SlideShare a Scribd company logo
1 of 31
จิตวิทยาสาหรับการสอน
คณิตศาสตร์
วิชาพฤติกรรมการสอนวิชาคณิตศาสตร์
อ.วีรวัฒน์ ไทยขา
คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์
จิตวิทยาสาหรับการสอนคณิตศาสตร์
นักจิตวิทยาชาวสวิตเซอร์แลนด์
การเจริญของสมองและ
สติปัญญานั้นเป็นผลมาจากการ
เจริญเติบโตและการเปลี่ยนแปลง
ของร่างกาย
Jean Piaget
ระดับความเจริญทางสติปัญญาตามทฤษฏี
ของ Piaget
1. Sensory – motor period
แรกเกิด – 2 ขวบ
รับรู้สิ่งต่าง ๆ ที่อยู่รอบตัว ที่สามารถ
มองเห็นและสัมผัสได้
ระดับความเจริญทางสติปัญญาตามทฤษฏี
ของ Piaget
1. Sensory – motor period
แรกเกิด – 1 เดือน
สามารถแยกความแตกต่าง
ของสิ่งของที่รอบ ๆ ตัว
ระดับความเจริญทางสติปัญญาตามทฤษฏี
ของ Piaget
1. Sensory – motor period
1 เดือน - 1 ขวบ
การจับคู่แบบหนึ่งต่อหนึ่ง
แสดงกิริยาต่าง ๆ เพื่อให้ได้มาในสิ่ง
ที่ต้องการ
ระดับความเจริญทางสติปัญญาตามทฤษฏี
ของ Piaget
1. Sensory – motor period
1 เดือน – 1 ขวบ
สนใจและชอบในสิ่งที่มี
โครงสร้างซับซ้อน
ระดับความเจริญทางสติปัญญาตามทฤษฏี
ของ Piaget
1. Sensory – motor period
เกิน 1 ขวบ
รับรู้และรู้จักสิ่งของต่าง ๆ ที่อยู่ใน
สายตา สามารถสร้างภาพพจน์ของ
สิ่งของที่ไม่อยู่ในสายตาได้บ้าง
ระดับความเจริญทางสติปัญญาตามทฤษฏี
ของ Piaget
1. Sensory – motor period
2 ขวบ
เลียนแบบคนที่อยู่ใกล้ชิด เด็กสามารถ
พิจารณาประสบการณ์ที่ตัวเองเห็นแล้ว
รับเอาไว้
เป็นสิ่งสาคัญมากในการเรียนรู้
คณิตศาสตร์
ระดับความเจริญทางสติปัญญาตามทฤษฏี
ของ Piaget
2. Concrete operation period
2 - 11 ปี
เรียนรู้เกี่ยวกับสิ่งของ น้าหนัก
ปริมาตร จาแนกและเรียงลาดับ เป็น
พื้นฐานสาคัญในการเข้าใจตัวเลขและ
จานวนต่าง ๆ
สนใจเกมที่มีกฎเกณฑ์ และมี
คู่แข่งขัน
รับรู้เกี่ยวกับรูปทรงทางเรขาคณิต
เวลา การเคลื่อนที่ ความเร็วและ
อัตราเร็วต่าง ๆ
ระดับความเจริญทางสติปัญญาตามทฤษฏี
ของ Piaget
2.1 Preoperation Subperiod
2 - 7 ปี
สามารถแยกความแตกต่างของวัตถุ
สิ่งของต่าง ๆ จากลักษณะภายนอกที่
มองเห็น ต้องอาศัยสิ่งที่เป็นรูปรรรม
ระดับความเจริญทางสติปัญญาตามทฤษฏี
ของ Piaget
เด็กไม่สามารถมองเห็นสิ่งต่าง ๆ ในแง่
ของการคิดแบบย้อนกลับ
5 + 2 = 7
7 - 2 = 5
7 - 5 = 2
5 + 2 = 7
(5 + 2) + 3 = 7 + 3
2.1 Preoperation Subperiod
ระดับความเจริญทางสติปัญญาตามทฤษฏี
ของ Piaget
เด็กมองเหตุการณ์ต่างๆกว้างขึ้น ไม่
มองสิ่งต่าง ๆ ด้านเดียว และสามารถ
คิดแบบย้อนกลับ
7 - 11 ปี
2.2 Concrete operation Subperiod
ระดับความเจริญทางสติปัญญาตามทฤษฏี
ของ Piaget
การเปลี่ยนแปลงรูปร่างของสิ่งของนั้น
ไม่ได้เปลี่ยนแปลงปริมาณด้วย
2.2 Concrete operation Subperiod
ระดับความเจริญทางสติปัญญาตามทฤษฏี
ของ Piaget
การทดลองของ Piaget
7
เรียงท่อนไม้กับตุ๊กตา
ระดับความเจริญทางสติปัญญาตามทฤษฏี
ของ Piaget
ปัญหาว่า มีไก่ 7 ตัว กินอาหารอยู่ในกรง เมื่อ
กินอาหารอิ่มแล้วไก่ 5 ตัว เข้าไปฟักไข่ ส่วน
ไก่อีก 2 ตัว เดินเล่นอยู่ ถามว่ามีไก่อยู่ในกรง
ทั้งหมดกี่ตัว
2.2 Concrete operation Subperiod
ระดับความเจริญทางสติปัญญาตามทฤษฏี
ของ Piaget
การจับคู่แบบ 1 - 1
ป้ อมมีรถยนต์ 9 คัน แป้ นมีรถยนต์ 6 คัน
ป้ อมจะมีรถยนต์มากกว่าแป้ นกี่คัน
ระดับความเจริญทางสติปัญญาตามทฤษฏี
ของ Piaget
3. Formal operations period
11 ปีขึ้นไป
เข้าใจ concept ต่าง ๆที่เป็น
นามรรรมและซับซ้อนได้มากขึ้น
ระดับความเจริญทางสติปัญญาตามทฤษฏี
ของ Piaget
3. Formal operations period
11 ปีขึ้นไป
𝟏
𝟐
÷
𝟏
𝟑
= 𝒚
𝟔÷ 𝟑 = 𝟐
𝟔 = 𝟐 𝒙 𝟑
จิตวิทยาสาหรับการสอนคณิตศาสตร์
นักจิตวิทยาแนวพุทธิปัญญา
ชาวอเมริกัน
Jerome S. Bruner
Theory of Knowledge Theory of Instruction
Theory of development
link
จิตวิทยาสาหรับการสอนคณิตศาสตร์
Bruner : ความพร้อมนั้นเป็ นสิ่งสาคัญ
แต่ในขณะเดียวกันความพร้อมก็เป็ นสิ่งที่สอน
หรือทาให้เกิดขึ้นได้ไม่จาเป็ นต้องรอให้เกิดขึ้นเอง
+ ครูทราบว่าความพร้อมสามารถจัดขึ้นได้โดยไม่ต้องรอ
- จัดความพร้อมไม่ถูกส่วนจะทาให้เด็กเกิดความเบื่อหน่าย
ขั้นตอนการพัฒนาการทางสติปัญญาของ
Bruner
เข้าใจสิ่งแวดล้อมและแสดง
ความเข้าใจสิ่งนั้น ๆ ด้วย
การกระทาและจะเป็นผล
ต่อเนื่องไปเรื่อย ๆ จนโต
มิได้หยุดอยู่ในช่วงระยะนี้
เท่ากัน
1. Enactive representation
ขั้นตอนการพัฒนาการทางสติปัญญาของ
Bruner
มองเห็นและการใช้ประสาท
สัมผัส ผลจากการกระทาและ
การมองเห็นในระยะแรก ๆ
นั้น ทาให้เด็กเกิดภาพในใจ
2. Iconic representation
ขั้นตอนการพัฒนาการทางสติปัญญาของ
Bruner
สามารถถ่ายทอดสิ่งที่ได้รู้ได้เห็นมาโดยอาศัยภาษาหรือ
สัญลักษณ์ได้
3. Symbolic representation
คิดหาเหตุผล เข้าใจสิ่งที่เป็นนามรรรมและสามารถ
แก้ปัญหาได้ ความคิด ความเข้าใจ concept ต่าง ๆ
จะเกิดขึ้นพร้อมๆ กับภาษา
ขั้นตอนการพัฒนาการทางสติปัญญาของ
Bruner
acting imagine symbolizing
ให้เด็กแก้ปัญหาด้วยการกระทาให้ใช้อุปกรณ์ที่เป็นรูปรรรมเพื่อให้เด็ก
สามารถสร้างภาพในใจได้
กระตุ้นให้เด็กเกิดการเรียนรู้โดยการกระทาด้วยตนเองเกิดการเรียนรู้ด้วย
การค้นพบ (discovery learning)
ลักษณะทางสติปัญญา
เด็กระดับมัรยมศึกษาตอนต้น
สามารถเข้าใจconcept ที่เป็นนามรรรม คิดอย่างมีเหตุผล ช่วงความ
สนใจยาวขึ้น มีจินตนาการสูง ครูจะต้องให้การบ้านที่ท้าทายจินตนาการ
หรืออาจเป็นเกมปริศนาหรือปัญหาน่าคิดแทนแบบฝึกหัดที่น่าเบื่อ
ลักษณะทางสติปัญญา
เด็กระดับมัรยมศึกษาตอนปลาย
พัฒนาการทางด้านสติปัญญาสูงเกือบเท่าผู้ใหญ่ เพียงแต่ยังขาด
ประสบการณ์จึงไม่สามารถใช้ได้อย่างมีประสิทริภาพ
แนวความคิดของ Robert Gagne
Robert Gagne
ลาดับขั้นการเรียนรู้ โดย
ผู้เรียนควรเรียนจากสิ่งง่าย ๆ
ไปสิ่งที่ซับซ้อน
นักจิตวิทยาชาวอเมริกัน
ลาดับขั้นการเรียนรู้ ของ Robert Gagne
• เกิดการเรียนรู้ตามรรรมชาติ จากการ
ใกล้ชิดกับสิ่งเร้าSignal learning
• ตอบสนองต่อสิ่งเร้าเป็นไปอย่างตั้งใจ
• การออกเสียงตามครู
Stimulus –
Response learning
• การเชื่อมโยงของ S-R ต่อเนื่องเป็นลูกโซ่
• เขียนหรืออ่านหนังสือ
Chaining
• การใช้ภาษา
• เรียก 9 ว่า เลข เก้า
Verbal association
ลาดับขั้นการเรียนรู้ ของ Robert Gagne
• แยกแยะสิ่งของต่าง ๆ หรือสามารถ
มองเห็นความแตกต่างของสิ่งของ
Discrimination
learning
• รู้เห็นความเหมือนกันของสิ่งของหรือ
เหตุการณ์Concept learning
• การเชื่อมโยง 2 concept เข้าด้วยกันเป็น
กฎเกณฑ์
Principle learning
• นากฏเกณฑ์ต่าง ๆ ไปแก้ปัญหาใหม่ ๆProblem Solving
การเสริมแรง (Reinforcement)
Positive Reinforcement
Negative Reinforcement
*การให้คาชมเชย การพยักหน้า การให้รางวัล การยอมรับ
*นาสิ่งที่ไม่สบายใจออกไปจากตัวนักเรียน ขจัดในสิ่งที่
นักเรียนอึดอัด เช่น การตาหนิ การดุด่า การวิจารณ์
การจูงใจ (Motivation)
extrinsic motivation
Intrinsic motivation
*การให้ขนม ให้เล่นเกมทางคณิตศาสตร์ ให้ความเป็นอิสระ
*การสอนให้เด็กค้นพบด้วยตนเอง

More Related Content

What's hot

ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1คุณครูพี่อั๋น
 
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะบทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะKittichai Pinlert
 
ติว O net คณิตศาสตร์ สาระที่ 6
ติว O net คณิตศาสตร์ สาระที่ 6ติว O net คณิตศาสตร์ สาระที่ 6
ติว O net คณิตศาสตร์ สาระที่ 6ครู กรุณา
 
การเป่าเมโลเดี้ยน บทที่ 1
การเป่าเมโลเดี้ยน บทที่ 1การเป่าเมโลเดี้ยน บทที่ 1
การเป่าเมโลเดี้ยน บทที่ 1gueste0411f21
 
บทนำการเขียนอัตราส่วน
บทนำการเขียนอัตราส่วนบทนำการเขียนอัตราส่วน
บทนำการเขียนอัตราส่วนKruaonPW
 
โครงงานเรื่องการใช้โปรแกรม Gsp ออกแบบลายไทย
โครงงานเรื่องการใช้โปรแกรม Gsp ออกแบบลายไทยโครงงานเรื่องการใช้โปรแกรม Gsp ออกแบบลายไทย
โครงงานเรื่องการใช้โปรแกรม Gsp ออกแบบลายไทยกก กอล์ฟ
 
โครงงานไอเอส1
โครงงานไอเอส1โครงงานไอเอส1
โครงงานไอเอส1Ocean'Funny Haha
 
นำเสนอองค์ประกอบที่ ๕ การนำไปใช้ประโยชน์ทางการศึกษา
นำเสนอองค์ประกอบที่ ๕ การนำไปใช้ประโยชน์ทางการศึกษานำเสนอองค์ประกอบที่ ๕ การนำไปใช้ประโยชน์ทางการศึกษา
นำเสนอองค์ประกอบที่ ๕ การนำไปใช้ประโยชน์ทางการศึกษาOommie Banthita
 
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4Sasiprapha Srisaeng
 
รายงานค่ายทักษะกระบวนการคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ โรงเรียนสมเด็จพระญาณสังวร ปี ...
รายงานค่ายทักษะกระบวนการคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์  โรงเรียนสมเด็จพระญาณสังวร ปี ...รายงานค่ายทักษะกระบวนการคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์  โรงเรียนสมเด็จพระญาณสังวร ปี ...
รายงานค่ายทักษะกระบวนการคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ โรงเรียนสมเด็จพระญาณสังวร ปี ...Dnavaroj Dnaka
 
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์Wachiraya Thasnapanth
 
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความแบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความsripayom
 

What's hot (20)

ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1
 
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะบทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
 
ติว O net คณิตศาสตร์ สาระที่ 6
ติว O net คณิตศาสตร์ สาระที่ 6ติว O net คณิตศาสตร์ สาระที่ 6
ติว O net คณิตศาสตร์ สาระที่ 6
 
บทที่ 4.ผลการดำเนินงาน
บทที่ 4.ผลการดำเนินงานบทที่ 4.ผลการดำเนินงาน
บทที่ 4.ผลการดำเนินงาน
 
การเป่าเมโลเดี้ยน บทที่ 1
การเป่าเมโลเดี้ยน บทที่ 1การเป่าเมโลเดี้ยน บทที่ 1
การเป่าเมโลเดี้ยน บทที่ 1
 
บทนำการเขียนอัตราส่วน
บทนำการเขียนอัตราส่วนบทนำการเขียนอัตราส่วน
บทนำการเขียนอัตราส่วน
 
หน่วย 1
หน่วย 1หน่วย 1
หน่วย 1
 
โครงงานเรื่องการใช้โปรแกรม Gsp ออกแบบลายไทย
โครงงานเรื่องการใช้โปรแกรม Gsp ออกแบบลายไทยโครงงานเรื่องการใช้โปรแกรม Gsp ออกแบบลายไทย
โครงงานเรื่องการใช้โปรแกรม Gsp ออกแบบลายไทย
 
โครงงานไอเอส1
โครงงานไอเอส1โครงงานไอเอส1
โครงงานไอเอส1
 
นำเสนอองค์ประกอบที่ ๕ การนำไปใช้ประโยชน์ทางการศึกษา
นำเสนอองค์ประกอบที่ ๕ การนำไปใช้ประโยชน์ทางการศึกษานำเสนอองค์ประกอบที่ ๕ การนำไปใช้ประโยชน์ทางการศึกษา
นำเสนอองค์ประกอบที่ ๕ การนำไปใช้ประโยชน์ทางการศึกษา
 
โครงงาน 5 บท
โครงงาน  5 บทโครงงาน  5 บท
โครงงาน 5 บท
 
9 การกรอกแบบฟอร์ม(263-287)
9 การกรอกแบบฟอร์ม(263-287)9 การกรอกแบบฟอร์ม(263-287)
9 การกรอกแบบฟอร์ม(263-287)
 
บรรณานุกรม
บรรณานุกรมบรรณานุกรม
บรรณานุกรม
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
โครงงาน54เห็ด
โครงงาน54เห็ดโครงงาน54เห็ด
โครงงาน54เห็ด
 
สื่อผังมโนทัศน์
สื่อผังมโนทัศน์สื่อผังมโนทัศน์
สื่อผังมโนทัศน์
 
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4
 
รายงานค่ายทักษะกระบวนการคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ โรงเรียนสมเด็จพระญาณสังวร ปี ...
รายงานค่ายทักษะกระบวนการคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์  โรงเรียนสมเด็จพระญาณสังวร ปี ...รายงานค่ายทักษะกระบวนการคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์  โรงเรียนสมเด็จพระญาณสังวร ปี ...
รายงานค่ายทักษะกระบวนการคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ โรงเรียนสมเด็จพระญาณสังวร ปี ...
 
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความแบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
 

Viewers also liked

บทความ เกี่ยวกับการสอนคณิตศาสตร์
บทความ เกี่ยวกับการสอนคณิตศาสตร์บทความ เกี่ยวกับการสอนคณิตศาสตร์
บทความ เกี่ยวกับการสอนคณิตศาสตร์jariya221
 
การพัฒนาทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์
การพัฒนาทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์การพัฒนาทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์
การพัฒนาทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์Jintana Kujapan
 
จิตวิทยาการสอน
จิตวิทยาการสอนจิตวิทยาการสอน
จิตวิทยาการสอนphatcom10
 
กิจกรรมเพื่อเสริมสร้างทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์
กิจกรรมเพื่อเสริมสร้างทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์กิจกรรมเพื่อเสริมสร้างทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์
กิจกรรมเพื่อเสริมสร้างทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์Jintana Kujapan
 
การเชื่อมโยงความรู้ต่างๆทางคณิตศาสตร์
การเชื่อมโยงความรู้ต่างๆทางคณิตศาสตร์การเชื่อมโยงความรู้ต่างๆทางคณิตศาสตร์
การเชื่อมโยงความรู้ต่างๆทางคณิตศาสตร์Jintana Kujapan
 
วิธีสอนแบบวรรณี
วิธีสอนแบบวรรณีวิธีสอนแบบวรรณี
วิธีสอนแบบวรรณีOrapan Jantong
 
คณิตศาสตร์คืออะไร
คณิตศาสตร์คืออะไรคณิตศาสตร์คืออะไร
คณิตศาสตร์คืออะไรJiraprapa Suwannajak
 
โครงงานคณิตศาสตร์ออนไลน์เรื่อง ฟังก์ชันตรีโกณมิติ
โครงงานคณิตศาสตร์ออนไลน์เรื่อง ฟังก์ชันตรีโกณมิติโครงงานคณิตศาสตร์ออนไลน์เรื่อง ฟังก์ชันตรีโกณมิติ
โครงงานคณิตศาสตร์ออนไลน์เรื่อง ฟังก์ชันตรีโกณมิติsiriyakorn saratho
 
การจัดการเรียนรู้ Stad
การจัดการเรียนรู้ Stadการจัดการเรียนรู้ Stad
การจัดการเรียนรู้ StadSandee Toearsa
 
การจัดการเรียนการสอน
การจัดการเรียนการสอนการจัดการเรียนการสอน
การจัดการเรียนการสอนananphar
 

Viewers also liked (12)

บทความ เกี่ยวกับการสอนคณิตศาสตร์
บทความ เกี่ยวกับการสอนคณิตศาสตร์บทความ เกี่ยวกับการสอนคณิตศาสตร์
บทความ เกี่ยวกับการสอนคณิตศาสตร์
 
การพัฒนาทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์
การพัฒนาทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์การพัฒนาทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์
การพัฒนาทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์
 
จิตวิทยาการสอน
จิตวิทยาการสอนจิตวิทยาการสอน
จิตวิทยาการสอน
 
กิจกรรมเพื่อเสริมสร้างทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์
กิจกรรมเพื่อเสริมสร้างทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์กิจกรรมเพื่อเสริมสร้างทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์
กิจกรรมเพื่อเสริมสร้างทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์
 
การเชื่อมโยงความรู้ต่างๆทางคณิตศาสตร์
การเชื่อมโยงความรู้ต่างๆทางคณิตศาสตร์การเชื่อมโยงความรู้ต่างๆทางคณิตศาสตร์
การเชื่อมโยงความรู้ต่างๆทางคณิตศาสตร์
 
วิธีสอนแบบวรรณี
วิธีสอนแบบวรรณีวิธีสอนแบบวรรณี
วิธีสอนแบบวรรณี
 
วารสารคณิตศาสตร์ ฉบับพิเศษ
วารสารคณิตศาสตร์ ฉบับพิเศษวารสารคณิตศาสตร์ ฉบับพิเศษ
วารสารคณิตศาสตร์ ฉบับพิเศษ
 
คณิตศาสตร์คืออะไร
คณิตศาสตร์คืออะไรคณิตศาสตร์คืออะไร
คณิตศาสตร์คืออะไร
 
โครงงานคณิตศาสตร์ออนไลน์เรื่อง ฟังก์ชันตรีโกณมิติ
โครงงานคณิตศาสตร์ออนไลน์เรื่อง ฟังก์ชันตรีโกณมิติโครงงานคณิตศาสตร์ออนไลน์เรื่อง ฟังก์ชันตรีโกณมิติ
โครงงานคณิตศาสตร์ออนไลน์เรื่อง ฟังก์ชันตรีโกณมิติ
 
การจัดการเรียนรู้ Stad
การจัดการเรียนรู้ Stadการจัดการเรียนรู้ Stad
การจัดการเรียนรู้ Stad
 
การบวกเลข ป.1
การบวกเลข ป.1การบวกเลข ป.1
การบวกเลข ป.1
 
การจัดการเรียนการสอน
การจัดการเรียนการสอนการจัดการเรียนการสอน
การจัดการเรียนการสอน
 

Similar to จิตวิทยาการสอนคณิตศาสตร์

ทฤษฏีพัฒนาจริยธรรมของ จอง เพียเจย์
ทฤษฏีพัฒนาจริยธรรมของ จอง เพียเจย์ทฤษฏีพัฒนาจริยธรรมของ จอง เพียเจย์
ทฤษฏีพัฒนาจริยธรรมของ จอง เพียเจย์Siririn Noiphang
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1Rorsed Mardra
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1Sareenakache
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1maina052
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1sitipatimoh050
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1azmah055
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1ai-sohyanya
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1oppalove
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1Sareenakache
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1Ameena021
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1rorsed
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1tina009
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1yasaka.747
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1mikinan
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1Nadeeyah.Musor
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1waenalai002
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1suweeda
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1rohanee
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1Surianee.011
 

Similar to จิตวิทยาการสอนคณิตศาสตร์ (20)

ทฤษฏีพัฒนาจริยธรรมของ จอง เพียเจย์
ทฤษฏีพัฒนาจริยธรรมของ จอง เพียเจย์ทฤษฏีพัฒนาจริยธรรมของ จอง เพียเจย์
ทฤษฏีพัฒนาจริยธรรมของ จอง เพียเจย์
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
 

จิตวิทยาการสอนคณิตศาสตร์