SlideShare a Scribd company logo
1 of 5
Download to read offline
1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5- 6
ปีการศึกษา 2561
ชื่อโครงงาน โรคกลัวความรัก (Philophobia)
ชื่อผู้ทาโครงงาน
นาย สิรภัค พิชัย เลขที่ 39 ชั้น ม.6 ห้อง 7
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงานร่วม (ถ้ามี)…………………………………………………
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2561
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
2
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
สมาชิกในกลุ่ม .……
1………………………………….. เลขที่……… 2…………………………………เลขที่ ……….
3………………………………….. เลขที่………
คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)
โรคกลัวความรัก
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)
Philophobia
ประเภทโครงงาน
สารวจและรวบรวมข้อมูล
ชื่อผู้ทาโครงงาน
นายสิรภัค พิชัย
ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ชื่อที่ปรึกษาร่วม _____________________________________________________________
ระยะเวลาดาเนินงาน
ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2561
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน)
นักจิตวิทยาสันนิษฐานว่า ปัจจัยที่เป็นต้นเหตุของโรคกลัวความรักอาจมาจากเรื่องใกล้ตัว ที่ส่งผลให้ผู้ป่วย
พยายามจะหนีความรู้สึกรัก หรือไม่อยากเข้าใกล้ความรู้สึกพิเศษกับใครอย่างจริงจังเลยสักคน และแม้จะเกิด
ความรู้สึกพิเศษกับใครขึ้นมาบ้าง ทว่าสุดท้ายแล้วก็มักจะไม่กล้าเปิดใจให้กับความรัก จริงแล้ว Philophobia หรือโรค
กลัวการตกหลุมรัก ไม่ได้ร้ายแรงถึงขั้นเป็นอันตรายต่อผู้คนรอบข้าง แต่ถ้ายังคงเป็นแบบนี้ต่อไปเรื่อย ๆ อาจจะ
กลายเป็นคนเก็บตัว ไม่กล้าเผชิญหน้ากับผู้คน หลีกหนีจากสังคม อยู่ในโลกแคบ ๆ ที่มีแค่ตัวเอง ไร้สีสัน สุดท้าย
อาจจะเครียดและกดดันจนซึมเศร้าส่งผลต่อสุขภาพ ซึ่งผู้ป่วยโรคนี้ควรยอมรับให้ได้ว่าตัวเองมีอาการกลัวความรัก
ไม่ได้เข้มแข็งอะไร แล้วก็ปรับวิธีคิดและวิธีมองโลก รู้จักยืดหยุ่นบ้าง รู้จักจัดการกับความผิดหวัง ระบายปัญหากับใคร
สักคน อย่าคิดแง่ร้ายตีตนไปก่อนไข้ อย่าคิดว่ามีความรักแล้วจะมีแต่เรื่องแย่ ๆ ร้าย ๆ เหมือนที่ได้ฟังมาเสมอไป ลอง
เปิดใจ และก้าวเข้าหาความสุขทีละนิด ๆ แต่ถ้าใครรู้ตัวว่ามีอาการมากควรไปปรึกษากับจิตแพทย์ อย่ากลัวหรือคิดว่า
คนอื่นจะมองเราผิดปกติ ให้คิดซะว่าการไปพบจิตแพทย์คือการไปพูดคุย แบ่งปันปมลึก ๆ ในใจให้ใครสักคนฟังการทา
โครงงานนี้มีเหตุผลเนื่องจากปัจจุบันผู้คนไม่มีคนที่รักและทาให้ประชากรโลกลดลง เพราะ คนส่วนมากคิดจะครองโสด
และไม่คิดจะรักใครซึ่งมีปัจจัยหลายๆอย่าง ซึ่งปัจจัยๆหนึ่งเกิดจากการถูกปฎิเสธความรักจากคนที่เราชอบนั่นเอง ซึ่ง
นักวิทยาศาสตร์เชื่อว่าผู้ป่วยที่เป็นโรคกลัวความรัก หรือ Philophobia เกิดได้จากทฤษฎีดังต่อไปนี้ เหตุการณ์ในแง่
ลบที่ฝังใจมาตั้งแต่ตอนเด็ก วัฒนธรรม ประเพณี หรือศาสนาที่มีกฎข้อห้ามเกี่ยวกับเรื่องความรักอย่างเข้มงวด
ประสบการณ์ความรักที่ล้มเหลวครั้งแล้วครั้งเล่า ซึ่งเหตุผลที่กล่าวมานี้ได้ตั้งใจที่จะศึกษาสาเหตุที่เกิดโรคกลัวความรัก
เพื่อที่จะทราบว่าโรคชนิดนี้เกิดขึ้นได้อย่างไร จึงเลือกมาทาโครงงานดังกล่าว
3
วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ)
1.เพื่อต้องการทราบสาเหตุของโรคชนิดนี้
2.เพื่อต้องทาให้ทุกคนเปิดใจรับความรัก
3.เพื่อต้องทาความเข้าใจมากขึ้น
4.เพื่อต้องการรู้วิธีรักษา
5.เพื่อต้องการให้สังคมเข้าใจเรื่องนี้มากขึ้น
ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน)
กลุ่มนักเรียนชั้น ม.6/7 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จานวน 43 คน
หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน)
โรค Philophobia หรือโรคกลัวการตกหลุมรัก เรียกง่าย ๆ ว่าโรคกลัวความรัก โดยจากสถิติในบรรดาโรคกลัวชนิด
ต่าง ๆ Philophobia ถือว่ารั้งอันดับโรคกลัวที่มีผู้ป่วยมากที่สุด ซึ่งจากการวิเคราะห์ของเหล่านักจิตวิทยาก็พากัน
สันนิษฐานว่า ปัจจัยที่เป็นต้นเหตุของโรคกลัวความรักอาจมาจากเรื่องใกล้ตัว ที่ส่งผลให้ผู้ป่วยโรค Philophobia
พยายามจะหนีความรู้สึกรัก หรือไม่อยากเข้าใกล้ความรู้สึกพิเศษกับใครอย่างจริงจังเลยสักคน และแม้จะเกิด
ความรู้สึกพิเศษกับใครขึ้นมาบ้าง ทว่าสุดท้ายแล้วก็มักจะไม่กล้าเปิดใจให้กับความรัก เนื่องจากเหตุผลอะไรบางอย่าง
Philophobia หรือโรคกลัวการตกหลุมรักจัดเป็นโรคกลัวชนิดเฉพาะเจาะจง โดยอาจมีสาเหตุของโรคและอาการมา
จากปัจจัยต่อไปนี้
1. เหตุการณ์ในแง่ลบที่ฝังใจมาตั้งแต่ตอนเด็ก
โดยเฉพาะหากเติบโตมาในครอบครัวที่มีปัญหาหย่าร้าง พ่อแม่ คนใกล้ตัวมีชีวิตรักในแง่ลบ เช่น ทะเลาะตบตี
กันประจา หรือแสดงความรุนแรงต่อกันบ่อย ๆ เป็นต้น
2. วัฒนธรรม ประเพณี หรือศาสนาที่มีกฎข้อห้ามเกี่ยวกับเรื่องความรักอย่างเข้มงวด
บางศาสนา วัฒนธรรม หรือประเพณีของบางที่อาจมีข้อห้ามหรือกฎเกณฑ์ที่ควรระวังหากหญิงและชายจะรัก
หรือแสดงความรักต่อกัน ซึ่งอาจจะสร้างความรู้สึกเกรงกลัวฝังรากลึกในใจบางคนได้ ส่งผลให้ไม่อยากเสี่ยงกับการมี
ความรักนั่นเอง
3. ประสบการณ์ความรักที่ล้มเหลวครั้งแล้วครั้งเล่า
โดยเฉพาะกับคนที่มีประสบการณ์อกหักอย่างโชกโชน ความรู้สึกผิดหวัง ความเจ็บปวดที่เกิดจากการกระทา
ของคนเคยรัก อดีตเหล่านั้นจะตามหลอกหลอนให้รู้สึกเจ็บมากจนไม่กล้าจะเอาหัวใจตัวเองไปลอง เสี่ยงอีกครั้ง ซึ่ง
อาจทาให้เกิดความระแวงระวังเกินเหตุ ไม่กล้าที่จะมีรักครั้งใหม่อีกต่อไป
Philophobia หรือ โรคกลัวความรัก มีสาเหตุที่คนทั่วไปอาจไม่สังเกตว่าตัวเองจะเป็นโรคนี้หรือไม่ ซึ่งมีดังนี้
1. ฝังใจกับเรื่องราวความรักที่ผิดหวังของตัวเองในอดีต
2. ครอบครัว พ่อแม่ หรือคนใกล้ตัวมีปัญหาการหย่าร้าง
3. เสพติดการอยู่คนเดียว ชอบใช้ชีวิตคนเดียว หงุดหงิดกับการทากิจกรรมร่วมกับคนอื่น
4. หากเริ่มรู้สึกดีกับใครจะตัดความสัมพันธ์ทันที
5. ปิดกั้นตัวเองจากเพศตรงข้าม ไม่เปิดโอกาสให้ใครมาสานสัมพันธ์
6. ตั้งกาแพงให้กับตัวเองและคนอื่น โดยบางครั้งก็ทาสิ่งที่ไม่เป็นตัวของตัวเองเพื่อไม่อยากให้ใครเข้าใกล้ หรือไม่อยาก
รู้สึกไว้วางใจใคร
4
วิธีดาเนินงาน
แนวทางการดาเนินงาน
1.กาหนดหัวข้อโครงงานที่สนใจ
2.วางแผนการดาเนินงาน
3.ศึกษาและรวบรวมข้อมูล
4.จัดทาโครงร่างโครงงาน
5.จัดทาโครงงาน
6.นาเสนอโครงงาน
7.ปรับปรุงและแก้ไข
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
1.คอมพิวเตอร์
2.กระดาษที่จะทาแบบสารวจเกี่ยวกับโครงงานนี้
งบประมาณ
-200บาท
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
ลาดั
บ
ที่
ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ
1 2 3 4 5 6 7 8 9
1
0
1
1
12
1
3
1
4
1
5
1
6
1
7
1 คิดหัวข้อโครงงาน
2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล
3 จัดทาโครงร่างงาน
4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน
5 ปรับปรุงทดสอบ
6 การทาเอกสารรายงาน
7 ประเมินผลงาน
8 นาเสนอโครงงาน
5
ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน)
1.สามารถรู้เกี่ยวกับผู้ป่วยที่มีสภาวะทางจิตใจเกี่ยวกับการกลัวความรักในปัจจุบันได้มากขึ้น
2.ให้ผู้ป่วยที่เป็นโรคนี้ได้เข้ามาศึกษาโครงงานของเราและได้รับความรู้ความเข้าใจและวิธีรักษา
3.ให้สังคมเข้าใจและยอมรับโรคชนิดนี้ได้มากขึ้น
สถานที่ดาเนินการ
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
-กลุ่มพลศึกษาและสุขศึกษา
-กลุ่มวิทยาศาสตร์
-กลุ่มเทคโนโลยีสารสนเทศ
แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน)
https://health.kapook.com/view141399.html
https://www.catdumb.com/what-is-philophobia/
https://www.krungsri.com/bank/th/plearn-plearn/why-we-should-overcome-philophobia.html

More Related Content

What's hot (20)

2561 project (1)
2561 project  (1)2561 project  (1)
2561 project (1)
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
 
11111
1111111111
11111
 
แบบร่างโครงงานคอม
แบบร่างโครงงานคอมแบบร่างโครงงานคอม
แบบร่างโครงงานคอม
 
2562 final-project-18
2562 final-project-182562 final-project-18
2562 final-project-18
 
Chel
ChelChel
Chel
 
Waristha 32 6/3
Waristha 32 6/3Waristha 32 6/3
Waristha 32 6/3
 
45 604
45 60445 604
45 604
 
Psychosis
PsychosisPsychosis
Psychosis
 
2559 project
2559 project 2559 project
2559 project
 
604 36 เคป่ะ
604 36 เคป่ะ 604 36 เคป่ะ
604 36 เคป่ะ
 
2561 project 2
2561 project 22561 project 2
2561 project 2
 
2562-final-project_17
2562-final-project_172562-final-project_17
2562-final-project_17
 
Rice soup 604
Rice soup 604Rice soup 604
Rice soup 604
 
Lin
LinLin
Lin
 
2562 final-project 22
2562 final-project 222562 final-project 22
2562 final-project 22
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
Kittapad
KittapadKittapad
Kittapad
 
2562 final-project 30
2562 final-project 302562 final-project 30
2562 final-project 30
 
ใบงานที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ไข้เลือดออก
ใบงานที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ไข้เลือดออกใบงานที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ไข้เลือดออก
ใบงานที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ไข้เลือดออก
 

Similar to 2561 project 39 (20)

project 11
project 11project 11
project 11
 
2561 project -
2561 project -2561 project -
2561 project -
 
Ausanee
AusaneeAusanee
Ausanee
 
Tykpuorpy nummydoc
Tykpuorpy nummydocTykpuorpy nummydoc
Tykpuorpy nummydoc
 
2561 kosun-34
2561 kosun-342561 kosun-34
2561 kosun-34
 
Job
JobJob
Job
 
Helpthedog
HelpthedogHelpthedog
Helpthedog
 
Music therapy
Music therapyMusic therapy
Music therapy
 
Good sleep
Good sleepGood sleep
Good sleep
 
2561 project (10) (2)
2561 project  (10) (2)2561 project  (10) (2)
2561 project (10) (2)
 
XD
XDXD
XD
 
22555
2255522555
22555
 
Dddddd
DdddddDddddd
Dddddd
 
2561 project07
2561 project07 2561 project07
2561 project07
 
2561 project com-02
2561 project  com-022561 project  com-02
2561 project com-02
 
The fruit is delicious.
The fruit is delicious.The fruit is delicious.
The fruit is delicious.
 
The fruit is delicious.
The fruit is delicious.The fruit is delicious.
The fruit is delicious.
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
Taokingkue
TaokingkueTaokingkue
Taokingkue
 
2561 project tirapond-19
2561 project tirapond-192561 project tirapond-19
2561 project tirapond-19
 

2561 project 39

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5- 6 ปีการศึกษา 2561 ชื่อโครงงาน โรคกลัวความรัก (Philophobia) ชื่อผู้ทาโครงงาน นาย สิรภัค พิชัย เลขที่ 39 ชั้น ม.6 ห้อง 7 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงานร่วม (ถ้ามี)………………………………………………… ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2561 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. 2 ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ สมาชิกในกลุ่ม .…… 1………………………………….. เลขที่……… 2…………………………………เลขที่ ………. 3………………………………….. เลขที่……… คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) โรคกลัวความรัก ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) Philophobia ประเภทโครงงาน สารวจและรวบรวมข้อมูล ชื่อผู้ทาโครงงาน นายสิรภัค พิชัย ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ชื่อที่ปรึกษาร่วม _____________________________________________________________ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2561 ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน) นักจิตวิทยาสันนิษฐานว่า ปัจจัยที่เป็นต้นเหตุของโรคกลัวความรักอาจมาจากเรื่องใกล้ตัว ที่ส่งผลให้ผู้ป่วย พยายามจะหนีความรู้สึกรัก หรือไม่อยากเข้าใกล้ความรู้สึกพิเศษกับใครอย่างจริงจังเลยสักคน และแม้จะเกิด ความรู้สึกพิเศษกับใครขึ้นมาบ้าง ทว่าสุดท้ายแล้วก็มักจะไม่กล้าเปิดใจให้กับความรัก จริงแล้ว Philophobia หรือโรค กลัวการตกหลุมรัก ไม่ได้ร้ายแรงถึงขั้นเป็นอันตรายต่อผู้คนรอบข้าง แต่ถ้ายังคงเป็นแบบนี้ต่อไปเรื่อย ๆ อาจจะ กลายเป็นคนเก็บตัว ไม่กล้าเผชิญหน้ากับผู้คน หลีกหนีจากสังคม อยู่ในโลกแคบ ๆ ที่มีแค่ตัวเอง ไร้สีสัน สุดท้าย อาจจะเครียดและกดดันจนซึมเศร้าส่งผลต่อสุขภาพ ซึ่งผู้ป่วยโรคนี้ควรยอมรับให้ได้ว่าตัวเองมีอาการกลัวความรัก ไม่ได้เข้มแข็งอะไร แล้วก็ปรับวิธีคิดและวิธีมองโลก รู้จักยืดหยุ่นบ้าง รู้จักจัดการกับความผิดหวัง ระบายปัญหากับใคร สักคน อย่าคิดแง่ร้ายตีตนไปก่อนไข้ อย่าคิดว่ามีความรักแล้วจะมีแต่เรื่องแย่ ๆ ร้าย ๆ เหมือนที่ได้ฟังมาเสมอไป ลอง เปิดใจ และก้าวเข้าหาความสุขทีละนิด ๆ แต่ถ้าใครรู้ตัวว่ามีอาการมากควรไปปรึกษากับจิตแพทย์ อย่ากลัวหรือคิดว่า คนอื่นจะมองเราผิดปกติ ให้คิดซะว่าการไปพบจิตแพทย์คือการไปพูดคุย แบ่งปันปมลึก ๆ ในใจให้ใครสักคนฟังการทา โครงงานนี้มีเหตุผลเนื่องจากปัจจุบันผู้คนไม่มีคนที่รักและทาให้ประชากรโลกลดลง เพราะ คนส่วนมากคิดจะครองโสด และไม่คิดจะรักใครซึ่งมีปัจจัยหลายๆอย่าง ซึ่งปัจจัยๆหนึ่งเกิดจากการถูกปฎิเสธความรักจากคนที่เราชอบนั่นเอง ซึ่ง นักวิทยาศาสตร์เชื่อว่าผู้ป่วยที่เป็นโรคกลัวความรัก หรือ Philophobia เกิดได้จากทฤษฎีดังต่อไปนี้ เหตุการณ์ในแง่ ลบที่ฝังใจมาตั้งแต่ตอนเด็ก วัฒนธรรม ประเพณี หรือศาสนาที่มีกฎข้อห้ามเกี่ยวกับเรื่องความรักอย่างเข้มงวด ประสบการณ์ความรักที่ล้มเหลวครั้งแล้วครั้งเล่า ซึ่งเหตุผลที่กล่าวมานี้ได้ตั้งใจที่จะศึกษาสาเหตุที่เกิดโรคกลัวความรัก เพื่อที่จะทราบว่าโรคชนิดนี้เกิดขึ้นได้อย่างไร จึงเลือกมาทาโครงงานดังกล่าว
  • 3. 3 วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ) 1.เพื่อต้องการทราบสาเหตุของโรคชนิดนี้ 2.เพื่อต้องทาให้ทุกคนเปิดใจรับความรัก 3.เพื่อต้องทาความเข้าใจมากขึ้น 4.เพื่อต้องการรู้วิธีรักษา 5.เพื่อต้องการให้สังคมเข้าใจเรื่องนี้มากขึ้น ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน) กลุ่มนักเรียนชั้น ม.6/7 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จานวน 43 คน หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน) โรค Philophobia หรือโรคกลัวการตกหลุมรัก เรียกง่าย ๆ ว่าโรคกลัวความรัก โดยจากสถิติในบรรดาโรคกลัวชนิด ต่าง ๆ Philophobia ถือว่ารั้งอันดับโรคกลัวที่มีผู้ป่วยมากที่สุด ซึ่งจากการวิเคราะห์ของเหล่านักจิตวิทยาก็พากัน สันนิษฐานว่า ปัจจัยที่เป็นต้นเหตุของโรคกลัวความรักอาจมาจากเรื่องใกล้ตัว ที่ส่งผลให้ผู้ป่วยโรค Philophobia พยายามจะหนีความรู้สึกรัก หรือไม่อยากเข้าใกล้ความรู้สึกพิเศษกับใครอย่างจริงจังเลยสักคน และแม้จะเกิด ความรู้สึกพิเศษกับใครขึ้นมาบ้าง ทว่าสุดท้ายแล้วก็มักจะไม่กล้าเปิดใจให้กับความรัก เนื่องจากเหตุผลอะไรบางอย่าง Philophobia หรือโรคกลัวการตกหลุมรักจัดเป็นโรคกลัวชนิดเฉพาะเจาะจง โดยอาจมีสาเหตุของโรคและอาการมา จากปัจจัยต่อไปนี้ 1. เหตุการณ์ในแง่ลบที่ฝังใจมาตั้งแต่ตอนเด็ก โดยเฉพาะหากเติบโตมาในครอบครัวที่มีปัญหาหย่าร้าง พ่อแม่ คนใกล้ตัวมีชีวิตรักในแง่ลบ เช่น ทะเลาะตบตี กันประจา หรือแสดงความรุนแรงต่อกันบ่อย ๆ เป็นต้น 2. วัฒนธรรม ประเพณี หรือศาสนาที่มีกฎข้อห้ามเกี่ยวกับเรื่องความรักอย่างเข้มงวด บางศาสนา วัฒนธรรม หรือประเพณีของบางที่อาจมีข้อห้ามหรือกฎเกณฑ์ที่ควรระวังหากหญิงและชายจะรัก หรือแสดงความรักต่อกัน ซึ่งอาจจะสร้างความรู้สึกเกรงกลัวฝังรากลึกในใจบางคนได้ ส่งผลให้ไม่อยากเสี่ยงกับการมี ความรักนั่นเอง 3. ประสบการณ์ความรักที่ล้มเหลวครั้งแล้วครั้งเล่า โดยเฉพาะกับคนที่มีประสบการณ์อกหักอย่างโชกโชน ความรู้สึกผิดหวัง ความเจ็บปวดที่เกิดจากการกระทา ของคนเคยรัก อดีตเหล่านั้นจะตามหลอกหลอนให้รู้สึกเจ็บมากจนไม่กล้าจะเอาหัวใจตัวเองไปลอง เสี่ยงอีกครั้ง ซึ่ง อาจทาให้เกิดความระแวงระวังเกินเหตุ ไม่กล้าที่จะมีรักครั้งใหม่อีกต่อไป Philophobia หรือ โรคกลัวความรัก มีสาเหตุที่คนทั่วไปอาจไม่สังเกตว่าตัวเองจะเป็นโรคนี้หรือไม่ ซึ่งมีดังนี้ 1. ฝังใจกับเรื่องราวความรักที่ผิดหวังของตัวเองในอดีต 2. ครอบครัว พ่อแม่ หรือคนใกล้ตัวมีปัญหาการหย่าร้าง 3. เสพติดการอยู่คนเดียว ชอบใช้ชีวิตคนเดียว หงุดหงิดกับการทากิจกรรมร่วมกับคนอื่น 4. หากเริ่มรู้สึกดีกับใครจะตัดความสัมพันธ์ทันที 5. ปิดกั้นตัวเองจากเพศตรงข้าม ไม่เปิดโอกาสให้ใครมาสานสัมพันธ์ 6. ตั้งกาแพงให้กับตัวเองและคนอื่น โดยบางครั้งก็ทาสิ่งที่ไม่เป็นตัวของตัวเองเพื่อไม่อยากให้ใครเข้าใกล้ หรือไม่อยาก รู้สึกไว้วางใจใคร
  • 4. 4 วิธีดาเนินงาน แนวทางการดาเนินงาน 1.กาหนดหัวข้อโครงงานที่สนใจ 2.วางแผนการดาเนินงาน 3.ศึกษาและรวบรวมข้อมูล 4.จัดทาโครงร่างโครงงาน 5.จัดทาโครงงาน 6.นาเสนอโครงงาน 7.ปรับปรุงและแก้ไข เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ 1.คอมพิวเตอร์ 2.กระดาษที่จะทาแบบสารวจเกี่ยวกับโครงงานนี้ งบประมาณ -200บาท ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ลาดั บ ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 0 1 1 12 1 3 1 4 1 5 1 6 1 7 1 คิดหัวข้อโครงงาน 2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล 3 จัดทาโครงร่างงาน 4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน 5 ปรับปรุงทดสอบ 6 การทาเอกสารรายงาน 7 ประเมินผลงาน 8 นาเสนอโครงงาน
  • 5. 5 ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน) 1.สามารถรู้เกี่ยวกับผู้ป่วยที่มีสภาวะทางจิตใจเกี่ยวกับการกลัวความรักในปัจจุบันได้มากขึ้น 2.ให้ผู้ป่วยที่เป็นโรคนี้ได้เข้ามาศึกษาโครงงานของเราและได้รับความรู้ความเข้าใจและวิธีรักษา 3.ให้สังคมเข้าใจและยอมรับโรคชนิดนี้ได้มากขึ้น สถานที่ดาเนินการ โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34 กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง -กลุ่มพลศึกษาและสุขศึกษา -กลุ่มวิทยาศาสตร์ -กลุ่มเทคโนโลยีสารสนเทศ แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน) https://health.kapook.com/view141399.html https://www.catdumb.com/what-is-philophobia/ https://www.krungsri.com/bank/th/plearn-plearn/why-we-should-overcome-philophobia.html