SlideShare a Scribd company logo
1 of 4
พระพุทธศาสนา
ในพระพุทธศาสนาพุทธะตามภาษาบาลีพุทฺธแปลว่า"ผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบาน" หมายถึงบุคคลผู้ตรัสรู้อริยสัจ๔
แล้วอย่างถ่องแท้
พระสัมมาสัมพุทธเจ้าเป็นพระบรมศาสดาของพระพุทธศาสนาทั้งฝ่ายเถรวาทและมหายาน
ต่างก็นับถือพระพุทธเจ้าว่าเป็นศาสดาของตนเหมือนกันแต่รายละเอียดปลีกย่อยต่างกัน
ฝ่ ายเถรวาทให้ความสาคัญกับพระพุทธเจ้าองค์ปัจจุบันคือพระโคตมโคดมพุทธเจ้า
และกล่าวถึงพระพุทธเจ้าในอดีตกับในอนาคตบ้างแต่ไม่ให้ความสาคัญเท่า
ฝ่ ายมหายานนับถือพระพุทธเจ้าของฝ่ายเถรวาททั้งหมด
และมีการสร้างพระพุทธเจ้าเพิ่มเติมขึ้นมาจนบางองค์มีลักษณะคล้ายเทพเจ้าของศาสนาฮินดู
ตามคัมภีร์ฝ่ายพุทธถือกันว่าพระพุทธเจ้าพระโคตมโคดมพระองค์ดารงพระชนม์ชีพอยู่ระหว่าง ๘๐ปีก่อนพุทธศักราช
จนถึงเริ่มพุทธศักราชซึ่งเป็นวันปรินิพพานตรงกับ๕๔๓ปีก่อนคริสตกาลตามตาราไทยอ้างอิงปฏิทินสุริยคติไทย
และปฏิทินจันทรคติไทยและ ๔๘๓ปีก่อนคริสตกาลตามปฏิทินสากล
ความหมายและความสาคัญของศาสนา
1. ความหมายของศาสนา
คาว่า" ศาสนา"มาจากคาในภาษาสันสกฤตว่า"ศาสน"แปลว่า" คาสอนข้อบังคับ" ตรงกับคาในภาษาบาลีว่า
"สาสน"แปลว่า" ศาสนาหรือคาสั่งสอนกับศาสดา"
คาว่า"ศาสนา"ในภาษาอังกฤษใช้คาว่า"Religion"มาจากภาษาลาตินว่า"Religare"ตรงกับคาว่า"Together"
แปลว่าการรวมเข้าด้วยกันหรือการรวมตนเองให้เป็นหนึ่งเดียวกับพระเจ้า ดังนั้นคาว่า
"Religion"ที่เรานามาแปลเป็นไทยว่าศาสนานั้นจึงเป็นเรื่องของความสัมพันธ์โดยศรัทธาระหว่างมนุษย์กับพระเจ้า
คาว่า"ศาสนา"มาจากภาษาสันสกฤตว่า"สาสน"ถ้าเป็นภาษาบาลีว่า"สาสน"มีความหมายตามรูปศัพท์ว่า"คาสั่งสอน"
ในภาษาอังกฤษใช้คาว่า"Religion"ซึ่งมีศัพท์เดิมมาจากภาษาละตินว่าReligis
คานี้นักปราชญ์ทางภาษาศาสตร์ได้สันนิษฐานว่ามาจากคา ๒คาคือ Relegereซึ่งแปลว่าการปฏิบัติต่อ
หรือการเกี่ยวข้องด้วยความระมัดระวังและReligareซึ่งแปลว่าผูกพันเพราะฉะนั้นคาว่า Religion
จึงมีความหมายตามรูปศัพท์ว่าการปฏิบัติต่อการเกี่ยวข้องแต่อย่างไรก็ตาม
การจะพิจารณาความหมายตามรูปศัพท์เพียงอย่างเดียวอาจจะไม่สามารถครอบคลุมสารัตถะที่แท้จริงของศาสนาได้
จึงควรจะได้ศึกษาพิจารณาความหมายหรือคาจากัดความตามเนื้อหาที่นักปราชญทางศาสนาได้ให้ไว้ ซึ่งจะแตกต่างกันไป
ทั้งนี้แล้วแต่ประเด็นที่ต้องการเน้นและสภาพแวดล้อม
๑.Max Miller เน้นพุทธิปัญญา(Intellect)กล่าวว่าศาสนาคือ
ความสามารถหรืออตาจทางจิตซึ่งไม่ขึ้นแก่ความรู้สึกทางประสาทสัมผัสหรือเหตุผล
สามารถนาบุคคลให้เข้าถึงพระเจ้าภายใต้พระนามต่างๆ
๒. ImmanuelKant เน้นศีลธรรม(Moral) กล่าวว่าศาสนาคือการยอมรับรู้ถึงหน้าที่ทั้งปวงตามเทวโองการ
๓. Allen Menses เน้นการบูชา(Worship)กล่าวว่าศาสนาคือการบูชาพลังที่สูงกว่า
๔. EdwardScribnerAms เน้นสังคม(Society) กล่าวว่าศาสนาคือความรู้สึกถึงคุณค่าทางสังคมอันสูงสุด
๕. G.W.Stratton เน้นอุดมคติอันสูงส่ง(SupremeIdeal)กล่าวว่าศาสนาคือ
ความนิยมชมชอบถึงโลกและกลุ่มชนที่มองไม่เห็น
๖.Adams Brown เน้นชีวิต(Life) กล่าวว่าศาสนา
หมายถึงชีวิตของบุคคลในส่วนที่สัมพันธ์กับท่านผู้เหนือมนุษย์ธรรมดาของเขา
๗. หลวงวิจิตรวาทการเน้นองค์ประกอบของศาสนากล่าวว่า
คาสอนที่จัดเป็นศาสนานั้นต้องเป็นเรื่องที่ถือว่ามีความศักดิ์สิทธิ์มีคาสอนทางจรรยามีศาสดา
มีคณะบุคคลที่รักษาความศักดิ์สิทธิ์และคาสอนไว้ เช่นพระหรือนักบวชและมีการกวดขันเรื่องความจงรักภักดี
๘. ศ.เสถียรพันธรังสีเน้นลักษณะของศาสนากล่าวว่าลักษณะที่เรียกว่าศาสนาได้ มีหลักดังนี้คือ
ต้องเป็นเรื่องความเชื่อถือได้โดยมีความศักดิ์สิทธิ์มีคาสอนทางธรรมจรรยามีศาสดา
และมีผู้สืบต่อคาสอนที่เรียกว่าพระหรือนักบวช
๙. อาจารย์สุชีพปุญญานุภาพเน้นลักษณะคาสอนกล่าวว่าคาสอนที่นับว่าเป็นศาสนานั้นว่าด้วยเรื่องต่างๆคือ
ความเชื่อในอานาจที่มองเห็นไม่ได้ด้วยตาบางอย่างเช่นอานาจของธรรมหรือ อานาจของพระเจ้ามีหลักศีลธรรม
มีคาสอนว่าด้วยจุดมุ่งหมายสูงสุดแห่งชีวิตและมีพิธีกรรม
๑๐.พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถานพ.ศ.๒๕๒๕ ได้ให้ความหมายของศาสนาไว้ว่าศาสนาคือ
ลัทธิความเชื่อถือของมนุษย์อันมีหลักแสดงกาเนิดและสิ้นสุดของโลกเป็นต้นอันเป็นไปในง่ายปรมัตถ์ประการหนึ่ง
แสดงหลักธรรมเกี่ยวกับบุญบาปอันเป็นไปในง่ายศีลธรรมประการหนึ่ง
พร้อมทั้งลัทธิพิธีที่กระทาตามความเห็นหรือตามคาสั่งสอนในความเชื่อถือนั้นๆ
จากคาจากัดความและทัศนะต่างๆที่กล่าวข้างต้นพอจะสรุปเป็นทัศนะอีกทัศนะหนึ่งได้ว่า
ศาสนาคือคาสั่งสอนที่พระศาสดาได้ค้นพบหรือได้จากเทวโองการซึ่งมีลักษณะศักดิ์สิทธิ์เป็นที่พึ่งทางใจ
ได้ถูกนามาเผยแพร่ให้มวลมนุษยชาติประพฤติปฏิบัติตามและประกอบพิธีกรรม
เพื่อประสบสันติสุขในระดับศีลธรรมจรรยาและสันติภาพอันนิรันดรอันเป็นจุดหมายสูงสุดของชีวิต
พจนานุกรมฉบับบัณฑิตยสถานพ.ศ.2525 ได้ให้นิยามคาว่า"ศาสนา"ดังนี้ ศาสนาหมายถึงลัทธิความเชื่อ
ของมนุษย์อันมีหลักคือแสดงกาเนิดและความสิ้นสุดของโลกเป็นต้นอันเป็นไปในฝ่ายปรมัตถ์ประการหนึ่ง
แสดงหลักธรรมเกี่ยวกับบุญบาปอันเป็นไปในฝ่ายศีลธรรมประการหนึ่ง
พร้อมทั้งลัทธิพิธีที่กระทาตามความเห็นหรือตามคาสั่งสอนในความเชื่อถือนั้นๆ
"พระพุทธศาสนา"
คาว่าพระพุทธศาสนาประกอบด้วยคาว่าพุทธะซึ่งแปลว่าผู้รู้ กับคาว่าศาสนา ที่แปลว่าคาสั่งสอน รวมกั
นเข้าเป็น พุทธศาสนาแปลว่าคาสั่งสอนของผู้รู้ เมื่อพูดว่าพุทธศาสนาความเข้าใจก็ต้องแล่นเข้าไปถึงลัทธิปฏิบัติ
และคณะบุคลซึ่งเป็นผู้ปฏิบัติในลัทธิปฏิบัตินั้นไม่ใช่มีความหมายแต่เพียงคาสั่งสอนซึ่งเป็นเสียงหรือเป็นหนังสือ
หรือเป็นเพียงตารับตาราเท่านั้นพระพุทธศาสนาที่เราทั้งหลายในบัดนี้ได้รับนับถือและปฏิบัติเนื่องมาจากอะไร
คือเราได้อะไรจากสิ่งที่เรียกว่าพระพุทธศาสนานั้นมานับถือปฏิบัติในบัดนี้เมื่อพิจารณาดูแล้วก็เห็นว่าเราได้หนังสือ
อย่างหนึ่งบุคคล อย่างหนึ่ง หนังสือนั้นก็คือตาราที่แสดงพระพุทธศาสนา
บุคคนั้นก็คือพุทธศาสนิกที่แปลว่าผู้นับถือพระพุทธศาสนาพุทธศาสนิกนี้มิใช่หมายเพียงแต่คฤหัสถ์
หมายความถึงทั้งบรรพชิตคือนักบวชและคฤหัสถ์คือผู้ซึ่งนับถือพระพุทธศาสนาพูดอีกอย่างหนึ่งได้แก่
พุทธบริษัทคือหมู่ของผู้นับถือพระพุทธเจ้าดังที่เรียกว่าภิกษุ ภิกษุณี อุบาสกอุบาสิกาแต่ในบัดนี้ภิกษุณีไม่มีแล้ว
ก็มีภิกษุกับสามเณรและอุบาสกอุบาสิกาหรือบุคคที่เรียกว่าพุทธมามกะพุทธมามิกา
ก็รวมเรียกว่าพุทธบริษัทหรือพุทธศาสนิกทั้งหมดคือในบัดนี้มีหนังสือซึ่งเป็นตาราพระพุทธศาสนา
และมีบุคคลซึ่งป็นพุทธศาสนิกหรือเป็นพุทธบริษัททั้ง๒อย่างนี้หนังสือก็มาจากบุคคลนั่นเองคือ
บุคคลที่เป็นพุทธศาสนิกหรือเป็นพุทธบริษัทได้เป็นผู้ทาหนังสือขึ้น
และบุคคลดังกล่าวนี้ก็ได้มีสืบต่อกันเรื่อยมาตั้งแต่สมัยพุทธกาลและสืบต่อมาตั้งแต่จากที่เกิดของพระพุทธศาสนา
มาจนถึงในต่างประเทศของประเทศนั้นดังเช่นในประเทศไทยในบัดนี้คือว่าได้มีพุทธศาสนิกหรือพุทธบริษัทสืบต่อกันมา
จึงมาถึงเราทั้งหลายในบัดนี้และเราทั้งหลายในบัดนี้ก็ได้เป็นพุทธศาสนิกคือพุทธบริษัทในปัจจุบันและคนรุ่นต่อๆ
ไปก็จะสืบต่อไปอีก
เมื่อทราบว่าเราในบัดนี้ได้ทราบพระพุทธศาสนาจากหนังสือและจากคณะบุคคลซึ่งเป็นพุทธศาสนิก
ดั่งที่กล่าวมาโดยย่อนี้แล้วก็ควรจะทราบต่อไปว่า
เมื่อศึกษาจากหนังสือและบุคคลที่เป็นพุทธศาสนิกชนที่เป็นครูบาอาจารย์ต่อๆกันมา
จึงได้ทราบว่าต้นเดิมของพระพุทธศาสนานั้นก็คือ"พระพุทธเจ้า"
คาว่าพระพุทธะแปลว่าพระผู้รู้ ในภาษาไทยเราเติมคาว่าเจ้าเรียกว่าพระพุทธเจ้าคือเอาความรู้ของท่านมาเป็นชื่อ
ตามพุทธประวัติที่ทราบจากหนังสือทางพระพุทธศาสนาดังกล่าวนั้นพระพุทธเจ้าก็เป็นบุคคลคือเป็นมนุษย์เรานี่เอง
ซึ่งมีพระประวัติดั่งที่แสดงไว้ในพระพุทธประวัติแต่ว่าท่านได้ค้นคว้าหาความรู้ จนประสบความรู้ที่เป็นโลกุตระ
คือความรู้ที่เป็นส่วนเหนือโลกหมายความง่ายๆว่าความรู้ที่เป็นส่วนโลกิยะหรือเป็นส่วนโลกนั้น
เมื่อประมวลเข้าแล้วก็เป็นความรู้ที่เป็นในด้านสร้างบ้างในด้านธารงรักษาบ้างในด้านทาลายบ้าง
ผู้รู้เองและความรู้นั้นเองก็เป็นไปในทางคดีโลกซึ่งต้องเป็นไปตามคติธรรดาของโลกต้องแก่ ต้องเจ็บต้องตาย
เพราะต้องเกี่ยวข้องอยู่กับโลกนอกจากนี้ยังเป็นทาสของตัณหาคือความดิ้นรนทะยานอยากของใจ
ถึงจะเป็นเจ้าโลกแต่ไม่เป็นเจ้าตัณหาต้องเป็นทาสของตัณหาในใจของตนเองจึงเรียกว่ายังเป็นโลกิยะ
ยังไม่เป็นโลกุตตรคืออยู่เหนือโลกแต่ความรู้ที่จะเป็นโลกุตระ
คืออยู่เหนือโลกได้นั้นจะต้องเป็นความรู้ที่ทาให้หลุดพ้นจากกิเลสและกองทุกข์ดั่งกล่าวได้
พระพุทธเจ้าเป็นมนุษย์คนแรกที่ได้ปฏิญญาพระองค์ว่าเป็นผู้ตรัสรู้พระธรรมซึ่งทาให้เป็นโลกุตระคืออยู่เหนือโลก
คือทาให้ท่านผู้รู้นั้นเป็นผู้พ้นจากกิเลสและกองทุกข์ดั่งกล่าวนั้นท่านผู้ประกอบด้วยความรู้ดั่งกล่าวมานี้
และประกาศความรู้นั้นสั่งสอนได้ชื่อว่าเป็นพระพุทธเจ้าซึ่งเป็นต้นเดิมของพระพุทธศาสนา
พระธรรมทีแรกก็เป็นเสียงที่ออกมาจากพระโอษฐ์ของพระพุทธเจ้า
เป็นเสียงที่ประกาศความจริงให้บุคคลทราบธรรมะที่พระองค์ได้ตรัสรู้ เพราะฉะนั้น
เสียงที่ประกาศความจริงแก่โลกนี้ก็เรียกกันว่าพระธรรมส่วนหนึ่งหรือเรียกว่าพระพุทธศาสนา
คือเป็นคาที่ออกมาจากพระโอษฐ์ของพระพุทธเจ้าเป็นคาสั่งเป็นคาสอนข้อปฏิบัติที่คาสั่งสอนนั้นชี้
ก็เป็นพระธรรมส่วนหนึ่งผลของการปฏิบัติก็เป็นพระธรรมส่วนหนึ่งเหล่านี้เรียกว่าพระธรรม
หมู่ชนได้ฟังเสียงซึ่งออกจากพระโอษฐ์ของพระพุทธเจ้าได้ความรู้พระธรรมคือความจริงที่พระพุทธเจ้าทรงสั่งสอน
จนถึงได้บรรลุโลกุตตรธรรมธรรมะที่อยู่เหนือโลกตามพระพุทธเจ้าเรียกว่าพระสงฆ์
คือหมู่ของชนที่เป็นสาวกคือผู้ฟังของพระพุทธเจ้า
ซึ่งเป็นผู้รู้พระธรรมตามพระพุทธเจ้าได้ พระสงฆ์ดังกล่าวนี้เรียกว่าพระอริยสงห์มุ่งเอาความรู้เป็นสาคัญเหมือนกัน
ไม่ได้มุ่งว่าจะต้องเป็นคฤหัสถ์หรือจะต้องเป็นบรรพชิตและเมื่อรู้พระธรรมของพระพุทธเจ้าก็ประกาศตนนับถือพระพุทธเจ้า
ที่มีศรัทธาแก่กล้าก็ขอบวชตามที่ไม่ถึงกับขอบวชตามก็ประกาศตนเป็นอุบาสกอุบาสิกาจึงได้เกิดเป็นบริษัท ๔ขึ้น คือ
ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกาในบริษัท ๔ นี้หมู่ของภิกษุก็เรียกว่าพระสงฆ์เหมือนกันแต่เรียกว่าสมมติสงฆ์
สงฆ์โดยสมมติเพราะว่าเป็นภิกษุตามพระวินัยด้วยวิธีอุปสมบทรับรองกันว่าเป็นอุปสัมบันหรือเป็นภิกษุขึ้น
เมื่อภิกษุหลายรูปมาประชุมกันกระทากิจของสงฆ์ก็เรียกว่า สงฆ์
พระพุทธเจ้าพระธรรมพระสงฆ์ที่เป็นอริยสงฆ์ทั้ง๓นี้
รวมเรียกว่าพระรัตนตรัยซึ่งเป็นสรณะที่พึ่งอย่างสูงสุดในพระพุทธศาสนา
ความเป็นอริยสงฆ์นั้นเป็นจาเพาะตน
ส่วนหมู่แห่งบุคคลที่ดารงพระพุทธศาสนาสืบต่อมาก็คือพุทธบริษัทหรือพุทธศาสนิกดังกล่าวมาข้างต้น
ในพุทธบริษัทเหล่านี้ก็มีภิกษุสงฆ์นี่แหละเป็นบุคคลสาคัญซึ่งเป็นผู้พลีชีวิตมาเพื่อปฏิบัติดารงรักษาพระพุทธศาสนา
นาพระพุทธศาสนาสืบๆต่อกันมาจนถึงในบัดนี้
2. ความสาคัญของการนับถือศาสนา การนับถือศาสนาทาให้เกิดความสัมพันธ์ระหว่างศาสนากับสังคม
รวมไปถึงความสาคัญของการนับถือศาสนาต่อการดาเนินชีวิตของมนุษย์ดังนี้
1. ความสัมพันธ์ระหว่างศาสนากับสังคม
ศาสนาเป็นสถาบันที่สาคัญของสังคมช่วยกล่อมเกลาพฤติกรรมของสมาชิกในสังคม
เพราะศาสนามีคุณค่าและเป็นประโยชน์ต่อสังคมดังนี้
(1) ทาให้คนปกครองตนเองได้ในทุกสถานเพราะมีหลักธรรมช่วยพัฒนาจิตใจให้รู้จักควบคุมกายวาจาใจ
ให้ปราศจากการประทุษร้ายเบียดเบียนกัน
(2) เป็นภูมิปัญญาระดับสูงทางความคิดและมโนธรรมอันลึกซึ้งที่นาชีวิตไปสู่จุดหมายปลายทางคือสันติสุข
(3) เป็นสิ่งยึดเหนี่ยวจิตใจของมนุษย์ในการดาเนินชีวิตเมื่อมีปัญหาใดๆมากระทบใจ
ศาสนาเป็นที่พึ่งพาใจให้มนุษย์ได้
(4) ศาสนาเป็นบ่อเกิดของวัฒนธรรมของสังคมได้แก่ คติธรรมเนติธรรมสหธรรมและวัตถุธรรม
สิ่งเหล่านี้สะท้อนให้เห็นคุณภาพจิตใจที่ดีงามของมนุษย์
ศาสนาเป็นสิ่งที่อยู่คู่กับสังคมที่มีวิวัฒนาการไม่ใช่สังคมป่าเถื่อน
เพราะหลักสาคัญที่สุดที่ศาสนาช่วยทาให้สังคมสงบร่มเย็นคือศาสนาทุกศาสนามุ่งเน้นการทาความดีถ้าทุกคนเป็นคนดี
สังคมโดยรวมก็จะสงบเรียบร้อยประชาชนมีสันติสุขพิจารณาความสัมพันธ์ของศาสนากับสังคมได้ดังนี้
- การทาความดีของศาสนาต่างๆมีผลต่อวิถีชีวิตของสมาชิกในสังคมนั้นๆ
หลักการทาความดีของศาสนาที่สาคัญในโลกมีดังนี้
ศาสนาพราหมณ์-ฮินดู ถือว่า การทาความดีคือการทาความดีเพื่อความดีเพื่อหน้าที่
ศาสนาพุทธ ถือว่า ควรทาความดีเพื่อความดี
ศาสนาคริสต์ ถือว่า ทาความดีเพื่อพระเจ้า
ศาสนาอิสลาม ถือว่า ทาความดีเพื่อพระเจ้า
ศาสนาสิกข์ ถือว่า ทาความดีเพื่อพระเจ้า

More Related Content

More from pinglada1

Avicii_-_X_You_D_Major_Piano_Duet.pdf
Avicii_-_X_You_D_Major_Piano_Duet.pdfAvicii_-_X_You_D_Major_Piano_Duet.pdf
Avicii_-_X_You_D_Major_Piano_Duet.pdf
pinglada1
 

More from pinglada1 (20)

avicii_levels.pdf
avicii_levels.pdfavicii_levels.pdf
avicii_levels.pdf
 
Avicii_-_X_You_D_Major_Piano_Duet.pdf
Avicii_-_X_You_D_Major_Piano_Duet.pdfAvicii_-_X_You_D_Major_Piano_Duet.pdf
Avicii_-_X_You_D_Major_Piano_Duet.pdf
 
08CHAPTER_4.pdf
08CHAPTER_4.pdf08CHAPTER_4.pdf
08CHAPTER_4.pdf
 
หนังสือ การจัดโต๊ะหมู่บูชา.docx
หนังสือ การจัดโต๊ะหมู่บูชา.docxหนังสือ การจัดโต๊ะหมู่บูชา.docx
หนังสือ การจัดโต๊ะหมู่บูชา.docx
 
เหนือ -เที่ยว ต.ค..docx
เหนือ -เที่ยว ต.ค..docxเหนือ -เที่ยว ต.ค..docx
เหนือ -เที่ยว ต.ค..docx
 
ละครพันทาง.doc
ละครพันทาง.docละครพันทาง.doc
ละครพันทาง.doc
 
เหนือ-เที่ยว1.docx
เหนือ-เที่ยว1.docxเหนือ-เที่ยว1.docx
เหนือ-เที่ยว1.docx
 
สารานุกรมเยาวชนไทย ตอนดนตรีไทย.pdf
สารานุกรมเยาวชนไทย ตอนดนตรีไทย.pdfสารานุกรมเยาวชนไทย ตอนดนตรีไทย.pdf
สารานุกรมเยาวชนไทย ตอนดนตรีไทย.pdf
 
ลิเก.doc
ลิเก.docลิเก.doc
ลิเก.doc
 
วันสำคัญทางศาสนาพุทธ.docx
วันสำคัญทางศาสนาพุทธ.docxวันสำคัญทางศาสนาพุทธ.docx
วันสำคัญทางศาสนาพุทธ.docx
 
สังคีตที่ยิ่งใหญ่.docx
สังคีตที่ยิ่งใหญ่.docxสังคีตที่ยิ่งใหญ่.docx
สังคีตที่ยิ่งใหญ่.docx
 
โลกของดนตรีไทย พื้นที่เล็กๆที่รวบรวมความรู้เกี่ยวกับดนตรีไทยเพื่ออนุรักษ์เผย...
โลกของดนตรีไทย  พื้นที่เล็กๆที่รวบรวมความรู้เกี่ยวกับดนตรีไทยเพื่ออนุรักษ์เผย...โลกของดนตรีไทย  พื้นที่เล็กๆที่รวบรวมความรู้เกี่ยวกับดนตรีไทยเพื่ออนุรักษ์เผย...
โลกของดนตรีไทย พื้นที่เล็กๆที่รวบรวมความรู้เกี่ยวกับดนตรีไทยเพื่ออนุรักษ์เผย...
 
สังคีตวิทยา.docx
สังคีตวิทยา.docxสังคีตวิทยา.docx
สังคีตวิทยา.docx
 
หอเกียรติยศ.doc
หอเกียรติยศ.docหอเกียรติยศ.doc
หอเกียรติยศ.doc
 
ละครรำ.docx
ละครรำ.docxละครรำ.docx
ละครรำ.docx
 
เรียนรู้เกี่ยวกับแผนภูมิ.docx
เรียนรู้เกี่ยวกับแผนภูมิ.docxเรียนรู้เกี่ยวกับแผนภูมิ.docx
เรียนรู้เกี่ยวกับแผนภูมิ.docx
 
หุ่นกระบอก.doc
หุ่นกระบอก.docหุ่นกระบอก.doc
หุ่นกระบอก.doc
 
ละครชาตรี.docx
ละครชาตรี.docxละครชาตรี.docx
ละครชาตรี.docx
 
หอศิล.doc
หอศิล.docหอศิล.doc
หอศิล.doc
 
เรื่อง__ทฤษฎีดนตรีสากลเบื้องต้น_ไก่ต๊อก.doc
เรื่อง__ทฤษฎีดนตรีสากลเบื้องต้น_ไก่ต๊อก.docเรื่อง__ทฤษฎีดนตรีสากลเบื้องต้น_ไก่ต๊อก.doc
เรื่อง__ทฤษฎีดนตรีสากลเบื้องต้น_ไก่ต๊อก.doc
 

ศาสนาพุทธ.docx

  • 1. พระพุทธศาสนา ในพระพุทธศาสนาพุทธะตามภาษาบาลีพุทฺธแปลว่า"ผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบาน" หมายถึงบุคคลผู้ตรัสรู้อริยสัจ๔ แล้วอย่างถ่องแท้ พระสัมมาสัมพุทธเจ้าเป็นพระบรมศาสดาของพระพุทธศาสนาทั้งฝ่ายเถรวาทและมหายาน ต่างก็นับถือพระพุทธเจ้าว่าเป็นศาสดาของตนเหมือนกันแต่รายละเอียดปลีกย่อยต่างกัน ฝ่ ายเถรวาทให้ความสาคัญกับพระพุทธเจ้าองค์ปัจจุบันคือพระโคตมโคดมพุทธเจ้า และกล่าวถึงพระพุทธเจ้าในอดีตกับในอนาคตบ้างแต่ไม่ให้ความสาคัญเท่า ฝ่ ายมหายานนับถือพระพุทธเจ้าของฝ่ายเถรวาททั้งหมด และมีการสร้างพระพุทธเจ้าเพิ่มเติมขึ้นมาจนบางองค์มีลักษณะคล้ายเทพเจ้าของศาสนาฮินดู ตามคัมภีร์ฝ่ายพุทธถือกันว่าพระพุทธเจ้าพระโคตมโคดมพระองค์ดารงพระชนม์ชีพอยู่ระหว่าง ๘๐ปีก่อนพุทธศักราช จนถึงเริ่มพุทธศักราชซึ่งเป็นวันปรินิพพานตรงกับ๕๔๓ปีก่อนคริสตกาลตามตาราไทยอ้างอิงปฏิทินสุริยคติไทย และปฏิทินจันทรคติไทยและ ๔๘๓ปีก่อนคริสตกาลตามปฏิทินสากล ความหมายและความสาคัญของศาสนา 1. ความหมายของศาสนา คาว่า" ศาสนา"มาจากคาในภาษาสันสกฤตว่า"ศาสน"แปลว่า" คาสอนข้อบังคับ" ตรงกับคาในภาษาบาลีว่า "สาสน"แปลว่า" ศาสนาหรือคาสั่งสอนกับศาสดา" คาว่า"ศาสนา"ในภาษาอังกฤษใช้คาว่า"Religion"มาจากภาษาลาตินว่า"Religare"ตรงกับคาว่า"Together" แปลว่าการรวมเข้าด้วยกันหรือการรวมตนเองให้เป็นหนึ่งเดียวกับพระเจ้า ดังนั้นคาว่า "Religion"ที่เรานามาแปลเป็นไทยว่าศาสนานั้นจึงเป็นเรื่องของความสัมพันธ์โดยศรัทธาระหว่างมนุษย์กับพระเจ้า คาว่า"ศาสนา"มาจากภาษาสันสกฤตว่า"สาสน"ถ้าเป็นภาษาบาลีว่า"สาสน"มีความหมายตามรูปศัพท์ว่า"คาสั่งสอน" ในภาษาอังกฤษใช้คาว่า"Religion"ซึ่งมีศัพท์เดิมมาจากภาษาละตินว่าReligis คานี้นักปราชญ์ทางภาษาศาสตร์ได้สันนิษฐานว่ามาจากคา ๒คาคือ Relegereซึ่งแปลว่าการปฏิบัติต่อ หรือการเกี่ยวข้องด้วยความระมัดระวังและReligareซึ่งแปลว่าผูกพันเพราะฉะนั้นคาว่า Religion จึงมีความหมายตามรูปศัพท์ว่าการปฏิบัติต่อการเกี่ยวข้องแต่อย่างไรก็ตาม การจะพิจารณาความหมายตามรูปศัพท์เพียงอย่างเดียวอาจจะไม่สามารถครอบคลุมสารัตถะที่แท้จริงของศาสนาได้ จึงควรจะได้ศึกษาพิจารณาความหมายหรือคาจากัดความตามเนื้อหาที่นักปราชญทางศาสนาได้ให้ไว้ ซึ่งจะแตกต่างกันไป ทั้งนี้แล้วแต่ประเด็นที่ต้องการเน้นและสภาพแวดล้อม ๑.Max Miller เน้นพุทธิปัญญา(Intellect)กล่าวว่าศาสนาคือ ความสามารถหรืออตาจทางจิตซึ่งไม่ขึ้นแก่ความรู้สึกทางประสาทสัมผัสหรือเหตุผล สามารถนาบุคคลให้เข้าถึงพระเจ้าภายใต้พระนามต่างๆ ๒. ImmanuelKant เน้นศีลธรรม(Moral) กล่าวว่าศาสนาคือการยอมรับรู้ถึงหน้าที่ทั้งปวงตามเทวโองการ ๓. Allen Menses เน้นการบูชา(Worship)กล่าวว่าศาสนาคือการบูชาพลังที่สูงกว่า ๔. EdwardScribnerAms เน้นสังคม(Society) กล่าวว่าศาสนาคือความรู้สึกถึงคุณค่าทางสังคมอันสูงสุด ๕. G.W.Stratton เน้นอุดมคติอันสูงส่ง(SupremeIdeal)กล่าวว่าศาสนาคือ ความนิยมชมชอบถึงโลกและกลุ่มชนที่มองไม่เห็น
  • 2. ๖.Adams Brown เน้นชีวิต(Life) กล่าวว่าศาสนา หมายถึงชีวิตของบุคคลในส่วนที่สัมพันธ์กับท่านผู้เหนือมนุษย์ธรรมดาของเขา ๗. หลวงวิจิตรวาทการเน้นองค์ประกอบของศาสนากล่าวว่า คาสอนที่จัดเป็นศาสนานั้นต้องเป็นเรื่องที่ถือว่ามีความศักดิ์สิทธิ์มีคาสอนทางจรรยามีศาสดา มีคณะบุคคลที่รักษาความศักดิ์สิทธิ์และคาสอนไว้ เช่นพระหรือนักบวชและมีการกวดขันเรื่องความจงรักภักดี ๘. ศ.เสถียรพันธรังสีเน้นลักษณะของศาสนากล่าวว่าลักษณะที่เรียกว่าศาสนาได้ มีหลักดังนี้คือ ต้องเป็นเรื่องความเชื่อถือได้โดยมีความศักดิ์สิทธิ์มีคาสอนทางธรรมจรรยามีศาสดา และมีผู้สืบต่อคาสอนที่เรียกว่าพระหรือนักบวช ๙. อาจารย์สุชีพปุญญานุภาพเน้นลักษณะคาสอนกล่าวว่าคาสอนที่นับว่าเป็นศาสนานั้นว่าด้วยเรื่องต่างๆคือ ความเชื่อในอานาจที่มองเห็นไม่ได้ด้วยตาบางอย่างเช่นอานาจของธรรมหรือ อานาจของพระเจ้ามีหลักศีลธรรม มีคาสอนว่าด้วยจุดมุ่งหมายสูงสุดแห่งชีวิตและมีพิธีกรรม ๑๐.พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถานพ.ศ.๒๕๒๕ ได้ให้ความหมายของศาสนาไว้ว่าศาสนาคือ ลัทธิความเชื่อถือของมนุษย์อันมีหลักแสดงกาเนิดและสิ้นสุดของโลกเป็นต้นอันเป็นไปในง่ายปรมัตถ์ประการหนึ่ง แสดงหลักธรรมเกี่ยวกับบุญบาปอันเป็นไปในง่ายศีลธรรมประการหนึ่ง พร้อมทั้งลัทธิพิธีที่กระทาตามความเห็นหรือตามคาสั่งสอนในความเชื่อถือนั้นๆ จากคาจากัดความและทัศนะต่างๆที่กล่าวข้างต้นพอจะสรุปเป็นทัศนะอีกทัศนะหนึ่งได้ว่า ศาสนาคือคาสั่งสอนที่พระศาสดาได้ค้นพบหรือได้จากเทวโองการซึ่งมีลักษณะศักดิ์สิทธิ์เป็นที่พึ่งทางใจ ได้ถูกนามาเผยแพร่ให้มวลมนุษยชาติประพฤติปฏิบัติตามและประกอบพิธีกรรม เพื่อประสบสันติสุขในระดับศีลธรรมจรรยาและสันติภาพอันนิรันดรอันเป็นจุดหมายสูงสุดของชีวิต พจนานุกรมฉบับบัณฑิตยสถานพ.ศ.2525 ได้ให้นิยามคาว่า"ศาสนา"ดังนี้ ศาสนาหมายถึงลัทธิความเชื่อ ของมนุษย์อันมีหลักคือแสดงกาเนิดและความสิ้นสุดของโลกเป็นต้นอันเป็นไปในฝ่ายปรมัตถ์ประการหนึ่ง แสดงหลักธรรมเกี่ยวกับบุญบาปอันเป็นไปในฝ่ายศีลธรรมประการหนึ่ง พร้อมทั้งลัทธิพิธีที่กระทาตามความเห็นหรือตามคาสั่งสอนในความเชื่อถือนั้นๆ "พระพุทธศาสนา" คาว่าพระพุทธศาสนาประกอบด้วยคาว่าพุทธะซึ่งแปลว่าผู้รู้ กับคาว่าศาสนา ที่แปลว่าคาสั่งสอน รวมกั นเข้าเป็น พุทธศาสนาแปลว่าคาสั่งสอนของผู้รู้ เมื่อพูดว่าพุทธศาสนาความเข้าใจก็ต้องแล่นเข้าไปถึงลัทธิปฏิบัติ และคณะบุคลซึ่งเป็นผู้ปฏิบัติในลัทธิปฏิบัตินั้นไม่ใช่มีความหมายแต่เพียงคาสั่งสอนซึ่งเป็นเสียงหรือเป็นหนังสือ หรือเป็นเพียงตารับตาราเท่านั้นพระพุทธศาสนาที่เราทั้งหลายในบัดนี้ได้รับนับถือและปฏิบัติเนื่องมาจากอะไร คือเราได้อะไรจากสิ่งที่เรียกว่าพระพุทธศาสนานั้นมานับถือปฏิบัติในบัดนี้เมื่อพิจารณาดูแล้วก็เห็นว่าเราได้หนังสือ อย่างหนึ่งบุคคล อย่างหนึ่ง หนังสือนั้นก็คือตาราที่แสดงพระพุทธศาสนา บุคคนั้นก็คือพุทธศาสนิกที่แปลว่าผู้นับถือพระพุทธศาสนาพุทธศาสนิกนี้มิใช่หมายเพียงแต่คฤหัสถ์ หมายความถึงทั้งบรรพชิตคือนักบวชและคฤหัสถ์คือผู้ซึ่งนับถือพระพุทธศาสนาพูดอีกอย่างหนึ่งได้แก่ พุทธบริษัทคือหมู่ของผู้นับถือพระพุทธเจ้าดังที่เรียกว่าภิกษุ ภิกษุณี อุบาสกอุบาสิกาแต่ในบัดนี้ภิกษุณีไม่มีแล้ว ก็มีภิกษุกับสามเณรและอุบาสกอุบาสิกาหรือบุคคที่เรียกว่าพุทธมามกะพุทธมามิกา ก็รวมเรียกว่าพุทธบริษัทหรือพุทธศาสนิกทั้งหมดคือในบัดนี้มีหนังสือซึ่งเป็นตาราพระพุทธศาสนา
  • 3. และมีบุคคลซึ่งป็นพุทธศาสนิกหรือเป็นพุทธบริษัททั้ง๒อย่างนี้หนังสือก็มาจากบุคคลนั่นเองคือ บุคคลที่เป็นพุทธศาสนิกหรือเป็นพุทธบริษัทได้เป็นผู้ทาหนังสือขึ้น และบุคคลดังกล่าวนี้ก็ได้มีสืบต่อกันเรื่อยมาตั้งแต่สมัยพุทธกาลและสืบต่อมาตั้งแต่จากที่เกิดของพระพุทธศาสนา มาจนถึงในต่างประเทศของประเทศนั้นดังเช่นในประเทศไทยในบัดนี้คือว่าได้มีพุทธศาสนิกหรือพุทธบริษัทสืบต่อกันมา จึงมาถึงเราทั้งหลายในบัดนี้และเราทั้งหลายในบัดนี้ก็ได้เป็นพุทธศาสนิกคือพุทธบริษัทในปัจจุบันและคนรุ่นต่อๆ ไปก็จะสืบต่อไปอีก เมื่อทราบว่าเราในบัดนี้ได้ทราบพระพุทธศาสนาจากหนังสือและจากคณะบุคคลซึ่งเป็นพุทธศาสนิก ดั่งที่กล่าวมาโดยย่อนี้แล้วก็ควรจะทราบต่อไปว่า เมื่อศึกษาจากหนังสือและบุคคลที่เป็นพุทธศาสนิกชนที่เป็นครูบาอาจารย์ต่อๆกันมา จึงได้ทราบว่าต้นเดิมของพระพุทธศาสนานั้นก็คือ"พระพุทธเจ้า" คาว่าพระพุทธะแปลว่าพระผู้รู้ ในภาษาไทยเราเติมคาว่าเจ้าเรียกว่าพระพุทธเจ้าคือเอาความรู้ของท่านมาเป็นชื่อ ตามพุทธประวัติที่ทราบจากหนังสือทางพระพุทธศาสนาดังกล่าวนั้นพระพุทธเจ้าก็เป็นบุคคลคือเป็นมนุษย์เรานี่เอง ซึ่งมีพระประวัติดั่งที่แสดงไว้ในพระพุทธประวัติแต่ว่าท่านได้ค้นคว้าหาความรู้ จนประสบความรู้ที่เป็นโลกุตระ คือความรู้ที่เป็นส่วนเหนือโลกหมายความง่ายๆว่าความรู้ที่เป็นส่วนโลกิยะหรือเป็นส่วนโลกนั้น เมื่อประมวลเข้าแล้วก็เป็นความรู้ที่เป็นในด้านสร้างบ้างในด้านธารงรักษาบ้างในด้านทาลายบ้าง ผู้รู้เองและความรู้นั้นเองก็เป็นไปในทางคดีโลกซึ่งต้องเป็นไปตามคติธรรดาของโลกต้องแก่ ต้องเจ็บต้องตาย เพราะต้องเกี่ยวข้องอยู่กับโลกนอกจากนี้ยังเป็นทาสของตัณหาคือความดิ้นรนทะยานอยากของใจ ถึงจะเป็นเจ้าโลกแต่ไม่เป็นเจ้าตัณหาต้องเป็นทาสของตัณหาในใจของตนเองจึงเรียกว่ายังเป็นโลกิยะ ยังไม่เป็นโลกุตตรคืออยู่เหนือโลกแต่ความรู้ที่จะเป็นโลกุตระ คืออยู่เหนือโลกได้นั้นจะต้องเป็นความรู้ที่ทาให้หลุดพ้นจากกิเลสและกองทุกข์ดั่งกล่าวได้ พระพุทธเจ้าเป็นมนุษย์คนแรกที่ได้ปฏิญญาพระองค์ว่าเป็นผู้ตรัสรู้พระธรรมซึ่งทาให้เป็นโลกุตระคืออยู่เหนือโลก คือทาให้ท่านผู้รู้นั้นเป็นผู้พ้นจากกิเลสและกองทุกข์ดั่งกล่าวนั้นท่านผู้ประกอบด้วยความรู้ดั่งกล่าวมานี้ และประกาศความรู้นั้นสั่งสอนได้ชื่อว่าเป็นพระพุทธเจ้าซึ่งเป็นต้นเดิมของพระพุทธศาสนา พระธรรมทีแรกก็เป็นเสียงที่ออกมาจากพระโอษฐ์ของพระพุทธเจ้า เป็นเสียงที่ประกาศความจริงให้บุคคลทราบธรรมะที่พระองค์ได้ตรัสรู้ เพราะฉะนั้น เสียงที่ประกาศความจริงแก่โลกนี้ก็เรียกกันว่าพระธรรมส่วนหนึ่งหรือเรียกว่าพระพุทธศาสนา คือเป็นคาที่ออกมาจากพระโอษฐ์ของพระพุทธเจ้าเป็นคาสั่งเป็นคาสอนข้อปฏิบัติที่คาสั่งสอนนั้นชี้ ก็เป็นพระธรรมส่วนหนึ่งผลของการปฏิบัติก็เป็นพระธรรมส่วนหนึ่งเหล่านี้เรียกว่าพระธรรม หมู่ชนได้ฟังเสียงซึ่งออกจากพระโอษฐ์ของพระพุทธเจ้าได้ความรู้พระธรรมคือความจริงที่พระพุทธเจ้าทรงสั่งสอน จนถึงได้บรรลุโลกุตตรธรรมธรรมะที่อยู่เหนือโลกตามพระพุทธเจ้าเรียกว่าพระสงฆ์ คือหมู่ของชนที่เป็นสาวกคือผู้ฟังของพระพุทธเจ้า ซึ่งเป็นผู้รู้พระธรรมตามพระพุทธเจ้าได้ พระสงฆ์ดังกล่าวนี้เรียกว่าพระอริยสงห์มุ่งเอาความรู้เป็นสาคัญเหมือนกัน ไม่ได้มุ่งว่าจะต้องเป็นคฤหัสถ์หรือจะต้องเป็นบรรพชิตและเมื่อรู้พระธรรมของพระพุทธเจ้าก็ประกาศตนนับถือพระพุทธเจ้า ที่มีศรัทธาแก่กล้าก็ขอบวชตามที่ไม่ถึงกับขอบวชตามก็ประกาศตนเป็นอุบาสกอุบาสิกาจึงได้เกิดเป็นบริษัท ๔ขึ้น คือ ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกาในบริษัท ๔ นี้หมู่ของภิกษุก็เรียกว่าพระสงฆ์เหมือนกันแต่เรียกว่าสมมติสงฆ์ สงฆ์โดยสมมติเพราะว่าเป็นภิกษุตามพระวินัยด้วยวิธีอุปสมบทรับรองกันว่าเป็นอุปสัมบันหรือเป็นภิกษุขึ้น เมื่อภิกษุหลายรูปมาประชุมกันกระทากิจของสงฆ์ก็เรียกว่า สงฆ์
  • 4. พระพุทธเจ้าพระธรรมพระสงฆ์ที่เป็นอริยสงฆ์ทั้ง๓นี้ รวมเรียกว่าพระรัตนตรัยซึ่งเป็นสรณะที่พึ่งอย่างสูงสุดในพระพุทธศาสนา ความเป็นอริยสงฆ์นั้นเป็นจาเพาะตน ส่วนหมู่แห่งบุคคลที่ดารงพระพุทธศาสนาสืบต่อมาก็คือพุทธบริษัทหรือพุทธศาสนิกดังกล่าวมาข้างต้น ในพุทธบริษัทเหล่านี้ก็มีภิกษุสงฆ์นี่แหละเป็นบุคคลสาคัญซึ่งเป็นผู้พลีชีวิตมาเพื่อปฏิบัติดารงรักษาพระพุทธศาสนา นาพระพุทธศาสนาสืบๆต่อกันมาจนถึงในบัดนี้ 2. ความสาคัญของการนับถือศาสนา การนับถือศาสนาทาให้เกิดความสัมพันธ์ระหว่างศาสนากับสังคม รวมไปถึงความสาคัญของการนับถือศาสนาต่อการดาเนินชีวิตของมนุษย์ดังนี้ 1. ความสัมพันธ์ระหว่างศาสนากับสังคม ศาสนาเป็นสถาบันที่สาคัญของสังคมช่วยกล่อมเกลาพฤติกรรมของสมาชิกในสังคม เพราะศาสนามีคุณค่าและเป็นประโยชน์ต่อสังคมดังนี้ (1) ทาให้คนปกครองตนเองได้ในทุกสถานเพราะมีหลักธรรมช่วยพัฒนาจิตใจให้รู้จักควบคุมกายวาจาใจ ให้ปราศจากการประทุษร้ายเบียดเบียนกัน (2) เป็นภูมิปัญญาระดับสูงทางความคิดและมโนธรรมอันลึกซึ้งที่นาชีวิตไปสู่จุดหมายปลายทางคือสันติสุข (3) เป็นสิ่งยึดเหนี่ยวจิตใจของมนุษย์ในการดาเนินชีวิตเมื่อมีปัญหาใดๆมากระทบใจ ศาสนาเป็นที่พึ่งพาใจให้มนุษย์ได้ (4) ศาสนาเป็นบ่อเกิดของวัฒนธรรมของสังคมได้แก่ คติธรรมเนติธรรมสหธรรมและวัตถุธรรม สิ่งเหล่านี้สะท้อนให้เห็นคุณภาพจิตใจที่ดีงามของมนุษย์ ศาสนาเป็นสิ่งที่อยู่คู่กับสังคมที่มีวิวัฒนาการไม่ใช่สังคมป่าเถื่อน เพราะหลักสาคัญที่สุดที่ศาสนาช่วยทาให้สังคมสงบร่มเย็นคือศาสนาทุกศาสนามุ่งเน้นการทาความดีถ้าทุกคนเป็นคนดี สังคมโดยรวมก็จะสงบเรียบร้อยประชาชนมีสันติสุขพิจารณาความสัมพันธ์ของศาสนากับสังคมได้ดังนี้ - การทาความดีของศาสนาต่างๆมีผลต่อวิถีชีวิตของสมาชิกในสังคมนั้นๆ หลักการทาความดีของศาสนาที่สาคัญในโลกมีดังนี้ ศาสนาพราหมณ์-ฮินดู ถือว่า การทาความดีคือการทาความดีเพื่อความดีเพื่อหน้าที่ ศาสนาพุทธ ถือว่า ควรทาความดีเพื่อความดี ศาสนาคริสต์ ถือว่า ทาความดีเพื่อพระเจ้า ศาสนาอิสลาม ถือว่า ทาความดีเพื่อพระเจ้า ศาสนาสิกข์ ถือว่า ทาความดีเพื่อพระเจ้า