SlideShare a Scribd company logo
1 of 4
Download to read offline
สารานุกรมเยาวชนไทย ตอนดนตรีไทย
เราได้ยินเสียงต่างๆ ตลอดเวลา เสียงนกร้องจิ๊บ จิ๊บ เสียงฝนตกจั้ก จั้ก เสียงแตรรถยนต์ดัง ปี๊น ปี๊น เสียงคนพูด หัวเราะ และบางทีก็ตะโ
กนโหวกเหวก บางเสียง เราชอบฟัง บางเสียงเราไม่ชอบฟัง เสียงเหล่านี้ ไม่นับว่าเป็นเสียงดนตรี
เสียงดนตรี เป็นเสียงที่คนเราทาให้เกิดขึ้น ด้วยความตั้งใจจะให้เป็นเสียงไพเราะน่าฟัง เป็นเสียงที่แตกต่างจากเสียงนก เสียงฝน เสียงแ
ตรรถยนต์ และเสียงคนพูดเราได้ยินเสียงดนตรีบ่อยๆ เหมือนกัน มักมีการเล่นดนตรีในเวลาที่มีงานวัด งานกาชาด งานศพ วิทยุกระจา
ยเสียง และโทรทัศน์ก็มีรายการดนตรีเสมอถ้าเรามีโอกาสได้ดูคนเล่นดนตรี
จะเห็นได้ว่า ผู้เล่นใช้เครื่องมือหลายอย่าง บางอย่างเรารู้จักดี เช่น กลอง ขลุ่ย แคน เป็นต้น เครื่องมือเหล่านี้ทาให้เกิดเสียงต่างๆ ตามค
วามต้องการ เรียกว่า เครื่องดนตรี
เครื่องดนตรีมีหลายอย่าง และมีหลายวิธีที่จะทาให้เกิดเสียง ต่างๆ กัน เช่น กลอง ผู้เล่นต้องใช้มือ หรือไม้ตีกลอง ปี่ หรือ ขลุ่ย ใช้วิธีเป่า
ซอใช้วิธีสีด้วยเส้นหางม้า จะเข้ ใช้วิธีดีดที่สายจะเข้ เป็นต้น
ดนตรีต้องมีผู้แต่ง การแต่ง คือ นาเอาเสียงต่างๆ อันเกิดจากการบรรเลงเครื่องดนตรี มาเรียบเรียงกันเข้าเป็นทานองเพลง
เสียงดนตรีทาให้สบายใจ บางทีเรารู้สึกสนุก อยากหัวเราะ อยากกระโดดโลดเต้น หรืออยากทาท่าร่ายราไปตามเสียงนั้น
นอกจากจะมีดนตรีในงานทาบุญต่างๆ แล้ว เราก็ใช้ดนตรี สาหรับการละเล่นบางอย่างเช่นเดียวกับชนชาติอื่น การแสดงละคร ฟ้อนรา
โขน หุ่นกระบอก หนัง (แบบโบราณ) ของเรา ล้วนแต่ ต้องใช้ดนตรีทั้งสิ้น มีเพลงต่างๆ มากมายที่มีผู้แต่งไว้สาหรับใช้ใน
การแสดงดังกล่าวมาแล้ว น่าเสียดายที่เราไม่ค่อยจะทราบนามผู้แต่ง เพลง เพราะคนไทยแต่โบราณไม่นิยมออกนามของตนเอง ด้วยมี
ความคิดว่า สิ่งที่ตนแต่งขึ้นนั้น สาคัญกว่าตนเอง อย่างไรก็ดี มี เพลงบางเพลงที่เราทราบได้แน่ว่าใครเป็นผู้แต่ง เช่น
เพลงราตรีประดับดาว ซึ่งเป็นพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่ หัว เพลงเขมรไทรโยค
พระนิพนธ์สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอเจ้าฟ้า กรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ เป็นต้น
คนเรารู้จักแต่งเพลง และชอบฟังเพลงมานานแล้ว แม้แต่คนป่าเถื่อน ก็ยังรู้จักทาเสียงต่างๆ ที่ตนคิดว่าไพเราะ
บางทีก็ใช้แต่เสียงของตนเองทาเพลง ร้อง บางทีก็นาเอาสิ่งที่มีอยู่รอบตัวมาทาให้เกิดเสียงสูงต่าเป็นจังหวะหรือเป็น ทานอง เช่น
เอาไม้สองอันมาเคาะกัน เอาใบไม้มาพับริม แล้วเป่า เป็นต้น เมื่อคนเจริญมากขึ้นมีความสังเกตและเรียนรู้เรื่องเสียงต่างๆ มากขึ้น
ก็รู้จัก ประดิษฐ์เครื่องมือที่ทาให้เกิดเสียงต่างๆ และรู้จักนาเสียงมาเรียบเรียงเป็นทา นองโดยพิสดารยิ่งขึ้น
คนแต่ละชาติ แต่ละเผ่า มีความนิยมทางดนตรีแตกต่างกันไป เครื่อง ดนตรีแตกต่างกัน แม้ว่าลักษณะบางอย่างจะคล้ายคลึงกัน เช่น
หลายชาติจะมี เครื่องตี เช่น กลอง แต่กลองก็มีหลายอย่าง กลองไทย กลองแขก กลองฝรั่ง แตกต่างกันอยู่บ้าง
ในเครื่องดนตรีประเภทกลอง ก็ยังมีกลองชนิดต่างๆ อีก เช่น กลองทัด ตะโพน เป็นต้น นอกจากเครื่องดนตรีของแต่ละชาติจะแตกต่าง
กันแล้ว ทานองเพลง จังหวะ และระดับเสียงสูงต่า ก็มีลักษณะแตกต่างกันไป ประเพณีนิยมในการเล่น และการฟังดนตรีก็แตกต่างกัน
ไทยเรามีดนตรีมาแต่โบราณ ดนตรีเป็นส่วนหนึ่งในชีวิตของเรา เวลา ทาบุญที่มีพระสงฆ์สวดมนต์เย็น
ก่อนจะเริ่มงานก็มีปี่พาทย์โหมโรง และตีกลอง ดังตุ่มๆ ต้อมๆ บอกให้รู้ว่างานเริ่มขึ้นแล้ว การบรรเลงดนตรีจะมีตลอดงานนั้น
เวลามีการเทศน์มหาชาติที่วัด ก็มีการบรรเลงเพลงประจากัณฑ์เทศน์แต่ละกัณฑ์ ในงานศพ มีการบรรเลงเพลงเป็นระยะ
เรามีเพลงซึ่งจัดไว้สาหรับงานแต่ละ อย่างแต่ละเวลา เช่น ก่อนพระสงฆ์สวดมนต์เย็น ในเวลาทาบุญใช้เพลงโหมโรง เย็น
เมื่อพระสงฆ์มาครบแล้ว ปี่พาทย์ก็บรรเลงเพลงช้า ครั้นพระสงฆ์สวดมนต์ จบ ปี่พาทย์ก็บรรเลงเพลงกราวใน และเพลงเชิด
เช่นนี้เป็นต้น
เครื่องดนตรีของไทยเรา มีเครื่องสาหรับ ดีด สี ตี เป่า ครบครัน เครื่องดีด ได้แก่ กระจับปี่ จะเข้ ซึ่งทาให้เกิดเสียงโดยใช้ไม้ดีด
ดีดกับสายเสียงของเครื่อง เครื่องสี ซึ่งมีสายและต้องใช้เส้นหางม้าหลายๆ เส้น สีไปบนสาย เครื่องสี ได้แก่ ซอชนิดต่างๆ คือ
ซอสามสาย ซออู้ ซอด้วง เครื่องตี ได้แก่ ระนาด กลอง ฆ้อง โทน รามะนา และตะโพน เครื่องตีนั้น ใช้ไม้ตีหรือตีด้วยมือ
เครื่องตีบางอย่าง เช่น กรับ และฉาบ ซึ่งประกอบด้วยสองส่วนที่เหมือนกัน ก็ใช้สองส่วนนี้ตี กันเอง นอกจากนี้ก็มี เครื่องเป่า
ซึ่งต้องใช้ลมปากเป่าให้เกิดเสียง ได้แก่ ปี่ และ ขลุ่ย
เครื่องดนตรีสี่ประเภทนี้ อาจแยกออกกว้างๆ ตามหน้าที่ของมันได้ ๒ ประเภท คือ เครื่องเดินทานอง ทาให้เกิดเป็นเพลง พวกหนึ่ง
กับเครื่องทา จังหวะ ประเภทหนึ่ง เครื่องทั้งสองประเภทนี้ ต้องบรรเลงให้กลมกลืนกัน จึงจะ ไพเราะ
เครื่องดนตรีไทย
คือ สิ่งที่สร้างขึ้นสาหรับทาเสียงให้เป็นทานอง หรือจังหวะ วิธีที่ทาให้มีเสียงดังขึ้นนั้นมี อยู่ ๔ วิธี คือ
ใช้มือหรือสิ่งใดสิ่งหนึ่งดีดที่สาย แล้วเกิดเสียงดังขึ้น สิ่งที่มีสายสาหรับดีด เรียกว่า "เครื่องดีด"
ใช้เส้นหางม้าหลายๆ เส้นรวมกันสีไปมาที่สาย แล้วเกิดเสียงดังขึ้น สิ่งที่มีสายแล้วใช้เส้นหางม้าสีให้เกิด เสียงเรียกว่า "เครื่องสี"
ใช้มือหรือไม้ตีที่สิ่งนั้น แล้วเกิดเสียงดังขึ้น สิ่งที่ใช้ไม้หรือมือตี เรียกว่า "เครื่องตี"
ใช้ปากเป่าลมเข้าไปในสิ่งนั้น แล้วเกิดเสียงดังขึ้น สิ่งที่เป่าลมเข้าไปแล้วเกิดเสียงเรียกว่า "เครื่องป่า"
เครื่องทุกอย่างที่กล่าวแล้วรวมเรียกว่า เครื่องดีด สี ตี เป่า
เครื่องดีด
เครื่องดีดทุกอย่างจะต้องมีส่วนที่เป็นกระพุ้งเสียง บางทีก็เรียกว่า กะโหลก สาหรับทาให้ เสียงที่ดีดนั้นก้องวานดังขึ้นอีก
เครื่องดีดของไทยที่ใช้ในวงดนตรีแต่โบราณเรียกว่า "พิณ" ซึ่งมาจากภาษาของชาวอินเดียที่ว่า "วีณา" ในสมัยหลังๆ
ต่อมาจึงบัญญัติชื่อเป็นอย่างอื่น ตามรูปร่างบ้าง ตามภาษาของชาติใกล้เคียงบ้าง เช่น"กระจับปี่" ซึ่งมีกระพุ้งเสียงรูปแบน
ด้านหน้าและด้านหลัง กลมรี คล้ายรูปไข่ มีคันต่อยาวเรียวขึ้นไป ตอนปลายบานและงอนโค้งไปข้างหลังเรียกว่า ทวน มี
สายทาด้วยเอ็นหรือไหม ๔ สาย ขึงผ่านหน้ากะโหลกตามคันขึ้นไปจนถึงลูกบิด ๔ อัน ผูกปลาย สายอันละสาย
มีนมติดตามคันทวนสาหรับกดสายลงไปติดสันนม ให้เกิดเสียงสูงต่าตามประสงค์ ผู้ดีดต้องนั่งพับเพียบทางขวา วางตัวกระจับปี่
(กะโหลก) ลงตรงหน้าขาขวา กดนิ้วตามสายด้วยมือ ซ้าย ดีดด้วยมือขวา รูปกระจับปี่ (หรือพิณ) ของไทยมีลักษณะดังในภาพ
เครื่องดีดของไทยที่ใช้กันอยู่อย่างแพร่หลายในปัจจุบันก็คือ "จะเข้" จะเข้เป็นเครื่องดีดที่วางนอนตามพื้นราบ
ทาด้วยไม้ท่อนขุดเป็นโพรงภายใน ไม้แก่นขนุนเป็นดีที่สุด ด้านล่างมีกระดานแปะเป็นพื้นท้อง เจาะรูระบายอากาศพอสมควร
มีเท้าตอนหัว ๔ เท้า ตอนท้าย ๑ เท้า รวม เป็น ๕ เท้า มีสาย ๓ สาย สายเอก (เสียงสูง) กับสายกลางทาด้วยเอ็นหรือไหม สายต่าสุด
ทาด้วย ลวดทองเหลืองเรียกว่า สายลวด ขึงจากหลักตอนหัวผ่านโต๊ะและนม ไปลอดหย่อง แล้วพันกับ ลูกบิดสายละลูก
มีนมตั้งเรียงลาดับบนหลัง ๑๑ นม สาหรับกดสายให้แตะเป็นเสียงสูงต่าตามต้องการ
การดีดต้องใช้ไม้ดีดทาด้วยงาช้างหรือกระดูกสัตว์ เหลากลม เรียวแหลม ผูกพันติดกับนิ้วชี้ มือขวา ดีดปัดสายไปมา
ส่วนมือซ้ายใช้นิ้วกดสายตรงสันนมต่างๆ ตามต้องการ
เครื่องสี
เครื่องดนตรีที่ต้องใช้เส้นหางม้าหลายๆ เส้นรวมกัน สีไปบนสายซึ่งทาด้วยไหมหรือเอ็นนี้ โดยมากเรียกว่า "ซอ" ทั้งนั้น
ซอของไทยที่มีมาแต่โบราณก็คือ "ซอสามสาย" ใช้บรรเลงประกอบ ในพระราชพีธีสมโภชต่างๆ ซอสามสายนี้ กะโหลกสาหรับอุ้มเสียง
ทาด้วยกะลามะพร้าวตัดขวางให้เหลือพูทั้งสามอยู่ด้านหลัง ขึงหน้าด้วยหนังแพะหรือหนังลูกวัว มีคัน (ทวน) ตั้งต่อจากกะโหลก
ขึ้นไปยาวประมาณ ๑.๒๐ เมตร ทาด้วยงาช้างหรือไม้แก่น กลึงตอนปลายให้สวยงาม มีลูกบิดสอด ขวางคันทวน ๓ อัน
สาหรับพันปลายสาย เร่งให้ตึง หรือหย่อนตามต้องการ มีทวนล่างต่อลงไป จากกะโหลก กลึงให้เรียวเล็กลงไปจนแหลม
เลี่ยมโลหะตอนปลาย เพื่อให้แข็งแรงสาหรับปักลงกับ พื้น สายทั้งสามนั้นทาด้วยไหมหรือเอ็น
ขึงจากทวนล่างผ่านหน้าซอซึ่งมีหย่องรองรับขึ้นไปตามทวน และร้อยเข้าในรู ไปพันลูกบิดสายละอัน ส่วนคันชักหรือคันสีนั้น
ทาคล้ายคันกระสุน ขึงด้วยเส้น หางม้าหลายๆ เส้น สีไปมาบนสายทั้งสามตามต้องการ สิ่งสาคัญของซอสามสายอย่างหนึ่ง
คือ "ถ่วงหน้า" ถ่วงหน้านี้ ทาด้วยโลหะประดิษฐ์ให้สวยงาม บางทีถึงแก่ฝังเพชรพลอยก็มี
แต่จะต้องมีน้าหนักได้ส่วนสัมพันธ์กับหน้าซอ สาหรับติดตรงหน้าซอตอนบนด้านซ้าย ถ้าไม่มีถ่วงหน้าแล้ว เสียงจะดังอู้อี้ไม่ไพเราะ
ซอด้วง เป็นเครื่องสีที่มี ๒ สายเรียกว่า สายเอก และสายทุ้ม ตัวกระพุ้งอุ้มเสียงเรียกว่า กระบอก เพราะมีรูปอย่างกระบอกไม้ไผ่
ทาด้วยไม้เนื้อแข็งหรืองาช้าง ขึงหน้าด้วยหนังงูเหลือม ถ้าไม่มีก็ใช้หนังแพะหรือหนังลูกวัว มีทวน (คัน) เสียบกระบอกยาวขึ้นไป
ตอนปลายเป็นสี่เหลี่ยม โอนไปทางหลัง มีลูกบิดสาหรับพันปลายสาย ๒ อัน เนื่องจากซอด้วงเป็นซอเสียงเล็กแหลม จึง
ใช้สายที่ทาด้วยไหมหรือเอ็นเป็นเส้นเล็กๆ ส่วนคันชักนั้น ร้อยเส้นหางม้าให้เข้าอยู่ในระหว่างสาย ทั้งสอง
ซออู้ เป็นเครื่องสีที่มีสาย ๒ สาย ทาด้วยไหมหรือเอ็น เรียกว่า สายเอกและสายทุ้มเช่น เดียวกับซอด้วง
แต่กะโหลกซึ่งเป็นเครื่องอุ้มเสียงทาด้วยกะลามะพร้าว ตัดตามยาวให้พูอยู่ข้างบน ขึงหน้าด้วยหนังแพะหรือหนังลูกวัว มีทวน (คัน)
เสียบยาวขึ้นไปกลึงกลมตลอดปลาย มีลูกบิด สาหรับพันสาย ๒ อัน คันชักนั้นร้อยเส้นหางม้าให้อยู่ภายในระหว่างสายทั้งสอง

More Related Content

More from pinglada1

ละครพันทาง.doc
ละครพันทาง.docละครพันทาง.doc
ละครพันทาง.docpinglada1
 
เหนือ-เที่ยว1.docx
เหนือ-เที่ยว1.docxเหนือ-เที่ยว1.docx
เหนือ-เที่ยว1.docxpinglada1
 
ลิเก.doc
ลิเก.docลิเก.doc
ลิเก.docpinglada1
 
วันสำคัญทางศาสนาพุทธ.docx
วันสำคัญทางศาสนาพุทธ.docxวันสำคัญทางศาสนาพุทธ.docx
วันสำคัญทางศาสนาพุทธ.docxpinglada1
 
สังคีตที่ยิ่งใหญ่.docx
สังคีตที่ยิ่งใหญ่.docxสังคีตที่ยิ่งใหญ่.docx
สังคีตที่ยิ่งใหญ่.docxpinglada1
 
โลกของดนตรีไทย พื้นที่เล็กๆที่รวบรวมความรู้เกี่ยวกับดนตรีไทยเพื่ออนุรักษ์เผย...
โลกของดนตรีไทย  พื้นที่เล็กๆที่รวบรวมความรู้เกี่ยวกับดนตรีไทยเพื่ออนุรักษ์เผย...โลกของดนตรีไทย  พื้นที่เล็กๆที่รวบรวมความรู้เกี่ยวกับดนตรีไทยเพื่ออนุรักษ์เผย...
โลกของดนตรีไทย พื้นที่เล็กๆที่รวบรวมความรู้เกี่ยวกับดนตรีไทยเพื่ออนุรักษ์เผย...pinglada1
 
ศาสนาพุทธ.docx
ศาสนาพุทธ.docxศาสนาพุทธ.docx
ศาสนาพุทธ.docxpinglada1
 
สังคีตวิทยา.docx
สังคีตวิทยา.docxสังคีตวิทยา.docx
สังคีตวิทยา.docxpinglada1
 
หอเกียรติยศ.doc
หอเกียรติยศ.docหอเกียรติยศ.doc
หอเกียรติยศ.docpinglada1
 
ละครรำ.docx
ละครรำ.docxละครรำ.docx
ละครรำ.docxpinglada1
 
เรียนรู้เกี่ยวกับแผนภูมิ.docx
เรียนรู้เกี่ยวกับแผนภูมิ.docxเรียนรู้เกี่ยวกับแผนภูมิ.docx
เรียนรู้เกี่ยวกับแผนภูมิ.docxpinglada1
 
หุ่นกระบอก.doc
หุ่นกระบอก.docหุ่นกระบอก.doc
หุ่นกระบอก.docpinglada1
 
ละครชาตรี.docx
ละครชาตรี.docxละครชาตรี.docx
ละครชาตรี.docxpinglada1
 
หอศิล.doc
หอศิล.docหอศิล.doc
หอศิล.docpinglada1
 
เรื่อง__ทฤษฎีดนตรีสากลเบื้องต้น_ไก่ต๊อก.doc
เรื่อง__ทฤษฎีดนตรีสากลเบื้องต้น_ไก่ต๊อก.docเรื่อง__ทฤษฎีดนตรีสากลเบื้องต้น_ไก่ต๊อก.doc
เรื่อง__ทฤษฎีดนตรีสากลเบื้องต้น_ไก่ต๊อก.docpinglada1
 
โรงเรียนมัธยมสังคีตวิทยา กรุงเทพมหานคร.docx
โรงเรียนมัธยมสังคีตวิทยา กรุงเทพมหานคร.docxโรงเรียนมัธยมสังคีตวิทยา กรุงเทพมหานคร.docx
โรงเรียนมัธยมสังคีตวิทยา กรุงเทพมหานคร.docxpinglada1
 
หน้าที่ชาวพุทธ.docx
หน้าที่ชาวพุทธ.docxหน้าที่ชาวพุทธ.docx
หน้าที่ชาวพุทธ.docxpinglada1
 
Session2Part2.ppt
Session2Part2.pptSession2Part2.ppt
Session2Part2.pptpinglada1
 
Session3Part2.ppt
Session3Part2.pptSession3Part2.ppt
Session3Part2.pptpinglada1
 
Session3Part1.ppt
Session3Part1.pptSession3Part1.ppt
Session3Part1.pptpinglada1
 

More from pinglada1 (20)

ละครพันทาง.doc
ละครพันทาง.docละครพันทาง.doc
ละครพันทาง.doc
 
เหนือ-เที่ยว1.docx
เหนือ-เที่ยว1.docxเหนือ-เที่ยว1.docx
เหนือ-เที่ยว1.docx
 
ลิเก.doc
ลิเก.docลิเก.doc
ลิเก.doc
 
วันสำคัญทางศาสนาพุทธ.docx
วันสำคัญทางศาสนาพุทธ.docxวันสำคัญทางศาสนาพุทธ.docx
วันสำคัญทางศาสนาพุทธ.docx
 
สังคีตที่ยิ่งใหญ่.docx
สังคีตที่ยิ่งใหญ่.docxสังคีตที่ยิ่งใหญ่.docx
สังคีตที่ยิ่งใหญ่.docx
 
โลกของดนตรีไทย พื้นที่เล็กๆที่รวบรวมความรู้เกี่ยวกับดนตรีไทยเพื่ออนุรักษ์เผย...
โลกของดนตรีไทย  พื้นที่เล็กๆที่รวบรวมความรู้เกี่ยวกับดนตรีไทยเพื่ออนุรักษ์เผย...โลกของดนตรีไทย  พื้นที่เล็กๆที่รวบรวมความรู้เกี่ยวกับดนตรีไทยเพื่ออนุรักษ์เผย...
โลกของดนตรีไทย พื้นที่เล็กๆที่รวบรวมความรู้เกี่ยวกับดนตรีไทยเพื่ออนุรักษ์เผย...
 
ศาสนาพุทธ.docx
ศาสนาพุทธ.docxศาสนาพุทธ.docx
ศาสนาพุทธ.docx
 
สังคีตวิทยา.docx
สังคีตวิทยา.docxสังคีตวิทยา.docx
สังคีตวิทยา.docx
 
หอเกียรติยศ.doc
หอเกียรติยศ.docหอเกียรติยศ.doc
หอเกียรติยศ.doc
 
ละครรำ.docx
ละครรำ.docxละครรำ.docx
ละครรำ.docx
 
เรียนรู้เกี่ยวกับแผนภูมิ.docx
เรียนรู้เกี่ยวกับแผนภูมิ.docxเรียนรู้เกี่ยวกับแผนภูมิ.docx
เรียนรู้เกี่ยวกับแผนภูมิ.docx
 
หุ่นกระบอก.doc
หุ่นกระบอก.docหุ่นกระบอก.doc
หุ่นกระบอก.doc
 
ละครชาตรี.docx
ละครชาตรี.docxละครชาตรี.docx
ละครชาตรี.docx
 
หอศิล.doc
หอศิล.docหอศิล.doc
หอศิล.doc
 
เรื่อง__ทฤษฎีดนตรีสากลเบื้องต้น_ไก่ต๊อก.doc
เรื่อง__ทฤษฎีดนตรีสากลเบื้องต้น_ไก่ต๊อก.docเรื่อง__ทฤษฎีดนตรีสากลเบื้องต้น_ไก่ต๊อก.doc
เรื่อง__ทฤษฎีดนตรีสากลเบื้องต้น_ไก่ต๊อก.doc
 
โรงเรียนมัธยมสังคีตวิทยา กรุงเทพมหานคร.docx
โรงเรียนมัธยมสังคีตวิทยา กรุงเทพมหานคร.docxโรงเรียนมัธยมสังคีตวิทยา กรุงเทพมหานคร.docx
โรงเรียนมัธยมสังคีตวิทยา กรุงเทพมหานคร.docx
 
หน้าที่ชาวพุทธ.docx
หน้าที่ชาวพุทธ.docxหน้าที่ชาวพุทธ.docx
หน้าที่ชาวพุทธ.docx
 
Session2Part2.ppt
Session2Part2.pptSession2Part2.ppt
Session2Part2.ppt
 
Session3Part2.ppt
Session3Part2.pptSession3Part2.ppt
Session3Part2.ppt
 
Session3Part1.ppt
Session3Part1.pptSession3Part1.ppt
Session3Part1.ppt
 

สารานุกรมเยาวชนไทย ตอนดนตรีไทย.pdf

  • 1. สารานุกรมเยาวชนไทย ตอนดนตรีไทย เราได้ยินเสียงต่างๆ ตลอดเวลา เสียงนกร้องจิ๊บ จิ๊บ เสียงฝนตกจั้ก จั้ก เสียงแตรรถยนต์ดัง ปี๊น ปี๊น เสียงคนพูด หัวเราะ และบางทีก็ตะโ กนโหวกเหวก บางเสียง เราชอบฟัง บางเสียงเราไม่ชอบฟัง เสียงเหล่านี้ ไม่นับว่าเป็นเสียงดนตรี เสียงดนตรี เป็นเสียงที่คนเราทาให้เกิดขึ้น ด้วยความตั้งใจจะให้เป็นเสียงไพเราะน่าฟัง เป็นเสียงที่แตกต่างจากเสียงนก เสียงฝน เสียงแ ตรรถยนต์ และเสียงคนพูดเราได้ยินเสียงดนตรีบ่อยๆ เหมือนกัน มักมีการเล่นดนตรีในเวลาที่มีงานวัด งานกาชาด งานศพ วิทยุกระจา ยเสียง และโทรทัศน์ก็มีรายการดนตรีเสมอถ้าเรามีโอกาสได้ดูคนเล่นดนตรี จะเห็นได้ว่า ผู้เล่นใช้เครื่องมือหลายอย่าง บางอย่างเรารู้จักดี เช่น กลอง ขลุ่ย แคน เป็นต้น เครื่องมือเหล่านี้ทาให้เกิดเสียงต่างๆ ตามค วามต้องการ เรียกว่า เครื่องดนตรี เครื่องดนตรีมีหลายอย่าง และมีหลายวิธีที่จะทาให้เกิดเสียง ต่างๆ กัน เช่น กลอง ผู้เล่นต้องใช้มือ หรือไม้ตีกลอง ปี่ หรือ ขลุ่ย ใช้วิธีเป่า ซอใช้วิธีสีด้วยเส้นหางม้า จะเข้ ใช้วิธีดีดที่สายจะเข้ เป็นต้น ดนตรีต้องมีผู้แต่ง การแต่ง คือ นาเอาเสียงต่างๆ อันเกิดจากการบรรเลงเครื่องดนตรี มาเรียบเรียงกันเข้าเป็นทานองเพลง เสียงดนตรีทาให้สบายใจ บางทีเรารู้สึกสนุก อยากหัวเราะ อยากกระโดดโลดเต้น หรืออยากทาท่าร่ายราไปตามเสียงนั้น นอกจากจะมีดนตรีในงานทาบุญต่างๆ แล้ว เราก็ใช้ดนตรี สาหรับการละเล่นบางอย่างเช่นเดียวกับชนชาติอื่น การแสดงละคร ฟ้อนรา โขน หุ่นกระบอก หนัง (แบบโบราณ) ของเรา ล้วนแต่ ต้องใช้ดนตรีทั้งสิ้น มีเพลงต่างๆ มากมายที่มีผู้แต่งไว้สาหรับใช้ใน การแสดงดังกล่าวมาแล้ว น่าเสียดายที่เราไม่ค่อยจะทราบนามผู้แต่ง เพลง เพราะคนไทยแต่โบราณไม่นิยมออกนามของตนเอง ด้วยมี ความคิดว่า สิ่งที่ตนแต่งขึ้นนั้น สาคัญกว่าตนเอง อย่างไรก็ดี มี เพลงบางเพลงที่เราทราบได้แน่ว่าใครเป็นผู้แต่ง เช่น เพลงราตรีประดับดาว ซึ่งเป็นพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่ หัว เพลงเขมรไทรโยค พระนิพนธ์สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอเจ้าฟ้า กรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ เป็นต้น คนเรารู้จักแต่งเพลง และชอบฟังเพลงมานานแล้ว แม้แต่คนป่าเถื่อน ก็ยังรู้จักทาเสียงต่างๆ ที่ตนคิดว่าไพเราะ บางทีก็ใช้แต่เสียงของตนเองทาเพลง ร้อง บางทีก็นาเอาสิ่งที่มีอยู่รอบตัวมาทาให้เกิดเสียงสูงต่าเป็นจังหวะหรือเป็น ทานอง เช่น เอาไม้สองอันมาเคาะกัน เอาใบไม้มาพับริม แล้วเป่า เป็นต้น เมื่อคนเจริญมากขึ้นมีความสังเกตและเรียนรู้เรื่องเสียงต่างๆ มากขึ้น ก็รู้จัก ประดิษฐ์เครื่องมือที่ทาให้เกิดเสียงต่างๆ และรู้จักนาเสียงมาเรียบเรียงเป็นทา นองโดยพิสดารยิ่งขึ้น
  • 2. คนแต่ละชาติ แต่ละเผ่า มีความนิยมทางดนตรีแตกต่างกันไป เครื่อง ดนตรีแตกต่างกัน แม้ว่าลักษณะบางอย่างจะคล้ายคลึงกัน เช่น หลายชาติจะมี เครื่องตี เช่น กลอง แต่กลองก็มีหลายอย่าง กลองไทย กลองแขก กลองฝรั่ง แตกต่างกันอยู่บ้าง ในเครื่องดนตรีประเภทกลอง ก็ยังมีกลองชนิดต่างๆ อีก เช่น กลองทัด ตะโพน เป็นต้น นอกจากเครื่องดนตรีของแต่ละชาติจะแตกต่าง กันแล้ว ทานองเพลง จังหวะ และระดับเสียงสูงต่า ก็มีลักษณะแตกต่างกันไป ประเพณีนิยมในการเล่น และการฟังดนตรีก็แตกต่างกัน ไทยเรามีดนตรีมาแต่โบราณ ดนตรีเป็นส่วนหนึ่งในชีวิตของเรา เวลา ทาบุญที่มีพระสงฆ์สวดมนต์เย็น ก่อนจะเริ่มงานก็มีปี่พาทย์โหมโรง และตีกลอง ดังตุ่มๆ ต้อมๆ บอกให้รู้ว่างานเริ่มขึ้นแล้ว การบรรเลงดนตรีจะมีตลอดงานนั้น เวลามีการเทศน์มหาชาติที่วัด ก็มีการบรรเลงเพลงประจากัณฑ์เทศน์แต่ละกัณฑ์ ในงานศพ มีการบรรเลงเพลงเป็นระยะ เรามีเพลงซึ่งจัดไว้สาหรับงานแต่ละ อย่างแต่ละเวลา เช่น ก่อนพระสงฆ์สวดมนต์เย็น ในเวลาทาบุญใช้เพลงโหมโรง เย็น เมื่อพระสงฆ์มาครบแล้ว ปี่พาทย์ก็บรรเลงเพลงช้า ครั้นพระสงฆ์สวดมนต์ จบ ปี่พาทย์ก็บรรเลงเพลงกราวใน และเพลงเชิด เช่นนี้เป็นต้น เครื่องดนตรีของไทยเรา มีเครื่องสาหรับ ดีด สี ตี เป่า ครบครัน เครื่องดีด ได้แก่ กระจับปี่ จะเข้ ซึ่งทาให้เกิดเสียงโดยใช้ไม้ดีด ดีดกับสายเสียงของเครื่อง เครื่องสี ซึ่งมีสายและต้องใช้เส้นหางม้าหลายๆ เส้น สีไปบนสาย เครื่องสี ได้แก่ ซอชนิดต่างๆ คือ ซอสามสาย ซออู้ ซอด้วง เครื่องตี ได้แก่ ระนาด กลอง ฆ้อง โทน รามะนา และตะโพน เครื่องตีนั้น ใช้ไม้ตีหรือตีด้วยมือ เครื่องตีบางอย่าง เช่น กรับ และฉาบ ซึ่งประกอบด้วยสองส่วนที่เหมือนกัน ก็ใช้สองส่วนนี้ตี กันเอง นอกจากนี้ก็มี เครื่องเป่า ซึ่งต้องใช้ลมปากเป่าให้เกิดเสียง ได้แก่ ปี่ และ ขลุ่ย เครื่องดนตรีสี่ประเภทนี้ อาจแยกออกกว้างๆ ตามหน้าที่ของมันได้ ๒ ประเภท คือ เครื่องเดินทานอง ทาให้เกิดเป็นเพลง พวกหนึ่ง กับเครื่องทา จังหวะ ประเภทหนึ่ง เครื่องทั้งสองประเภทนี้ ต้องบรรเลงให้กลมกลืนกัน จึงจะ ไพเราะ เครื่องดนตรีไทย คือ สิ่งที่สร้างขึ้นสาหรับทาเสียงให้เป็นทานอง หรือจังหวะ วิธีที่ทาให้มีเสียงดังขึ้นนั้นมี อยู่ ๔ วิธี คือ ใช้มือหรือสิ่งใดสิ่งหนึ่งดีดที่สาย แล้วเกิดเสียงดังขึ้น สิ่งที่มีสายสาหรับดีด เรียกว่า "เครื่องดีด" ใช้เส้นหางม้าหลายๆ เส้นรวมกันสีไปมาที่สาย แล้วเกิดเสียงดังขึ้น สิ่งที่มีสายแล้วใช้เส้นหางม้าสีให้เกิด เสียงเรียกว่า "เครื่องสี" ใช้มือหรือไม้ตีที่สิ่งนั้น แล้วเกิดเสียงดังขึ้น สิ่งที่ใช้ไม้หรือมือตี เรียกว่า "เครื่องตี" ใช้ปากเป่าลมเข้าไปในสิ่งนั้น แล้วเกิดเสียงดังขึ้น สิ่งที่เป่าลมเข้าไปแล้วเกิดเสียงเรียกว่า "เครื่องป่า" เครื่องทุกอย่างที่กล่าวแล้วรวมเรียกว่า เครื่องดีด สี ตี เป่า
  • 3. เครื่องดีด เครื่องดีดทุกอย่างจะต้องมีส่วนที่เป็นกระพุ้งเสียง บางทีก็เรียกว่า กะโหลก สาหรับทาให้ เสียงที่ดีดนั้นก้องวานดังขึ้นอีก เครื่องดีดของไทยที่ใช้ในวงดนตรีแต่โบราณเรียกว่า "พิณ" ซึ่งมาจากภาษาของชาวอินเดียที่ว่า "วีณา" ในสมัยหลังๆ ต่อมาจึงบัญญัติชื่อเป็นอย่างอื่น ตามรูปร่างบ้าง ตามภาษาของชาติใกล้เคียงบ้าง เช่น"กระจับปี่" ซึ่งมีกระพุ้งเสียงรูปแบน ด้านหน้าและด้านหลัง กลมรี คล้ายรูปไข่ มีคันต่อยาวเรียวขึ้นไป ตอนปลายบานและงอนโค้งไปข้างหลังเรียกว่า ทวน มี สายทาด้วยเอ็นหรือไหม ๔ สาย ขึงผ่านหน้ากะโหลกตามคันขึ้นไปจนถึงลูกบิด ๔ อัน ผูกปลาย สายอันละสาย มีนมติดตามคันทวนสาหรับกดสายลงไปติดสันนม ให้เกิดเสียงสูงต่าตามประสงค์ ผู้ดีดต้องนั่งพับเพียบทางขวา วางตัวกระจับปี่ (กะโหลก) ลงตรงหน้าขาขวา กดนิ้วตามสายด้วยมือ ซ้าย ดีดด้วยมือขวา รูปกระจับปี่ (หรือพิณ) ของไทยมีลักษณะดังในภาพ เครื่องดีดของไทยที่ใช้กันอยู่อย่างแพร่หลายในปัจจุบันก็คือ "จะเข้" จะเข้เป็นเครื่องดีดที่วางนอนตามพื้นราบ ทาด้วยไม้ท่อนขุดเป็นโพรงภายใน ไม้แก่นขนุนเป็นดีที่สุด ด้านล่างมีกระดานแปะเป็นพื้นท้อง เจาะรูระบายอากาศพอสมควร มีเท้าตอนหัว ๔ เท้า ตอนท้าย ๑ เท้า รวม เป็น ๕ เท้า มีสาย ๓ สาย สายเอก (เสียงสูง) กับสายกลางทาด้วยเอ็นหรือไหม สายต่าสุด ทาด้วย ลวดทองเหลืองเรียกว่า สายลวด ขึงจากหลักตอนหัวผ่านโต๊ะและนม ไปลอดหย่อง แล้วพันกับ ลูกบิดสายละลูก มีนมตั้งเรียงลาดับบนหลัง ๑๑ นม สาหรับกดสายให้แตะเป็นเสียงสูงต่าตามต้องการ การดีดต้องใช้ไม้ดีดทาด้วยงาช้างหรือกระดูกสัตว์ เหลากลม เรียวแหลม ผูกพันติดกับนิ้วชี้ มือขวา ดีดปัดสายไปมา ส่วนมือซ้ายใช้นิ้วกดสายตรงสันนมต่างๆ ตามต้องการ เครื่องสี เครื่องดนตรีที่ต้องใช้เส้นหางม้าหลายๆ เส้นรวมกัน สีไปบนสายซึ่งทาด้วยไหมหรือเอ็นนี้ โดยมากเรียกว่า "ซอ" ทั้งนั้น ซอของไทยที่มีมาแต่โบราณก็คือ "ซอสามสาย" ใช้บรรเลงประกอบ ในพระราชพีธีสมโภชต่างๆ ซอสามสายนี้ กะโหลกสาหรับอุ้มเสียง
  • 4. ทาด้วยกะลามะพร้าวตัดขวางให้เหลือพูทั้งสามอยู่ด้านหลัง ขึงหน้าด้วยหนังแพะหรือหนังลูกวัว มีคัน (ทวน) ตั้งต่อจากกะโหลก ขึ้นไปยาวประมาณ ๑.๒๐ เมตร ทาด้วยงาช้างหรือไม้แก่น กลึงตอนปลายให้สวยงาม มีลูกบิดสอด ขวางคันทวน ๓ อัน สาหรับพันปลายสาย เร่งให้ตึง หรือหย่อนตามต้องการ มีทวนล่างต่อลงไป จากกะโหลก กลึงให้เรียวเล็กลงไปจนแหลม เลี่ยมโลหะตอนปลาย เพื่อให้แข็งแรงสาหรับปักลงกับ พื้น สายทั้งสามนั้นทาด้วยไหมหรือเอ็น ขึงจากทวนล่างผ่านหน้าซอซึ่งมีหย่องรองรับขึ้นไปตามทวน และร้อยเข้าในรู ไปพันลูกบิดสายละอัน ส่วนคันชักหรือคันสีนั้น ทาคล้ายคันกระสุน ขึงด้วยเส้น หางม้าหลายๆ เส้น สีไปมาบนสายทั้งสามตามต้องการ สิ่งสาคัญของซอสามสายอย่างหนึ่ง คือ "ถ่วงหน้า" ถ่วงหน้านี้ ทาด้วยโลหะประดิษฐ์ให้สวยงาม บางทีถึงแก่ฝังเพชรพลอยก็มี แต่จะต้องมีน้าหนักได้ส่วนสัมพันธ์กับหน้าซอ สาหรับติดตรงหน้าซอตอนบนด้านซ้าย ถ้าไม่มีถ่วงหน้าแล้ว เสียงจะดังอู้อี้ไม่ไพเราะ ซอด้วง เป็นเครื่องสีที่มี ๒ สายเรียกว่า สายเอก และสายทุ้ม ตัวกระพุ้งอุ้มเสียงเรียกว่า กระบอก เพราะมีรูปอย่างกระบอกไม้ไผ่ ทาด้วยไม้เนื้อแข็งหรืองาช้าง ขึงหน้าด้วยหนังงูเหลือม ถ้าไม่มีก็ใช้หนังแพะหรือหนังลูกวัว มีทวน (คัน) เสียบกระบอกยาวขึ้นไป ตอนปลายเป็นสี่เหลี่ยม โอนไปทางหลัง มีลูกบิดสาหรับพันปลายสาย ๒ อัน เนื่องจากซอด้วงเป็นซอเสียงเล็กแหลม จึง ใช้สายที่ทาด้วยไหมหรือเอ็นเป็นเส้นเล็กๆ ส่วนคันชักนั้น ร้อยเส้นหางม้าให้เข้าอยู่ในระหว่างสาย ทั้งสอง ซออู้ เป็นเครื่องสีที่มีสาย ๒ สาย ทาด้วยไหมหรือเอ็น เรียกว่า สายเอกและสายทุ้มเช่น เดียวกับซอด้วง แต่กะโหลกซึ่งเป็นเครื่องอุ้มเสียงทาด้วยกะลามะพร้าว ตัดตามยาวให้พูอยู่ข้างบน ขึงหน้าด้วยหนังแพะหรือหนังลูกวัว มีทวน (คัน) เสียบยาวขึ้นไปกลึงกลมตลอดปลาย มีลูกบิด สาหรับพันสาย ๒ อัน คันชักนั้นร้อยเส้นหางม้าให้อยู่ภายในระหว่างสายทั้งสอง