับนักเรียนเพื่อให้นักเรียนได้รับการพัฒนา ตามความชอบและความถนัดของแต่ละบุคคล
  • 30. 22 บรรณานุกรม สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน). (2559). รายงานผลการทดสอบทาง การศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2558. กรุงเทพฯ: สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน). สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน). (2560). รายงานผลการทดสอบทาง การศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2559. กรุงเทพฯ: สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน). สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานกระทรวงศึกษาธิการ. (2557). นโยบายสานักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ.2558. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ชุมนุม สหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จากัด. สานักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ. (2545). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545. กรุงเทพฯ: สานักนายกรัฐมนตรี. สานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน). (2555). การประเมิน คุณภาพภายนอกรอบสาม (พ.ศ.2554 - 2558) ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน โรงเรียนเทพลีลา. กรุงเทพฯ: ม.ป.พ.
  • 32. 24 ผลการเรียนของนักเรียน เลขที่ รหัส ชื่อ – สกุล GPAX อันดับที่ ของห้อง อันดับที่ ของระดับ จานวนวิชา ที่ไม่ผ่าน 1 26958 นาย กฤษดา โสภากิติบูรณ์ 1.88 33 237 5 2 26972 นาย ภูวนัย ปิยะวงค์ 2.48 23 187 3 27004 นาย หิรัญทร กิตติเลิศอนันต์ 1.6 35 248 7 4 27008 นาย ชนายุทธ ปัญญาชนวัฒน์ 1.95 31 234 1 5 29265 นาย ณัฐภูมิ ไชยแสง 1.37 37 252 17 6 29266 นาย มิตรภาพ บุญสมบัติ 1.74 34 243 7 29268 นาย ราชันย์ ขจรสมบัติ 2.55 18 178 8 29270 นาย วิวัฒน์ แก้วบุตรตา 2.3 25 204 9 29271 นาย ไวทยา ประสิทธิ์นอก 2.22 28 216 2 10 29272 นาย อภิสิทธิ์ แก้วทอง 1.99 30 231 2 11 30005 นาย นิวัติ โคตะนนท์ 3.24 7 70 12 30573 นาย อิสซาน หมานเบ็ญหีม 2.84 38 254 13 26990 น.ส. ภัทรวดี มั่นเจริญ 2.59 17 167 1 14 27050 น.ส. สุภาภรณ์ แคนดา 3.4 3 38 15 27079 น.ส. กัญญาพัชร สมนึก 2.97 11 118 16 27080 น.ส. เกศรินทร์ ติราวรัมย์ 2.29 26 206 2 17 27081 น.ส. ชนัญชิดา จันทะนนท์ 3.08 9 97 18 27090 น.ส. บุณยานุช วงศ์วัฒนะ 2.79 13 142 19 27096 น.ส. วัลภา อยู่ปูน 2.67 15 159 20 27099 น.ส. เสาวลักษณ์ พระบุญเพ็ง 2.98 10 116 21 27177 น.ส. ธัญสิริ พลรักษ์ 2.55 18 178 22 27324 น.ส. กัญญาภัค รักป่า 3.31 5 54 23 27331 น.ส. ณัฐิตา ทวีแสง 1.46 36 251 6 24 28705 น.ส. พรนิภา แสวงดี 2.96 12 120 25 29273 น.ส. จารุวรรณ เก่งมนตรี 3.31 5 54
  • 33. 25 เลขที่ รหัส ชื่อ – สกุล GPAX อันดับที่ ของห้อง อันดับที่ ของระดับ จานวนวิชา ที่ไม่ผ่าน 26 29274 น.ส. ณัฐวรรณ ตลับเงิน 2.29 26 206 27 29275 น.ส. ธิดารัตน์ อาจพงษา 3.71 1 7 28 29276 น.ส. นรีกานต์ นาคสุวรรณ 2.61 16 164 29 29277 น.ส. ลลิดา ชัยพระอินทร์ 3.59 2 15 30 29278 น.ส. วริศรา ประสารศรี 2.5 22 184 31 29279 น.ส. ศิริลักษณ์ พูลพิบูลย์ 2.51 21 183 32 29280 น.ส. สุธาสินี ชูศิริ 3.4 3 38 33 29283 น.ส. อรสา อาจศิริ 1.92 32 235 8 34 29285 น.ส. วันวิสาข์ จุลวงษ์ 3.24 7 70 1 35 29410 น.ส. ณัฐญา เก๋วัน 2.55 18 178 1 36 30006 น.ส. นริศรา อนาบาล 2.7 14 151 37 30007 น.ส. ธิญาดา ชะนะบุตร 2.19 29 218 38 30008 น.ส. ปทิตตา น้อยลาศ 2.32 24 202 1 39 30572 น.ส. ศศิธร มะทา 3.2 38 254