SlideShare a Scribd company logo
1 of 5
Download to read offline
1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33201 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5
ปีการศึกษา 2562
ชื่อโครงงานชื่อโครงงาน อาการง่วงซึมที่ฝืนไม่ได้
ชื่อผู้ทาโครงงาน
ชื่อ นางสาวธมลวรรณ สมัครเขตรการณ์
เลขที่ 6 ชั้น ม.6 ห้อง 4
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงานร่วม (ถ้ามี)…………………………………………………
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 62
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
2
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
สมาชิกในกลุ่ม .……
1นางสาวธมลวรรณ สมัครเขตรการณ์ เลขที่ 6
คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)
อาการง่วงซึมที่ฝืนไม่ได้
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)
Irresistible drowsiness
ประเภทโครงงาน
โครงงานเพื่อการศึกษา
ชื่อผู้ทาโครงงาน
นางสาวธมลวรรณ สมัครเขตรการณ์
ชื่อที่ปรึกษา
ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน
ภาคเรียนที่ 1 ถึงภาเรียนที่ 2
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน)
ในการนอนหลับของคนเรา 1 วัน ควรนอนหลับพักผ่อนอย่างน้อยวันละ 7-8 ชั่วโมง เพื่อให้ร่างกายของ
เราได้พักผ่อน คนส่วนใหญ่มักนอนหลับในเวลากลางคืน หรือกลางคืนและกลางวัน เพื่อนให้สุขภาพและระบบ
ภายในร่างกายทางานได้ดี เมื่อเรานอนตามเวลาเดิมเป็นประจาร่างกายของเราก็จะจดจาและทาให้นอนหลับและ
ตื่นเวลาเดิมๆได้ในทุกๆวัน โดยมีวงจรหลับและตื่นเพื่อความอยู่รอด ในเด็กทารกมีการนอนที่ยาวนานถึง 1620 ชั่วโมง
ในวัยเรียนจะลดลงมาเป็น 8-9 ชั่วโมง ในวัยผู้ใหญ่ก็จะลดลงมาอีกเหลือเพียง 6-7 ชั่วโมงแต่การนอนหลับของคนเรา
จะไม่เหมือนการเพราะฉะนั้นเราจึงมีการฝึกฝนการนอนตรงเวลาตั้งเด็กๆเพื่อให้ร่างกายคุ้น ชินกับการนอนและตื่น
แม้อาการง่วงนอนนั้นเราสามารถควบคุมผ่านการจดจาของร่างกายก็จริงแต่มันไม่สาม รถควบคุมได้ทั้งหมด
เพราะอาการง่วงนอนสามารถเกิดได้แม้เราจะไม่ได้ตั้งใจ แล้วหลับไปโดยไม่รู้ตัวแม้ว่าคุณ จะทากิจกรรมอะไรอยู่ก็ตาม
หลายคนเรียกอาการนี้ว่าอาการหลับใน แต่ในความจริงแล้วอาการนี้เกิดจากโรคที่ มีชื่อว่า โรคลมหลับ (Narcolepsy)
3
เป็นการผิดปกติทางด้านการนอนหลับที่เกิดขึ้นอย่างเรื้อรังผู้ที่เป็นโรคนี้จะรู้สึกง่วงอย่างมากในช่วงกลางวันและมักหลั
บไปโดยไม่รู้ตัว บางคนอาจจะมีอาการกล้ามเนื้ออ่อนแรงกะทันหันด้วย จะเป็นมากในช่วงอายุ 10-25 ปี
หากอาการรุนแรงเราควรไปพบแพทย์เพื่อนปรึกษาและหาทางบรรเทาอาการลง เพราะเหตุนี้จึงได้มีการจักทา
โครงงานนี้ขึ้นเพื่อทาให้ผู้ที่มีอาการสุ่มเสี่ยงได้รู้ตัวไว้ก่อน และเป็นแนวทางในการศึกษาสาหรับผู้ที่สนใจ
วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ)
1.เพื่อเป็นกรณีศึกษาให้กับผู้ที่มีอาการคล้ายจะเป็นโรคนี้ได้เข้ามาศึกษาและเข้าใจมากขึ้น
2.เพื่อให้ผู้ที่สนใจได้เข้ามาศึกษาเกี่ยวกับโรคลมหลับ
3.เพื่อให้หลายคนเข้าใจว่าการนอนหลับไปโดยไม่รู้ตัวของผู้เป็นโรคนี้ไม่ได้เกิดจากความขี้เกียจหรือนอน
ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน)
ผู้ป่วยส่วนใหญ่มักเริ่มแสดงอาการผิดปกติตั้งแต่ช่วงอายุ 10-25 ปี โดยอาการอาจค่อย ๆ รุนแรงมากขึ้นใน 2-3
ปีแรก หรืออาจเกิดขึ้นภายในเวลาเพียง 2-3 สัปดาห์หลังเริ่มแสดงอาการ ซึ่งผู้ป่วยแต่ละรายอาจจะมีอาการ
แตกต่างกันไป ดังนี้
 ง่วงนอนอย่างมากในช่วงกลางวัน และผล็อยหลับไปโดยไม่รู้ตัว ไม่ว่าจะอยู่ในสถานการณ์ใดก็ตาม เช่น
ทางาน พูดคุย รับประทานอาหาร หรือแม้กระทั่งขับรถอยู่ เป็นต้น ซึ่งอาจก่อให้เกิดอุบัติเหตุได้ และผู้ป่วยมัก
รู้สึกสดชื่นขึ้นเมื่อได้พักงีบ แต่ก็จะกลับไปมีอาการง่วงอีกครั้ง
 กล้ามเนื้ออ่อนแรง ซึ่งมักเกิดขึ้นอย่างกะทันหันในช่วงเวลาสั้น ๆ โดยมีปัจจัยกระตุ้นทางอารมณ์ เช่น การ
หัวเราะ ความรู้สึกตื่นเต้น ความโกรธ ความกลัว เป็นต้น
 อาการผีอา (Sleep Paralysis)
คือภาวะที่ผู้ป่วยไม่สามารถเคลื่อนไหวหรือส่งเสียงได้ในระหว่างที่นอนหลับหรือ แม้แต่ขณะตื่น
ทว่ายังสามารถเคลื่อนไหวดวงตาและหายใจได้ตามปกติ โดยมักเกิดขึ้นเพียงช่วงสั้น ๆ เท่านั้น
 ประสาทหลอนขณะนอนหลับหรืออยู่ในช่วงกึ่งหลับกึ่งตื่น
หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน)
อาการโรคลมหลับนั้นเกิดจากสารเคมีในสมองที่ชื่อว่า hypocretin ต่ากว่าปกติ ทาให้มีอาการง่วงซึม
ตลอดเวลาหรือผล็อยหลับไปโดยไม่รู้สึกตัว ในช่วงเวลาที่ไม่ปกติ บางรายก็มีอาการคล้ายกับกล้ามเนื้ออ่อนแรง ไม่ว่า
จะนอนมากขนาดไหนก็ยังคงรู้สึกว่าง่วงนอนอยู่ดี ปัจจจุบันยังไม่มีวิธีการรักษาที่หายขาด มีเพียงแค่บรรเทาอาการ
หนักให้เป็นเบาเพียงเท่านั้น
สาเหตุของโรคลมหลับ
ความไม่สมดุลของสารเคมีในสมอง เป็นสาเหตุหลักของการเกิดโรคลมหลับ โดยพบว่าผู้ป่วยส่วนใหญ่ที่เป็น
โรคลมหลับจะมีระดับสารกระตุ้นให้ตื่นในสมองที่ชื่อว่าไฮโปเครติน (Hypocretin) ต่ากว่าปกติ
พันธุกรรม ผู้ป่วยโรคลมหลับมักไม่มีประวัติว่าคนในครอบครัวเป็นโรคนี้ แต่พบว่าญาติที่ใกล้ชิดของผู้ป่วยที่เป็นโรคนี้มี
ความเสี่ยงสูงทางสติในการพัฒนาไปเป็นโรคลมหลับในอนาคต นอกจากนี้โรคลมหลับยังอาจเกิดจากความบกพร่อง
ทางพันธุกรรมที่ขัดขวางไม่ให้มีการผลิตสารกระตุ้นอย่างไฮโปเครตินในระดับปกติ แต่กรณีหลังนี้พบได้น้อย
โรคภูมิคุ้มกันทาลายตนเอง นักวิจัยพบว่า โรคลมหลับที่มีโรคภาวะผล็อยหลับร่วมด้วย (โรคลมหลับชนิดที่ 1) อาจมี
ความเชื่อมโยงกับการสูญเสียเซลล์ในสมองที่มีหน้าที่ผลิตสารไฮโปเครติน ซึ่งเกิดจากโรคภูมิคุ้มกันทาลายตนเอง ที่
ส่งผลให้ระบบภูมิคุ้มกันของร่างกายทางานผิดพลาดและโจมตีเซลล์เหล่านี้
4
การบาดเจ็บรุนแรง ในกรณีที่พบได้ไม่บ่อย โรคลมหลับมักเป็นผลลัพธ์จากอาการบาดเจ็บรุนแรงที่บางส่วนของสมองที่
ควบคุมการนอนหลับในช่วงที่จะมีการเคลื่อนไหวของลูกตาอย่างรวดเร็ว (REM sleep) หรือจากเนื้องอกในสมอง
รวมถึงโรคอื่นๆ ที่เกิดขึ้นในบริเวณเดียวกัน
สาเหตุอื่นๆ เช่น การติดเชื้อ การสัมผัสสารพิษ ความเครียด ความเปลี่ยนแปลงทางฮอร์โมนในวัยหนุ่มสาวหรือวัยหมด
ประจาเดือน และการเปลี่ยนแปลงเวลาการนอนที่มากเกินไปอย่างการทางานเป็นกะ
อาการของโรคลมหลับ
อาการแสดงทั่วไปของโรคลมหลับมีดังนี้
- อาการง่วงนอนมากผิดปกติในเวลากลางวัน เป็นอาการที่พบได้บ่อยที่สุดของโรคลมหลับ และส่งผลกระทบ
ต่อกิจวัตรประจาวันของผู้ป่วยอย่างมาก เพราะจะทาให้รู้สึกง่วงซึมระหว่างวันแม้จะได้หลับอย่างเต็มที่ใน
ตอนกลางคืนแล้วก็ตาม รวมทั้งรู้สึกไม่มีพลัง ซึมเศร้า หรืออ่อนเพลียเป็นอย่างมาก และผู้ป่วยบางรายอาจมี
ปัญหาด้านความจา ขาดสมาธิในการทางานหรือการเรียนด้วย
- ภาวะผล็อยหลับ ประมาณ 70% ของผู้ป่วยที่เป็นโรคลมหลับจะเป็นโรคลมหลับชนิดที่ 1 ซึ่งมีโรคภาวะผล็อย
หลับร่วมอยู่ด้วย ภาวะนี้เกิดจากการสูญเสียความตึงตัวของกล้ามเนื้อแบบเฉียบพลันในขณะที่ตื่น ทาให้เกิด
อาการอ่อนแรงและสูญเสียการควบคุมของกล้ามเนื้อลาย ภาวะผล็อยหลับสามารถเกิดขึ้นได้ทุกเวลาขณะตื่น
และมีความรุนแรงแตกต่างกันไป เช่น การสูญเสียความตึงตัวของกล้ามเนื้อเพียงเล็กน้อยที่ทาให้เปลือกตาตก
ลงเล็กน้อย หรือในกรณีที่รุนแรงอาจสูญเสียความตึงตัวของกล้ามเนื้อลายทั้งหมดจนทาให้ไม่สามารถ
เคลื่อนไหว พูดคุย หรือเปิดตาได้ แม้ในช่วงเวลานั้นจะมีสติเต็มร้อยก็ตาม
- ผีอา เป็นสภาวะที่ไม่สามารถเคลื่อนไหวหรือพูดในขณะกาลังนอนหลับหรือช่วงใกล้จะตื่นเพียงชั่วคราว และ
อาจเกิดขึ้นได้แม้กระทั่งในยามที่มีสติเต็มร้อย โดยทั่วไปแล้วอาการผีอามักเกิดขึ้นในระยะเวลาไม่กี่วินาทีหรือ
ไม่กี่นาที
- ประสาทหลอน มักจะเกิดขึ้นในลักษณะของการเห็นภาพที่เหมือนจริง แต่ไม่มีอยู่จริง โดยอาจเกิดขึ้นใน
ขณะที่กาลังเคลิ้มหลับ กาลังเคลิ้มตื่น หรือในระหว่างหลับที่หลับสนิทอยู่ก็ได้
- ทั้งนี้ผู้ที่เป็นโรคลมหลับมักไม่มีปัญหาในการนอนหลับในตอนกลางคืน แต่มักเกิดปัญหาขึ้นจากอาการนอนไม่
หลับ การฝันมากมาย การนอนละเมอ การเดินละเมอออกนอกสถานที่ในขณะหลับ และภาวะขากระตุกขณะ
หลับ
วิธีดาเนินงาน
แนวทางการดาเนินงาน
1.รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกลับโรคลมหลับ
2.เริ่มวางแผนทาโครงงาน
3.ตรวจสอบโครงงานว่าครบถ้วนมีปัญหาหรือไม่
4.แก้ไขปัญหาของโครงงานที่พบ
5.ตรวจสอบอีกครั้ง
6.ประเมินผล
7.เสนอแก่ผู้ที่สนใจและผู้ที่มีอาการ
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
คอมพิวเตอร์และโทรศัพท์
งบประมาณ
200 บาท
5
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
ลาดับ
ที่
ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ
1 2 3 4 5 6 7 8 9
1
0
1
1
12
1
3
1
4
1
5
16 17
1 คิดหัวข้อโครงงาน
2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล
3 จัดทาโครงร่างงาน
4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน
5 ปรับปรุงทดสอบ
6 การทาเอกสารรายงาน
7 ประเมินผลงาน
8 นาเสนอโครงงาน
ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน)
ให้ผู้ที่มีอาการสุ่มเสี่ยงได้รู้ถึงสาเหตุและวิธีการรักษาและเพื่อให้ผู้ที่สนใจที่จะศึกษาเรื่องนี้ได้เข้ามาศึกษาต่อเพื่อ
เป็นประโยชน์แก่ตนและผู้อื่นต่อไป
สถานที่ดาเนินการ
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
กลุ่มสาระการเรียนรู้คอมพิวเตอร์
แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน)
https://www.sleepcenterchula.org/index.php/en/component/k2/item/24-narcolepsy
https://www.honestdocs.co/what-is-narcolepsy

More Related Content

What's hot

2561 project 39
2561 project  392561 project  39
2561 project 39aomsin004
 
2562 final-project 30
2562 final-project 302562 final-project 30
2562 final-project 30ssuserb03cca
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project jamekid
 
2562 final-project 46-609_chitsanupa
2562 final-project 46-609_chitsanupa2562 final-project 46-609_chitsanupa
2562 final-project 46-609_chitsanupaSaiparnChitsanupa
 
สายการบินประจำชาติของประเทศสมาชิกอาเซียน
สายการบินประจำชาติของประเทศสมาชิกอาเซียนสายการบินประจำชาติของประเทศสมาชิกอาเซียน
สายการบินประจำชาติของประเทศสมาชิกอาเซียนChanawit Winn
 
โครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานโครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานN'Nat S'Sasitron
 
2562 final-project 48
2562 final-project 482562 final-project 48
2562 final-project 48RESET2
 
Computer
ComputerComputer
ComputerWrnPloy
 
604 35 project
604 35 project604 35 project
604 35 projectLove Naka
 
โครงร่างงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างงานคอมพิวเตอร์โครงร่างงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างงานคอมพิวเตอร์Akira Adulyanubhap
 

What's hot (20)

Work1 polram 32
Work1 polram 32Work1 polram 32
Work1 polram 32
 
2561 project 39
2561 project  392561 project  39
2561 project 39
 
2562 final-project 30
2562 final-project 302562 final-project 30
2562 final-project 30
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
2561 project (1)
2561 project  (1)2561 project  (1)
2561 project (1)
 
2562 final-project 46-609_chitsanupa
2562 final-project 46-609_chitsanupa2562 final-project 46-609_chitsanupa
2562 final-project 46-609_chitsanupa
 
สารคดี
สารคดีสารคดี
สารคดี
 
สายการบินประจำชาติของประเทศสมาชิกอาเซียน
สายการบินประจำชาติของประเทศสมาชิกอาเซียนสายการบินประจำชาติของประเทศสมาชิกอาเซียน
สายการบินประจำชาติของประเทศสมาชิกอาเซียน
 
5555 อิสัส
5555 อิสัส5555 อิสัส
5555 อิสัส
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
 
แบบร างโครงงานคอม(1)
แบบร างโครงงานคอม(1)แบบร างโครงงานคอม(1)
แบบร างโครงงานคอม(1)
 
5
55
5
 
2561 project 2
2561 project 22561 project 2
2561 project 2
 
โครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานโครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงาน
 
2562 final-project 48
2562 final-project 482562 final-project 48
2562 final-project 48
 
Computer
ComputerComputer
Computer
 
604 35 project
604 35 project604 35 project
604 35 project
 
โครงร่างงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างงานคอมพิวเตอร์โครงร่างงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างงานคอมพิวเตอร์
 
แบบร่างโครงงานคอม
แบบร่างโครงงานคอมแบบร่างโครงงานคอม
แบบร่างโครงงานคอม
 
แบบร่าง
แบบร่างแบบร่าง
แบบร่าง
 

Similar to Work1 pjcom

Similar to Work1 pjcom (20)

2562 final-project (1)
2562 final-project  (1)2562 final-project  (1)
2562 final-project (1)
 
2561 project
2561 project 2561 project
2561 project
 
2561 project (1)
2561 project  (1)2561 project  (1)
2561 project (1)
 
AT1AT1
AT1AT1AT1AT1
AT1AT1
 
At1
At1At1
At1
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
 
2562 final-project 25
2562 final-project 252562 final-project 25
2562 final-project 25
 
2562 final-project no25
2562 final-project no252562 final-project no25
2562 final-project no25
 
2562 final-project 25 (1)
2562 final-project 25 (1)2562 final-project 25 (1)
2562 final-project 25 (1)
 
2562 final-project 5-609
2562 final-project 5-6092562 final-project 5-609
2562 final-project 5-609
 
Computer 1
Computer 1Computer 1
Computer 1
 
กิจกรรมที่1
กิจกรรมที่1กิจกรรมที่1
กิจกรรมที่1
 
2562 final-project 1
2562 final-project 12562 final-project 1
2562 final-project 1
 
2562 final-project 9
2562 final-project 92562 final-project 9
2562 final-project 9
 
The fruit is delicious.
The fruit is delicious.The fruit is delicious.
The fruit is delicious.
 
The fruit is delicious.
The fruit is delicious.The fruit is delicious.
The fruit is delicious.
 
Com
ComCom
Com
 
2562 final-project no.39
2562 final-project no.392562 final-project no.39
2562 final-project no.39
 
2562 final-project 26
2562 final-project 262562 final-project 26
2562 final-project 26
 

Work1 pjcom

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33201 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5 ปีการศึกษา 2562 ชื่อโครงงานชื่อโครงงาน อาการง่วงซึมที่ฝืนไม่ได้ ชื่อผู้ทาโครงงาน ชื่อ นางสาวธมลวรรณ สมัครเขตรการณ์ เลขที่ 6 ชั้น ม.6 ห้อง 4 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงานร่วม (ถ้ามี)………………………………………………… ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 62 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. 2 ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ สมาชิกในกลุ่ม .…… 1นางสาวธมลวรรณ สมัครเขตรการณ์ เลขที่ 6 คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) อาการง่วงซึมที่ฝืนไม่ได้ ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) Irresistible drowsiness ประเภทโครงงาน โครงงานเพื่อการศึกษา ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาวธมลวรรณ สมัครเขตรการณ์ ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1 ถึงภาเรียนที่ 2 ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน) ในการนอนหลับของคนเรา 1 วัน ควรนอนหลับพักผ่อนอย่างน้อยวันละ 7-8 ชั่วโมง เพื่อให้ร่างกายของ เราได้พักผ่อน คนส่วนใหญ่มักนอนหลับในเวลากลางคืน หรือกลางคืนและกลางวัน เพื่อนให้สุขภาพและระบบ ภายในร่างกายทางานได้ดี เมื่อเรานอนตามเวลาเดิมเป็นประจาร่างกายของเราก็จะจดจาและทาให้นอนหลับและ ตื่นเวลาเดิมๆได้ในทุกๆวัน โดยมีวงจรหลับและตื่นเพื่อความอยู่รอด ในเด็กทารกมีการนอนที่ยาวนานถึง 1620 ชั่วโมง ในวัยเรียนจะลดลงมาเป็น 8-9 ชั่วโมง ในวัยผู้ใหญ่ก็จะลดลงมาอีกเหลือเพียง 6-7 ชั่วโมงแต่การนอนหลับของคนเรา จะไม่เหมือนการเพราะฉะนั้นเราจึงมีการฝึกฝนการนอนตรงเวลาตั้งเด็กๆเพื่อให้ร่างกายคุ้น ชินกับการนอนและตื่น แม้อาการง่วงนอนนั้นเราสามารถควบคุมผ่านการจดจาของร่างกายก็จริงแต่มันไม่สาม รถควบคุมได้ทั้งหมด เพราะอาการง่วงนอนสามารถเกิดได้แม้เราจะไม่ได้ตั้งใจ แล้วหลับไปโดยไม่รู้ตัวแม้ว่าคุณ จะทากิจกรรมอะไรอยู่ก็ตาม หลายคนเรียกอาการนี้ว่าอาการหลับใน แต่ในความจริงแล้วอาการนี้เกิดจากโรคที่ มีชื่อว่า โรคลมหลับ (Narcolepsy)
  • 3. 3 เป็นการผิดปกติทางด้านการนอนหลับที่เกิดขึ้นอย่างเรื้อรังผู้ที่เป็นโรคนี้จะรู้สึกง่วงอย่างมากในช่วงกลางวันและมักหลั บไปโดยไม่รู้ตัว บางคนอาจจะมีอาการกล้ามเนื้ออ่อนแรงกะทันหันด้วย จะเป็นมากในช่วงอายุ 10-25 ปี หากอาการรุนแรงเราควรไปพบแพทย์เพื่อนปรึกษาและหาทางบรรเทาอาการลง เพราะเหตุนี้จึงได้มีการจักทา โครงงานนี้ขึ้นเพื่อทาให้ผู้ที่มีอาการสุ่มเสี่ยงได้รู้ตัวไว้ก่อน และเป็นแนวทางในการศึกษาสาหรับผู้ที่สนใจ วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ) 1.เพื่อเป็นกรณีศึกษาให้กับผู้ที่มีอาการคล้ายจะเป็นโรคนี้ได้เข้ามาศึกษาและเข้าใจมากขึ้น 2.เพื่อให้ผู้ที่สนใจได้เข้ามาศึกษาเกี่ยวกับโรคลมหลับ 3.เพื่อให้หลายคนเข้าใจว่าการนอนหลับไปโดยไม่รู้ตัวของผู้เป็นโรคนี้ไม่ได้เกิดจากความขี้เกียจหรือนอน ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน) ผู้ป่วยส่วนใหญ่มักเริ่มแสดงอาการผิดปกติตั้งแต่ช่วงอายุ 10-25 ปี โดยอาการอาจค่อย ๆ รุนแรงมากขึ้นใน 2-3 ปีแรก หรืออาจเกิดขึ้นภายในเวลาเพียง 2-3 สัปดาห์หลังเริ่มแสดงอาการ ซึ่งผู้ป่วยแต่ละรายอาจจะมีอาการ แตกต่างกันไป ดังนี้  ง่วงนอนอย่างมากในช่วงกลางวัน และผล็อยหลับไปโดยไม่รู้ตัว ไม่ว่าจะอยู่ในสถานการณ์ใดก็ตาม เช่น ทางาน พูดคุย รับประทานอาหาร หรือแม้กระทั่งขับรถอยู่ เป็นต้น ซึ่งอาจก่อให้เกิดอุบัติเหตุได้ และผู้ป่วยมัก รู้สึกสดชื่นขึ้นเมื่อได้พักงีบ แต่ก็จะกลับไปมีอาการง่วงอีกครั้ง  กล้ามเนื้ออ่อนแรง ซึ่งมักเกิดขึ้นอย่างกะทันหันในช่วงเวลาสั้น ๆ โดยมีปัจจัยกระตุ้นทางอารมณ์ เช่น การ หัวเราะ ความรู้สึกตื่นเต้น ความโกรธ ความกลัว เป็นต้น  อาการผีอา (Sleep Paralysis) คือภาวะที่ผู้ป่วยไม่สามารถเคลื่อนไหวหรือส่งเสียงได้ในระหว่างที่นอนหลับหรือ แม้แต่ขณะตื่น ทว่ายังสามารถเคลื่อนไหวดวงตาและหายใจได้ตามปกติ โดยมักเกิดขึ้นเพียงช่วงสั้น ๆ เท่านั้น  ประสาทหลอนขณะนอนหลับหรืออยู่ในช่วงกึ่งหลับกึ่งตื่น หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน) อาการโรคลมหลับนั้นเกิดจากสารเคมีในสมองที่ชื่อว่า hypocretin ต่ากว่าปกติ ทาให้มีอาการง่วงซึม ตลอดเวลาหรือผล็อยหลับไปโดยไม่รู้สึกตัว ในช่วงเวลาที่ไม่ปกติ บางรายก็มีอาการคล้ายกับกล้ามเนื้ออ่อนแรง ไม่ว่า จะนอนมากขนาดไหนก็ยังคงรู้สึกว่าง่วงนอนอยู่ดี ปัจจจุบันยังไม่มีวิธีการรักษาที่หายขาด มีเพียงแค่บรรเทาอาการ หนักให้เป็นเบาเพียงเท่านั้น สาเหตุของโรคลมหลับ ความไม่สมดุลของสารเคมีในสมอง เป็นสาเหตุหลักของการเกิดโรคลมหลับ โดยพบว่าผู้ป่วยส่วนใหญ่ที่เป็น โรคลมหลับจะมีระดับสารกระตุ้นให้ตื่นในสมองที่ชื่อว่าไฮโปเครติน (Hypocretin) ต่ากว่าปกติ พันธุกรรม ผู้ป่วยโรคลมหลับมักไม่มีประวัติว่าคนในครอบครัวเป็นโรคนี้ แต่พบว่าญาติที่ใกล้ชิดของผู้ป่วยที่เป็นโรคนี้มี ความเสี่ยงสูงทางสติในการพัฒนาไปเป็นโรคลมหลับในอนาคต นอกจากนี้โรคลมหลับยังอาจเกิดจากความบกพร่อง ทางพันธุกรรมที่ขัดขวางไม่ให้มีการผลิตสารกระตุ้นอย่างไฮโปเครตินในระดับปกติ แต่กรณีหลังนี้พบได้น้อย โรคภูมิคุ้มกันทาลายตนเอง นักวิจัยพบว่า โรคลมหลับที่มีโรคภาวะผล็อยหลับร่วมด้วย (โรคลมหลับชนิดที่ 1) อาจมี ความเชื่อมโยงกับการสูญเสียเซลล์ในสมองที่มีหน้าที่ผลิตสารไฮโปเครติน ซึ่งเกิดจากโรคภูมิคุ้มกันทาลายตนเอง ที่ ส่งผลให้ระบบภูมิคุ้มกันของร่างกายทางานผิดพลาดและโจมตีเซลล์เหล่านี้
  • 4. 4 การบาดเจ็บรุนแรง ในกรณีที่พบได้ไม่บ่อย โรคลมหลับมักเป็นผลลัพธ์จากอาการบาดเจ็บรุนแรงที่บางส่วนของสมองที่ ควบคุมการนอนหลับในช่วงที่จะมีการเคลื่อนไหวของลูกตาอย่างรวดเร็ว (REM sleep) หรือจากเนื้องอกในสมอง รวมถึงโรคอื่นๆ ที่เกิดขึ้นในบริเวณเดียวกัน สาเหตุอื่นๆ เช่น การติดเชื้อ การสัมผัสสารพิษ ความเครียด ความเปลี่ยนแปลงทางฮอร์โมนในวัยหนุ่มสาวหรือวัยหมด ประจาเดือน และการเปลี่ยนแปลงเวลาการนอนที่มากเกินไปอย่างการทางานเป็นกะ อาการของโรคลมหลับ อาการแสดงทั่วไปของโรคลมหลับมีดังนี้ - อาการง่วงนอนมากผิดปกติในเวลากลางวัน เป็นอาการที่พบได้บ่อยที่สุดของโรคลมหลับ และส่งผลกระทบ ต่อกิจวัตรประจาวันของผู้ป่วยอย่างมาก เพราะจะทาให้รู้สึกง่วงซึมระหว่างวันแม้จะได้หลับอย่างเต็มที่ใน ตอนกลางคืนแล้วก็ตาม รวมทั้งรู้สึกไม่มีพลัง ซึมเศร้า หรืออ่อนเพลียเป็นอย่างมาก และผู้ป่วยบางรายอาจมี ปัญหาด้านความจา ขาดสมาธิในการทางานหรือการเรียนด้วย - ภาวะผล็อยหลับ ประมาณ 70% ของผู้ป่วยที่เป็นโรคลมหลับจะเป็นโรคลมหลับชนิดที่ 1 ซึ่งมีโรคภาวะผล็อย หลับร่วมอยู่ด้วย ภาวะนี้เกิดจากการสูญเสียความตึงตัวของกล้ามเนื้อแบบเฉียบพลันในขณะที่ตื่น ทาให้เกิด อาการอ่อนแรงและสูญเสียการควบคุมของกล้ามเนื้อลาย ภาวะผล็อยหลับสามารถเกิดขึ้นได้ทุกเวลาขณะตื่น และมีความรุนแรงแตกต่างกันไป เช่น การสูญเสียความตึงตัวของกล้ามเนื้อเพียงเล็กน้อยที่ทาให้เปลือกตาตก ลงเล็กน้อย หรือในกรณีที่รุนแรงอาจสูญเสียความตึงตัวของกล้ามเนื้อลายทั้งหมดจนทาให้ไม่สามารถ เคลื่อนไหว พูดคุย หรือเปิดตาได้ แม้ในช่วงเวลานั้นจะมีสติเต็มร้อยก็ตาม - ผีอา เป็นสภาวะที่ไม่สามารถเคลื่อนไหวหรือพูดในขณะกาลังนอนหลับหรือช่วงใกล้จะตื่นเพียงชั่วคราว และ อาจเกิดขึ้นได้แม้กระทั่งในยามที่มีสติเต็มร้อย โดยทั่วไปแล้วอาการผีอามักเกิดขึ้นในระยะเวลาไม่กี่วินาทีหรือ ไม่กี่นาที - ประสาทหลอน มักจะเกิดขึ้นในลักษณะของการเห็นภาพที่เหมือนจริง แต่ไม่มีอยู่จริง โดยอาจเกิดขึ้นใน ขณะที่กาลังเคลิ้มหลับ กาลังเคลิ้มตื่น หรือในระหว่างหลับที่หลับสนิทอยู่ก็ได้ - ทั้งนี้ผู้ที่เป็นโรคลมหลับมักไม่มีปัญหาในการนอนหลับในตอนกลางคืน แต่มักเกิดปัญหาขึ้นจากอาการนอนไม่ หลับ การฝันมากมาย การนอนละเมอ การเดินละเมอออกนอกสถานที่ในขณะหลับ และภาวะขากระตุกขณะ หลับ วิธีดาเนินงาน แนวทางการดาเนินงาน 1.รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกลับโรคลมหลับ 2.เริ่มวางแผนทาโครงงาน 3.ตรวจสอบโครงงานว่าครบถ้วนมีปัญหาหรือไม่ 4.แก้ไขปัญหาของโครงงานที่พบ 5.ตรวจสอบอีกครั้ง 6.ประเมินผล 7.เสนอแก่ผู้ที่สนใจและผู้ที่มีอาการ เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ คอมพิวเตอร์และโทรศัพท์ งบประมาณ 200 บาท
  • 5. 5 ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ลาดับ ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 0 1 1 12 1 3 1 4 1 5 16 17 1 คิดหัวข้อโครงงาน 2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล 3 จัดทาโครงร่างงาน 4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน 5 ปรับปรุงทดสอบ 6 การทาเอกสารรายงาน 7 ประเมินผลงาน 8 นาเสนอโครงงาน ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน) ให้ผู้ที่มีอาการสุ่มเสี่ยงได้รู้ถึงสาเหตุและวิธีการรักษาและเพื่อให้ผู้ที่สนใจที่จะศึกษาเรื่องนี้ได้เข้ามาศึกษาต่อเพื่อ เป็นประโยชน์แก่ตนและผู้อื่นต่อไป สถานที่ดาเนินการ โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง กลุ่มสาระการเรียนรู้คอมพิวเตอร์ แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน) https://www.sleepcenterchula.org/index.php/en/component/k2/item/24-narcolepsy https://www.honestdocs.co/what-is-narcolepsy