SlideShare a Scribd company logo
1 of 17
สังคีตที่ยิ่งใหญ่
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรภูมิพลอดุลยเดชเสด็จพระราชสมภพณโรงพยาบาลเมานท์ออเบอร์น
(Mount Auburn)เมืองเคมบริดจ์ (Cambridge)รัฐแมสสาชูเซตต์(Massachusetts) สหรัฐอเมริกา เมื่อวันจันทร์ เดือนอ้าย ขึ้น ๑๒
ค่า ปีเถาะนพศกจุลศักราช๑๒๘๙ ตรงกับวันที่๕ธันวาคมพุทธศักราช๒๔๗๐ มีพระนามเดิมว่าพระวรวงศ์เธอ
พระองค์เจ้าภูมิพลอดุลเดชเป็นพระราชโอรสพระองค์เล็กในสมเด็จพระราชบิดา
เจ้าฟ้ามหิดลอดุลยเดช กรมหลวงสงขลานครินทร์ (พระราชโอรสพระองค์เล็กในสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ์
พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี)และสมเด็จพระราชชนนีศรีสังวาลย์
ซึ่งภายหลังทั้งสองพระองค์ได้รับการเฉลิมพระนามภิไธยเป็นสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม
พระบรมราชชนกและสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีมีพระเชษฐภคินีและสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช
คือ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ ประสูติเมื่อวันอาทิตย์ที่๖พฤษภาคม
พุทธศักราช๒๔๖๖ณ กรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ กับพระบาทสมเด็จพระปรเมนทร
มหาอานันทมหิดลเสด็จพระราชสมภพเมื่อวันอาทิตย์ที่๒๐กันยายนพุทธศักราช๒๔๖๘ณ เมืองไฮเดลแบร์กประเทศเยอรมนี
เมื่อพุทธศักราช๒๔๗๑ได้โดยเสด็จสมเด็จพระบรมราชชนกซึ่งทรงสาเร็จการศึกษาปริญญาแพทยศาสตรบัณฑิต
เกียรตินิยมจากมหาวิทยาลัยฮาวาร์ดสหรัฐอเมริกากลับประเทศไทยประทับณวังสระประทุมต่อมาในวันที่ ๒๔กันยายน
พุทธศักราช๒๔๗๒สมเด็จพระบรมราชชนกสวรรคตขณะนั้น
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลปัจจุบันทรงเจริญพระชนมายุได้ไม่ถึง ๒ปี และเมื่อมีพระชนมายุได้ ๕ปี
ได้ทรงเข้ารับการศึกษาขั้นต้นณโรงเรียนมาแตร์เดอีกรุงเทพฯจนถึงพ.ศ. ๒๔๗๖ จึงเสด็จพระราชดาเนินไปประทับณเมืองโลซานน์
ประเทศสวิสเซอร์แลนด์พร้อมด้วยสมเด็จพระบรมราชชนนีพระเชษฐภคินีและสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช
เพื่อทรงศึกษาต่อในชั้นประถมศึกษาที่โรงเรียน EcoleNouvellede la SuisseRomande,Chailly-sur-Lausanne
เมื่อทรงรับประกาศนียบัตร BachlieresLettres จากGymnase ClassiqueCantonalแห่งเมืองโลซานน์แล้ว
ทรงเข้าศึกษาในมหาวิทยาลัยโลซานน์โดยทรงเลือกศึกษาในแขนงวิชาวิทยาศาสตร์
ในพุทธศักราช๒๔๗๗พระวรวงศ์เธอพระองค์เจ้าอานันทมหิดลเสด็จขึ้นครองราชย์เป็นพระมหากษัตริย์รัชกาลที่๘
แห่งบรมราชจักรีวงศ์เมื่อพุทธศักราช๒๔๗๘และพระวรวงศ์เธอพระองค์เจ้าภูมิพลอดุลเดชจึงทรงได้รับการสถาปนาขึ้นเป็น
สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ
เจ้าฟ้าภูมิพลอดุลยเดชและได้โดยเสด็จพระราชดาเนินสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล นิวัตประเทศไทยเป็นครั้งแรกในพุทธศักรา
ช ๒๔๘๑ โดยประทับณ พระตาหนักจิตรลดารโหฐานพระราชวังดุสิตเป็นการชั่วคราว
แล้วเสด็จพระราชดาเนินกลับไปประเทศสวิสเซอร์แลนด์จนถึงพุทธศักราช๒๔๘๘ครั้งนี้ประทับณ พระที่นั่งบรมพิมาน
ในพระบรมมหาราชวัง
ในวันที่ ๙ มิถุนายนพุทธศักราช๒๔๘๙สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดลเสด็จสวรรคตโดยกะทันหันณ
พระที่นั่งบรมพิมานในพระบรมมหาราชวังสมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ
เจ้าฟ้าภูมิพลอดุลยเดชจึงเสด็จขึ้นครองราชย์สมบัติสืบราชสันตติวงศ์ในวันเดียวกันนั้น แต่เนื่องจากยังมีพระราชกิจด้านการศึกษา
จึงต้องทรงอาลาประชาชนชาวไทยเสด็จพระราชดาเนินกลับไปยังประเทศสวิสเซอร์แลนด์อีกครั้งหนึ่งในเดือนสิงหาคมพุทธศักราช
๒๔๘๙ เพื่อทรงศึกษาต่อณมหาวิทยาลัยแห่งเดิม
ในครั้งนี้ทรงเลือกศึกษาวิชากฎหมายและวิชารัฐศาสตร์แทนวิชาวิทยาศาสตร์ที่ทรงศึกษาอยู่เดิม
ระหว่างที่ทรงประทับศึกษาอยู่ต่างประเทศนั้นทรงพบกับ หม่อมราชวงศ์ สิริกิติ์ กิติยากรธิดาใน หม่อมเจ้านักขัตรมงคล
กิติยากรกับหม่อมหลวงบัว (สนิทวงศ์)กิติยากร(ภายหลังพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมีพระบรมราชโองการ โปรดเกล้า ฯ
ให้สถาปนาพระอิสริยยศ หม่อมเจ้านักขัตรมงคลฯ ขึ้นเป็น
พระวรวงศ์เธอพระองค์เจ้านักขัตรมงคล เมื่อพุทธศักราช ๒๔๙๓และขึ้นเป็นพระองค์เจ้าต่างกรมมีพระนามว่าพระวรวงศ์เธอ
กรมหมื่นจันทบุรีสุรนาถ เมื่อ พุทธศักราช ๒๔๙๕) ต่อมาทรงหมั้นกับหม่อมราชวงศ์สิริกิติ์ กิติยากรในวันที่ ๑๙กรกฎาคม
พุทธศักราช๒๔๙๒ณ เมืองโลซานน์ประเทศสวิสเซอร์แลนด์
ในพุทธศักราช๒๔๙๓เสด็จพระราชดาเนินนิวัติพระนครประทับณ พระที่นั่งอัมพรสถานพระราชวังดุสิต
ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ
ให้ตั้งการพระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพ พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดลในเดือนมีนาคมพุทธศักราช
๒๔๘๓ ต่อมาในวันที่ ๒๘เมษายนปีเดียวกันทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ
ให้จัดการพระราชพิธีราชาภิเษกสมรสกับหม่อมราชวงศ์สิริกิติ์ กิติยากรณพระตาหนักสมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี
พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้าในวังสระปทุมซึ่งในการพระราชพิธีราชาภิเษกสมรสนี้มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ
ให้สถาปนาหม่อมราชวงศ์สิริกิติ์ กิติยากรขึ้นเป็นสมเด็จพระราชินีสิริกิติ์ในวันที่๕พฤษภาคมพุทธศักราช๒๔๙๓
ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯให้ตั้งการพระราชพิธีบรมราชาภิเษกตามแบบอย่างโบราณราชประเพณีขึ้นณพระที่นั่งไพศาลทักษิณ
ในพระบรมมหาราชวัง
เฉลิมพระบรมนามาภิไธยตามที่จารึกในพระสุพรรณบัฏว่า พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภุมิพลอดุลยเดช มหิตลาธิเบศรร
ามาธิบดีจักรีนฤบดินทร สยามินทราธิราชบรมนาถบพิตรพร้อมทั้งพระราชทานพระปฐมบรมราชโองการว่า
“เราจะครองแผ่นดินโดยธรรม เพื่อประโยชน์สุขแห่งมหาชนชาวสยาม”และในโอกาสนี้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ
สถาปนาเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระราชินีสิริกิติ์ ขึ้นเป็นสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์พระบรมราชินี
หลังจากเสร็จการพระราชพิธีบรมราชาภิเษกแล้วได้เสด็จพระราชดาเนินไปทรงรักษาพระสุขภาพณเมืองโลซานน์
ประเทศสวิสเซอร์แลนด์ตามที่คณะแพทย์ได้ถวายคาแนะนาและระหว่างที่ประทับในเมืองโลซานน์ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์
พระบรมราชินี มีพระประสูติกาลพระราชธิดาพระองค์แรกคือ
สมเด็จพระเจ้าลูกเธอเจ้าฟ้าอุบลรัตน์ราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดีซึ่งประสูติณโรงพยาบาลมองซัวซีส์เมืองโลซานน์
เมื่อวันที่ ๕ เมษายนพุทธศักราช๒๔๙๔ และเมื่อสมเด็จพระเจ้าลูกเธอพระองค์แรกเจริญพระชันษาได้ ๗
เดือน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้เสด็จพระราชดาเนินนิวัตพระนครประทับณ พระตาหนักจิตรลดารโหฐาน พระราชวังดุสิต
จากนั้นทรงย้ายไปประทับณพระที่นั่งอัมพรสถานวังดุสิตเนื่องจากทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ
ให้ปรับปรุงพระตาหนักจิตรลดารโหฐานสาหรับเป็นที่ประทับแทนการที่รัฐบาลจะจัดสร้างพระตาหนักขึ้นใหม่
และที่พระที่นั่งอัมพรสถานนี้เอง สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินี มีพระประสูติกาลพระราชโอรสและพระราชธิดาอีก ๓
พระองค์คือ
สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอเจ้าฟ้าวชิราลงกรณ์ ประสูติเมื่อวันจันทร์ที่๒๘กรกฎาคมพุทธศักราช๒๔๙๕ในพุทธศักราช
๒๕๑๕ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯสถาปนาขึ้นเป็นสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชเจ้าฟ้ามหาวชิราลงกรณ์ สยามมกุฏราชกุมาร
สมเด็จพระเจ้าลูกเธอเจ้าฟ้าสิรินธรเทพรัตนราชสุดากิติวัฒนาดุลโสภาคย์ ประสูติเมื่อวันเสาร์ที่๒เมษายน
พุทธศักราช๒๔๙๘ในพุทธศักราช๒๕๒๐ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯสถาปนาขึ้นเป็นสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา
เจ้าฟ้ามหาจักรีสิรินธรรัฐสีมาคุณากรปิยะชาติสยามบรมราชกุมารี
สมเด็จพระเจ้าลูกเธอเจ้าฟ้าจุฬาภรณ์วลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี ประสูติเมื่อวันพฤหัสบดีที่๔กรกฎาคมพุทธศักราช
๒๕๐๐
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงพระผนวชเมื่อวันที่๒๒ตุลาคมพุทธศักราช๒๔๙๙ณ พระอุโบสถวัดพระศรีรัตนศาสดาราม
ในพระบรมมหาราชวังและประทับจาพรรษา พระตาหนักปั้นหย่าวัดบวรนิเวศวิหารมีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ
ให้สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์พระบรมราชินีเป็นผู้สาเร็จราชการทรงปฏิบัติราชการแผ่นดินแทนพระองค์ตลอดระยะเวลา ๑๕วัน
ที่ทรงพระผนวชอยู่จากการที่สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีทรงปฏิบัติพระราชกรณียกิจ
ในตาแหน่งผู้สาเร็จราชการแทนพระองค์ได้อย่างเรียบร้อยเป็นที่พอพระพระราชหฤทัยจึงมีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ
สถาปนาขึ้นเป็นสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์พระบรมราชินีนาถในปีเดียวกันนั้นเองและในวันที่๓๑ตุลาคมพุทธศักราช๒๕๐๐
หลังจากทรงประกอบพิธีเฉลิมพระตาหนักจิตรลดารโหฐานซึ่งได้ต่อเติมขึ้นใหม่แล้วทรงย้ายที่ประทับจากพระที่นั่งอัมพรสถาน
พระราชวังดุสิตกลับไปประทับที่พระตาหนักจิตรลดารโหฐานพระราชวังดุสิตสืบมา
ระหว่างพุทธศักราช๒๕๐๒ถึง๒๕๑๐ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้าฯ
พระบรมราชินีนาถได้เสด็จพระราชดาเนินเยือนต่างประเทศทั้งในเอเชียยุโรปและสหรัฐอเมริกาเพื่อเป็นการเจริญสัมพันธไมตรีรวม
๒๘ ประเทศนอกจากนั้นก็ได้ทรงต้อนรับพระราชอาคันตุกะที่เป็นประมุขของประเทศต่างๆอยู่เนือง
ๆ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงบาเพ็ญพระราชกรณียกิจน้อยใหญ่ นับตั้งแต่พระราชพิธีสาคัญของบ้านเมือง
พระราชพิธีและการพระราชกุศลทางพระพุทธศาสนา
และที่สาคัญยิ่งคือการเสด็จพระราชดาเนินเยี่ยมราษฎรทั่วทุกภูมิภาค รวมทั้งท้องถิ่นที่ทุรกันดารห่างไกลความเจริญอย่างมิทรงเห็นแ
ก่ความเหน็ดเหนื่อยนอกจากจะได้ทอดพระเนตรสภาพความเป็นอยู่และปัญหาอันแท้จริงของแต่ละพื้นที่แล้ว
ยังทรงพระราชทานความช่วยเหลือ
และทรงนาโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดาริมาใช้ในการแก้ไขปัญหาและการพัฒนาคุณภาพชีวิตของราษฎรซึ่งครอบคลุมเนื้อหาที่
หลากหลายทุกด้านกว่า๓,๐๐๐โครงการ โครงการเหล่านี้มีทั้งที่ทรงดาเนินการด้วยพระองค์เองและทรงมอบหมายให้หน่วยราชการ
หรือองค์กรเอกชนดาเนินการและขยายผลให้กว้างขวางออกไปนับได้ว่าเป็นการพัฒนาที่ยั่งยืนอย่างแท้จริง
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงปฏิบัติพระราชภารกิจในฐานะที่ทรงเป็นพระมหากษัตริย์ในระบอบประชาธิปไตยอย่าง
งดงาม โดยทรงดารงอยู่ในคุณธรรมอันควรแก่พระมหากษัตราธิราชอันมีทศพิธราชธรรมเป็นอาทิ
สมดังพระราชปณิธานนับตั้งแต่ต้นรัชกาลครั้นถึงพุทธศักราช๒๕๑๓อันเป็นวาระครบ๑๕ปีแห่งการครองราชย์
รัฐบาลจึงจัดให้มีพระราชพิธีเฉลิมฉลองเรียกว่า รัชดาภิเษกสมโภชพร้อมทั้งอาณาประชาราษฎร์ก็ได้ร่วมเฉลิมฉลองโดยถ้วนหน้า
เมื่อ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงเจริญพระชนมายุครบ๕รอบเมื่อวันที่ ๕ธันวาคมพุทธศักราช๒๕๓๐
รัฐบาลและประชาชนรู้สึกปลาบปลื้มปีติเป็นยิ่งนักจึงจัดให้มีการเฉลิมฉลองครั้งสาคัญ
คือ พระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา๕รอบและต่อมาอีกปีหนึ่ง
ก็มีการฉลองอภิลักขิตสมัยอีกครั้งคือพระราชพิธีรัชมังคลาภิเษกเพื่อเป็นการเฉลิมพระเกียรติคุณที่ทรงได้ครองราชย์มายาวนานกว่
าพระมหากษัตริย์พระองค์ใดในประวัติศาสตร์ชาติไทย
พระราชกรณียกิจดาเนินต่อมาอีกจนถึงพุทธศักราช๒๕๓๘วาระแห่งการดารงอยู่ในสิริราชสมบัตินับได้ถึง๕๐ปี
รัฐบาลก็ได้ประกาศให้เป็นช่วงเวลาแห่งการเฉลิมฉลองมงคลวาระกันทั่วทั้งประเทศตลอด ๒ปี เต็มนับตั้งแต่วันที่ ๑ มกราคม๒๕๓๘
เป็นต้นไปจนสิ้นปีพุทธศักราช๒๕๓๙ โดยองค์กรทุกภาคส่วนทั้งของราชการรัฐวิสาหกิจองค์กรเอกชนพ่อค้าประชาชนทุกหมู่เหล่า
มีส่วนร่วมในการทากิจกรรมอย่างกว้างขวางและในวันที่๙มิถุนายนพุทธศักราช๒๕๓๙
ก็จัดให้มีพระราชพิธีกาญจนาภิเษกสมโภชณ พระที่นั่งกาญจนาภิเษก
มณฑลท้องพิธีสนามหลวงนับได้ว่าเป็นการเฉลิมฉลองมหามงคลวโรกาสอันยิ่งใหญ่ที่สุดครั้งหนึ่งของชาติไทย
ครั้นกาลเวลาล่วงมาอีก๑๐ปี
ชาวไทยและชาวโลกก็ได้ตระหนักรู้อีกครั้งหนึ่งในพระเกียรติคุณที่ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงบาเพ็ญเพื่อประเทศชาติและประ
ชาชนมาโดยตลอดเวลาอันยาวนาน
ดังที่ประจักษ์กันทั่วไปว่าทรงเป็นพระมหากษัตริย์ที่ทรงครองสิริราชสมบัติยาวนานกว่าพระมหากษัตริย์พระองค์ใดในสยามประเทศ
และยาวนานกว่าพระมหากษัตริย์พระองค์ใดในโลกปัจจุบัน ด้วยเหตุดังกล่าวเนื่องในมหามงคลวโรกาสที่ทรงครองสิริราชสมบัติครบ
๖๐ ปี จึงนับว่าเป็นเหตุการณ์ที่ตราตรึงอยู่ในจิตใจของพสกนิกรไทยทุกหมู่เหล่า
ตลอดถึงผู้ที่เข้ามาพึ่งพระบรมโพธิสมภารอย่างมิรู้ลืมยิ่งกว่าครั้งใดๆ
ในวันที่ ๙ มิถุนายนพุทธศักราช๒๕๔๙
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้ทรงประกอบพระราชพิธีอันเนื่องจากการฉลองสิริราชสมบัติครบ๖๐ปี ณ
พระอุโบสถวัดพระศรีรัตนศาสดารามและในพระบรมมหาราชวังโดยลาดับจากนั้นก็ได้เสด็จออกมหาสมาคม ณ
สีหบัญชรพระที่นั่งอนันตสมาคมเพื่อให้พสกนิกรนับแสนได้เข้าเฝ้าทูลละอองธุลีพระบาทด้วยความจงรักภักดี
และปลาบปลื้มในพระมหากรุณาธิคุณอันล้นพ้นหาที่สุดมิได้ โดยมีเหตุการณ์ที่น่าประทับใจอีกประการหนึ่งก็คือ
มีพระประมุขและพระราชวงศ์ต่างประเทศหรือผู้แทนของประเทศต่างๆทั่วโลก ๒๕ประเทศ
เสด็จพระราชดาเนินมาร่วมชุมนุมถวายพระพรในมงคลวโรกาสครั้งนี้อย่างสมพระเกียรติ
จวบจนถึงปัจจุบัน ตลอดระยะเวลาอันยาวนานกว่า ๖ทศวรรษที่ทรงครองแผ่นดินโดยธรรมนับตั้งแต่ปีพุทธศักราช๒๔๙๓
เป็นต้นมานั้น พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ได้ทรงปฏิบัติพระราชกรณียกิจนานัปการอันเป็นคุณประโยชน์ยิ่งแก่พสกนิกรชาวไทยอย่า
งต่อเนื่องและสม่าเสมอความเป็นปึกแผ่นของชาติโดยทรงมุ่งเน้นที่จะบาบัดทุกข์บารุงสุขของอาณาประชาราษฎร์เป็นสาคัญ
ยังผลให้เกิดความรุ่งเรืองและปึกแผ่นของชาติตลอดระยะเวลาอันยาวนานนับเป็นพระมหากรุณาธิคุณ
ล้นเกล้าล้นกระหม่อมต่อประเทศชาติและประชาชนชาวไทยอย่างหาที่เปรียบมิได้
เนื่องจากโดยส่วนพระองค์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงพระปรีชาสามารถรอบรู้หลายสาขาจึงทรงมีผลงานทั้งด้านกีฬา
ด้านงานประดิษฐ์คิดค้นทางการช่างและเทคโนโลยีและด้านงานสร้างสรรค์ทางศิลปะแขนงต่างๆ อาทิภาพวาดฝีพระหัตถ์
งานพระราชนิพนธ์ทางอักษรศาสตร์ งานพระราชนิพนธ์ทางดนตรี เป็นต้น
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวกับการดนตรี
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชทรงเป็นสังคีตกวีและนักดนตรีที่ชาวโลกยกย่อง
ทรงพระปรีชาสามารถในการทรงดนตรี ทรงพระราชนิพนธ์เพลงแยกและเรียบเรียงเสียงประสาน
ทรงเป็นครูสอนดนตรีแก่ข้าราชบริพารใกล้ชิด และทรงซ่อมเครื่องดนตรีได้ด้วย ตลอดจนทรงเชี่ยวชาญในศิลปะแขนงต่างๆ
อย่างแท้จริงสมกับที่พสกนิกรชาวไทยน้อมเกล้าฯถวายพระราชสมัญญา “อัครศิลปิน”
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงเริ่มเรียนดนตรีเมื่อมีพระชนมายุ ๑๓พรรษา ขณะที่ประทับอยู่ที่ประเทศสวิตเซอร์แลนด์
กับครูชาวอัลซาส ชื่อนายเวย์เบรชท์โดยทรงเรียนการเป่าแซกโซโฟนวิชาการดนตรี การเขียนโน้ต
และการบรรเลงดนตรีสากลต่างๆในแนวดนตรีคลาสสิคเป็นเบื้องต้นต่อมาจึงเริ่มฝึกดนตรีแจ๊ส
โดยทรงหัดเป่าแซกโซโฟนสอดแทรกกับแผ่นเสียงของ
นักดนตรีที่มีชื่อเสียงได้เป็นอย่างดีเช่นJohnnyHodges และSidneyBerchetเป็นต้นจนทรงมีความชานาญ
สอดแทรกกับแผ่นเสียงของนักดนตรีที่มีชื่อเสียงได้เป็นอย่างดีและทรงโปรดดนตรีประเภท DixielandJazz เป็นอย่างมาก
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงเครื่องดนตรีได้ดีหลายชนิดทั้งประเภทเครื่องลมเช่นแซกโซโฟนคลาริเนต
และประเภทเครื่องทองเหลืองเช่นทรัมเป็ต รวมทั้งเปียโนและกีตาร์ ที่ทรงฝึกเพิ่มเติมในภายหลัง
เพื่อประกอบการพระราชนิพนธ์เพลงและเพื่อทรงดนตรีร่วมกับวงดนตรีส่วนพระองค์
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงใช้ดนตรีให้เป็นประโยชน์ทางอ้อมในหลายด้านอาทิ
ทรงใช้เครื่องดนตรีเป็นสื่อผูกพันสถาบันพระมหากษัตริย์กับนิสิตนักศึกษาโดยเสด็จฯ
ไปทรงดนตรีร่วมกับนิสิตนักศึกษามหาวิทยาลัยต่างๆอยู่นาน
กว่า๑๐ ปี
ในคราวเสด็จเยือนต่างประเทศ
ก็ทรงใช้ดนตรีเป็นสื่อกระชับสัมพันธไมตรีระหว่างประเทศกับนานาประเทศได้อย่างแน่นแฟ้นยิ่งขึ้น
พระปรีชาสมารถด้านดนตรีในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เป็นที่ชื่นชมของชาวต่างประเทศจนกระทั่งปีพ.ศ๒๕๐๗
สถาบันการดนตรีและศิลปะการแสดงแห่งกรุงเวียนนา(ปัจจุบันเปลี่ยนฐานะเป็นมหาวิทยาลัยการดนตรีและศิลปะการแสดง) ได้ทูลเกล้าฯ
ถวายประกาศนียบัตร และสมาชิกกิตติมศักดิ์ลาดับที่๒๓ แด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
พระบรมนามาภิไธย “ภูมิพลอดุลยเดช” ปรากฏอยู่บนแผ่นจาหลักหินของสถาบันทรงเป็นสมาชิกกิตติมศักดิ์ที่มีอายุน้อยที่สุด
และเป็นชาวเอเชียเพียงผู้เดียวที่ได้รับเกียรติอันสูงสุดนี้
พระอัจฉริยภาพด้านดนตรีในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเป็นที่ชื่นชมไม่เพียงในประเทศไทยเท่านั้น
นักดนตรีต่างประเทศทั่วโลกก็ชื่นชมและยอมรับในพระอัจฉริยภาพนี้
นอกจากจะทรงพระปรีชาสามารถในการพระราชนิพนธ์เพลงและทรงดนตรีแล้ว พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ยังทรงเป็น “ครูใหญ่”
สอนดนตรีแก่ แพทย์ราชองครักษ์ และ ข้าราชการผู้ปฏิบัติราชการใกล้ชิดพระยุคลบาทในช่วงที่เสด็จเยี่ยมราษฎรในภูมิภาคต่างๆ
ตลอดจนข้าราชบริพารในพระองค์ซึ่งส่วนใหญ่เล่นดนตรีไม่เป็นเลย จนเล่นดนตรีเป็นอ่านโน้ตได้
และสามารถบรรเลงในโอกาสพิเศษต่างๆ ได้ต่อมาจึงได้เกิดแตรวง “วงสหายพัฒนา” โดยมีสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ
สยามบรมราชกุมารี ทรงเป็นหัวหน้าวง
ในด้านดนตรีไทย พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว มีพระราชประสงค์ที่จะอนุรักษ์ดนตรีไทยและนาฏยศิลป์ไทยไว้ให้คงอยู่คู่ช
าติไทยตลอดไป
โดยมีพระราชกระแสรับสั่งให้นักดนตรีไทยช่วยกันรักษาระดับเสียงของดนตรีไทยไว้เพื่อเป็นมาตรฐานของวงดนตรีรุ่นหลัง
ได้พระราชทานทุนทรัพย์ส่วนพระองค์ให้กรมศิลปากรจัดพิมพ์หนังสือ “โน้ตเพลงไทยเล่ม
๑” เพื่อรวบรวมและรักษาศิลปะทางดนตรีไทยไว้ให้เป็นหลักฐานและมาตรฐานต่อไป
และทรงสนับสนุนให้มีการค้นคว้าวิจัยบันไดเสียงของดนตรีไทย โดยใช้เครื่องมือทางวิทยาศาสตร์
นอกจากนั้น พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯให้จัดพิธีครอบประธานครูโขนละคร
และต่อ กระบวนรำเพลงหน้ำพำทย์องค์พระพิรำพ ซึ่งเป็นเพลงหน้าพาทย์ชั้นสูงในวิชาดนตรีและนาฏยศิลป์ไทยอีกด้วย
ซึ่งกิจกรรมทั้ง ๒อย่างนั้นดาเนินมาจนถึงจุดที่ใกล้จะสูญสิ้นแล้ว
จึงนับได้ว่าทรงเป็นพระมหากษัตริย์ที่อนุรักษ์ศิลปะของไทยเพื่อให้เป็นมรดกของชาติสืบต่อไป
พระมหากษัตริย์ผู้ทรงเป็นสังคีตกวีแห่งราชวงศ์จักรีพระองค์นี้
ทรงบาเพ็ญพระราชกรณียกิจ “เพื่อประโยชน์สุขแห่งมหาชนชาวสยาม”แม้ด้านดนตรีก็มิได้เว้น
พระมหากษัตริย์นักดนตรี
มีเรื่องเล่ากันมาว่านักดนตรีเอกของโลกได้กล่าวถึงพระปรีชาสามารถในการทรงดนตรีว่า
หากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมิได้ทรงเป็นพระมหากษัตริย์ก็จะต้องทรงเป็นพระราชานักดนตรีของโลก
แต่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเป็นทั้งพระมหากษัตริย์และทรงเป็นนักดนตรีได้พร้อมกัน
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงมีความสนพระราชหฤทัยในด้านดนตรีมาตั้งแต่ยังทรงพระเยาว์ดังที่ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ
เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา
กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ ทรงพระราชนิพนธ์ไว้ในบทพระนิพนธ์“เจ้านายเล็กๆยุวกษัตริย์”ความตอนหนึ่งว่า
“เมื่อถึงเวลาสนพระทัยแผ่นเสียงก็แข่งกันอีก รัชกาลที่๘ทรงเลือก LouisArmstrong, SidneyBerchet รัชกาลที่๙ทรงเลือก
Duke Ellington CountBanc เกี่ยวกับการซื้อแผ่นเสียงนี้ถ้าเป็นแจ๊สต้องซื้อเอง ถ้าเป็นคลาสสิคเบิกได้”
“สิ่งที่ทรงเล่นมาด้วยกันเป็นเวลานานคือดนตรี รัชกาลที่๘ทรงเริ่มด้วยเปียโนเพราะเห็นข้าพเจ้าเรียนอยู่ รัชกาลที่๙
ขอเล่นหีบเพลง (accordion) เรียนอยู่ไม่กี่ครั้งก็ทรงเลิก “เพราะไม่เข้ากับเปียโน” แล้วรัชกาลที่๘ก็ทรงเลิกเรียนเปียโนไป
เมื่ออยู่อาโรซ่า เวลาหน้าหนาว ได้ทอดพระเนตรวงดนตรีวงใหญ่ที่เล่นอยู่ที่โรงแรมรู้สึกอยากเล่นกัน
ทรงหาแซกโซโฟนที่เป็นของใช้แล้ว (second hand) มาได้ ราคา ๓๐๐ แฟรงค์
แม่ออกให้ครึ่งหนึ่งและสโมสรปาตาปุมออกให้อีกครึ่งหนึ่ง เมื่อครูมาสอนที่บ้านรัชกาลที่ ๘ทรงดันพระอนุชาเข้าไปในห้องเรียน
รัชกาลที่๙ จึงเป็นผู้ริเริ่มเมื่อเรียนไปแล้ว ๒-๓ครั้ง รัชกาลที่๘ทรงซื้อแคลริเน็ต (clarinet) ส่วนพระองค์ วันเรียนครูสอนองค์ละ
๓๐ นาที แล้วครูก็เอาแซกโซโฟน(saxophone) ของเขาออกมาและเล่นด้วยกันทั้ง ๓เป็น Trio”
ครูสอนดนตรี ซึ่ง สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอเจ้าฟ้ากรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ ทรงเล่าไว้นี้สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ
สยามบรมราชกุมารี ทรงพระราชนิพนธ์ไว้ในบทพระราชนิพนธ์“พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงศึกษาดนตรี”เช่นกันมีความว่า
“....ครูสอนดนตรีชื่อนายเวย์เบรชท์(Weybrecht) เป็นชาวอัลซาส(Alsace)ซึ่งเป็นแคว้นของฝรั่งเศสที่พูดภาษาเยอรมัน
เวลาพูดภาษาฝรั่งเศสยังมีสาเนียงภาษาเยอรมันติดมาบ้างนายเวย์เบรชท์ทางานอยู่ร้านขายเครื่องดนตรี (ขายทุกๆยี่ห้อ)
และยังเป็นนักเป่าแซกโซโฟนอยู่ในวงของสถานีวิทยุเขาเล่นดนตรีได้หลายอย่างรวมทั้งแคลริเน็ตด้วย...นอกจากการเล่นดนตรีแล้ว
ครูยังสอนวิชาการดนตรีให้ด้วยรวมทั้งการเขียนโน้ตสากลต่าง
ๆในบทพระราชนิพนธ์“พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงศึกษาดนตรี”ยังทรงเล่าความเกี่ยวกับความสนพระราชหฤทัยในการทรงศึก
ษาเครื่องดนตรีชนิดอื่นๆได้แก่ แตรเปียโนกีตาร์ และขลุ่ยดังนี้
“...สาหรับแตรนั้นสนพระราชหฤทัยจึงไปเช่ามาเป็นแตรคอร์เน็ตอีกหลายปีจึงทรงซื้อเอง
ดูเหมือนว่าแตรทรัมเป็ตเครื่องแรกที่ทรงซื้อจะเป็นแตรยี่ห้อเซลเมอร์ สั่งซื้อจากอังกฤษแต่เป็นของฝรั่งเศส
(เครื่องนี้พระราชทานวงสุนทราภรณ์ไป)จึงซื้อใหม่ยี่ห้อเซลเมอร์เหมือนกันครูเวย์เบรชท์บอกว่าแตรดีที่สุดคือยี่ห้อกูร์ตัว
แต่ไม่ได้ทรงซื้อ...”
“… สาหรับเครื่องดนตรีต่างๆที่ทรงเล่นมีเปียโนไม่เคยทรงเรียนจริงจังจากใครเล่นเอาเองดูโน้ตเรียนวิธีประสานเสียงกีตาร์
ทรงเล่นเมื่อพระชนม์ราว๑๖พรรษาเพื่อนที่โรงเรียนเป็นรุ่นพี่อายุมากกว่าให้ยืมเล่นภายหลังไปเอาคืน
เขาเห็นว่าสนใจจึงให้เลย ขลุ่ยทรงเล่นเมื่อพระชนม์ประมาณ๑๖-๑๗พรรษาเห็นว่าราคาไม่แพงนักเล่นไม่ยาก
นิ้วคล้ายๆแซกโซโฟน...ตอนหลังเคยเห็นทรงเล่นไวโอลินด้วย คิดว่าทรงเล่นเอาเองไม่มีครูสอนดนตรี …”
นอกจากจะทรงศึกษาวิชาดนตรีจากพระอาจารย์ชาวต่างประเทศในต่างประเทศ
แต่เมื่อยังทรงพระเยาว์แล้วพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวยังทรงได้รับการแนะนาการดนตรีจาก พระเจนดุริยางค์ชาวต่างชาติที่เข้ามา
รับราชการในประเทศไทยดังที่สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารี ทรงพระราชนิพนธ์ไว้เช่นกันว่า
“...คุณพระเจนดุริยางค์เป็นอีกท่านที่กราบบังคมแนะนาเกี่ยวกับดนตรี โปรดคุณพระเจนฯมากทรงพิมพ์ตาราที่คุณพระเจนฯ
ประพันธ์ขึ้นทุกเล่มระหว่างการพิมพ์และตรวจปรู๊ฟได้ความรู้เกี่ยวกับดนตรีมากส่วนไหนที่ไม่เข้าพระทัยก็มีรับสั่งถามคุณพระเจนฯ
เรื่องการพิมพ์หนังสือนี้คุณแก้วขวัญวัชโรทัยเลขาธิการพระราชวังคนปัจจุบันทราบดีเพราะเป็นผู้ที่ทรงมอบหมายให้ดาเนินการ
ได้ทราบว่าคุณพระเจนฯก็ปรารภว่าในด้านทฤษฎีไม่ทรงทราบมากนักแต่ทาไมเคาะเสียงถูกต้องทุกที “
นอกจากทรงเล่นดนตรีแล้วยังทรงสอนดนตรีให้ผู้อื่นเล่นด้วยเคยเล่าพระราชทานว่า
“ได้สอนคนตาบอดเล่นดนตรี สอนลาบากเพราะเขาไม่เห็นท่าทาง
เมื่อพยายามอธิบายจนเข้าใจสามารถเป่าออกมาเป็นเพลงไพเราะได้ หรือแม้แต่โน้ตเดียวในตอนแรก
ดูสีหน้าเขาแสดงความพอใจและภูมิใจมาก”
ทรงแนะนาวิธีการเล่นดนตรีพระราชทานผู้อื่นที่มาเล่นดนตรีถวายหรือเล่นร่วมวงดูเหมือนจะเคยมีรับสั่งว่า
การเล่นดนตรีทาให้เกิดความสามัคคีเป็นนักดนตรีเหมือนกัน
ในส่วนที่ทรงพระราชนิพนธ์เพลงนั้นทรงเริ่มอย่างจริงจังเมื่อมีพระชนมายุ ๑๘พรรษา
ขณะเมื่อยังทรงดารงพระยศเป็นสมเด็จพระอนุชาตามเสด็จพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล เสด็จนิวัตพระนคร
เมื่อปีพุทธศักราช๒๔๘๘ ดังที่พระวรวงศ์เธอพระองค์เจ้าจักรพันธ์เพ็ญศิริ บันทึกความไว้ดังนี้
“๕ธันวาคม๒๔๘๘ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่๘เสด็จนิวัตสู่ประเทศไทยพร้อมสมเด็จพระอนุชา
และสมเด็จพระราชชนนีประทับณพระที่นั่งบรมพิมานในพระบรมมหาราชวังได้โปรดเกล้าฯ
ให้เข้าเฝ้าในฐานะนักแต่งเพลงสมัครเล่นได้นาโน้ตที่ได้แต่งไว้แล้วถวายทอดพระเนตร
พระราชทานข้อแนะนาเกี่ยวกับการแต่งเพลงประเภทบลูส์โดยทรงเปียโนสาธิตให้ฟังและสมเด็จพระอนุชามาใส่คาร้อง
เพลงแสงเทียนยามเย็นสายฝนตามลาดับแต่เพลงยามเย็นและเพลงสายฝนได้นาออกสู่ประชาชนก่อนเพลงแสงเทียน
โดยพระราชทานให้ออกบรรเลงในงานลีลาศที่สวนอัมพรโดยวงดนตรีของกรมโฆษณาการ(กรมประชาสัมพันธ์)ควบคุมวงโดยเอื้อ
สุนทรสนานและออกอากาศทางวิทยุกรมโฆษณาการเป็นประจาเป็นที่ซาบซึ้งและประทับใจพสกนิกรอย่างมาก....”
“..จากนั้นฉันก็แต่งขึ้นอีกเรื่อยๆจนบัดนี้รวมทั้ง๔๐ เพลงในระยะเวลา๒๐ปี คิดเฉลี่ยปีละ๒เพลง
ที่ทาได้ก็เพราะได้รับการสนับสนุนจากนักดนตรี นักเพลงและนักร้อง
รวมทั้งประชาชนผู้ฟังต่างก็แสดงความพอใจและความนิยมพอควร
จึงเป็นกาลังใจให้แก่ฉันเรื่อยมา...”
เพลงพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวที่ทรงพระราชนิพนธ์ทานองเพลงแล้วจึงใส่คาร้องภาษาอังกฤษด้วยพระองค์เองไ
ด้แก่Echo,Stillon My Mind, OldFashionedMelody, No Moon และDream
Island ที่ทรงพระราชนิพนธ์ทานองจากคาร้องภาษาไทยได้แก่ เพลงความฝันอันสูงสุดและเราสู้ นอกจากนั้น
ก็เป็นส่วนหนึ่งที่ทรงพระราชนิพนธ์ทานองและโปรดเกล้าฯให้มีผู้แต่งคาร้องประกอบเพลงพระราชนิพนธ์หลายท่าน
ได้แก่ พระเจ้าวรวงศ์เธอพระองค์เจ้าจักรพันธ์เพ็ญศิริ ศาสตราจารย์ท่านผู้หญิงนพคุณทองใหญ่ ณอยุธยาศาสตราจารย์
ดร.ประเสริฐณ นคร ท่านผู้หญิงสมโรจน์สวัสดิกุลณอยุธยานายศุภรผลชีวินนายจานงราชกิจ (จรัล
บุณยรัตนพันธุ์)หม่อมราชวงศ์เสนีย์ปราโมชและท่านผู้หญิงมณีรัตน์บุนนาคเพลงพระราชนิพนธ์ระหว่างปีพุทธศักราช๒๔๘๙-
๒๕๓๘ มี ๔๘ เพลงพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงมีความรู้อย่างแตกฉานในทฤษฎีการประพันธ์
ทรงเป็นผู้นาในด้านการประพันธ์ทานองเพลงสากลของเมืองไทย
โดยทรงใส่คอร์ดดนตรีที่แปลกใหม่และซับซ้อนทาให้เกิดเสียงประสานที่เข้มข้นในดนตรี
เมื่อประกอบกับลีลาจังหวะเต้นราที่หลากหลายทาให้ทรงพระราชนิพนธ์เพลงบรรเลงได้อย่างไพเราะหลายบท
กลายเป็นเพลงอมตะของไทยในปัจจุบันนอกจากนี้ยังทรงมีจินตนาการสร้างสรรค์ไม่ซ้าแบบผู้ใดและแปลกใหม่อยู่ตลอดเวลา
เพลงพระราชนิพนธ์แต่ละเพลงนั้นล้วนแสดงออกถึงพระมหากรุณาธิคุณที่มีต่อพสกนิกรทุกหมู่เหล่าโดยถ้วนหน้า
เช่นเพลงยามเย็น พระราชทานแก่สมาคมปราบวัณโรค
เพื่อนาออกแสดงเก็บเงินบารุงการกุศลเพลงใกล้รุ่งบรรเลงเป็นปฐมฤกษ์ในงานของสมาคมเลี้ยงไก่แห่งประเทศไทย เพลงยิ้มสู้ พระราชทา
นแก่โรงเรียนสอนคนตาบอดเพลงลมหนาว พระราชทานในงานประจาปีของสมาคมนักเรียนเก่าอังกฤษในพระบรมราชูปถัมภ์ เพลงพรปีใหม่
พระราชทานแก่พสกนิกรเนื่องในวันปีใหม่เพลงเกิดเป็นไทยตายเพื่อไทย เพลงความฝันอันสูงสุด และเพลงเราสู้ พระราชทานแก่ผู้ปฏิบัติหน้าที่เพื่อประ
เทศชาติKinari Suite พระราชทานเพื่อใช้ประกอบการแสดงบัลเล่ต์ชุดมโนราห์ และมีเพลงประจาสถาบันที่ทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ
พระราชทานได้แก่ เพลงมหาจุฬาลงกรณ์เพลงธรรมศาสตร์ เพลงเกษตรศาสตร์ เพลงธงชัยเฉลิมพลราชวัลลภ และ ราชนาวิกโยธิน
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯให้มีการรวมนักดนตรีสมัครเล่นมารวมกันตั้งเป็นวงขึ้นเป็นครั้งแรก
ขณะที่ทรงประทับณ พระที่นั่งอัมพรสถานประกอบด้วยพระราชวงศ์ผู้ใหญ่ที่ทรงคุ้นเคยและเมื่อโปรดเกล้าฯให้จัดตั้งสถานีวิทยุ
อ.ส. (อัมพรสถาน)ขึ้นในปีพุทธศักราช
๒๔๙๕ เพื่อให้เป็นสื่อกลางที่ให้ความบันเทิงและสาระประโยชน์ในด้านต่างๆ พระราชทานชื่อว่า“วงลายคราม”ก็ได้มีการออกอ
ากาศส่งวิทยุกระจายเสียงกับวงดนตรีต่างๆด้วยต่อมาโปรดเกล้าฯให้นักดนตรีรุ่นหนุ่มมาเล่นดนตรีร่วมกับวงลายคราม
จึงเกิดเป็น วงดนตรี อ.ส.วันศุกร์ ขึ้นวงดนตรี อ.ส.
วันศุกร์มีลักษณะพิเศษคือพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงร่วมบรรเลงกับสมาชิกของวง
ออกอากาศกระจายเสียงทางสถานีวิทยุประจาวันศุกร์ และยังทรงจัดรายการเพลงเองทรงเลือกแผ่นเสียงเองในระยะแรก
บางครั้งก็โปรดเกล้าฯให้มีการขอเพลงและจะทรงรับโทรศัพท์ด้วยพระองค์เองทุกวันศุกร์ และวันอาทิตย์เป็นวันฝึกซ้อมวงดนตรี อ.ส.
วันศุกร์ ยังเป็นวงดนตรีที่โปรดให้ไปร่วมบรรเลงในงาน“วันทรงดนตรี”ตามที่มหาวิทยาลัยต่างๆกราบบังคมทูลเชิญเสด็จฯ
เพื่อทรงสังสรรค์ร่วมกับนิสิตนักศึกษาเป็นการส่วนพระองค์ก่อนที่จะยกเลิกไปเพราะทรงมีพระราชกรณียกิจเพิ่มมากขึ้น
ในปีพุทธศักราช๒๕๒๙พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ได้ทรงตั้งแตรวง“สหายพัฒนา”ขึ้นอีกวงหนึ่ง
โดยโปรดฯให้รวบรวมผู้ปฏิบัติราชการใกล้ชิดเบื้องพระยุคลบาทและโดยเสด็จฯในการพัฒนาภูมิภาคต่างๆเป็นประจาเช่น
นักเกษตรหลวงคณะแพทย์อาสาสมัครข้าราชการในพระองค์ราชองค์รักษ์ตลอดจนเจ้าหน้าที่หน่วยรักษาความปลอดภัย
ซึ่งส่วนใหญ่ไม่เคยเล่นดนตรีมาก่อนพระราชทานเวลาฝึกสอนในช่วงเวลาทรงออกพระกาลังในตอนค่าของทุกๆวัน
ทรงตั้งแตรวงขึ้นสาเร็จและยังคงเล่นดนตรีเป็นประจาทุกค่าของวันศุกร์ และวันอาทิตย์เป็นวันซ้อมร่วมกับนักดนตรี อ.ส.วันศุกร์ ณ
สถานีอ.ส. และเกือบทุกเย็นกับวงสหายพัฒนาณ ศาลาดุสิดาลัยสวนจิตรลดาจนถึงปัจจุบัน
พระปรีชาสามารถในการทรงดนตรีของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเป็นที่ประจักษ์ในนานาประเทศ
ดังที่จะเห็นจากการที่ทรงเข้าร่วมบรรเลงดนตรีกับวงดนตรีของประเทศต่างๆที่เสด็จพระราชดาเนินเยือนไม่ว่าวงดนตรีนั้นๆ
จะมีการเล่นดนตรีในแบบใดโดยมิได้ทรงเตรียมพระองค์มาก่อน
นักดนตรีที่มีชื่อเสียงของโลกล้วนถวายการยกย่องพระองค์ในฐานะทรงเป็นนักดนตรีแจ๊สผู้มีอัจฉริยภาพสูงส่งดังเช่น
เมื่อครั้งเสด็จพระราชดาเนินประเทศออสเตรียเมื่อเดือนตุลาคมพุทธศักราช ๒๕๐๗
ประธานสถาบันการดนตรีและศิลปะแห่งกรุงเวียนนาได้ทูลเกล้าฯ ถวายปริญญากิตติมศักดิ์แด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ในฐานะที่ทรงเป็นสมาชิกหมายเลข๒๓ซึ่งผู้ที่จะได้รับเกียรติเป็นสมาชิกกิตติมศักดิ์แห่งสถาบันนี้ได้
ส่วนใหญ่เป็นผู้มีอาชีพและผลงานด้านดนตรีและศิลปะดีเด่นเป็นที่ยอมรับของชาวโลกทั้งสิ้น
ด้านการดนตรีนี้พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมิได้ทรงละเลยดนตรีไทยอันเป็นสมบัติทางวัฒนธรรมของชาติ
ได้มีพระราชดาริให้มีการรวบรวมเพลงไทยเดิมขึ้นไว้ แล้วบันทึกโน้ตเพลงไทยเดิมขึ้นเป็นหลักฐาน
เพื่อที่จะได้พิมพ์เผยแพร่วิชาการดนตรีไทยในหมู่ประชาชนต่อไปทรงริเริ่มให้มีการวิจัยเกี่ยวกับดนตรีไทยประเภทต่างๆนอกจากนี้
ยังทรงได้ ริเริ่มให้นาเพลงสากลมาแต่งเป็นแนวเพลงไทยโดยโปรดเกล้าฯให้นาย
เทวาประสิทธิ์พาทยโกศลนาทานองเพลงพระราชนิพนธ์มหาจุฬาลงกรณ์มาแต่งเป็นแนวไทยบรรเลงด้วยวงปี่พาทย์
เมื่อนาขึ้นบรรเลงถวายแล้วก็พระราชทานชื่อว่าเพลงมหาจุฬาลงกรณ์เช่นเดียวกัน
นับเป็นเพลงไทยเพลงแรกที่ประดิษฐ์ขึ้นจากเพลงไทยสากลตามพระราชดาริที่ทรงสร้างสรรค์
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ได้มีพระราชดารัสเกี่ยวกับดนตรีแก่นักข่าวชาวอเมริกันในรายการเสียงแห่งวิทยุอเมริกาเมื่อวันที่ ๒๑
มิถุนายนพุทธศักราช๒๕๐๓ความตอนหนึ่งว่า
“ดนตรีเป็นส่วนหนึ่งของข้าพเจ้าจะเป็นแจ๊สหรือไม่ใช่แจ๊สก็ตามดนตรีล้วนอยู่ในตัวทุกคนเป็นส่วนที่ยิ่งใหญ่ในชีวิตคนเรา
สาหรับข้าพเจ้าดนตรีคือสิ่งประณีตงดงามและทุกคนควรนิยมในคุณค่าของดนตรีทุกประเภท
เพราะว่าดนตรีแต่ละประเภทต่างก็มีความเหมาะสมตามแต่โอกาสและอารมณ์ที่ต่างๆกันออกไป”
ทรงเห็นว่าดนตรี นอกจากจะให้ความบันเทิงแล้วควรจะเป็นสื่อสร้างสรรค์ชักนาให้คนเป็นคนดีของประเทศชาติและสังคม
ดังพระราชดารัสที่พระราชทานแก่คณะกรรมการสมาคมดนตรีแห่งประเทศไทยณศาลาดุสิดาลัยเมื่อวันที่ ๑๖ธันวาคมพุทธศักราช
๒๕๒๔ มีความตอนหนึ่งดังนี้
“...การดนตรีจึงมีความหมายสาคัญสาหรับประเทศชาติสาหรับสังคมถ้าทาดีๆก็ทาให้คนเขามีกาลังใจจะปฏิบัติงานการ
ก็เป็นหน้าที่ส่วนหนึ่งที่ให้ความบันเทิงทาให้คนที่กาลังท้อใจมีกาลังใจขึ้นมาได้ คือเร้าใจได้ คนกาลังไปทางหนึ่งทางที่ไม่ถูกต้อง
ก็อาจจะดึงกลับมาในทางที่ถูกต้องได้ ฉะนั้นดนตรีก็มีความสาคัญอย่างหนึ่ง
จึงพูดได้กับท่านทั้งหลายที่เกี่ยวข้องกับการดนตรีในรูปการณ์ต่างๆว่ามีความสาคัญและต้องทาให้ถูกต้องต้องทาให้ดี
ถูกต้องในทางหลักวิชาการดนตรีอย่างหนึ่งและก็ถูกต้องตามหลักวิชาของผู้ที่มีศีลธรรมมีความซื่อสัตย์สุจริต
ก็จะทาให้เป็นประโยชน์อย่างมากเป็นประโยชน์ทั้งต่อส่วนรวมทั้งส่วนตัว
เพราะก็อย่างที่กล่าวว่าเพลงนี้มันเกิดความปีติภายในของตัวเองได้ ความปีติในผู้อื่นได้ ก็เกิดความดีได้ความเสียก็ได้
ฉะนั้นก็ต้องมีความระมัดระวังให้ดี...”
พระบรมราโชวาทและพระราชดาริ
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงเข้าพระทัยอย่างลึกซึ้งเกี่ยวกับเรื่องดนตรี
และอิทธิพลของดนตรีที่มีต่อความคิดและจิตใจของมวลมนุษย์
ตลอดจนกระบวนการใช้เสียงดนตรีและบทเพลงในการสร้างสรรค์ความบันเทิง รวมทั้งปลูกฝังแนวความคิดที่ดีงามเช่น
ความรักชาติบ้านเมืองความสามัคคีพร้อมเพรียงให้เกิดขึ้นในสังคมและหมู่คณะพร้อมทั้งทรงตระหนักถึงอิทธิพลของดนตรีในทางลบ
ซึ่งอาจเป็นอันตรายต่อชาติบ้านเมืองได้
พระบรมราโชวาทและพระราชดารัสเกี่ยวกับดนตรีจึงเป็นเสมือนคติเตือนใจแก่บรรดาเยาวชนนักดนตรี
และมวลพสกนิกรทุกหมู่เหล่าให้มีความเข้าใจลึกซึ้งเรื่องดนตรีและอิทธิพลที่พึงมีต่อสังคมหมู่คณะ
และประเทศชาตินอกเหนือไปจากความบันเทิงรื่นเริงใจและสาระประโยชน์ที่ได้จากเพลงหรือดนตรีโดยทั่วไป
ความสาคัญของศิลปะการดนตรี
๑.พระราชดารัสในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ภายหลังที่สถาบันดนตรีและศิลปะแห่งกรุงเวียนนาทูลเกล้าฯ
ถวายประกาศนียบัตรเกียรติคุณชั้นสูงให้ทรงดารงตาแหน่งสมาชิกกิตติมศักดิ์หมายเลข๒๓เมื่อวันที่ ๔ ตุลาคมพ.ศ
๒๕๐๗พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ได้มีพระราชดารัสตอบเป็นภาษาเยอรมัน(ต่อมาหม่อมหลวงเดช สนิทวงศ์
ได้แปลและถ่ายทอดเป็นภาษาไทย)ทรงกล่าวถึงความสาคัญของดนตรีว่า
“...ดนตรีทุกชนิดเป็นศิลปะที่สาคัญอย่างหนึ่งมนุษย์เกือบทั้งหมดชอบและรู้จักดนตรี ตั้งแต่เยาว์วัยคนเริ่มรู้จักดนตรีบ้างแล้ว
ความรอบรู้ทางดนตรีอย่างกว้างขวางย่อมเกิดขึ้นกับเชาว์และความสามารถในการแสดงของแต่ละคน
อาศัยเหตุนี้จึงกล่าวได้ว่าในระหว่างศิลปะนานาชนิดดนตรีเป็นศิลปะที่แพร่หลายกว่าศิลปะอื่นๆ
และมีความสาคัญในด้านการศึกษาของประชาชนทุกประเทศด้วย”
๒. พระราชดารัสในโอกาสที่คณะกรรมการของสมาคมดนตรีแห่งประเทศไทยเข้าเฝ้าฯทูลเกล้าฯ
ถวายเงินสมทบทุนโครงการพัฒนาตามพระราชประสงค์ณ ศาลาดุสิดาลัยเมื่อวันพุธที่๑๖ธันวาคมพุทธศักราช๒๕๒๔
ที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงย้าถึงความสาคัญของดนตรี เพราะเป็นศิลปะที่สามารถทาให้ศิลปินเกิดความภาคภูมิใจมากที่สุด
ทรงยกตัวอย่างการพระราชนิพนธ์เพลงซึ่งไม่สิ้นเปลือง
สามารถเผื่อแผ่ความพอใจไปสู่สาธารณชนโดยไม่สึกหรอหรือเสื่อมลงเหมือนศิลปะสาขาอื่นอันเป็นรูปธรรม
และยังสามารถประยุกต์โดยเรียบเรียงใหม่ได้
“...การดนตรีนี้เป็นศิลปะที่สาคัญอย่างหนึ่ง หรือในหมู่ศิลปะทั้งหลาย อาจจะพูดได้ว่าเป็นศิลปะที่สาคัญที่สุด
อย่างน้อยสาหรับจิตใจของศิลปินนักดนตรีจะต้องเป็นเช่นนั้น
เพราะว่าการดนตรีนี้เป็นศิลปะอย่างหนึ่งที่ถือได้ว่าเป็นศิลปะที่ทาให้เกิดความปีติ ความภูมิใจความยินดี ความพอใจได้มากที่สุด...”
“...ศิลปินในสาขาอื่น ๆ จะยกตัวอย่าง เช่นวาดภาพ เป็นศิลปินเขียนภาพ เขียนรูปหรือจะเป็นพวกจิตรกรรม
ประติมากรรมก็ได้ ผู้นั้นเขาก็มีความพอใจเหมือนกันในการปฏิบัติ แต่ว่าที่จะเผื่อแผ่ให้ผู้อื่นดูก็เกิดความกลุ้มใจ
เพราะสมมติว่าเอาไปไว้ในห้องแสดงศิลปกรรมก็เกิดเป็นห่วง เดี๋ยวใครจะมาขโมย
เดี๋ยวใครจะมาทาให้เสียไป...ถ้าเป็นศิลปินในด้านการแสดงละครหรือแต่งละคร ถ้าไม่มีเวที ไม่มีการแสดงละคร
ก็ไม่สามารถที่จะให้คนได้ชมคือเผื่อแผ่ความพอใจออกไปไม่ได้ ดนตรีแต่งเพลงไปแล้วหรือเล่นเพลงไปแล้วก็เป็นการเผื่อแผ่ออกไป…”
“เพลงสายฝนนี้อายุ๓๕ปีแล้ว...ตั้งแต่วันหรือตั้งแต่คืนที่แต่ง จนเดี๋ยวนี้ไม่สิ้นเปลืองอะไร หาเศษกระดาษมาขีดๆ
แล้วก็เขียนไปเสร็จแล้วก็ส่งไปให้ทางครูเอื้อแล้วครูเอื้อก็เรียบเรียงเสียงและออกแสดง...ตั้งแต่นั้นมา ๓๕ปีกว่า เพลงนั้นก็ยังอยู่
ไม่สึกหรอไม่ต้องขัดเกลา ไม่ต้องไปปัดฝุ่น ใคร ๆ ก็เอาไปเล่น...ถ้าเป็นภาพเขียนที่เขียนไว้เมื่อ ๒๐ ปีแล้ว กลับไปดูสีมันลอก
ก็ต้องซ่อมแซม
ดนตรีสร้างความบันเทิงและสร้างสรรค์แนวคิดที่ดีในการดารงชีวิต
๑.พระบรมราโชวาทที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวพระราชทานเนื่องในวันสังคีตมงคลครั้งที่๒ณ เวทีลีลาศ
สวนอัมพรเมื่อวันพฤหัสบดีที่๓๑ กรกฏาคมพ.ศ ๒๕๑๒มีพระราชดาริว่าดนตรีมีความสาคัญต่อชีวิตเนื่องจากให้ความบันเทิง
ช่วยให้จิตใจสบายนักเพลงนักดนตรีมีบทบาทสาคัญเพราะนอกจากจะช่วยให้คนฟัง ได้รับความบันเทิงครึกครื้นแล้ว
ยังสามารถสร้างความรู้สึกที่ดีเช่นความอดทนความขยันขันแข็งและความสามัคคีจึงทรงปรารถนาให้นักดนตรี นักเพลงนักร้อง
แสดงออกในทางสร้างสรรค์ชักนาให้คนเป็นคนดี
“...ดนตรีนั้นเป็นสิ่งที่จะแสดงออกซึ่งความรู้สึกของชนหมู่หนึ่ง ในที่นี้ก็คือชนคนไทยทั้งหลายจะแสดงความรู้สึกออกมา
หรือจะรับความรู้สึกที่แสดงออกมาด้วยดนตรี พวกเราที่เป็นนักดนตรีจึงมีความสาคัญยิ่ง
ถ้าเราทาในสิ่งที่จะทาให้คนฟังแล้วมีความพอใจมีความครึกครื้นมีความอดทนมีความขยันแล้วก็มีความบันเทิง
ทุกสิ่งทุกอย่างในดนตรีมีจุดประสงค์ที่จะทาเขาก็มีความสาเร็จยิ่งเดี๋ยวนี้และยิ่งในเมืองไทยเราอยู่ในสถานการณ์ที่ไม่น่าไว้วางใจ
นักดนตรีทั้งหลาย นักเพลงทั้งหลายก็มีหน้าที่เหมือนที่จะช่วยอุ้มชูความรู้สึกที่พี่น้องชาวไทยทั้งหลายต้องมี คือความเข้มแข็ง
และความเป็นอันหนึ่งอันเดียว...นักเพลง นักร้อง นักอะไรๆก็ให้แสดงในสิ่งที่จะเป็นการสร้างสรรค์ ให้เป็นทางที่ชักนาให้คนเป็นคนดี
และมีความเจริญ ความก้าวหน้า...”
๒. พระราชดารัสที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ยังทรงย้าในเรื่องอานุภาพของดนตรี
และความสาคัญของดนตรีที่มีต่อประเทศชาติและสังคมดังที่ทรงพระราชทานแก่ คณะกรรมการของสมาคมดนตรีแห่งประเทศไทย
ฯ เมื่อวันที่ ๑๖ ธันวาคมพุทธศักราช๒๕๒๔มีความตอนหนึ่งว่า
“...การดนตรีจึงมีความหมายสาคัญสาหรับประเทศชาติสาหรับสังคมถ้าทาดีๆก็ทาให้คนเขามีกาลังใจจะปฏิบัติงานการ
ก็เป็นหน้าที่ส่วนหนึ่งที่ให้ความบันเทิง ทาให้คนที่กาลังท้อใจมีกาลังใจขึ้นมาได้ คือเร้าใจได้ คนกาลังไปทางหนึ่งทางที่ไม่ถูกต้อง
ก็อาจจะดึงกลับมาในทางที่
ถูกต้องได้ ฉะนั้นดนตรีก็มีความสาคัญอย่างยิ่ง
๓.
พระราชดารัสในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวที่พระราชทานแก่ คณะกรรมการสมาคมดนตรีแห่งประเทศไทย ณศาลาดุสิดาลัยเมื่อ
วันที่ ๑๖ ธันวาคมพุทธศักราช๒๕๒๔มีความตอนหนึ่งที่ทรงเห็นว่าดนตรีนอกจากจะให้ความบันเทิงแล้ว
ควรจะเป็นสื่อสร้างสรรค์ชักนาให้คนเป็นคนดีของประเทศชาติและสังคมดังนี้
“...จึงพูดได้กับท่านทั้งหลายที่เกี่ยวข้องกับการดนตรีในรูปการณ์ต่าง ๆว่า มีความสาคัญและต้องทาให้ถูกต้อง ต้องทาให้ดี
ถูกต้องในทางหลักวิชาการดนตรีอย่างหนึ่ง และก็ถูกต้องตามหลักวิชาของผู้ที่มีศีลธรรมมีความซื่อสัตย์สุจริต
ก็จะทาให้เป็นประโยชน์อย่างมากเป็นประโยชน์ทั้งต่อส่วนรวมทั้งส่วนตัว
เพราะก็อย่างที่กล่าวว่าเพลงนี้มันเกิดความปีติภายในของตัวเองได้ ความปีติในผู้อื่นได้ ก็เกิดความดีได้ความเสียก็ได้
ฉะนั้นก็ต้องมีความระมัดระวังให้ดี...”
“....ยินดีและขอชมเชยสมาคมดนตรีแห่งประเทศไทยที่สามารถจัดงานสาคัญนี้ขึ้นมา
ดนตรีนี้เป็นศิลปะและนับว่าเป็นกิจกรรมที่กว้างขวางมาก
งานที่สาเร็จลุล่วงไปนั้นก็แสดงถึงความสามารถอย่างสูงของวงการดนตรีนี้พาดพิงไปถึงหลายด้าน
ในด้านศิลปะก็พาดพิงไปถึงทั้งละคร ทั้งที่แสดงในบนเวที ทั้งที่แสดงในสถานที่ต่างๆทั่วไปก็นับว่ากว้างขวางมาก นอกจากนี้
ยังพาดพิงไปถึงกิจการด้านต่างๆ เช่นในด้านภาพยนตร์ ในด้านวิทยุและโทรทัศน์
ก็นับว่าดนตรีนี้จะพาดพิงถึงชีวิตของประชาชนทั่วไปอย่างกว้างขวาง เป็นกิจการที่สาคัญและควรสนับสนุน
เพราะว่าดนตรีถ้าการเล่นดนตรีและการฟังดนตรีดี ประชาชนก็ได้ความบันเทิงและได้ผ่อนอารมณ์ให้มีจิตใจร่าเริง
สามารถที่จะมีกาลังใจอย่างการที่ได้จัดการประกวดดนตรี เพื่อให้มาตรฐานของการดนตรีในเมืองไทยสูงขึ้นและเป็นนิยมรู้จัก
ก็เป็นสิ่งที่สมควรและเป็นสิ่งที่ทาให้สาเร็จขึ้นมาด้วยความลาบากยากยิ่ง”
๔. พระบรมราโชวาทที่พระราชทานแก่คณะกรรมการสมาคมดนตรีแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์
ณ พระตาหนักจิตรลดารโหฐาน
สังคีตที่ยิ่งใหญ่.docx
สังคีตที่ยิ่งใหญ่.docx
สังคีตที่ยิ่งใหญ่.docx
สังคีตที่ยิ่งใหญ่.docx
สังคีตที่ยิ่งใหญ่.docx

More Related Content

More from pinglada1

Avicii_-_You_be_love_feat._billy_raffoul.pdf
Avicii_-_You_be_love_feat._billy_raffoul.pdfAvicii_-_You_be_love_feat._billy_raffoul.pdf
Avicii_-_You_be_love_feat._billy_raffoul.pdf
pinglada1
 
Avicii_-_X_You_D_Major_Piano_Duet.pdf
Avicii_-_X_You_D_Major_Piano_Duet.pdfAvicii_-_X_You_D_Major_Piano_Duet.pdf
Avicii_-_X_You_D_Major_Piano_Duet.pdf
pinglada1
 

More from pinglada1 (20)

Avicii_Heaven_WIP.pdf
Avicii_Heaven_WIP.pdfAvicii_Heaven_WIP.pdf
Avicii_Heaven_WIP.pdf
 
Avicii_-_You_be_love_feat._billy_raffoul.pdf
Avicii_-_You_be_love_feat._billy_raffoul.pdfAvicii_-_You_be_love_feat._billy_raffoul.pdf
Avicii_-_You_be_love_feat._billy_raffoul.pdf
 
Avicii_Medley.pdf
Avicii_Medley.pdfAvicii_Medley.pdf
Avicii_Medley.pdf
 
avicii_levels.pdf
avicii_levels.pdfavicii_levels.pdf
avicii_levels.pdf
 
Avicii_-_X_You_D_Major_Piano_Duet.pdf
Avicii_-_X_You_D_Major_Piano_Duet.pdfAvicii_-_X_You_D_Major_Piano_Duet.pdf
Avicii_-_X_You_D_Major_Piano_Duet.pdf
 
08CHAPTER_4.pdf
08CHAPTER_4.pdf08CHAPTER_4.pdf
08CHAPTER_4.pdf
 
หนังสือ การจัดโต๊ะหมู่บูชา.docx
หนังสือ การจัดโต๊ะหมู่บูชา.docxหนังสือ การจัดโต๊ะหมู่บูชา.docx
หนังสือ การจัดโต๊ะหมู่บูชา.docx
 
เหนือ -เที่ยว ต.ค..docx
เหนือ -เที่ยว ต.ค..docxเหนือ -เที่ยว ต.ค..docx
เหนือ -เที่ยว ต.ค..docx
 
ละครพันทาง.doc
ละครพันทาง.docละครพันทาง.doc
ละครพันทาง.doc
 
เหนือ-เที่ยว1.docx
เหนือ-เที่ยว1.docxเหนือ-เที่ยว1.docx
เหนือ-เที่ยว1.docx
 
สารานุกรมเยาวชนไทย ตอนดนตรีไทย.pdf
สารานุกรมเยาวชนไทย ตอนดนตรีไทย.pdfสารานุกรมเยาวชนไทย ตอนดนตรีไทย.pdf
สารานุกรมเยาวชนไทย ตอนดนตรีไทย.pdf
 
ลิเก.doc
ลิเก.docลิเก.doc
ลิเก.doc
 
วันสำคัญทางศาสนาพุทธ.docx
วันสำคัญทางศาสนาพุทธ.docxวันสำคัญทางศาสนาพุทธ.docx
วันสำคัญทางศาสนาพุทธ.docx
 
โลกของดนตรีไทย พื้นที่เล็กๆที่รวบรวมความรู้เกี่ยวกับดนตรีไทยเพื่ออนุรักษ์เผย...
โลกของดนตรีไทย  พื้นที่เล็กๆที่รวบรวมความรู้เกี่ยวกับดนตรีไทยเพื่ออนุรักษ์เผย...โลกของดนตรีไทย  พื้นที่เล็กๆที่รวบรวมความรู้เกี่ยวกับดนตรีไทยเพื่ออนุรักษ์เผย...
โลกของดนตรีไทย พื้นที่เล็กๆที่รวบรวมความรู้เกี่ยวกับดนตรีไทยเพื่ออนุรักษ์เผย...
 
ศาสนาพุทธ.docx
ศาสนาพุทธ.docxศาสนาพุทธ.docx
ศาสนาพุทธ.docx
 
สังคีตวิทยา.docx
สังคีตวิทยา.docxสังคีตวิทยา.docx
สังคีตวิทยา.docx
 
หอเกียรติยศ.doc
หอเกียรติยศ.docหอเกียรติยศ.doc
หอเกียรติยศ.doc
 
ละครรำ.docx
ละครรำ.docxละครรำ.docx
ละครรำ.docx
 
เรียนรู้เกี่ยวกับแผนภูมิ.docx
เรียนรู้เกี่ยวกับแผนภูมิ.docxเรียนรู้เกี่ยวกับแผนภูมิ.docx
เรียนรู้เกี่ยวกับแผนภูมิ.docx
 
หุ่นกระบอก.doc
หุ่นกระบอก.docหุ่นกระบอก.doc
หุ่นกระบอก.doc
 

สังคีตที่ยิ่งใหญ่.docx

  • 1. สังคีตที่ยิ่งใหญ่ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรภูมิพลอดุลยเดชเสด็จพระราชสมภพณโรงพยาบาลเมานท์ออเบอร์น (Mount Auburn)เมืองเคมบริดจ์ (Cambridge)รัฐแมสสาชูเซตต์(Massachusetts) สหรัฐอเมริกา เมื่อวันจันทร์ เดือนอ้าย ขึ้น ๑๒ ค่า ปีเถาะนพศกจุลศักราช๑๒๘๙ ตรงกับวันที่๕ธันวาคมพุทธศักราช๒๔๗๐ มีพระนามเดิมว่าพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภูมิพลอดุลเดชเป็นพระราชโอรสพระองค์เล็กในสมเด็จพระราชบิดา เจ้าฟ้ามหิดลอดุลยเดช กรมหลวงสงขลานครินทร์ (พระราชโอรสพระองค์เล็กในสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ์ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี)และสมเด็จพระราชชนนีศรีสังวาลย์ ซึ่งภายหลังทั้งสองพระองค์ได้รับการเฉลิมพระนามภิไธยเป็นสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนกและสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีมีพระเชษฐภคินีและสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช คือ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ ประสูติเมื่อวันอาทิตย์ที่๖พฤษภาคม พุทธศักราช๒๔๖๖ณ กรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ กับพระบาทสมเด็จพระปรเมนทร มหาอานันทมหิดลเสด็จพระราชสมภพเมื่อวันอาทิตย์ที่๒๐กันยายนพุทธศักราช๒๔๖๘ณ เมืองไฮเดลแบร์กประเทศเยอรมนี เมื่อพุทธศักราช๒๔๗๑ได้โดยเสด็จสมเด็จพระบรมราชชนกซึ่งทรงสาเร็จการศึกษาปริญญาแพทยศาสตรบัณฑิต เกียรตินิยมจากมหาวิทยาลัยฮาวาร์ดสหรัฐอเมริกากลับประเทศไทยประทับณวังสระประทุมต่อมาในวันที่ ๒๔กันยายน พุทธศักราช๒๔๗๒สมเด็จพระบรมราชชนกสวรรคตขณะนั้น พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลปัจจุบันทรงเจริญพระชนมายุได้ไม่ถึง ๒ปี และเมื่อมีพระชนมายุได้ ๕ปี ได้ทรงเข้ารับการศึกษาขั้นต้นณโรงเรียนมาแตร์เดอีกรุงเทพฯจนถึงพ.ศ. ๒๔๗๖ จึงเสด็จพระราชดาเนินไปประทับณเมืองโลซานน์ ประเทศสวิสเซอร์แลนด์พร้อมด้วยสมเด็จพระบรมราชชนนีพระเชษฐภคินีและสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช เพื่อทรงศึกษาต่อในชั้นประถมศึกษาที่โรงเรียน EcoleNouvellede la SuisseRomande,Chailly-sur-Lausanne เมื่อทรงรับประกาศนียบัตร BachlieresLettres จากGymnase ClassiqueCantonalแห่งเมืองโลซานน์แล้ว ทรงเข้าศึกษาในมหาวิทยาลัยโลซานน์โดยทรงเลือกศึกษาในแขนงวิชาวิทยาศาสตร์ ในพุทธศักราช๒๔๗๗พระวรวงศ์เธอพระองค์เจ้าอานันทมหิดลเสด็จขึ้นครองราชย์เป็นพระมหากษัตริย์รัชกาลที่๘ แห่งบรมราชจักรีวงศ์เมื่อพุทธศักราช๒๔๗๘และพระวรวงศ์เธอพระองค์เจ้าภูมิพลอดุลเดชจึงทรงได้รับการสถาปนาขึ้นเป็น สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าภูมิพลอดุลยเดชและได้โดยเสด็จพระราชดาเนินสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล นิวัตประเทศไทยเป็นครั้งแรกในพุทธศักรา ช ๒๔๘๑ โดยประทับณ พระตาหนักจิตรลดารโหฐานพระราชวังดุสิตเป็นการชั่วคราว แล้วเสด็จพระราชดาเนินกลับไปประเทศสวิสเซอร์แลนด์จนถึงพุทธศักราช๒๔๘๘ครั้งนี้ประทับณ พระที่นั่งบรมพิมาน ในพระบรมมหาราชวัง ในวันที่ ๙ มิถุนายนพุทธศักราช๒๔๘๙สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดลเสด็จสวรรคตโดยกะทันหันณ พระที่นั่งบรมพิมานในพระบรมมหาราชวังสมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าภูมิพลอดุลยเดชจึงเสด็จขึ้นครองราชย์สมบัติสืบราชสันตติวงศ์ในวันเดียวกันนั้น แต่เนื่องจากยังมีพระราชกิจด้านการศึกษา จึงต้องทรงอาลาประชาชนชาวไทยเสด็จพระราชดาเนินกลับไปยังประเทศสวิสเซอร์แลนด์อีกครั้งหนึ่งในเดือนสิงหาคมพุทธศักราช ๒๔๘๙ เพื่อทรงศึกษาต่อณมหาวิทยาลัยแห่งเดิม ในครั้งนี้ทรงเลือกศึกษาวิชากฎหมายและวิชารัฐศาสตร์แทนวิชาวิทยาศาสตร์ที่ทรงศึกษาอยู่เดิม ระหว่างที่ทรงประทับศึกษาอยู่ต่างประเทศนั้นทรงพบกับ หม่อมราชวงศ์ สิริกิติ์ กิติยากรธิดาใน หม่อมเจ้านักขัตรมงคล
  • 2. กิติยากรกับหม่อมหลวงบัว (สนิทวงศ์)กิติยากร(ภายหลังพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมีพระบรมราชโองการ โปรดเกล้า ฯ ให้สถาปนาพระอิสริยยศ หม่อมเจ้านักขัตรมงคลฯ ขึ้นเป็น พระวรวงศ์เธอพระองค์เจ้านักขัตรมงคล เมื่อพุทธศักราช ๒๔๙๓และขึ้นเป็นพระองค์เจ้าต่างกรมมีพระนามว่าพระวรวงศ์เธอ กรมหมื่นจันทบุรีสุรนาถ เมื่อ พุทธศักราช ๒๔๙๕) ต่อมาทรงหมั้นกับหม่อมราชวงศ์สิริกิติ์ กิติยากรในวันที่ ๑๙กรกฎาคม พุทธศักราช๒๔๙๒ณ เมืองโลซานน์ประเทศสวิสเซอร์แลนด์ ในพุทธศักราช๒๔๙๓เสด็จพระราชดาเนินนิวัติพระนครประทับณ พระที่นั่งอัมพรสถานพระราชวังดุสิต ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตั้งการพระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพ พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดลในเดือนมีนาคมพุทธศักราช ๒๔๘๓ ต่อมาในวันที่ ๒๘เมษายนปีเดียวกันทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้จัดการพระราชพิธีราชาภิเษกสมรสกับหม่อมราชวงศ์สิริกิติ์ กิติยากรณพระตาหนักสมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้าในวังสระปทุมซึ่งในการพระราชพิธีราชาภิเษกสมรสนี้มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้สถาปนาหม่อมราชวงศ์สิริกิติ์ กิติยากรขึ้นเป็นสมเด็จพระราชินีสิริกิติ์ในวันที่๕พฤษภาคมพุทธศักราช๒๔๙๓ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯให้ตั้งการพระราชพิธีบรมราชาภิเษกตามแบบอย่างโบราณราชประเพณีขึ้นณพระที่นั่งไพศาลทักษิณ ในพระบรมมหาราชวัง เฉลิมพระบรมนามาภิไธยตามที่จารึกในพระสุพรรณบัฏว่า พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภุมิพลอดุลยเดช มหิตลาธิเบศรร ามาธิบดีจักรีนฤบดินทร สยามินทราธิราชบรมนาถบพิตรพร้อมทั้งพระราชทานพระปฐมบรมราชโองการว่า “เราจะครองแผ่นดินโดยธรรม เพื่อประโยชน์สุขแห่งมหาชนชาวสยาม”และในโอกาสนี้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ สถาปนาเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระราชินีสิริกิติ์ ขึ้นเป็นสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์พระบรมราชินี หลังจากเสร็จการพระราชพิธีบรมราชาภิเษกแล้วได้เสด็จพระราชดาเนินไปทรงรักษาพระสุขภาพณเมืองโลซานน์ ประเทศสวิสเซอร์แลนด์ตามที่คณะแพทย์ได้ถวายคาแนะนาและระหว่างที่ประทับในเมืองโลซานน์ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินี มีพระประสูติกาลพระราชธิดาพระองค์แรกคือ สมเด็จพระเจ้าลูกเธอเจ้าฟ้าอุบลรัตน์ราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดีซึ่งประสูติณโรงพยาบาลมองซัวซีส์เมืองโลซานน์ เมื่อวันที่ ๕ เมษายนพุทธศักราช๒๔๙๔ และเมื่อสมเด็จพระเจ้าลูกเธอพระองค์แรกเจริญพระชันษาได้ ๗ เดือน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้เสด็จพระราชดาเนินนิวัตพระนครประทับณ พระตาหนักจิตรลดารโหฐาน พระราชวังดุสิต จากนั้นทรงย้ายไปประทับณพระที่นั่งอัมพรสถานวังดุสิตเนื่องจากทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ปรับปรุงพระตาหนักจิตรลดารโหฐานสาหรับเป็นที่ประทับแทนการที่รัฐบาลจะจัดสร้างพระตาหนักขึ้นใหม่ และที่พระที่นั่งอัมพรสถานนี้เอง สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินี มีพระประสูติกาลพระราชโอรสและพระราชธิดาอีก ๓ พระองค์คือ สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอเจ้าฟ้าวชิราลงกรณ์ ประสูติเมื่อวันจันทร์ที่๒๘กรกฎาคมพุทธศักราช๒๔๙๕ในพุทธศักราช ๒๕๑๕ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯสถาปนาขึ้นเป็นสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชเจ้าฟ้ามหาวชิราลงกรณ์ สยามมกุฏราชกุมาร สมเด็จพระเจ้าลูกเธอเจ้าฟ้าสิรินธรเทพรัตนราชสุดากิติวัฒนาดุลโสภาคย์ ประสูติเมื่อวันเสาร์ที่๒เมษายน พุทธศักราช๒๔๙๘ในพุทธศักราช๒๕๒๐ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯสถาปนาขึ้นเป็นสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา เจ้าฟ้ามหาจักรีสิรินธรรัฐสีมาคุณากรปิยะชาติสยามบรมราชกุมารี สมเด็จพระเจ้าลูกเธอเจ้าฟ้าจุฬาภรณ์วลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี ประสูติเมื่อวันพฤหัสบดีที่๔กรกฎาคมพุทธศักราช ๒๕๐๐
  • 3. พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงพระผนวชเมื่อวันที่๒๒ตุลาคมพุทธศักราช๒๔๙๙ณ พระอุโบสถวัดพระศรีรัตนศาสดาราม ในพระบรมมหาราชวังและประทับจาพรรษา พระตาหนักปั้นหย่าวัดบวรนิเวศวิหารมีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์พระบรมราชินีเป็นผู้สาเร็จราชการทรงปฏิบัติราชการแผ่นดินแทนพระองค์ตลอดระยะเวลา ๑๕วัน ที่ทรงพระผนวชอยู่จากการที่สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีทรงปฏิบัติพระราชกรณียกิจ ในตาแหน่งผู้สาเร็จราชการแทนพระองค์ได้อย่างเรียบร้อยเป็นที่พอพระพระราชหฤทัยจึงมีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ สถาปนาขึ้นเป็นสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์พระบรมราชินีนาถในปีเดียวกันนั้นเองและในวันที่๓๑ตุลาคมพุทธศักราช๒๕๐๐ หลังจากทรงประกอบพิธีเฉลิมพระตาหนักจิตรลดารโหฐานซึ่งได้ต่อเติมขึ้นใหม่แล้วทรงย้ายที่ประทับจากพระที่นั่งอัมพรสถาน พระราชวังดุสิตกลับไปประทับที่พระตาหนักจิตรลดารโหฐานพระราชวังดุสิตสืบมา ระหว่างพุทธศักราช๒๕๐๒ถึง๒๕๑๐ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถได้เสด็จพระราชดาเนินเยือนต่างประเทศทั้งในเอเชียยุโรปและสหรัฐอเมริกาเพื่อเป็นการเจริญสัมพันธไมตรีรวม ๒๘ ประเทศนอกจากนั้นก็ได้ทรงต้อนรับพระราชอาคันตุกะที่เป็นประมุขของประเทศต่างๆอยู่เนือง ๆ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงบาเพ็ญพระราชกรณียกิจน้อยใหญ่ นับตั้งแต่พระราชพิธีสาคัญของบ้านเมือง พระราชพิธีและการพระราชกุศลทางพระพุทธศาสนา และที่สาคัญยิ่งคือการเสด็จพระราชดาเนินเยี่ยมราษฎรทั่วทุกภูมิภาค รวมทั้งท้องถิ่นที่ทุรกันดารห่างไกลความเจริญอย่างมิทรงเห็นแ ก่ความเหน็ดเหนื่อยนอกจากจะได้ทอดพระเนตรสภาพความเป็นอยู่และปัญหาอันแท้จริงของแต่ละพื้นที่แล้ว ยังทรงพระราชทานความช่วยเหลือ และทรงนาโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดาริมาใช้ในการแก้ไขปัญหาและการพัฒนาคุณภาพชีวิตของราษฎรซึ่งครอบคลุมเนื้อหาที่ หลากหลายทุกด้านกว่า๓,๐๐๐โครงการ โครงการเหล่านี้มีทั้งที่ทรงดาเนินการด้วยพระองค์เองและทรงมอบหมายให้หน่วยราชการ หรือองค์กรเอกชนดาเนินการและขยายผลให้กว้างขวางออกไปนับได้ว่าเป็นการพัฒนาที่ยั่งยืนอย่างแท้จริง พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงปฏิบัติพระราชภารกิจในฐานะที่ทรงเป็นพระมหากษัตริย์ในระบอบประชาธิปไตยอย่าง งดงาม โดยทรงดารงอยู่ในคุณธรรมอันควรแก่พระมหากษัตราธิราชอันมีทศพิธราชธรรมเป็นอาทิ สมดังพระราชปณิธานนับตั้งแต่ต้นรัชกาลครั้นถึงพุทธศักราช๒๕๑๓อันเป็นวาระครบ๑๕ปีแห่งการครองราชย์ รัฐบาลจึงจัดให้มีพระราชพิธีเฉลิมฉลองเรียกว่า รัชดาภิเษกสมโภชพร้อมทั้งอาณาประชาราษฎร์ก็ได้ร่วมเฉลิมฉลองโดยถ้วนหน้า เมื่อ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงเจริญพระชนมายุครบ๕รอบเมื่อวันที่ ๕ธันวาคมพุทธศักราช๒๕๓๐ รัฐบาลและประชาชนรู้สึกปลาบปลื้มปีติเป็นยิ่งนักจึงจัดให้มีการเฉลิมฉลองครั้งสาคัญ
  • 4. คือ พระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา๕รอบและต่อมาอีกปีหนึ่ง ก็มีการฉลองอภิลักขิตสมัยอีกครั้งคือพระราชพิธีรัชมังคลาภิเษกเพื่อเป็นการเฉลิมพระเกียรติคุณที่ทรงได้ครองราชย์มายาวนานกว่ าพระมหากษัตริย์พระองค์ใดในประวัติศาสตร์ชาติไทย พระราชกรณียกิจดาเนินต่อมาอีกจนถึงพุทธศักราช๒๕๓๘วาระแห่งการดารงอยู่ในสิริราชสมบัตินับได้ถึง๕๐ปี รัฐบาลก็ได้ประกาศให้เป็นช่วงเวลาแห่งการเฉลิมฉลองมงคลวาระกันทั่วทั้งประเทศตลอด ๒ปี เต็มนับตั้งแต่วันที่ ๑ มกราคม๒๕๓๘ เป็นต้นไปจนสิ้นปีพุทธศักราช๒๕๓๙ โดยองค์กรทุกภาคส่วนทั้งของราชการรัฐวิสาหกิจองค์กรเอกชนพ่อค้าประชาชนทุกหมู่เหล่า มีส่วนร่วมในการทากิจกรรมอย่างกว้างขวางและในวันที่๙มิถุนายนพุทธศักราช๒๕๓๙ ก็จัดให้มีพระราชพิธีกาญจนาภิเษกสมโภชณ พระที่นั่งกาญจนาภิเษก มณฑลท้องพิธีสนามหลวงนับได้ว่าเป็นการเฉลิมฉลองมหามงคลวโรกาสอันยิ่งใหญ่ที่สุดครั้งหนึ่งของชาติไทย ครั้นกาลเวลาล่วงมาอีก๑๐ปี ชาวไทยและชาวโลกก็ได้ตระหนักรู้อีกครั้งหนึ่งในพระเกียรติคุณที่ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงบาเพ็ญเพื่อประเทศชาติและประ ชาชนมาโดยตลอดเวลาอันยาวนาน ดังที่ประจักษ์กันทั่วไปว่าทรงเป็นพระมหากษัตริย์ที่ทรงครองสิริราชสมบัติยาวนานกว่าพระมหากษัตริย์พระองค์ใดในสยามประเทศ และยาวนานกว่าพระมหากษัตริย์พระองค์ใดในโลกปัจจุบัน ด้วยเหตุดังกล่าวเนื่องในมหามงคลวโรกาสที่ทรงครองสิริราชสมบัติครบ ๖๐ ปี จึงนับว่าเป็นเหตุการณ์ที่ตราตรึงอยู่ในจิตใจของพสกนิกรไทยทุกหมู่เหล่า ตลอดถึงผู้ที่เข้ามาพึ่งพระบรมโพธิสมภารอย่างมิรู้ลืมยิ่งกว่าครั้งใดๆ ในวันที่ ๙ มิถุนายนพุทธศักราช๒๕๔๙ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้ทรงประกอบพระราชพิธีอันเนื่องจากการฉลองสิริราชสมบัติครบ๖๐ปี ณ พระอุโบสถวัดพระศรีรัตนศาสดารามและในพระบรมมหาราชวังโดยลาดับจากนั้นก็ได้เสด็จออกมหาสมาคม ณ
  • 5. สีหบัญชรพระที่นั่งอนันตสมาคมเพื่อให้พสกนิกรนับแสนได้เข้าเฝ้าทูลละอองธุลีพระบาทด้วยความจงรักภักดี และปลาบปลื้มในพระมหากรุณาธิคุณอันล้นพ้นหาที่สุดมิได้ โดยมีเหตุการณ์ที่น่าประทับใจอีกประการหนึ่งก็คือ มีพระประมุขและพระราชวงศ์ต่างประเทศหรือผู้แทนของประเทศต่างๆทั่วโลก ๒๕ประเทศ เสด็จพระราชดาเนินมาร่วมชุมนุมถวายพระพรในมงคลวโรกาสครั้งนี้อย่างสมพระเกียรติ จวบจนถึงปัจจุบัน ตลอดระยะเวลาอันยาวนานกว่า ๖ทศวรรษที่ทรงครองแผ่นดินโดยธรรมนับตั้งแต่ปีพุทธศักราช๒๔๙๓ เป็นต้นมานั้น พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ได้ทรงปฏิบัติพระราชกรณียกิจนานัปการอันเป็นคุณประโยชน์ยิ่งแก่พสกนิกรชาวไทยอย่า งต่อเนื่องและสม่าเสมอความเป็นปึกแผ่นของชาติโดยทรงมุ่งเน้นที่จะบาบัดทุกข์บารุงสุขของอาณาประชาราษฎร์เป็นสาคัญ ยังผลให้เกิดความรุ่งเรืองและปึกแผ่นของชาติตลอดระยะเวลาอันยาวนานนับเป็นพระมหากรุณาธิคุณ ล้นเกล้าล้นกระหม่อมต่อประเทศชาติและประชาชนชาวไทยอย่างหาที่เปรียบมิได้ เนื่องจากโดยส่วนพระองค์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงพระปรีชาสามารถรอบรู้หลายสาขาจึงทรงมีผลงานทั้งด้านกีฬา ด้านงานประดิษฐ์คิดค้นทางการช่างและเทคโนโลยีและด้านงานสร้างสรรค์ทางศิลปะแขนงต่างๆ อาทิภาพวาดฝีพระหัตถ์ งานพระราชนิพนธ์ทางอักษรศาสตร์ งานพระราชนิพนธ์ทางดนตรี เป็นต้น พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวกับการดนตรี พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชทรงเป็นสังคีตกวีและนักดนตรีที่ชาวโลกยกย่อง ทรงพระปรีชาสามารถในการทรงดนตรี ทรงพระราชนิพนธ์เพลงแยกและเรียบเรียงเสียงประสาน ทรงเป็นครูสอนดนตรีแก่ข้าราชบริพารใกล้ชิด และทรงซ่อมเครื่องดนตรีได้ด้วย ตลอดจนทรงเชี่ยวชาญในศิลปะแขนงต่างๆ อย่างแท้จริงสมกับที่พสกนิกรชาวไทยน้อมเกล้าฯถวายพระราชสมัญญา “อัครศิลปิน” พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงเริ่มเรียนดนตรีเมื่อมีพระชนมายุ ๑๓พรรษา ขณะที่ประทับอยู่ที่ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ กับครูชาวอัลซาส ชื่อนายเวย์เบรชท์โดยทรงเรียนการเป่าแซกโซโฟนวิชาการดนตรี การเขียนโน้ต และการบรรเลงดนตรีสากลต่างๆในแนวดนตรีคลาสสิคเป็นเบื้องต้นต่อมาจึงเริ่มฝึกดนตรีแจ๊ส โดยทรงหัดเป่าแซกโซโฟนสอดแทรกกับแผ่นเสียงของ นักดนตรีที่มีชื่อเสียงได้เป็นอย่างดีเช่นJohnnyHodges และSidneyBerchetเป็นต้นจนทรงมีความชานาญ สอดแทรกกับแผ่นเสียงของนักดนตรีที่มีชื่อเสียงได้เป็นอย่างดีและทรงโปรดดนตรีประเภท DixielandJazz เป็นอย่างมาก
  • 6. พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงเครื่องดนตรีได้ดีหลายชนิดทั้งประเภทเครื่องลมเช่นแซกโซโฟนคลาริเนต และประเภทเครื่องทองเหลืองเช่นทรัมเป็ต รวมทั้งเปียโนและกีตาร์ ที่ทรงฝึกเพิ่มเติมในภายหลัง เพื่อประกอบการพระราชนิพนธ์เพลงและเพื่อทรงดนตรีร่วมกับวงดนตรีส่วนพระองค์ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงใช้ดนตรีให้เป็นประโยชน์ทางอ้อมในหลายด้านอาทิ ทรงใช้เครื่องดนตรีเป็นสื่อผูกพันสถาบันพระมหากษัตริย์กับนิสิตนักศึกษาโดยเสด็จฯ ไปทรงดนตรีร่วมกับนิสิตนักศึกษามหาวิทยาลัยต่างๆอยู่นาน กว่า๑๐ ปี ในคราวเสด็จเยือนต่างประเทศ ก็ทรงใช้ดนตรีเป็นสื่อกระชับสัมพันธไมตรีระหว่างประเทศกับนานาประเทศได้อย่างแน่นแฟ้นยิ่งขึ้น พระปรีชาสมารถด้านดนตรีในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เป็นที่ชื่นชมของชาวต่างประเทศจนกระทั่งปีพ.ศ๒๕๐๗ สถาบันการดนตรีและศิลปะการแสดงแห่งกรุงเวียนนา(ปัจจุบันเปลี่ยนฐานะเป็นมหาวิทยาลัยการดนตรีและศิลปะการแสดง) ได้ทูลเกล้าฯ ถวายประกาศนียบัตร และสมาชิกกิตติมศักดิ์ลาดับที่๒๓ แด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว พระบรมนามาภิไธย “ภูมิพลอดุลยเดช” ปรากฏอยู่บนแผ่นจาหลักหินของสถาบันทรงเป็นสมาชิกกิตติมศักดิ์ที่มีอายุน้อยที่สุด และเป็นชาวเอเชียเพียงผู้เดียวที่ได้รับเกียรติอันสูงสุดนี้ พระอัจฉริยภาพด้านดนตรีในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเป็นที่ชื่นชมไม่เพียงในประเทศไทยเท่านั้น นักดนตรีต่างประเทศทั่วโลกก็ชื่นชมและยอมรับในพระอัจฉริยภาพนี้ นอกจากจะทรงพระปรีชาสามารถในการพระราชนิพนธ์เพลงและทรงดนตรีแล้ว พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ยังทรงเป็น “ครูใหญ่” สอนดนตรีแก่ แพทย์ราชองครักษ์ และ ข้าราชการผู้ปฏิบัติราชการใกล้ชิดพระยุคลบาทในช่วงที่เสด็จเยี่ยมราษฎรในภูมิภาคต่างๆ ตลอดจนข้าราชบริพารในพระองค์ซึ่งส่วนใหญ่เล่นดนตรีไม่เป็นเลย จนเล่นดนตรีเป็นอ่านโน้ตได้ และสามารถบรรเลงในโอกาสพิเศษต่างๆ ได้ต่อมาจึงได้เกิดแตรวง “วงสหายพัฒนา” โดยมีสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงเป็นหัวหน้าวง ในด้านดนตรีไทย พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว มีพระราชประสงค์ที่จะอนุรักษ์ดนตรีไทยและนาฏยศิลป์ไทยไว้ให้คงอยู่คู่ช าติไทยตลอดไป โดยมีพระราชกระแสรับสั่งให้นักดนตรีไทยช่วยกันรักษาระดับเสียงของดนตรีไทยไว้เพื่อเป็นมาตรฐานของวงดนตรีรุ่นหลัง ได้พระราชทานทุนทรัพย์ส่วนพระองค์ให้กรมศิลปากรจัดพิมพ์หนังสือ “โน้ตเพลงไทยเล่ม ๑” เพื่อรวบรวมและรักษาศิลปะทางดนตรีไทยไว้ให้เป็นหลักฐานและมาตรฐานต่อไป และทรงสนับสนุนให้มีการค้นคว้าวิจัยบันไดเสียงของดนตรีไทย โดยใช้เครื่องมือทางวิทยาศาสตร์ นอกจากนั้น พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯให้จัดพิธีครอบประธานครูโขนละคร และต่อ กระบวนรำเพลงหน้ำพำทย์องค์พระพิรำพ ซึ่งเป็นเพลงหน้าพาทย์ชั้นสูงในวิชาดนตรีและนาฏยศิลป์ไทยอีกด้วย ซึ่งกิจกรรมทั้ง ๒อย่างนั้นดาเนินมาจนถึงจุดที่ใกล้จะสูญสิ้นแล้ว จึงนับได้ว่าทรงเป็นพระมหากษัตริย์ที่อนุรักษ์ศิลปะของไทยเพื่อให้เป็นมรดกของชาติสืบต่อไป พระมหากษัตริย์ผู้ทรงเป็นสังคีตกวีแห่งราชวงศ์จักรีพระองค์นี้ ทรงบาเพ็ญพระราชกรณียกิจ “เพื่อประโยชน์สุขแห่งมหาชนชาวสยาม”แม้ด้านดนตรีก็มิได้เว้น พระมหากษัตริย์นักดนตรี
  • 7. มีเรื่องเล่ากันมาว่านักดนตรีเอกของโลกได้กล่าวถึงพระปรีชาสามารถในการทรงดนตรีว่า หากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมิได้ทรงเป็นพระมหากษัตริย์ก็จะต้องทรงเป็นพระราชานักดนตรีของโลก แต่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเป็นทั้งพระมหากษัตริย์และทรงเป็นนักดนตรีได้พร้อมกัน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงมีความสนพระราชหฤทัยในด้านดนตรีมาตั้งแต่ยังทรงพระเยาว์ดังที่ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ ทรงพระราชนิพนธ์ไว้ในบทพระนิพนธ์“เจ้านายเล็กๆยุวกษัตริย์”ความตอนหนึ่งว่า “เมื่อถึงเวลาสนพระทัยแผ่นเสียงก็แข่งกันอีก รัชกาลที่๘ทรงเลือก LouisArmstrong, SidneyBerchet รัชกาลที่๙ทรงเลือก Duke Ellington CountBanc เกี่ยวกับการซื้อแผ่นเสียงนี้ถ้าเป็นแจ๊สต้องซื้อเอง ถ้าเป็นคลาสสิคเบิกได้” “สิ่งที่ทรงเล่นมาด้วยกันเป็นเวลานานคือดนตรี รัชกาลที่๘ทรงเริ่มด้วยเปียโนเพราะเห็นข้าพเจ้าเรียนอยู่ รัชกาลที่๙ ขอเล่นหีบเพลง (accordion) เรียนอยู่ไม่กี่ครั้งก็ทรงเลิก “เพราะไม่เข้ากับเปียโน” แล้วรัชกาลที่๘ก็ทรงเลิกเรียนเปียโนไป เมื่ออยู่อาโรซ่า เวลาหน้าหนาว ได้ทอดพระเนตรวงดนตรีวงใหญ่ที่เล่นอยู่ที่โรงแรมรู้สึกอยากเล่นกัน ทรงหาแซกโซโฟนที่เป็นของใช้แล้ว (second hand) มาได้ ราคา ๓๐๐ แฟรงค์ แม่ออกให้ครึ่งหนึ่งและสโมสรปาตาปุมออกให้อีกครึ่งหนึ่ง เมื่อครูมาสอนที่บ้านรัชกาลที่ ๘ทรงดันพระอนุชาเข้าไปในห้องเรียน รัชกาลที่๙ จึงเป็นผู้ริเริ่มเมื่อเรียนไปแล้ว ๒-๓ครั้ง รัชกาลที่๘ทรงซื้อแคลริเน็ต (clarinet) ส่วนพระองค์ วันเรียนครูสอนองค์ละ ๓๐ นาที แล้วครูก็เอาแซกโซโฟน(saxophone) ของเขาออกมาและเล่นด้วยกันทั้ง ๓เป็น Trio” ครูสอนดนตรี ซึ่ง สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอเจ้าฟ้ากรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ ทรงเล่าไว้นี้สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงพระราชนิพนธ์ไว้ในบทพระราชนิพนธ์“พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงศึกษาดนตรี”เช่นกันมีความว่า “....ครูสอนดนตรีชื่อนายเวย์เบรชท์(Weybrecht) เป็นชาวอัลซาส(Alsace)ซึ่งเป็นแคว้นของฝรั่งเศสที่พูดภาษาเยอรมัน เวลาพูดภาษาฝรั่งเศสยังมีสาเนียงภาษาเยอรมันติดมาบ้างนายเวย์เบรชท์ทางานอยู่ร้านขายเครื่องดนตรี (ขายทุกๆยี่ห้อ) และยังเป็นนักเป่าแซกโซโฟนอยู่ในวงของสถานีวิทยุเขาเล่นดนตรีได้หลายอย่างรวมทั้งแคลริเน็ตด้วย...นอกจากการเล่นดนตรีแล้ว ครูยังสอนวิชาการดนตรีให้ด้วยรวมทั้งการเขียนโน้ตสากลต่าง ๆในบทพระราชนิพนธ์“พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงศึกษาดนตรี”ยังทรงเล่าความเกี่ยวกับความสนพระราชหฤทัยในการทรงศึก ษาเครื่องดนตรีชนิดอื่นๆได้แก่ แตรเปียโนกีตาร์ และขลุ่ยดังนี้ “...สาหรับแตรนั้นสนพระราชหฤทัยจึงไปเช่ามาเป็นแตรคอร์เน็ตอีกหลายปีจึงทรงซื้อเอง ดูเหมือนว่าแตรทรัมเป็ตเครื่องแรกที่ทรงซื้อจะเป็นแตรยี่ห้อเซลเมอร์ สั่งซื้อจากอังกฤษแต่เป็นของฝรั่งเศส (เครื่องนี้พระราชทานวงสุนทราภรณ์ไป)จึงซื้อใหม่ยี่ห้อเซลเมอร์เหมือนกันครูเวย์เบรชท์บอกว่าแตรดีที่สุดคือยี่ห้อกูร์ตัว แต่ไม่ได้ทรงซื้อ...” “… สาหรับเครื่องดนตรีต่างๆที่ทรงเล่นมีเปียโนไม่เคยทรงเรียนจริงจังจากใครเล่นเอาเองดูโน้ตเรียนวิธีประสานเสียงกีตาร์ ทรงเล่นเมื่อพระชนม์ราว๑๖พรรษาเพื่อนที่โรงเรียนเป็นรุ่นพี่อายุมากกว่าให้ยืมเล่นภายหลังไปเอาคืน เขาเห็นว่าสนใจจึงให้เลย ขลุ่ยทรงเล่นเมื่อพระชนม์ประมาณ๑๖-๑๗พรรษาเห็นว่าราคาไม่แพงนักเล่นไม่ยาก นิ้วคล้ายๆแซกโซโฟน...ตอนหลังเคยเห็นทรงเล่นไวโอลินด้วย คิดว่าทรงเล่นเอาเองไม่มีครูสอนดนตรี …” นอกจากจะทรงศึกษาวิชาดนตรีจากพระอาจารย์ชาวต่างประเทศในต่างประเทศ แต่เมื่อยังทรงพระเยาว์แล้วพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวยังทรงได้รับการแนะนาการดนตรีจาก พระเจนดุริยางค์ชาวต่างชาติที่เข้ามา รับราชการในประเทศไทยดังที่สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารี ทรงพระราชนิพนธ์ไว้เช่นกันว่า
  • 8. “...คุณพระเจนดุริยางค์เป็นอีกท่านที่กราบบังคมแนะนาเกี่ยวกับดนตรี โปรดคุณพระเจนฯมากทรงพิมพ์ตาราที่คุณพระเจนฯ ประพันธ์ขึ้นทุกเล่มระหว่างการพิมพ์และตรวจปรู๊ฟได้ความรู้เกี่ยวกับดนตรีมากส่วนไหนที่ไม่เข้าพระทัยก็มีรับสั่งถามคุณพระเจนฯ เรื่องการพิมพ์หนังสือนี้คุณแก้วขวัญวัชโรทัยเลขาธิการพระราชวังคนปัจจุบันทราบดีเพราะเป็นผู้ที่ทรงมอบหมายให้ดาเนินการ ได้ทราบว่าคุณพระเจนฯก็ปรารภว่าในด้านทฤษฎีไม่ทรงทราบมากนักแต่ทาไมเคาะเสียงถูกต้องทุกที “ นอกจากทรงเล่นดนตรีแล้วยังทรงสอนดนตรีให้ผู้อื่นเล่นด้วยเคยเล่าพระราชทานว่า “ได้สอนคนตาบอดเล่นดนตรี สอนลาบากเพราะเขาไม่เห็นท่าทาง เมื่อพยายามอธิบายจนเข้าใจสามารถเป่าออกมาเป็นเพลงไพเราะได้ หรือแม้แต่โน้ตเดียวในตอนแรก ดูสีหน้าเขาแสดงความพอใจและภูมิใจมาก” ทรงแนะนาวิธีการเล่นดนตรีพระราชทานผู้อื่นที่มาเล่นดนตรีถวายหรือเล่นร่วมวงดูเหมือนจะเคยมีรับสั่งว่า การเล่นดนตรีทาให้เกิดความสามัคคีเป็นนักดนตรีเหมือนกัน ในส่วนที่ทรงพระราชนิพนธ์เพลงนั้นทรงเริ่มอย่างจริงจังเมื่อมีพระชนมายุ ๑๘พรรษา ขณะเมื่อยังทรงดารงพระยศเป็นสมเด็จพระอนุชาตามเสด็จพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล เสด็จนิวัตพระนคร เมื่อปีพุทธศักราช๒๔๘๘ ดังที่พระวรวงศ์เธอพระองค์เจ้าจักรพันธ์เพ็ญศิริ บันทึกความไว้ดังนี้ “๕ธันวาคม๒๔๘๘ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่๘เสด็จนิวัตสู่ประเทศไทยพร้อมสมเด็จพระอนุชา และสมเด็จพระราชชนนีประทับณพระที่นั่งบรมพิมานในพระบรมมหาราชวังได้โปรดเกล้าฯ ให้เข้าเฝ้าในฐานะนักแต่งเพลงสมัครเล่นได้นาโน้ตที่ได้แต่งไว้แล้วถวายทอดพระเนตร พระราชทานข้อแนะนาเกี่ยวกับการแต่งเพลงประเภทบลูส์โดยทรงเปียโนสาธิตให้ฟังและสมเด็จพระอนุชามาใส่คาร้อง เพลงแสงเทียนยามเย็นสายฝนตามลาดับแต่เพลงยามเย็นและเพลงสายฝนได้นาออกสู่ประชาชนก่อนเพลงแสงเทียน โดยพระราชทานให้ออกบรรเลงในงานลีลาศที่สวนอัมพรโดยวงดนตรีของกรมโฆษณาการ(กรมประชาสัมพันธ์)ควบคุมวงโดยเอื้อ สุนทรสนานและออกอากาศทางวิทยุกรมโฆษณาการเป็นประจาเป็นที่ซาบซึ้งและประทับใจพสกนิกรอย่างมาก....” “..จากนั้นฉันก็แต่งขึ้นอีกเรื่อยๆจนบัดนี้รวมทั้ง๔๐ เพลงในระยะเวลา๒๐ปี คิดเฉลี่ยปีละ๒เพลง ที่ทาได้ก็เพราะได้รับการสนับสนุนจากนักดนตรี นักเพลงและนักร้อง รวมทั้งประชาชนผู้ฟังต่างก็แสดงความพอใจและความนิยมพอควร จึงเป็นกาลังใจให้แก่ฉันเรื่อยมา...” เพลงพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวที่ทรงพระราชนิพนธ์ทานองเพลงแล้วจึงใส่คาร้องภาษาอังกฤษด้วยพระองค์เองไ ด้แก่Echo,Stillon My Mind, OldFashionedMelody, No Moon และDream Island ที่ทรงพระราชนิพนธ์ทานองจากคาร้องภาษาไทยได้แก่ เพลงความฝันอันสูงสุดและเราสู้ นอกจากนั้น ก็เป็นส่วนหนึ่งที่ทรงพระราชนิพนธ์ทานองและโปรดเกล้าฯให้มีผู้แต่งคาร้องประกอบเพลงพระราชนิพนธ์หลายท่าน ได้แก่ พระเจ้าวรวงศ์เธอพระองค์เจ้าจักรพันธ์เพ็ญศิริ ศาสตราจารย์ท่านผู้หญิงนพคุณทองใหญ่ ณอยุธยาศาสตราจารย์ ดร.ประเสริฐณ นคร ท่านผู้หญิงสมโรจน์สวัสดิกุลณอยุธยานายศุภรผลชีวินนายจานงราชกิจ (จรัล บุณยรัตนพันธุ์)หม่อมราชวงศ์เสนีย์ปราโมชและท่านผู้หญิงมณีรัตน์บุนนาคเพลงพระราชนิพนธ์ระหว่างปีพุทธศักราช๒๔๘๙- ๒๕๓๘ มี ๔๘ เพลงพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงมีความรู้อย่างแตกฉานในทฤษฎีการประพันธ์ ทรงเป็นผู้นาในด้านการประพันธ์ทานองเพลงสากลของเมืองไทย โดยทรงใส่คอร์ดดนตรีที่แปลกใหม่และซับซ้อนทาให้เกิดเสียงประสานที่เข้มข้นในดนตรี
  • 9. เมื่อประกอบกับลีลาจังหวะเต้นราที่หลากหลายทาให้ทรงพระราชนิพนธ์เพลงบรรเลงได้อย่างไพเราะหลายบท กลายเป็นเพลงอมตะของไทยในปัจจุบันนอกจากนี้ยังทรงมีจินตนาการสร้างสรรค์ไม่ซ้าแบบผู้ใดและแปลกใหม่อยู่ตลอดเวลา เพลงพระราชนิพนธ์แต่ละเพลงนั้นล้วนแสดงออกถึงพระมหากรุณาธิคุณที่มีต่อพสกนิกรทุกหมู่เหล่าโดยถ้วนหน้า เช่นเพลงยามเย็น พระราชทานแก่สมาคมปราบวัณโรค เพื่อนาออกแสดงเก็บเงินบารุงการกุศลเพลงใกล้รุ่งบรรเลงเป็นปฐมฤกษ์ในงานของสมาคมเลี้ยงไก่แห่งประเทศไทย เพลงยิ้มสู้ พระราชทา นแก่โรงเรียนสอนคนตาบอดเพลงลมหนาว พระราชทานในงานประจาปีของสมาคมนักเรียนเก่าอังกฤษในพระบรมราชูปถัมภ์ เพลงพรปีใหม่ พระราชทานแก่พสกนิกรเนื่องในวันปีใหม่เพลงเกิดเป็นไทยตายเพื่อไทย เพลงความฝันอันสูงสุด และเพลงเราสู้ พระราชทานแก่ผู้ปฏิบัติหน้าที่เพื่อประ เทศชาติKinari Suite พระราชทานเพื่อใช้ประกอบการแสดงบัลเล่ต์ชุดมโนราห์ และมีเพลงประจาสถาบันที่ทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ พระราชทานได้แก่ เพลงมหาจุฬาลงกรณ์เพลงธรรมศาสตร์ เพลงเกษตรศาสตร์ เพลงธงชัยเฉลิมพลราชวัลลภ และ ราชนาวิกโยธิน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯให้มีการรวมนักดนตรีสมัครเล่นมารวมกันตั้งเป็นวงขึ้นเป็นครั้งแรก ขณะที่ทรงประทับณ พระที่นั่งอัมพรสถานประกอบด้วยพระราชวงศ์ผู้ใหญ่ที่ทรงคุ้นเคยและเมื่อโปรดเกล้าฯให้จัดตั้งสถานีวิทยุ อ.ส. (อัมพรสถาน)ขึ้นในปีพุทธศักราช ๒๔๙๕ เพื่อให้เป็นสื่อกลางที่ให้ความบันเทิงและสาระประโยชน์ในด้านต่างๆ พระราชทานชื่อว่า“วงลายคราม”ก็ได้มีการออกอ ากาศส่งวิทยุกระจายเสียงกับวงดนตรีต่างๆด้วยต่อมาโปรดเกล้าฯให้นักดนตรีรุ่นหนุ่มมาเล่นดนตรีร่วมกับวงลายคราม จึงเกิดเป็น วงดนตรี อ.ส.วันศุกร์ ขึ้นวงดนตรี อ.ส. วันศุกร์มีลักษณะพิเศษคือพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงร่วมบรรเลงกับสมาชิกของวง ออกอากาศกระจายเสียงทางสถานีวิทยุประจาวันศุกร์ และยังทรงจัดรายการเพลงเองทรงเลือกแผ่นเสียงเองในระยะแรก บางครั้งก็โปรดเกล้าฯให้มีการขอเพลงและจะทรงรับโทรศัพท์ด้วยพระองค์เองทุกวันศุกร์ และวันอาทิตย์เป็นวันฝึกซ้อมวงดนตรี อ.ส. วันศุกร์ ยังเป็นวงดนตรีที่โปรดให้ไปร่วมบรรเลงในงาน“วันทรงดนตรี”ตามที่มหาวิทยาลัยต่างๆกราบบังคมทูลเชิญเสด็จฯ เพื่อทรงสังสรรค์ร่วมกับนิสิตนักศึกษาเป็นการส่วนพระองค์ก่อนที่จะยกเลิกไปเพราะทรงมีพระราชกรณียกิจเพิ่มมากขึ้น ในปีพุทธศักราช๒๕๒๙พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ได้ทรงตั้งแตรวง“สหายพัฒนา”ขึ้นอีกวงหนึ่ง โดยโปรดฯให้รวบรวมผู้ปฏิบัติราชการใกล้ชิดเบื้องพระยุคลบาทและโดยเสด็จฯในการพัฒนาภูมิภาคต่างๆเป็นประจาเช่น นักเกษตรหลวงคณะแพทย์อาสาสมัครข้าราชการในพระองค์ราชองค์รักษ์ตลอดจนเจ้าหน้าที่หน่วยรักษาความปลอดภัย ซึ่งส่วนใหญ่ไม่เคยเล่นดนตรีมาก่อนพระราชทานเวลาฝึกสอนในช่วงเวลาทรงออกพระกาลังในตอนค่าของทุกๆวัน ทรงตั้งแตรวงขึ้นสาเร็จและยังคงเล่นดนตรีเป็นประจาทุกค่าของวันศุกร์ และวันอาทิตย์เป็นวันซ้อมร่วมกับนักดนตรี อ.ส.วันศุกร์ ณ สถานีอ.ส. และเกือบทุกเย็นกับวงสหายพัฒนาณ ศาลาดุสิดาลัยสวนจิตรลดาจนถึงปัจจุบัน พระปรีชาสามารถในการทรงดนตรีของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเป็นที่ประจักษ์ในนานาประเทศ ดังที่จะเห็นจากการที่ทรงเข้าร่วมบรรเลงดนตรีกับวงดนตรีของประเทศต่างๆที่เสด็จพระราชดาเนินเยือนไม่ว่าวงดนตรีนั้นๆ จะมีการเล่นดนตรีในแบบใดโดยมิได้ทรงเตรียมพระองค์มาก่อน นักดนตรีที่มีชื่อเสียงของโลกล้วนถวายการยกย่องพระองค์ในฐานะทรงเป็นนักดนตรีแจ๊สผู้มีอัจฉริยภาพสูงส่งดังเช่น เมื่อครั้งเสด็จพระราชดาเนินประเทศออสเตรียเมื่อเดือนตุลาคมพุทธศักราช ๒๕๐๗
  • 10. ประธานสถาบันการดนตรีและศิลปะแห่งกรุงเวียนนาได้ทูลเกล้าฯ ถวายปริญญากิตติมศักดิ์แด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ในฐานะที่ทรงเป็นสมาชิกหมายเลข๒๓ซึ่งผู้ที่จะได้รับเกียรติเป็นสมาชิกกิตติมศักดิ์แห่งสถาบันนี้ได้ ส่วนใหญ่เป็นผู้มีอาชีพและผลงานด้านดนตรีและศิลปะดีเด่นเป็นที่ยอมรับของชาวโลกทั้งสิ้น ด้านการดนตรีนี้พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมิได้ทรงละเลยดนตรีไทยอันเป็นสมบัติทางวัฒนธรรมของชาติ ได้มีพระราชดาริให้มีการรวบรวมเพลงไทยเดิมขึ้นไว้ แล้วบันทึกโน้ตเพลงไทยเดิมขึ้นเป็นหลักฐาน เพื่อที่จะได้พิมพ์เผยแพร่วิชาการดนตรีไทยในหมู่ประชาชนต่อไปทรงริเริ่มให้มีการวิจัยเกี่ยวกับดนตรีไทยประเภทต่างๆนอกจากนี้ ยังทรงได้ ริเริ่มให้นาเพลงสากลมาแต่งเป็นแนวเพลงไทยโดยโปรดเกล้าฯให้นาย เทวาประสิทธิ์พาทยโกศลนาทานองเพลงพระราชนิพนธ์มหาจุฬาลงกรณ์มาแต่งเป็นแนวไทยบรรเลงด้วยวงปี่พาทย์ เมื่อนาขึ้นบรรเลงถวายแล้วก็พระราชทานชื่อว่าเพลงมหาจุฬาลงกรณ์เช่นเดียวกัน นับเป็นเพลงไทยเพลงแรกที่ประดิษฐ์ขึ้นจากเพลงไทยสากลตามพระราชดาริที่ทรงสร้างสรรค์ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ได้มีพระราชดารัสเกี่ยวกับดนตรีแก่นักข่าวชาวอเมริกันในรายการเสียงแห่งวิทยุอเมริกาเมื่อวันที่ ๒๑ มิถุนายนพุทธศักราช๒๕๐๓ความตอนหนึ่งว่า “ดนตรีเป็นส่วนหนึ่งของข้าพเจ้าจะเป็นแจ๊สหรือไม่ใช่แจ๊สก็ตามดนตรีล้วนอยู่ในตัวทุกคนเป็นส่วนที่ยิ่งใหญ่ในชีวิตคนเรา สาหรับข้าพเจ้าดนตรีคือสิ่งประณีตงดงามและทุกคนควรนิยมในคุณค่าของดนตรีทุกประเภท เพราะว่าดนตรีแต่ละประเภทต่างก็มีความเหมาะสมตามแต่โอกาสและอารมณ์ที่ต่างๆกันออกไป” ทรงเห็นว่าดนตรี นอกจากจะให้ความบันเทิงแล้วควรจะเป็นสื่อสร้างสรรค์ชักนาให้คนเป็นคนดีของประเทศชาติและสังคม ดังพระราชดารัสที่พระราชทานแก่คณะกรรมการสมาคมดนตรีแห่งประเทศไทยณศาลาดุสิดาลัยเมื่อวันที่ ๑๖ธันวาคมพุทธศักราช ๒๕๒๔ มีความตอนหนึ่งดังนี้ “...การดนตรีจึงมีความหมายสาคัญสาหรับประเทศชาติสาหรับสังคมถ้าทาดีๆก็ทาให้คนเขามีกาลังใจจะปฏิบัติงานการ ก็เป็นหน้าที่ส่วนหนึ่งที่ให้ความบันเทิงทาให้คนที่กาลังท้อใจมีกาลังใจขึ้นมาได้ คือเร้าใจได้ คนกาลังไปทางหนึ่งทางที่ไม่ถูกต้อง ก็อาจจะดึงกลับมาในทางที่ถูกต้องได้ ฉะนั้นดนตรีก็มีความสาคัญอย่างหนึ่ง จึงพูดได้กับท่านทั้งหลายที่เกี่ยวข้องกับการดนตรีในรูปการณ์ต่างๆว่ามีความสาคัญและต้องทาให้ถูกต้องต้องทาให้ดี ถูกต้องในทางหลักวิชาการดนตรีอย่างหนึ่งและก็ถูกต้องตามหลักวิชาของผู้ที่มีศีลธรรมมีความซื่อสัตย์สุจริต ก็จะทาให้เป็นประโยชน์อย่างมากเป็นประโยชน์ทั้งต่อส่วนรวมทั้งส่วนตัว เพราะก็อย่างที่กล่าวว่าเพลงนี้มันเกิดความปีติภายในของตัวเองได้ ความปีติในผู้อื่นได้ ก็เกิดความดีได้ความเสียก็ได้ ฉะนั้นก็ต้องมีความระมัดระวังให้ดี...” พระบรมราโชวาทและพระราชดาริ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงเข้าพระทัยอย่างลึกซึ้งเกี่ยวกับเรื่องดนตรี และอิทธิพลของดนตรีที่มีต่อความคิดและจิตใจของมวลมนุษย์ ตลอดจนกระบวนการใช้เสียงดนตรีและบทเพลงในการสร้างสรรค์ความบันเทิง รวมทั้งปลูกฝังแนวความคิดที่ดีงามเช่น ความรักชาติบ้านเมืองความสามัคคีพร้อมเพรียงให้เกิดขึ้นในสังคมและหมู่คณะพร้อมทั้งทรงตระหนักถึงอิทธิพลของดนตรีในทางลบ ซึ่งอาจเป็นอันตรายต่อชาติบ้านเมืองได้ พระบรมราโชวาทและพระราชดารัสเกี่ยวกับดนตรีจึงเป็นเสมือนคติเตือนใจแก่บรรดาเยาวชนนักดนตรี และมวลพสกนิกรทุกหมู่เหล่าให้มีความเข้าใจลึกซึ้งเรื่องดนตรีและอิทธิพลที่พึงมีต่อสังคมหมู่คณะ และประเทศชาตินอกเหนือไปจากความบันเทิงรื่นเริงใจและสาระประโยชน์ที่ได้จากเพลงหรือดนตรีโดยทั่วไป
  • 11. ความสาคัญของศิลปะการดนตรี ๑.พระราชดารัสในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ภายหลังที่สถาบันดนตรีและศิลปะแห่งกรุงเวียนนาทูลเกล้าฯ ถวายประกาศนียบัตรเกียรติคุณชั้นสูงให้ทรงดารงตาแหน่งสมาชิกกิตติมศักดิ์หมายเลข๒๓เมื่อวันที่ ๔ ตุลาคมพ.ศ ๒๕๐๗พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ได้มีพระราชดารัสตอบเป็นภาษาเยอรมัน(ต่อมาหม่อมหลวงเดช สนิทวงศ์ ได้แปลและถ่ายทอดเป็นภาษาไทย)ทรงกล่าวถึงความสาคัญของดนตรีว่า “...ดนตรีทุกชนิดเป็นศิลปะที่สาคัญอย่างหนึ่งมนุษย์เกือบทั้งหมดชอบและรู้จักดนตรี ตั้งแต่เยาว์วัยคนเริ่มรู้จักดนตรีบ้างแล้ว ความรอบรู้ทางดนตรีอย่างกว้างขวางย่อมเกิดขึ้นกับเชาว์และความสามารถในการแสดงของแต่ละคน อาศัยเหตุนี้จึงกล่าวได้ว่าในระหว่างศิลปะนานาชนิดดนตรีเป็นศิลปะที่แพร่หลายกว่าศิลปะอื่นๆ และมีความสาคัญในด้านการศึกษาของประชาชนทุกประเทศด้วย” ๒. พระราชดารัสในโอกาสที่คณะกรรมการของสมาคมดนตรีแห่งประเทศไทยเข้าเฝ้าฯทูลเกล้าฯ ถวายเงินสมทบทุนโครงการพัฒนาตามพระราชประสงค์ณ ศาลาดุสิดาลัยเมื่อวันพุธที่๑๖ธันวาคมพุทธศักราช๒๕๒๔ ที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงย้าถึงความสาคัญของดนตรี เพราะเป็นศิลปะที่สามารถทาให้ศิลปินเกิดความภาคภูมิใจมากที่สุด ทรงยกตัวอย่างการพระราชนิพนธ์เพลงซึ่งไม่สิ้นเปลือง สามารถเผื่อแผ่ความพอใจไปสู่สาธารณชนโดยไม่สึกหรอหรือเสื่อมลงเหมือนศิลปะสาขาอื่นอันเป็นรูปธรรม และยังสามารถประยุกต์โดยเรียบเรียงใหม่ได้ “...การดนตรีนี้เป็นศิลปะที่สาคัญอย่างหนึ่ง หรือในหมู่ศิลปะทั้งหลาย อาจจะพูดได้ว่าเป็นศิลปะที่สาคัญที่สุด อย่างน้อยสาหรับจิตใจของศิลปินนักดนตรีจะต้องเป็นเช่นนั้น เพราะว่าการดนตรีนี้เป็นศิลปะอย่างหนึ่งที่ถือได้ว่าเป็นศิลปะที่ทาให้เกิดความปีติ ความภูมิใจความยินดี ความพอใจได้มากที่สุด...” “...ศิลปินในสาขาอื่น ๆ จะยกตัวอย่าง เช่นวาดภาพ เป็นศิลปินเขียนภาพ เขียนรูปหรือจะเป็นพวกจิตรกรรม ประติมากรรมก็ได้ ผู้นั้นเขาก็มีความพอใจเหมือนกันในการปฏิบัติ แต่ว่าที่จะเผื่อแผ่ให้ผู้อื่นดูก็เกิดความกลุ้มใจ เพราะสมมติว่าเอาไปไว้ในห้องแสดงศิลปกรรมก็เกิดเป็นห่วง เดี๋ยวใครจะมาขโมย เดี๋ยวใครจะมาทาให้เสียไป...ถ้าเป็นศิลปินในด้านการแสดงละครหรือแต่งละคร ถ้าไม่มีเวที ไม่มีการแสดงละคร ก็ไม่สามารถที่จะให้คนได้ชมคือเผื่อแผ่ความพอใจออกไปไม่ได้ ดนตรีแต่งเพลงไปแล้วหรือเล่นเพลงไปแล้วก็เป็นการเผื่อแผ่ออกไป…” “เพลงสายฝนนี้อายุ๓๕ปีแล้ว...ตั้งแต่วันหรือตั้งแต่คืนที่แต่ง จนเดี๋ยวนี้ไม่สิ้นเปลืองอะไร หาเศษกระดาษมาขีดๆ แล้วก็เขียนไปเสร็จแล้วก็ส่งไปให้ทางครูเอื้อแล้วครูเอื้อก็เรียบเรียงเสียงและออกแสดง...ตั้งแต่นั้นมา ๓๕ปีกว่า เพลงนั้นก็ยังอยู่ ไม่สึกหรอไม่ต้องขัดเกลา ไม่ต้องไปปัดฝุ่น ใคร ๆ ก็เอาไปเล่น...ถ้าเป็นภาพเขียนที่เขียนไว้เมื่อ ๒๐ ปีแล้ว กลับไปดูสีมันลอก ก็ต้องซ่อมแซม ดนตรีสร้างความบันเทิงและสร้างสรรค์แนวคิดที่ดีในการดารงชีวิต ๑.พระบรมราโชวาทที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวพระราชทานเนื่องในวันสังคีตมงคลครั้งที่๒ณ เวทีลีลาศ สวนอัมพรเมื่อวันพฤหัสบดีที่๓๑ กรกฏาคมพ.ศ ๒๕๑๒มีพระราชดาริว่าดนตรีมีความสาคัญต่อชีวิตเนื่องจากให้ความบันเทิง ช่วยให้จิตใจสบายนักเพลงนักดนตรีมีบทบาทสาคัญเพราะนอกจากจะช่วยให้คนฟัง ได้รับความบันเทิงครึกครื้นแล้ว ยังสามารถสร้างความรู้สึกที่ดีเช่นความอดทนความขยันขันแข็งและความสามัคคีจึงทรงปรารถนาให้นักดนตรี นักเพลงนักร้อง แสดงออกในทางสร้างสรรค์ชักนาให้คนเป็นคนดี
  • 12. “...ดนตรีนั้นเป็นสิ่งที่จะแสดงออกซึ่งความรู้สึกของชนหมู่หนึ่ง ในที่นี้ก็คือชนคนไทยทั้งหลายจะแสดงความรู้สึกออกมา หรือจะรับความรู้สึกที่แสดงออกมาด้วยดนตรี พวกเราที่เป็นนักดนตรีจึงมีความสาคัญยิ่ง ถ้าเราทาในสิ่งที่จะทาให้คนฟังแล้วมีความพอใจมีความครึกครื้นมีความอดทนมีความขยันแล้วก็มีความบันเทิง ทุกสิ่งทุกอย่างในดนตรีมีจุดประสงค์ที่จะทาเขาก็มีความสาเร็จยิ่งเดี๋ยวนี้และยิ่งในเมืองไทยเราอยู่ในสถานการณ์ที่ไม่น่าไว้วางใจ นักดนตรีทั้งหลาย นักเพลงทั้งหลายก็มีหน้าที่เหมือนที่จะช่วยอุ้มชูความรู้สึกที่พี่น้องชาวไทยทั้งหลายต้องมี คือความเข้มแข็ง และความเป็นอันหนึ่งอันเดียว...นักเพลง นักร้อง นักอะไรๆก็ให้แสดงในสิ่งที่จะเป็นการสร้างสรรค์ ให้เป็นทางที่ชักนาให้คนเป็นคนดี และมีความเจริญ ความก้าวหน้า...” ๒. พระราชดารัสที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ยังทรงย้าในเรื่องอานุภาพของดนตรี และความสาคัญของดนตรีที่มีต่อประเทศชาติและสังคมดังที่ทรงพระราชทานแก่ คณะกรรมการของสมาคมดนตรีแห่งประเทศไทย ฯ เมื่อวันที่ ๑๖ ธันวาคมพุทธศักราช๒๕๒๔มีความตอนหนึ่งว่า “...การดนตรีจึงมีความหมายสาคัญสาหรับประเทศชาติสาหรับสังคมถ้าทาดีๆก็ทาให้คนเขามีกาลังใจจะปฏิบัติงานการ ก็เป็นหน้าที่ส่วนหนึ่งที่ให้ความบันเทิง ทาให้คนที่กาลังท้อใจมีกาลังใจขึ้นมาได้ คือเร้าใจได้ คนกาลังไปทางหนึ่งทางที่ไม่ถูกต้อง ก็อาจจะดึงกลับมาในทางที่ ถูกต้องได้ ฉะนั้นดนตรีก็มีความสาคัญอย่างยิ่ง ๓. พระราชดารัสในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวที่พระราชทานแก่ คณะกรรมการสมาคมดนตรีแห่งประเทศไทย ณศาลาดุสิดาลัยเมื่อ วันที่ ๑๖ ธันวาคมพุทธศักราช๒๕๒๔มีความตอนหนึ่งที่ทรงเห็นว่าดนตรีนอกจากจะให้ความบันเทิงแล้ว ควรจะเป็นสื่อสร้างสรรค์ชักนาให้คนเป็นคนดีของประเทศชาติและสังคมดังนี้ “...จึงพูดได้กับท่านทั้งหลายที่เกี่ยวข้องกับการดนตรีในรูปการณ์ต่าง ๆว่า มีความสาคัญและต้องทาให้ถูกต้อง ต้องทาให้ดี ถูกต้องในทางหลักวิชาการดนตรีอย่างหนึ่ง และก็ถูกต้องตามหลักวิชาของผู้ที่มีศีลธรรมมีความซื่อสัตย์สุจริต ก็จะทาให้เป็นประโยชน์อย่างมากเป็นประโยชน์ทั้งต่อส่วนรวมทั้งส่วนตัว เพราะก็อย่างที่กล่าวว่าเพลงนี้มันเกิดความปีติภายในของตัวเองได้ ความปีติในผู้อื่นได้ ก็เกิดความดีได้ความเสียก็ได้ ฉะนั้นก็ต้องมีความระมัดระวังให้ดี...” “....ยินดีและขอชมเชยสมาคมดนตรีแห่งประเทศไทยที่สามารถจัดงานสาคัญนี้ขึ้นมา ดนตรีนี้เป็นศิลปะและนับว่าเป็นกิจกรรมที่กว้างขวางมาก งานที่สาเร็จลุล่วงไปนั้นก็แสดงถึงความสามารถอย่างสูงของวงการดนตรีนี้พาดพิงไปถึงหลายด้าน ในด้านศิลปะก็พาดพิงไปถึงทั้งละคร ทั้งที่แสดงในบนเวที ทั้งที่แสดงในสถานที่ต่างๆทั่วไปก็นับว่ากว้างขวางมาก นอกจากนี้ ยังพาดพิงไปถึงกิจการด้านต่างๆ เช่นในด้านภาพยนตร์ ในด้านวิทยุและโทรทัศน์ ก็นับว่าดนตรีนี้จะพาดพิงถึงชีวิตของประชาชนทั่วไปอย่างกว้างขวาง เป็นกิจการที่สาคัญและควรสนับสนุน เพราะว่าดนตรีถ้าการเล่นดนตรีและการฟังดนตรีดี ประชาชนก็ได้ความบันเทิงและได้ผ่อนอารมณ์ให้มีจิตใจร่าเริง สามารถที่จะมีกาลังใจอย่างการที่ได้จัดการประกวดดนตรี เพื่อให้มาตรฐานของการดนตรีในเมืองไทยสูงขึ้นและเป็นนิยมรู้จัก ก็เป็นสิ่งที่สมควรและเป็นสิ่งที่ทาให้สาเร็จขึ้นมาด้วยความลาบากยากยิ่ง” ๔. พระบรมราโชวาทที่พระราชทานแก่คณะกรรมการสมาคมดนตรีแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ ณ พระตาหนักจิตรลดารโหฐาน