SlideShare a Scribd company logo
1 of 47
สวัสดีครับ
ยินดีต้อนรับทุกท่านเข้าสู่
แบบฝึกทักษะชุดที่๑
เรื่อง
ก่อนอื่นเรามารู้จักหลักการ และแนวทางการอ่านจับใจความสาคัญกันก่อนนะครับ
การอ่านจับใจความสาคัญ หมายถึง
การอ่านในใจเพื่อเก็บสาระสาคัญและทาความเข้าใจเรื่องราวของเรื่
องที่อ่าน โดยสามารถบอกได้ว่า เรื่องอะไร ใคร ทาอะไร ที่ไหน
เมื่อไหร่ อย่างไร และทาไม
ตลอดจนแนวความคิดหรือทัศนคติของผู้เขียน
ใจความสาคัญมีลักษณะที่สังเกตได้ดังนี้
๑. ใจความสาคัญเป็นข้อความซึ่งคลุมใจความอื่นๆ
ในย่อหน้านั้นไว้ทั้งหมด เป็นส่วนสาคัญที่ผู้เขียนมุ่งเน้นมากที่สุด
เพราะถือเป็นแก่นของเรื่อง ใจความสาคัญอาจเป็นเหตุการณ์ บุคคล
หรือสิ่งใดสิ่งหนึ่ง หรือที่เป็นคานิยาม คาอธิบายของคาสาคัญๆ
ข้อความอื่นๆ เป็นเพียงส่วนประกอบหรือส่วนขยาย
ใจความสาคัญมักจะอยู่ในรูปของการยกตัวอย่าง การอธิบาย
สนับสนุน หรือเสริมความก็ได้
ส่วนที่เป็นใจความสาคัญจะมีส่วนขยาย
หรือพลความตามมาเพื่อสนับสนุนประโยคใจความสาคัญให้เด่นชัด
แนวทางการอ่านจับใจความสาคัญ
การอ่านจับใจความสาคัญให้บรรลุจุดประสงค์ มีแนวทางดังนี้
๑. ตั้งจุดมุ่งหมายในการอ่านให้ชัดเจน เช่น อ่านเพื่อความรู้
เพื่อความเพลิดเพลิน หรือ เพื่อบอกเจตนาของผู้เขียน
เพราะจะเป็นแนวทางให้กาหนดการอ่านได้อย่างเหมาะสมและจับใ
จความหรือคาตอบได้รวดเร็วยิ่งขึ้น
๒. สารวจส่วนประกอบของหนังสืออย่างคร่าวๆ เช่น ชื่อเรื่อง
คานา สารบัญ คาชี้แจง การใช้หนังสือ ภาคผนวก ฯลฯ
เพราะส่วนประกอบของหนังสือจะทาให้เกิดความเข้าใจเกี่ยวกับเรื่อ
ง หรือหนังสือที่อ่านได้กว้างขวางและรวดเร็ว
๓. ทาความเข้าใจลักษณะของหนังสือว่าประเภทใด เช่น
นิทาน สารคดี บทความ ตารา ฯลฯ
ซึ่งจะช่วยให้มีแนวทางอ่านจับใจความสาคัญได้ง่าย
หลักการอ่านจับใจความ
การอ่านข้อความที่เป็นเรื่องยาวๆ
จะต้องสรุปใจความสาคัญของเรื่อง ในลักษณะการย่อความ
โดยมีขั้นตอนการอ่านดังนี้คือ
๑. ตั้งใจอ่าน มีสมาธิในการอ่าน
๒. อ่านเรื่องราวนั้นๆ คร่าวๆ แต่ต้นจนจบเรื่อง
เข้าใจกันบ้างไห
มครับ
ถ้าไม่เข้าใจกลับ
ให้นักเรียนสรุปความรู้จากการศึกษาใบความรู้
การอ่านจับใจความหมายถึง................................................
.........................................................................................
.........................................................................................
..........................................
ความรู้พื้น
ฐานการอ่า
น
ใจความสาคัญมีลักษณะดังนี้
๑...................................
.....................................
.....................................
..
๒..................................
.....................................
.....................................
...
๓..................................
.....................................
.....................................
...
๔..................................
.....................................
.....................................
...
แนวการอ่านจับใจความสาคัญ
๑...................................
.....................................
.....................................
..
๒..................................
.....................................
.....................................
...
๓..................................
.....................................
.....................................
...
๕..................................
.....................................
.....................................
...
๔..................................
.....................................
.....................................
...
หลักการอ่านจับใจความสาคัญ
๑...................................
.....................................
.....................................
..
๒..................................
.....................................
.....................................
...
.....
..
๑. ใจความสาคัญคือ ข้อความที่คลุมใจความอื่นๆ
ในย่อหน้านั้นไว้ทั้งหมด
.....
..
๒. ข้อความในหนึ่งย่อหน้า
มีใจความสาคัญเพียงประการเดียว
.....
..
๓. การเรียบเรียงใจความสาคัญของเรื่องที่อ่าน
จะต้องเอาใจความสาคัญของแต่ละย่อหน้ามาต่อกันจนครบ
ทุกย่อหน้า
.....
..
๔. การอ่านเรื่องควรเริ่มต้นที่การตั้งจุดมุ่งหมายการอ่านให้ชัด
เจน เพราะจะทาให้เข้าใจเนื้อเรื่องได้เร็วขึ้น
.....
..
๕. ส่วนที่สนับสนุนใจความสาคัญให้ชัดเจนขึ้นโดยตรง
เรียกว่า ใจความรอง
ให้นักเรียนพิจารณาข้อความต่อไปนี้แล้ว
ทาเครื่องหมาย / หน้าข้อที่เห็นว่าถูกต้อง
และทาเครื่องหมาย x หน้าข้อที่เห็นว่าผิด (ข้อละ ๑
คะแนน)
๓..................................
.....................................
.....................................
...
๗..................................
.....................................
.....................................
...
๖...................................
.....................................
.....................................
..
๕..................................
.....................................
.....................................
...
๔..................................
.....................................
.....................................
...
.....
..
๖. ในแต่ละย่อหน้าของข้อความที่อ่าน
จะต้องมีใจความสาคัญทุกย่อหน้า
.....
..
๗. ใจความสาคัญที่ปรากฏเป็นประโยค
ส่วนมากจะอยู่ตอนต้นของย่อหน้า
.....
..
๘. ประสบการณ์ หรือ ภูมิหลังเกี่ยวกับเรื่องที่อ่าน
ไม่มีส่วนทาให้ความสามารถในการอ่าน
จับใจความสาคัญดีขึ้น
.....
..
๙. การพิจารณาใจความสาคัญจาเป็นต้องอ่านข้อความนั้นๆ
มากกว่า ๑ รอบ
.....
..
๑๐
.
หากอ่านข้อความในแต่ละย่อหน้าแล้ว
หาประโยคใจความสาคัญไม่พบ
ผู้อ่านต้องสรุปใจความสาคัญด้วยสานวนของตนเอง
ทาได้..ไม่ยากเลยใช่ไหมครับ
ไปดูเฉลยกันครับ
ให้นักเรียนตอบคาถามต่อไปนี้จานวน ๕ ข้อ
ข้อละ ๒ คะแนน
๑. ใจความสาคัญ หมายถึงอะไร
..............................................................................................
๒. ข้อความที่ไม่ใช่ใจความสาคัญเรียกว่าอะไร
..............................................................................................
..............................................................................................
..............................................................................................
๓. เหตุใดต้องมีการสารวจส่วนประกอบของหนังสือ
หรือเรื่องที่อ่านก่อนการอ่านจับใจความทุกครั้ง
..............................................................................................
..............................................................................................
๔. ขั้นตอนแรก ของการอ่านจับใจความให้บรรลุตามวัตถุประสงค์
คืออะไร
..............................................................................................
..............................................................................................
๕. การอ่านจับใจความข้อความที่มีขนาดยาว ๆ
นักเรียนมีหลักการอ่านอย่างไรบ้าง
..............................................................................................
..............................................................................................
..............................................................................................
แนวคาตอบ
ให้นักเรียนสรุปความรู้จากการศึกษาใบความรู้
ไปตรวจคาตอบกันดีก
ว่าครับ...
การอ่านจับใจความ หมายถึง
การอ่านในใจเพื่อเก็บสาระสาคัญและทา
ความเข้าใจเรื่องราวของเรื่องที่อ่าน
ความรู้พื้น
ฐานการอ่า
น
ใจความสาคัญมีลักษ
ณะดังนี้
๑.
ใจความที่คลุมใจ
ความอื่นๆในย่อ
หน้านั้นๆ
๒. ย่อหน้าหนึ่ง
จะมีเพียงใจควา
มสาคัญประการเ
ดียว
๓.
อาจปรากฏเป็นป
ระโยคชัดเจน
หรือไม่ปรากฏก็ไ
ด้
๔.ใจความสาคัญมัก
ปรากฏอยู่ต้นข้อความ
ถ้าเป็นข้อความยาวๆ
มักอยู่ตอนท้าย
แนวการอ่านจับใจความสาคัญ
๑.
ตั้งจุดมุ่งหมายใน
การอ่านให้ชัดเจ
น
๒.
สารวจส่วนประก
อบหนังสืออย่างค
ร่าวๆ
๓.
พิจารณาลักษณะ
ของประเภทหนัง
สือ
หลักการอ่านจับใจคว
ามสาคัญ
๑. ตั้งใจ
และมีสมาธิในกา
รอ่าน
ข้อ
๑
/ ข้อ ๒ /
ข้อ
๓
x ข้อ ๔ /
ข้อ
๕
/ ข้อ ๖ x
ข้อ
๗
/ ข้อ ๘ x
ข้อ
๙
/ ข้อ ๑๐ /
๕.
ใช้ประสบการณ์
และภูมิหลัง
ทาความเข้าใจเรื่
อง
๔.
แปลความหมาย
ของคา ประโยค
และข้อความ
๒. อ่านคร่าว ๆ
ตั้งแต่ต้นจนจบ
๓. สรุป หรือ
จับใจความสาคั
ญ
๗.
สรุปความคิดเป็น
บันทึกช่วยจา
ย่อความ
หรือตอบคาถาม
๖.พิจารณาว่าเรื่
องที่อ่านมีสาระ
หรือแนวคิดอะไร
๕.
สังเกตผลสุดท้ายของเรื่อง
เกิดอะไรขึ้น
๔. ทบทวนความบางตอน
๑. ใจความสาคัญ หมายถึง ข้อความที่ครอบคลุมใจความอื่นๆ
ในย่อหน้านั้นไว้ทั้งหมด
๒. ข้อความที่ไม่ใช่ใจความสาคัญ เรียกว่า ส่วนประกอบ
ส่วนขยาย หรือเรียกว่า พลความ
๓. เหตุที่ต้องอ่านสารวจส่วนประกอบของหนังสือก่อน เพราะ
ส่วนประกอบของหนังสือ
จะทาให้เข้าใจเรื่องที่อ่านได้กว้างขวางและรวดเร็วขึ้น
๔. ต้องตั้งจุดมุ่งหมายในการอ่านให้ชัดเจน
๕. หลักการอ่านจับใจความสาคัญ ข้อความที่มีขนาดยาวๆ
มีดังนี้
๑. ต้องตั้งใจและมีสมาธิในการอ่าน
๒. อ่านเรื่องคร่าวๆ ตั้งแต่ต้นจนจบ
๓. สรุปหรือ จับใจความว่า ใคร อะไร ที่ไหน เมื่อไร
อย่างไร
๔. กลับไปทบทวนข้อความที่ยังไม่เข้าใจ
๕. สังเกตผลสุดท้ายของเรื่องเป็นอย่างไร
๖. พิจารณาสาระ หรือความสาคัญ แนวคิด คาสอน
ที่ปรากฏในเนื้อเรื่อง
๗. สรุปความคิด อาจทาเป็นบันทึกช่วยจา ย่อความ
ตอบคาถาม
คงไม่เกินความสามารถใช่
ไหมครับ....
เสร็จแล้วอย่าลืมบันทึกคะ
แนนไว้ในแบบบันทึกคะแ
นนด้วยนะครับ
ตัวอย่าง
การสร้างคาใหม่ขึ้นใช้ในภาษานั้น
โดยทั่วไปถือว่าเป็นความเจริญงอกงามอย่างหนึ่งของภาษา
ต่อไป...เป็นความรู้
เกี่ยวกับ
การอ่านจับใจความ
การพิจารณาตาแหน่งใจความสาคัญที่ปรากฏอยู่ในแต่ละย่อหน้า
ใจความสาคัญที่ปรากฏให้เห็นเป็นประโยคชัดเจนในแต่ละย่อหน้า
จะมี ๔ แบบคือ
๑. ใจความสาคัญอยู่ในตาแหน่งตอนต้นย่อหน้า
ลักษณะของใจความสาคัญ
ใจความสาคัญ หมายถึง
ใจความที่สาคัญและเด่นที่สุดในย่อหน้า เป็นแก่นของย่อหน้า
ที่สามารถครอบคลุมเนื้อความในประโยคอื่นๆ
ในย่อหน้านั้นหรือประโยค ที่สามารถเป็นหัวเรื่องของ
ย่อหน้านั้นได้ ถ้าตัดเนื้อความอื่นออกหมด
หรือสามารถเป็นใจความหรือประโยคเดี๋ยวๆ ได้
โดยไม่ต้องมีประโยคอื่นประกอบ
ในแต่ละย่อหน้าจะมีประโยคใจความสาคัญเพียงประโยคเดียว
หรืออย่างมากไม่เกิน ๒ ประโยค
ตัวอย่าง
หยกย่อมาจากหินชนิดหนึ่ง ถ้าเราทิ้งขว้างไม่สนใจ
ก็เป็นเพียงหินธรรมดาก้อนหนึ่ง แม้ภายในจะมีหยกเร้นอยู่
ก็ไม่สามารถปรากฏความมีค่าของมันได้
แต่ถ้ามนุษย์นามาเจียระไนเอาความเป็นหยกออกมาจากหิน
แกะสลักให้สวยงาม ก็จะเป็นของมีค่าสาหรับฮ่องเต้และขุนนาง
กลายเป็นสัญลักษณ์ ที่ต้องติดตัวไว้
แสดงถึงความมีบุญหนักศักดิ์ใหญ่ ยามที่ฮ่องเต้เสด็จออก
ขุนนางก็ต้องถือหยกพระราชทานไว้ในมือ
เพื่อแสดงความเคารพและจงรักภักดีต่อฮ่องเต้
หยกยังนามาใช้ในพิธีกรรมอื่น ๆ อีกมากมาย หยกมีความงาม
และความสาคัญขึ้นมาได้ก็เพราะฝีมือของมนุษย์นี่เอง
๒. ใจความสาคัญอยู่ตาแหน่งตอนท้ายของย่อหน้า
ย่อหน้าแบบนี้จะมีรายละเอียดสนับสนุนต่างๆ กล่าวไว้อย่างกว้างๆ
ในตอนต้น และก่อนจะจบย่อหน้าจะมีประโยคใจความสาคัญ
ตัวอย่าง
ในปัจจุบันเรามักพบโฆษณา
หรือประชาสัมพันธ์ให้คนดื่มเครื่องดื่มที่เป็นอาหารเสริมอยู่เสมอ
ซึ่งมีหลายประเภท หลายผลิตภัณฑ์
มีทั้งจาเป็นและไม่จาเป็นต่อร่างกาย
เครื่องดื่มนมเป็นเครื่องดื่มอาหารเสริมชนิดหนึ่ง
ที่มีความจาเป็นต่อร่างกาย
เพราะมีส่วนประกอบของแร่ธาตุอาหารหลายอย่าง ได้แก่
คาร์โบไฮเดรต โปรตีน ไขมัน เกลือแร่ และวิตามิน
แร่ธาตุอาหารดังกล่าวนี้
จะไปช่วยเสริมสร้างและซ่อมแซมส่วนที่สึกหรอของร่างกายและมีส่
วนช่วยทาให้ร่างกายเจริญเติบโต แข็งแรง
และมีพลานามัยสมบูรณ์ยิ่งขึ้น
ตัวอย่าง
รถยนต์นับได้ว่าเป็นพาหนะที่จาเป็นสาหรับนักธุรกิจ
เพราะนักธุรกิจไม่ต้องการใช้เวลามากในการเดินทาง
การใช้เวลาน้อยหรือการเพิ่มความสะดวกรวดเร็วได้มากเท่าไร
ก็ยิ่งจะเป็นการเพิ่มกาไรให้แก่นักธุรกิจมากเท่านั้น
ซึ่งนอกเหนือจากความจาเป็นพื้นฐานคือ ปัจจัย ๔ อันได้แก่ อาหาร
๓. ใจความสาคัญอยู่ในตาแหน่งตอนกลางของย่อหน้า
ย่อหน้าแบบนี้จะมีรายละเอียดต่างๆ กล่าวไว้อย่างกว้างๆ
ในตอนต้นของย่อหน้า
๔.
ใจความสาคัญอยู่ในตาแหน่งตอนต้นและตอนท้ายของย่อหน้า
ย่อหน้าแบบนี้จะขึ้นต้นด้วยประโยคใจความสาคัญ
ตัวอย่าง ย่อหน้าที่ไม่แสดงใจความสาคัญ
ใจความสาคัญที่ต้องจับประเด็นเอง
งานเขียนบางย่อหน้า ไม่ปรากฏประโยคใจความสาคัญ
มีแต่ความคิดสาคัญซึ่งแฝงอยู่ใน ย่อหน้า ย่อหน้าประเภทนี้
ผู้อ่านควรอ่านสองครั้ง ครั้งแรกอ่านให้เข้าใจเรื่องก่อน
ครั้งที่สองอ่านเพื่อจับว่าข้อความใดสาคัญที่สุดในย่อหน้า
ให้ขีดเส้นใต้หรือทาเครื่องหมายไว้ แต่ถ้าอ่านจบสองครั้งแล้ว
ยังพิจารณาหาประโยคใจความสาคัญไม่ได้
การเลี้ยงอาหารในสังคม อาจใช้การนั่งล้อมโต๊ะ
หรือล้อมวงที่พื้น อาจจัดเลี้ยงอาหารแบบช่วยตัวเอง
หรืออาจจัดเลี้ยงแบบโต๊ะจีนก็ได้
สรุปใจความสาคัญได้ว่า
การเลี้ยงอาหารในสังคมจัดได้หลายแบบ
........ ๑. อาหารไทยมีส่วนทาให้ผิวสวย เพลงลูกทุ่งบอกว่ากินข้าวกับน้าพริกจ
ถ้าได้กินอย่างที่คนสมัยก่อนกินกัน กินข้าวกับน้าพริก กับผัก
และปลาล้วนเป็นอาหารบารุงผิว
........ ๒. ถั่วฝักยาว มะเขือต่างๆ ขมิ้นขาว แตงกวา เป็นผักที่กินสดๆ กับน้าพริก
คนไม่ชอบกินผักกัน เพราะไม่ยอมลองกิน
กินผักให้อร่อยต้องกินกับน้าพริกและปลาย่างหรือปลาทอด
........ ๓. มะเร็งสามารถเกิดขึ้นได้กับคนทุกเพศทุกวัย มะเร็งบางอย่างเช่น มะเร็ง
พบมากในผู้สูงอายุ แต่มะเร็งบางชนิด เช่น มะเร็งเม็ดโลหิตขาว มะเร
กลับพบในเด็กมากกว่า เป็นต้น
........ ๔. ความรักทาให้เกิดความสุข ความรักควรเริ่มรักตนเองให้เป็นก่อน แล้ว
ความดีทาให้ความรักและความสุขอยู่นาน
การทาความดีต่อคนรักและชักชวนให้คนรักให้ทาความดีต่อคนอื่นจะท
หรือจับผิดกันเองซึ่งจะทาให้เกิดความทุกข์
........ ๕. มนุษย์เรียนภาษาเพราะมีสติปัญญา
แล้วกลับใช้ภาษานั่นเองในการเรียนรู้เพิ่มพูนสติปัญญาเป็นวงจรไม่รู้จ
เด็กทุกคนจึงต้องการฝึกพูดก่อนเพื่อที่จะพาเขาออกสู่โลกแห่งการเรียน
........ ๖. ปัจจุบันมีผู้นิยมกินวิตามินซีปริมาณวันละมากๆ เพื่อเพิ่มภูมิคุ้มกันในร่า
วิตามินซีเป็นวิตามินชนิดที่ละลายได้ในน้า
ถ้าร่างกายขาดวิตามินซีจะเป็นโรคเลือดออกตามไรฟัน แต่ถ้าการกินว
ก็ให้โทษได้เช่น ทาให้ท้องเสีย มีลมมาก สาหรับเด็กๆ ที่อมวิตามินซีมา
จะมีผลทาให้ฟันผุด้วย
........ ๗. มีผู้เสนอว่า กรุงเทพฯ ควรมีคลองหลายสายเหมือนสมัยก่อน เพื่อแก้ไข
เนื่องจากคลองเป็นแหล่งรองรับน้าได้ดี
ให้นักเรียนพิจารณาข้อความที่พิมพ์ตัวหนา
ว่าเป็นใจความสาคัญ
ของข้อความที่กาหนดให้หรือไม่
โดยให้ทาเครื่องหมาย / หน้าข้อที่เห็นว่าถูก
และทาเครื่องหมาย X หน้าข้อที่เห็นว่าผิด จานวน
๑๐ ข้อ ข้อละ ๑ คะแนน
นอกจากนั้นจะได้ใช้การสัญจรทางน้าแทนทางบกเพื่อบรรเทาปัญหาก
และการสัญจรทางน้าก็ไปได้อย่างรวดเร็วอีกด้วย
........ ๘. ปัจจุบันชาวอยุธยาใช้เนื้อไม้จากต้นโสนชนิดลาต้นใหญ่
ประดิษฐ์เป็นดอกไม้หลายรูปแบบ เช่น ดอกมะลิ ดอกกุหลาบ
ดอกจาปา เป็นต้น เป็นรายได้เสริมให้กับชาวบ้านในท้องถิ่น
........ ๙. บางคนทาหน้าที่ป้องกันประเทศ
บางคนทาหน้าที่รักษาความสงบภายใน
บางคนถ่ายทอดความรู้แก่ผู้อื่น และบางคนช่วยรักษาผู้เจ็บป่วย
ฯลฯ มนุษย์แต่ละคนในสังคมจึงทาหน้าที่ต่างๆ กันไป
........ ๑๐. น้ามีส่วนเกี่ยวข้องในพิธีกรรมศักดิ์สิทธิ์
เป็นคติความเชื่อที่ผูกพันกับคนไทยมาช้านานตั้งแต่ครั้งโบราณแล้ว
โดยเฉพาะในพระราชพิธีราชาภิเษก
น้าเปรียบได้ดั่งน้าใจจากเหล่าประชาชน
เพื่อน ๆ
ช่วยกันทาความเข้าใจนะครั
บ
จะได้เป็นพื้นฐานการอ่านใน
กิจกรรมต่อไปนะครับ
๑. คนเราที่เรียนรู้และทาความเข้าใจในชีวิตมาก
ก็จะมีความสุขในชีวิตมาก และมีโอกาส
ที่จะประสบผลสาเร็จในการมีชีวิตอยู่มาก (๑)
ชีวิตคนเรานอกจากจะต้องเรียนรู้วิชาการทางโลกเพื่อประกอบอาชี
พ (๒)
เรียนรู้สิ่งแวดล้อมรอบตัวเพื่อที่จะอยู่กับสิ่งแวดล้อมนั้นอย่างมีความ
๒. น้าในสระว่ายน้าบางแห่งมีคลอรีนผสมอยู่มาก (๑)
หากว่ายน้าแล้วอาจเกิดตาแดง แสบ และเคืองตามาก(๒)
หรืออีกทีถ้าไปว่ายน้าในคลองที่สกปรก
ตาก็อาจเกิดการอักเสบติดเชื้อ
การพิจารณาใจความสาคัญ
ให้นักเรียนพิจารณาตอบคาถามต่อไปนี้ จานวน
๕ ข้อ ข้อละ ๒ คะแนน
ใจความสาคัญของข้อความนี้คือหมายเลขใด
ก. หมายเลข ๑ ข. หมายเลข ๒ ค. หมายเลข ๓
ง. หมายเลข ๔
๓. ในฐานะที่เยาวชนเป็นความหวังของสังคม
เป็นคนรุ่นใหม่ของชุมชน และประเทศชาติ (๑)
จะจัดการอย่างไรกับปัญหาที่เกิดขึ้น เป็นคาถามที่ท้าทาย (๒)
เยาวชนซึ่งเป็นลูกหลานของคนเมืองน่าน
จึงได้พร้อมใจกันลุกขึ้นมาหาทางออก โดยทากิจกรรมร่วมกัน (๓)
๔. การที่เราจะมีชีวิตอยู่อย่างเป็นสุข ไม่ได้แปลว่า
เราต้องกาจัดความทุกข์ได้อย่างถาวร
(๑)เพียงแต่เราต้องรู้วิธีที่จะอยู่กับความทุกข์อย่างพอดี
รู้จักที่จะลอยตัวเหนือความทุกข์(๒)
ถ้าจะทุกข์ก็ควรทุกข์เฉพาะบางเรื่อง
ใจความสาคัญของข้อความนี้คือหมายเลขใด
ก. หมายเลข ๑ ข. หมายเลข ๒ ค. หมายเลข ๓
ง. หมายเลข ๔
ใจความสาคัญของข้อความนี้คือหมายเลขใด
ก. หมายเลข ๑ ข. หมายเลข ๒ ค. หมายเลข ๓
ง. หมายเลข ๔
๑. การปลูกผักที่หลากหลาย
เป็นปัจจัยสาคัญในการลดความเสี่ยงจากการแพร่ระบาดของแมลง
โดยอาจจะปลูกพืชเหลื่อมฤดู
ปลูกพืชร่วมหรือระบบพืชผลผสมผสานก็ได้
๕. ดินพอกหางหมูมีแต่จะเพิ่มมากขึ้นๆ
และถ่วงหมูให้กินอยู่หลับนอนไม่เป็นสุขยิ่ง ๆ ขึ้นไปฉันใด (๑)
การงานที่ปล่อยทิ้งไว้คั่งค้าง ก็มีแต่จะยิ่งเพิ่มมากขึ้น
และถ่วงความเจริญก้าวหน้าทั้งแก่ตนเอง และหมู่คณะฉันนั้น (๒)
ค่าของคนอยู่ที่ผลของงาน หากปล่อยการงานให้คั่งค้าง
ใจความสาคัญของข้อความนี้คือหมายเลขใด
ก. หมายเลข ๑ ข. หมายเลข ๒ ค. หมายเลข ๓
ง. หมายเลข ๔
ใจความสาคัญของข้อความนี้คือหมายเลขใด
ก. หมายเลข ๑ ข. หมายเลข ๒ ค. หมายเลข ๓
ง. หมายเลข ๑,๓
การจับใจความสาคัญจากข้อความที่กาหนด
ให้นักเรียนอ่านข้อความแล้วลองพิจารณาหาใจคว
ามสาคัญของข้อความ
ที่กาหนดให้นะคะ(ข้อละ ๒ คะแนน)
๒.
ไม่มีความรักใดในโลกที่มีค่าสูงส่งและยิ่งใหญ่จนสมควรที่มนุษย์ต้อง
ยอมสิ้นศักดิ์ศรีเพื่อแลกให้ได้มา ความรักที่มีค่าอย่างแท้จริงนั้น
ไม่ได้มาจากการอ้อนวอนร้องขอ
หากแต่เป็นสิ่งที่หลั่งมาเองเหมือนสายฝนอันชื่นใจ
ใจความสาคัญคือ
๓. “โลกวิกฤติเพราะมุ่งกาไรสูงสุด
ซึ่งจะกินเวลาอีกนานกว่าจะปรับตัวได้ คนไทยต้องเปลี่ยนวิธีคิด
จิตสานึก และทิศทางการพัฒนา
มาเป็นมุ่งสร้างการอยู่ร่วมกันอย่างสมดุลและสันติ
ทั้งระหว่างมนุษย์กับมนุษย์ และระหว่างมนุษย์กับธรรมชาติ
หากเรามุ่งช่วยเหลือเกื้อกูลและร่วมมือกัน
เราสามารถสร้างประเทศไทยให้น่าอยู่มากกว่าประเทศที่มุ่งกาไรสูงสุ
๔. อาหารหลักในงานเลี้ยงที่เหมาะสมสาหรับคนวัยทางาน
ควรเน้นอาหารที่มีไขมันต่า น้าตาลต่า และมีเส้นใยสูง
เพื่อป้องกันการเกิดโรคเรื้อรังต่างๆ ในอนาคต ดังนั้น
ควรเลือกเมนูอาหารที่ปรุงด้วยวิธี ต้ม อบ ตุ๋น นึ่ง ปิ้ง ย่าง
เป็นหลักเช่นปลากะพงนึ่งมะนาว ยาถั่ว ๓ กษัตริย์
น้าพริกผักลวกต่างๆ
๕. การทานอาหารแบบใหม่ที่มาแรงแซงโค้งในขณะนี้
และดูว่าจะได้รับความสนใจจากผู้บริโภคที่รักสุขภาพ
และขณะเดียวกันก็ตามใจปากอยู่ไม่น้อย
เพราะเป็นทางเลือกที่ไม่ทาให้ต้องปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการรับปร
ะทานอย่างมากมายจนรับไม่ได้
เพียงแต่เลือกอาหารตามกรุ๊ปเลือดของแต่ละคน
ซึ่งนักโภชนาการได้ศึกษาค้นคว้ามาแล้วว่า คนเลือดกรุ๊ปใด
เสร็จแล้ว
รีบไปดูแนวคาตอบ
กันเลยครับ
ข้อ
๑
/ ข้อ ๒ x
ข้อ
๓
/ ข้อ ๔ /
ข้อ
๕
x ข้อ ๖ x
ข้อ
๗
/ ข้อ ๘ x
ข้อ
๙
/ ข้อ ๑๐ x
ข้อ ๑.
ก
ข้อ ๒.
ง
ข้อ ๓.
ค
ข้อ ๔.
ข
ข้อ ๕. ข
๑. การปลูกผักที่หลากหลาย
เป็นปัจจัยสาคัญในการลดความเสี่ยงจากการแพร่ระบาดของแมลง
๒. ความรักที่มีค่าอย่างแท้จริง คือความรักที่ออกมาจากใจจริง
๓. คนไทยต้องเปลี่ยนวิธีคิด จิตสานึก และทิศทางการพัฒนา
มาเป็นมุ่งสร้างการอยู่ร่วมกันอย่างสมดุลและสันติ
๔. อาหารหลักในงานเลี้ยงที่เหมาะสมสาหรับคนวัยทางาน
ควรเน้นอาหารที่มีไขมันต่า น้าตาลต่า และมีเส้นใยสูง
๕.
การทานอาหารแบบใหม่ได้รับความนิยมมากในขณะนี้เลือกทานอาหา
รตามกรุ๊ปเลือดของ แต่ละคน
การอ่านเพื่อแยกข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็น
การอ่านเพื่อแยกข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็น หมายถึง
การอ่านอย่างละเอียดทุกตัวอักษร
และเมื่ออ่านจบแล้วต้องแยกแยะได้ว่าอะไรคือข้อเท็จจริง
อะไรคือความคิดเห็น อะไรถูก อะไรผิด
ถ้าผิดก็ต้องทราบว่าผิดอย่างไร
ทาได้ไม่ยากเลยใช่ไหมค
รับ...
ตรวจเสร็จแล้วอย่าลืมบัน
ทึกผลคะแนนนะครับ
“ข้อคิดเห็น” หมายถึง ความเห็น
ความรู้สึกนึกคิดของผู้ส่งสารที่สอดแทรกอยู่ในเนื้อหา
อาจกล่าวได้ว่า ข้อคิดเห็น นั้นไม่สามารถสนับสนุนยืนยันได้
ส่วนข้อเท็จจริงนั้น ต้องสามารถพิสูจน์สนับสนุนยืนยันได้
ลักษณะของข้อคิดเห็น
๑. เป็นข้อความที่แสดงความรู้สึก
๒. เป็นข้อความที่แสดงการคาดคะเน
๓. เป็นข้อความที่เป็นข้อเสนอแนะ
๔. เป็นข้อความแสดงความคิดของผู้เขียนเอง
๕. เป็นข้อความที่เป็นความเชื่อที่ไม่สมเหตุสมผล
ตัวอย่างข้อความที่เป็นข้อคิดเห็น
๑. เงินสามารถซื้อสิ่งที่เราต้องการได้ทุกอย่าง
(เป็นการแสดงความคิดเห็นที่ไม่เป็นจริงเสมอ เช่น
เงินไม่สามารถซื้อเพื่อนที่ดีได้ เงินไม่สามารถซื้อความตายได้)
๒. ถ้าตื่นขึ้นมาตอนเช้าแล้วดื่มน้าสัก ๒ – ๓ แก้ว
จะทาให้สดชื่น และผิวเต่งตึง (เป็นข้อเสนอแนะที่เป็นอันตราย
เพราะอาจทาให้จุกแน่นท้อง ช็อกได้ง่ายๆ )
๓. หากฝูงกาบินมาจับหลังคาบ้าน
เป็นลางบอกเหตุว่าจะมีเรื่องร้ายเกิดขึ้น แก่ผู้เป็นเจ้าของบ้าน
(เป็นความเชื่อที่ไม่สมเหตุสมผล)
๔. ชีวิตคือการต่อสู้ ศัตรูคือยาชูกาลัง
(เป็นความคิดเห็นส่วนตัว ซึ่งคนอื่นอาจไม่คิดอย่างนั้นก็ได้)
๕. คนรักเท่าผืนหนัง คนชังเท่าผืนเสื่อ
(เป็นความคิดเห็นเชิงเปรียบเทียบ)
ตัวอย่างการแยกข้อเท็จจริงแ
ละข้อคิดเห็น
“นักเรียนในห้องนี้มี ๔๐ คน นักเรียนชาย ๒๐ คน
นักเรียนหญิง ๒๐ คน ถ้าจะให้ดีควรจะมีนักเรียนชาย ๓๐ คน
นักเรียนหญิง ๑๐ คน”
“เกิดอุบัติเหตุรถยนต์ชนกัน มีผู้บาดเจ็บ ๓ ศพ
บริเวณสี่แยกตรงนี้มีรถชนกันบ่อย
น่าจะมาติดไฟเขียวไฟแดงให้หน่อย จะรอให้มีผู้ตายอีกกี่ศพล่ะ”
“ประเทศหนึ่งๆ ต่างก็มีระบอบการปกครองแตกต่างกันออกไป
ประเทศรัสเซียได้ชื่อว่าเป็นประเทศที่ปกครองด้วยระบบสังคมนิยม
ไม่มีศาสนา ไม่มีพระมหากษัตริย์ ถ้าข้าพเจ้าต้องมีชีวิตอยู่ที่นั้น
คงจะอึดอัดใจมิใช่น้อย
เพราะข้าพเจ้าถือว่าทั้งสองสถาบันคือศูนย์รวมจิตใจของทุกคน”
การอ่านเพื่อแยกข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็น
อ่านข้อความต่อไปนี้
แล้วตอบคาถามข้างท้ายโดยทาเครื่องหมาย /
หน้าคาตอบที่ถูกต้อง
คงพอเข้าใจนะครั
บ ...
เราไปทากิจกรรม
กันครับ
๑. ถ้าจะให้ดีพ่อแม่ ผู้ปกครอง
ควรอ่านด้วยโดยเฉพาะหน้าท้ายๆ ที่ว่าด้วย ๗
วิธีที่พ่อแม่สามารถช่วยลูกนอกห้องเรียน
ถ้าหากอยากให้ลูกหลานของท่านก้าวไปสู่การเป็นพลเมืองที่ดีมีคุ
ณภาพของประเทศ
ข้อความนี้เป็น ข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็น
๒. ในช่วงเช้าก่อนทางาน
แม่บ้านกลุ่มหนึ่งกาลังคุยกันถึงละครหลังข่าวเมื่อคืน สมทรงพูดว่า
คนที่แสดงเป็นมุนินทร์น่าจะได้รับรางวัลนักแสดงหญิงยอดเยี่ยมนะ
เล่นได้ถึงบทจริงๆ ส่วนสมศรีค้านว่าคนที่เล่นเป็นนพนภาต่างหาก
ที่ควรได้รับรางวัลนักแสดงหญิงยอดเยี่ยม เพราะเป็นบทที่เล่นยาก
และก็ต้องแสดงออกทางสีหน้า ดวงตาด้วย
ขณะที่คุยกันอยู่ลุงสมศักดิ์วิ่งกระหืดกระหอบมาบอกว่า
เจ้าด่างน้อยที่วิ่งเล่นหน้าหมู่บ้านของเราถูกรถทับตายเมื่อกี้นี้
เด็กชายแกะที่วิ่งตามมาบอกว่า น่าสงสารที่สุดเลยครับคุณป้า
คนขับรถไม่น่าใจร้ายเลย
นักเรียนคิดว่าคนที่กล่าวข้อความที่เป็นข้อเท็จจริง คือใคร
สมทรง สมศรี สมศักดิ์
เด็กชายแกะ
๓. เทศกาลสงกรานต์ที่ถนนข้าวสาร
มีนักท่องเที่ยวให้ความสนใจเข้าร่วมเล่นสาดน้ากันอย่างเนืองแน่น
ข้อความนี้เป็น ข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็น
๔. ถ้าพิจารณาในแง่กาลเทศะ ผู้ที่จะเล่นสนุกในเทศกาลสงกรานต์
ก็ไม่ควรแต่งกายให้ดูหวือหวา
โดยเฉพาะในเวลาที่ต้องสาดน้าสงกรานต์
ตามย่านที่มีผู้คนจานวนมากชุมนุมกันอยู่
เพราะอาจเกิดเรื่องไม่งดงามขึ้นได้
ข้อความนี้เป็น ข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็น
๕. ชีวิตไร้สาระขณะนี้ ยังไม่สายเกินที่จะแก้ไข
แม้ชีวิตเหลือน้อยลงเพียงไร ควรภูมิใจที่ได้ทาดีทัน
มีคนเห็นหรือไม่เป็นไรเล่า
ควรเลือกเอาความดีที่สร้างสรรค์
มีใครเห็นหรือไม่ไม่สาคัญ
ใจเรานั้นรู้ว่าดีเท่านี้พอ
ข้อความนี้เป็น ข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็น
คงไม่ยากเกินความสามาร
ถใช่ไหมครับ.... ช่วยกันทา
ช่วยกันวิเคราะห์หาคาตอบ
..
ไปดูเฉลยกันเลยครับ
..........
..........
..
๑
.
น้าแตงโมมีดื่มกันมากในประเทศแถบคาบสมุทรบอลข่าน
..........
..........
..
๒
.
การดื่มนมหรือกินผลิตภัณฑ์จากนมมากเกินไป
อาจเพิ่มสิวได้เช่นกัน
..........
..........
..
๓
.
ชาวจีนเป็นชาติแรกที่รู้จักและเพาะถั่วงอกจากเมล็ดถั่วเห
ลือง
..........
..........
..
๔
.
ส้มโอสามารถป้องกันและรักษาโรคเลือดออกตามไรฟัน
ช่วยระบาย บารุงหัวใจ แก้ไอ และขับเสมหะ
การพิจารณาข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็น
ให้นักเรียนบอกว่า
ข้อความที่กาหนดให้ต่อไปนี้เป็นข้อเท็จจริง
หรือข้อคิดเห็น โดยเขียนคาว่า “ข้อเท็จจริง” หรือ
“ข้อคิดเห็น” ลงหน้าข้อความนั้นๆ
..........
..........
..
๕
.
เมื่อหั่นผักแล้ว ไม่ควรทิ้งไว้
ควรกินทันทีหลังจากเตรียมเสร็จใหม่ๆ
เพราะการหั่นผักทิ้งไว้ให้สัมผัสอากาศนานๆ
จะทาให้วิตามินลดลงไปได้
..........
..........
..
๖
.
แม่บุญธรรมน่าสงสารเพราะเธอไม่อาจมีลูกของตัวเอง
แม้มีสามีที่รักและเข้าใจตัวเธอ
ก็ยังขาดความมั่นใจว่าลูกบุญธรรมจะรักตัวเองจริงจัง
มั่นคงแค่ไหน
..........
..........
..
๗
.
การบริโภคอาหารอย่างถูกหลักอนามัยถือเป็นอีกปัจจัยห
นึ่งในการเพิ่มความสวยความงามให้กับร่างกายของคนเ
รา
..........
..........
..
๘
.
อาหารที่มีกากใยสูงนับเป็นอาหารสาหรับการลดน้าหนัก
ที่ดีที่สุด
..........
..........
..
๙
.
เมื่อถูกวิจารณ์ไม่ควรจะ “น้อยใจ”
แต่ควรหนักแน่นจะได้ประโยชน์จากการวิพากษ์วิจารณ์
มาปรับปรุงตัวเอง
..........
..........
..
๑
๐
.
ผ้าขิดไหม เป็นผ้าไหมพื้นบ้านชนิดหนึ่งของภาคอีสาน
ซึ่งทอด้วยกรรมวิธีที่แตกต่างจากการทอผ้าทั่วๆ ไป
เสร็จแล้ว...ไปดูเฉลยกันเลยครับ
ให้นักเรียนอ่านข้อความต่อไปนี้แล้วบอกข้อเท็จจ
ริง และข้อคิดเห็น
ที่ปรากฏในเนื้อความมาอย่างละ ๕ สานวน
ประเทศไทยของเรายิ่งใหญ่นะครับ
ประวัติศาสตร์ชาติไทยของเรายิ่งใหญ่
การรบทัพจับศึกป้องกันบ้านป้องกันเมืองของทหารกล้าของไทยใน
อดีต สมควรได้รับการยกย่องนับถือบูชา
เพื่อเป็นเครื่องเชิดชูใจและที่สาคัญที่สุดเพื่อให้อนุชนรุ่นหลังได้สานึ
กปีติ
และนาไปเป็นแบบอย่างว่าเราจะโตขึ้นมารักษาชาติไทยเหมือนบรร
พบุรุษของเรา
ตามตาราจิตวิทยาเขาจึงได้สอนเอาไว้ว่า
ถ้าเด็กมีต้นแบบแบบไหน
เขาก็จะโตขึ้นมาเป็นเหมือนคนต้นแบบและเด็กจะถือต้นแบบที่ดีได้
ก็ด้วยการที่เราเชิดชูผู้ยิ่งใหญ่ให้เด็กได้เห็นแล้วทาตนตามแบบนั้น
…
ดังนั้นแม้ว่าเจดีย์สามองค์จะเล็กจนน่าผิดหวัง
แต่นั่นก็ไม่ใช่เครื่องบั่นทอนความยิ่งใหญ่และความเสียสละของบรร
พชนของเราเลย
จริงอยู่ที่ความใหญ่โตทางปริมาตรนั้นจะดูอลังการจูงใจให้นับถือ
แต่ก็ไม่ได้หมายความว่าสิ่งใดที่เล็ก สิ่งนั้นจะไม่มีคุณค่า
สิ่งสาคัญที่สุด ทุกสิ่งทุกอยู่ที่เราทาตัวเอง
เจดีย์สามองค์ดูเล็กก็จริง คนอาจไปเยี่ยมชมไม่มากนักก็จริง
แต่เราอย่าลืมว่าสถานที่แห่งนี้คือสถานที่ประวัติศาสตร์สาคัญของช
าติไทย เราจะต้องดูแลอนุสรณ์สถานทางประวัติศาสตร์นี้ให้ดูดีที่สุด
ไม่ใช่ระเกะระกะอย่างที่เราเห็น….
ข้อเท็จจริงคือ
..................................................................................................
.............................................................
..................................................................................................
.............................................................
................................................................................................ ..
.............................................................
..................................................................................................
.............................................................
..................................................................................................
.............................................................
..................................................................................................
.............................................................
..................................................................................................
.............................................................
..................................................................................................
.............................................................
................................................................................................ ..
.............................................................
..................................................................................................
.............................................................
ข้อคิดเห็นคือ
..................................................................................................
.............................................................
..................................................................................................
.............................................................
..................................................................................................
.............................................................
..................................................................................................
.............................................................
..................................................................................................
.............................................................
..................................................................................................
.............................................................
..................................................................................................
.............................................................
..................................................................................................
.............................................................
..................................................................................................
.............................................................
..................................................................................................
.............................................................
..................................................................................................
.............................................................
..................................................................................................
.............................................................
ไม่ยากใช่ไหมครับ
ไปดูแนวคาตอบกัน
เลยครับ
๑. ถ้าจะให้ดีพ่อแม่ ผู้ปกครอง
ควรอ่านด้วยโดยเฉพาะหน้าท้ายๆ ที่ว่าด้วย ๗
วิธีที่พ่อแม่สามารถช่วยลูกนอกห้องเรียน
ถ้าหากอยากให้ลูกหลานของท่านก้าวไปสู่การเป็นพลเมืองที่ดีมีคุ
ณภาพของประเทศ
ข้อความนี้เป็น ข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็น
๒. ในช่วงเช้าก่อนทางาน
แม่บ้านกลุ่มหนึ่งกาลังคุยกันถึงละครหลังข่าวเมื่อคืน สมทรงพูดว่า
คนที่แสดงเป็นมุนินทร์น่าจะได้รับรางวัลนักแสดงหญิงยอดเยี่ยมนะ
เล่นได้ถึงบทจริงๆ ส่วนสมศรีค้านว่าคนที่เล่นเป็นนพนภาต่างหาก
ที่ควรได้รับรางวัลนักแสดงหญิงยอดเยี่ยม เพราะเป็นบทที่เล่นยาก
และก็ต้องแสดงออกทางสีหน้า ดวงตาด้วย
๓. เทศกาลสงกรานต์ที่ถนนข้าวสาร
มีนักท่องเที่ยวให้ความสนใจเข้าร่วมเล่นสาดน้ากันอย่างเนืองแน่น
ข้อความนี้เป็น ข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็น
๔. ถ้าพิจารณาในแง่กาลเทศะ ผู้ที่จะเล่นสนุกในเทศกาลสงกรานต์
ก็ไม่ควรแต่งกายให้ดูหวือหวา
โดยเฉพาะในเวลาที่ต้องสาดน้าสงกรานต์
ตามย่านที่มีผู้คนจานวนมากชุมนุมกันอยู่
เพราะอาจเกิดเรื่องไม่งดงามขึ้นได้
๑. ข้อเท็จจริง ๒. ข้อคิดเห็น
๓. ข้อเท็จจริง ๔. ข้อเท็จจริง
๕. ข้อคิดเห็น ๖. ข้อคิดเห็น
๗. ข้อเท็จจริง ๘. ข้อเท็จจริง
๙. ข้อคิดเห็น ๑๐. ข้อเท็จจริง
๕. ชีวิตไร้สาระขณะนี้ ยังไม่สายเกินที่จะแก้ไข
แม้ชีวิตเหลือน้อยลงเพียงไร ควรภูมิใจที่ได้ทาดีทัน
มีคนเห็นหรือไม่เป็นไรเล่า
ควรเลือกเอาความดีที่สร้างสรรค์
มีใครเห็นหรือไม่ไม่สาคัญ
ใจเรานั้นรู้ว่าดีเท่านี้พอ
ข้อความนี้เป็น ข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็น
ข้อความที่เป็นข้อเท็จจริง ได้แก่
๑. ตามตาราจิตวิทยาเขาจึงได้สอนเอาไว้ว่า
ถ้าเด็กมีต้นแบบแบบไหน
เขาก็จะโตขึ้นมาเป็นเหมือนคนต้นแบบและเด็กจะถือต้นแบบที่ดีได้
ก็ด้วยการที่เราเชิดชูผู้ยิ่งใหญ่ให้เด็กได้เห็นแล้วทาตนตามแบบนั้
น
๒.
ข้อความที่เป็นข้อคิดเห็น ได้แก่
๑. ประเทศไทยของเรายิ่งใหญ่นะครับ
ประวัติศาสตร์ชาติไทยของเรายิ่งใหญ่ การรบทัพ
จับศึกป้องกันบ้านป้องกันเมืองของทหารกล้าของไทยในอดีต
สมควรได้รับการยกย่องนับถือบูชา
เพื่อเป็นเครื่องเชิดชูใจและที่สาคัญที่สุดเพื่อให้อนุชนรุ่นหลังได้สา
นึกปีติ และนาไปเป็นแบบอย่าง
ว่าเราจะโตขึ้นมารักษาชาติไทยเหมือนบรรพบุรุษของเรา
๒.ดังนั้นแม้ว่าเจดีย์สามองค์จะเล็กจนน่าผิดหวัง
แต่นั่นก็ไม่ใช่เครื่องบั่นทอนความยิ่งใหญ่และความเสียสละของบร
ชื่อ....................................................................ชั้น................เลข
ที่..........
แบบบันทึกผลการเรียนรู้
๑. บันทึกคะแนนระหว่างเรียน แบบฝึกทักษะเล่มที่ ๑ เรื่อง
พื้นฐานการอ่าน
แบบฝึกที่ แบบฝึกที่ ๑ รว
ม
ชุด
ที่
๑
แบบฝึกที่ ๒ รว
ม
ชุด
ที่
๒
แบบฝึกที่ ๓ รว
ม
ชุด
ที่
๓
คะแนน
กิจกร
รม
๑.๒
กิจกร
รม
๑.๓
กิจกร
รม
๒.๒
กิจกร
รม
๒.๓
กิจกร
รม
๓.๒
กิจกร
รม
๓.๓
คะแนนเ
ต็ม ๑๐ ๑๐ ๒๐ ๑๐ ๑๐ ๒๐ ๑๐ ๑๐ ๒๐
คะแนนที่
อย่าลืมบันทึกค
ะแนนไว้นะครับ
ได้
เกณฑ์การผ่านการประเมินแบบฝึกแต่ละชุด ร้อยละ ๘๐ ขึ้นไป
๒. บันทึกคะแนนการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
แบบฝึ
ก
มีความซื่อสัต
ย์
(๔ คะแนน)
มีวินัย
(๔
คะแนน
)
ใฝ่เรียน
รู้
(๔
คะแนน)
รวม
(๑๒
คะแนน
)
ระดับคุณภา
พ
ชุดที่ ๑
ชุดที่ ๒
ชุดที่ ๓
ประเมินผลโดยภาพรวม ผ่านเกณฑ์ประเมิน ระดับ ดี ขึ้นไป
เกณฑ์การประเมินทักษะการอ่านจับใจความ
แบบฝึกเล่มที่ ๑ พื้นฐานการอ่าน
๑. กิจกรรมการตอบคาถามแบบปรนัยชนิดถูกผิด และแบบตัวเลือก
๑.๑ กิจกรรมที่มี ๑๐ ข้อ ตอบถูก ๘ ข้อขึ้นไป ถือว่าผ่านเกณฑ์
๑.๒ กิจกรรมที่มี ๕ ข้อ ตอบถูก ๔ ข้อขึ้นไป ถือว่าผ่านเกณฑ์
๒. กิจกรรมการเขียนตอบคาถาม และแสดงความคิดเห็น มีทั้งหมด
๕ ข้อ ข้อละ ๒ คะแนนมีเกณฑ์การให้คะแนนดังนี้
ทักษะ
คะแนน การอ่านจับใจความ
๒
จับใจความของเรื่องได้
โดยตอบได้ตรงกับแนวคาตอบ
และอาจมีการเพิ่มเติมจากแนวคาตอบบ้าง
แต่อยู่ในประเด็นของคาถาม
และมีการแสดงความคิดเห็นที่มีเหตุผลสมควร
๑
จับใจความของเรื่องได้บ้าง
โดยตอบได้ตรงกับแนวคาตอบ
แต่ไม่ครบถ้วนตามแนวคาตอบ
อาจมีการเพิ่มเติมแต่อยู่ในประเด็นของคาถาม
และมีการแสดงความคิดเห็นที่มีเหตุผลบ้าง
๐
จับใจความของเรื่องไม่ได้
โดยตอบไม่ตรงกับแนวคาตอบ
หรือตอบไม่ตรงกับประเด็นคาถาม
และไม่แสดงความคิดเห็น
หรือแสดงความคิดเห็นแต่ไม่มีเหตุผลสมควร
กิจกรรมรวม ๕ ข้อ ข้อละ ๒ คะแนน รวม ๑๐ คะแนน
เกณฑ์การผ่าน ต้องได้คะแนน ๘ คะแนนขึ้นไป
เกณฑ์การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
รายการประเมิน
เกณฑ์การให้คะแนน
๔ ๓ ๒ ๑
ความซื่อสัตย์ มีความซื่อสัตย์
ไม่เปิดดูเฉลยก่อ
น
ทากิจกรรม
มีความซื่อสัตย์บ้
าง
คัดลอกงานเพื่อ
น
เป็นบางข้อ
ไม่เปิด
ดูเฉลยก่อนทา
กิจกรรม
ไม่มีความ
ซื่อสัตย์
คัดลอกคา
ตอบจากเ
พื่อน
เปิดดูเฉล
ยก่อนทากิ
จกรรมบ้า
ง
ไม่มีความ
ซื่อสัตย์
เปิดดูเฉล
ยก่อนทากิ
จกรรมทุก
กิจกรรม
ความมีวินัย ทากิจกรรมค
รบถ้วน
ส่งบันทึกคะ
แนนครบถ้ว
น
ไม่ลุกเดินไป
มาขณะปฏิบั
ทากิจกรรมค
รบถ้วนส่ง
บันทึกคะแน
นครบถ้วน
ลุกเดินไปมา
บ้าง
ทากิจกรร
มครบ
ส่งบันทึกค
ะแนนครบ
แต่ต้องอา
ศัยการตัก
เตือนบ้าง
ทากิจกรร
ม
ไม่ครบ
ไม่ส่งบันทึ
กคะแนน
ลุกเดินไป
มาต้องตัก
ติกิจกรรม ลุกเดินไป
มาบ้าง
เตือนอยู่เส
มอ
ใฝ่เรียนรู้ ตั้งใจเรียน
ทากิจกรรม
ที่กาหนดให้
ด้วยความกร
ะตือรือร้น
แสดงความเ
ป็นผู้นาในก
ารปฏิบัติกิจ
กรรมกลุ่ม
ตั้งใจเรียน
ทากิจกรรม
ที่กาหนดให้
ด้วยความกร
ะตือรือร้น
ไม่ค่อยตั้งใจเรี
ยน
ต้องอาศัยการ
ตักเตือนให้
ทากิจกรรม
ที่กาหนดให้
ไม่ตั้งใจเรี
ยนและไม่
ทากิจกรร
มที่กาหน
ดให้
ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
๑๐ - ๑๒ คะแนน ดีมาก
๘ - ๙ คะแนน ดี
๖ - ๗ คะแนน พอใช้
๐ - ๕ คะแนน ปรับปรุง
เกณฑ์การผ่าน ได้คะแนนจากการประเมินระดับคุณภาพ ดี ขึ้นไป
บรรณานุกรม
จุไรรัตน์ ลักษณะศิริ และบาหยัง อิ่มสาราญ. (๒๕๔๗) .
การใช้ภาษาไทย. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัย
ศิลปากร
ประเวศ วะสี. (๒๕๕๓, ธันวาคม).
ประเทศไทยเป็นมหาอานาจทางอาหาร. หมอชาวบ้าน. ๓๒(๓๘๐). ๓.
ประเทือง คล้ายสุบรรณ์. เอกสารประกอบการสอนวิชาภาษาไทย
เรื่องการอ่านจับใจความ.
เอกสารอัดสาเนา
วัชรพงศ์ โกมุทธรรมวิบูลย์ และคณะ. (๒๕๔๖).
แผนการจัดการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่๑.
กรุงเทพฯ : บริษัทธนวัชการพิมพ์จากัด.
_________(๒๕๔๖). แผนการจัดการเรียนรู้ภาษาไทย
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่๒. กรุงเทพฯ : บริษัท
ธนวัชการพิมพ์ จากัด.
วิชาการ, กรม. (๒๕๔๖) .
การจัดการสาระการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย. กรุงเทพฯ :
โรงพิมพ์
คุรุสภาลาดพร้าว.
วันทนีย์ เกรียงสินยศ และธิษณา จรรยาชัยเลิศ. (๒๕๕๓, ธันวาคม).
เมนูฉลองปีใหม่กินอะไร(เพิ่ม)
สุขภาพดี?. หมอชาวบ้าน. ๓๒(๓๘๐). ๑๔.
หมอโอ๊ต. (๒๕๔๖, ธันวาคม). คลินิกหญิงไทย. หญิงไทย.
๒๙(๖๗๗). ๒๐๘.
อมรรัตน์ เจริญชัย. (๒๕๔๖, ตุลาคม). โภชนาการเพื่อสุขภาพ.
หญิงไทย. ๒๙( ๖๗๓). ๒๐๕ -๒๐๖.
แบบฝึกเล่ม 1

More Related Content

What's hot

สารพันเลือกสรรตีความ
สารพันเลือกสรรตีความสารพันเลือกสรรตีความ
สารพันเลือกสรรตีความพัน พัน
 
บทที่ 3 หลักการอ่าน
บทที่ 3 หลักการอ่านบทที่ 3 หลักการอ่าน
บทที่ 3 หลักการอ่านAj.Mallika Phongphaew
 
บทที่ 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ
บทที่ 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซบทที่ 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ
บทที่ 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซTeetut Tresirichod
 
1. ข้อสอบ o net ภาษาไทย (มัธยมต้น)
1. ข้อสอบ o net ภาษาไทย (มัธยมต้น)1. ข้อสอบ o net ภาษาไทย (มัธยมต้น)
1. ข้อสอบ o net ภาษาไทย (มัธยมต้น)nunrutchadaphun
 
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่าน การเรียนรู้คำศัพท์ภาษาอังกฤษ (Introductory Stories)
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่าน การเรียนรู้คำศัพท์ภาษาอังกฤษ (Introductory Stories)แบบฝึกเสริมทักษะการอ่าน การเรียนรู้คำศัพท์ภาษาอังกฤษ (Introductory Stories)
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่าน การเรียนรู้คำศัพท์ภาษาอังกฤษ (Introductory Stories)Sommawan Keawsangthongcharoen
 
กระบวนการพัฒนาทักษะการพูด
กระบวนการพัฒนาทักษะการพูดกระบวนการพัฒนาทักษะการพูด
กระบวนการพัฒนาทักษะการพูดWilawun Wisanuvekin
 
ทักษะการอ่าน
ทักษะการอ่านทักษะการอ่าน
ทักษะการอ่าน0872191189
 
จดหมายขอบคุณช่วยเหลือน้ำท่วมจากสำนักนายก
จดหมายขอบคุณช่วยเหลือน้ำท่วมจากสำนักนายกจดหมายขอบคุณช่วยเหลือน้ำท่วมจากสำนักนายก
จดหมายขอบคุณช่วยเหลือน้ำท่วมจากสำนักนายกPoramate Minsiri
 
ประกาศโรงเรียนสมเด็จพิทยาคมอ่านไม่ออกเขียนไม่ได้
ประกาศโรงเรียนสมเด็จพิทยาคมอ่านไม่ออกเขียนไม่ได้ประกาศโรงเรียนสมเด็จพิทยาคมอ่านไม่ออกเขียนไม่ได้
ประกาศโรงเรียนสมเด็จพิทยาคมอ่านไม่ออกเขียนไม่ได้somdetpittayakom school
 
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...คำเมย มุ่งเงินทอง
 
หน่วยที่ 1 การเปลี่ยนแปลงของภาษา
หน่วยที่ 1 การเปลี่ยนแปลงของภาษาหน่วยที่ 1 การเปลี่ยนแปลงของภาษา
หน่วยที่ 1 การเปลี่ยนแปลงของภาษาWilawun Wisanuvekin
 
บันทึกท่องโลก
บันทึกท่องโลกบันทึกท่องโลก
บันทึกท่องโลกKruBowbaro
 
แบบทดสอบ การอ่าน(นักเรียน) ป.3
แบบทดสอบ การอ่าน(นักเรียน) ป.3แบบทดสอบ การอ่าน(นักเรียน) ป.3
แบบทดสอบ การอ่าน(นักเรียน) ป.3Khunnawang Khunnawang
 
ใบความรู้ องค์ประกอบของพยางค์และคำ
ใบความรู้ องค์ประกอบของพยางค์และคำใบความรู้ องค์ประกอบของพยางค์และคำ
ใบความรู้ องค์ประกอบของพยางค์และคำPiyarerk Bunkoson
 
PPT โน้มน้าวใจ
PPT โน้มน้าวใจPPT โน้มน้าวใจ
PPT โน้มน้าวใจKruBowbaro
 
แบบทดสอบ เรื่อง Tens present simple tense ภาษาอังกฤษ อ่าน เขียนเฉลย
แบบทดสอบ เรื่อง Tens   present simple tense ภาษาอังกฤษ อ่าน เขียนเฉลยแบบทดสอบ เรื่อง Tens   present simple tense ภาษาอังกฤษ อ่าน เขียนเฉลย
แบบทดสอบ เรื่อง Tens present simple tense ภาษาอังกฤษ อ่าน เขียนเฉลยpeter dontoom
 
ใบงานเสียงในภาษาไทย
ใบงานเสียงในภาษาไทยใบงานเสียงในภาษาไทย
ใบงานเสียงในภาษาไทยssuser456899
 

What's hot (20)

สารพันเลือกสรรตีความ
สารพันเลือกสรรตีความสารพันเลือกสรรตีความ
สารพันเลือกสรรตีความ
 
บทที่ 3 หลักการอ่าน
บทที่ 3 หลักการอ่านบทที่ 3 หลักการอ่าน
บทที่ 3 หลักการอ่าน
 
บทที่ 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ
บทที่ 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซบทที่ 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ
บทที่ 7 การสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ
 
1. ข้อสอบ o net ภาษาไทย (มัธยมต้น)
1. ข้อสอบ o net ภาษาไทย (มัธยมต้น)1. ข้อสอบ o net ภาษาไทย (มัธยมต้น)
1. ข้อสอบ o net ภาษาไทย (มัธยมต้น)
 
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่าน การเรียนรู้คำศัพท์ภาษาอังกฤษ (Introductory Stories)
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่าน การเรียนรู้คำศัพท์ภาษาอังกฤษ (Introductory Stories)แบบฝึกเสริมทักษะการอ่าน การเรียนรู้คำศัพท์ภาษาอังกฤษ (Introductory Stories)
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่าน การเรียนรู้คำศัพท์ภาษาอังกฤษ (Introductory Stories)
 
คำวิเศษณ์
คำวิเศษณ์คำวิเศษณ์
คำวิเศษณ์
 
กระบวนการพัฒนาทักษะการพูด
กระบวนการพัฒนาทักษะการพูดกระบวนการพัฒนาทักษะการพูด
กระบวนการพัฒนาทักษะการพูด
 
ทักษะการอ่าน
ทักษะการอ่านทักษะการอ่าน
ทักษะการอ่าน
 
จดหมายขอบคุณช่วยเหลือน้ำท่วมจากสำนักนายก
จดหมายขอบคุณช่วยเหลือน้ำท่วมจากสำนักนายกจดหมายขอบคุณช่วยเหลือน้ำท่วมจากสำนักนายก
จดหมายขอบคุณช่วยเหลือน้ำท่วมจากสำนักนายก
 
Basic m5-1-chapter2
Basic m5-1-chapter2Basic m5-1-chapter2
Basic m5-1-chapter2
 
ประกาศโรงเรียนสมเด็จพิทยาคมอ่านไม่ออกเขียนไม่ได้
ประกาศโรงเรียนสมเด็จพิทยาคมอ่านไม่ออกเขียนไม่ได้ประกาศโรงเรียนสมเด็จพิทยาคมอ่านไม่ออกเขียนไม่ได้
ประกาศโรงเรียนสมเด็จพิทยาคมอ่านไม่ออกเขียนไม่ได้
 
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...
 
หน่วยที่ 1 การเปลี่ยนแปลงของภาษา
หน่วยที่ 1 การเปลี่ยนแปลงของภาษาหน่วยที่ 1 การเปลี่ยนแปลงของภาษา
หน่วยที่ 1 การเปลี่ยนแปลงของภาษา
 
บันทึกท่องโลก
บันทึกท่องโลกบันทึกท่องโลก
บันทึกท่องโลก
 
แบบทดสอบ การอ่าน(นักเรียน) ป.3
แบบทดสอบ การอ่าน(นักเรียน) ป.3แบบทดสอบ การอ่าน(นักเรียน) ป.3
แบบทดสอบ การอ่าน(นักเรียน) ป.3
 
คำอุทาน
คำอุทานคำอุทาน
คำอุทาน
 
ใบความรู้ องค์ประกอบของพยางค์และคำ
ใบความรู้ องค์ประกอบของพยางค์และคำใบความรู้ องค์ประกอบของพยางค์และคำ
ใบความรู้ องค์ประกอบของพยางค์และคำ
 
PPT โน้มน้าวใจ
PPT โน้มน้าวใจPPT โน้มน้าวใจ
PPT โน้มน้าวใจ
 
แบบทดสอบ เรื่อง Tens present simple tense ภาษาอังกฤษ อ่าน เขียนเฉลย
แบบทดสอบ เรื่อง Tens   present simple tense ภาษาอังกฤษ อ่าน เขียนเฉลยแบบทดสอบ เรื่อง Tens   present simple tense ภาษาอังกฤษ อ่าน เขียนเฉลย
แบบทดสอบ เรื่อง Tens present simple tense ภาษาอังกฤษ อ่าน เขียนเฉลย
 
ใบงานเสียงในภาษาไทย
ใบงานเสียงในภาษาไทยใบงานเสียงในภาษาไทย
ใบงานเสียงในภาษาไทย
 

Viewers also liked

งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)Nongkran Jarurnphong
 
ประโยคตามเจตนา 7
ประโยคตามเจตนา 7ประโยคตามเจตนา 7
ประโยคตามเจตนา 7Nongkran Jarurnphong
 
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙Nongkran Jarurnphong
 
ประโยคความรวม กลุ่ม๓
ประโยคความรวม กลุ่ม๓ประโยคความรวม กลุ่ม๓
ประโยคความรวม กลุ่ม๓Nongkran Jarurnphong
 

Viewers also liked (7)

กลุ่มที่ ๑
กลุ่มที่ ๑กลุ่มที่ ๑
กลุ่มที่ ๑
 
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
 
ประโยคตามเจตนา 7
ประโยคตามเจตนา 7ประโยคตามเจตนา 7
ประโยคตามเจตนา 7
 
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
 
กลุ่มที่ ๒
กลุ่มที่ ๒กลุ่มที่ ๒
กลุ่มที่ ๒
 
Flickr
FlickrFlickr
Flickr
 
ประโยคความรวม กลุ่ม๓
ประโยคความรวม กลุ่ม๓ประโยคความรวม กลุ่ม๓
ประโยคความรวม กลุ่ม๓
 

Similar to แบบฝึกเล่ม 1

ใบความรู้เรื่องการอ่านจับใจความสำคัญ
ใบความรู้เรื่องการอ่านจับใจความสำคัญใบความรู้เรื่องการอ่านจับใจความสำคัญ
ใบความรู้เรื่องการอ่านจับใจความสำคัญPiyarerk Bunkoson
 
เธšเธ—เธ„เธงเธ
เธšเธ—เธ„เธงเธเธšเธ—เธ„เธงเธ
เธšเธ—เธ„เธงเธkhaowpun
 
การอ่านจับใจความ
การอ่านจับใจความการอ่านจับใจความ
การอ่านจับใจความmayavee16
 
บทที่ 4 การอ่านตีความ
บทที่ 4 การอ่านตีความบทที่ 4 การอ่านตีความ
บทที่ 4 การอ่านตีความAj.Mallika Phongphaew
 
นวัตกรรม
นวัตกรรมนวัตกรรม
นวัตกรรมPrapa Khangkhan
 
4 การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ(108-147)
4 การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ(108-147)4 การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ(108-147)
4 การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ(108-147)อัมพร ศรีพิทักษ์
 
หน่วยที่ 8 การเขียนย่อหน้าสรุป
หน่วยที่ 8 การเขียนย่อหน้าสรุปหน่วยที่ 8 การเขียนย่อหน้าสรุป
หน่วยที่ 8 การเขียนย่อหน้าสรุปขนิษฐา ทวีศรี
 
Unlicensed-นวัตกรรมช่วยสอน
 Unlicensed-นวัตกรรมช่วยสอน Unlicensed-นวัตกรรมช่วยสอน
Unlicensed-นวัตกรรมช่วยสอนkuneena
 
นวัฒกรรมช่วยสอน
นวัฒกรรมช่วยสอนนวัฒกรรมช่วยสอน
นวัฒกรรมช่วยสอนkuneena
 
นวัตกรรมช่วยสอน
นวัตกรรมช่วยสอนนวัตกรรมช่วยสอน
นวัตกรรมช่วยสอนkuneena
 
คู่มือพระวิทยากร
คู่มือพระวิทยากรคู่มือพระวิทยากร
คู่มือพระวิทยากรniralai
 
PPTออมไว้ใส่ถุงแดง
PPTออมไว้ใส่ถุงแดง PPTออมไว้ใส่ถุงแดง
PPTออมไว้ใส่ถุงแดง KruBowbaro
 
พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)
พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)
พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)niralai
 
5 เทคนิคเรียนเก่งระดับเทพ
5 เทคนิคเรียนเก่งระดับเทพ5 เทคนิคเรียนเก่งระดับเทพ
5 เทคนิคเรียนเก่งระดับเทพPloyApichaya
 
7 การเขียนเรียงความและการเขียนย่อความ(209-237)
7 การเขียนเรียงความและการเขียนย่อความ(209-237)7 การเขียนเรียงความและการเขียนย่อความ(209-237)
7 การเขียนเรียงความและการเขียนย่อความ(209-237)อัมพร ศรีพิทักษ์
 
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)อัมพร ศรีพิทักษ์
 
หลักการอ่านจับใจความสำคัญ
หลักการอ่านจับใจความสำคัญหลักการอ่านจับใจความสำคัญ
หลักการอ่านจับใจความสำคัญRung Kru
 

Similar to แบบฝึกเล่ม 1 (20)

ใบความรู้เรื่องการอ่านจับใจความสำคัญ
ใบความรู้เรื่องการอ่านจับใจความสำคัญใบความรู้เรื่องการอ่านจับใจความสำคัญ
ใบความรู้เรื่องการอ่านจับใจความสำคัญ
 
เธšเธ—เธ„เธงเธ
เธšเธ—เธ„เธงเธเธšเธ—เธ„เธงเธ
เธšเธ—เธ„เธงเธ
 
การอ่านจับใจความ
การอ่านจับใจความการอ่านจับใจความ
การอ่านจับใจความ
 
บทที่ 2.ใหม่
บทที่ 2.ใหม่บทที่ 2.ใหม่
บทที่ 2.ใหม่
 
บทที่ 4 การอ่านตีความ
บทที่ 4 การอ่านตีความบทที่ 4 การอ่านตีความ
บทที่ 4 การอ่านตีความ
 
นวัตกรรม
นวัตกรรมนวัตกรรม
นวัตกรรม
 
4 การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ(108-147)
4 การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ(108-147)4 การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ(108-147)
4 การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ(108-147)
 
หน่วยที่ 8 การเขียนย่อหน้าสรุป
หน่วยที่ 8 การเขียนย่อหน้าสรุปหน่วยที่ 8 การเขียนย่อหน้าสรุป
หน่วยที่ 8 การเขียนย่อหน้าสรุป
 
Unlicensed-นวัตกรรมช่วยสอน
 Unlicensed-นวัตกรรมช่วยสอน Unlicensed-นวัตกรรมช่วยสอน
Unlicensed-นวัตกรรมช่วยสอน
 
นวัฒกรรมช่วยสอน
นวัฒกรรมช่วยสอนนวัฒกรรมช่วยสอน
นวัฒกรรมช่วยสอน
 
นวัตกรรมช่วยสอน
นวัตกรรมช่วยสอนนวัตกรรมช่วยสอน
นวัตกรรมช่วยสอน
 
คู่มือพระวิทยากร
คู่มือพระวิทยากรคู่มือพระวิทยากร
คู่มือพระวิทยากร
 
PPTออมไว้ใส่ถุงแดง
PPTออมไว้ใส่ถุงแดง PPTออมไว้ใส่ถุงแดง
PPTออมไว้ใส่ถุงแดง
 
พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)
พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)
พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)
 
5 เทคนิคเรียนเก่งระดับเทพ
5 เทคนิคเรียนเก่งระดับเทพ5 เทคนิคเรียนเก่งระดับเทพ
5 เทคนิคเรียนเก่งระดับเทพ
 
Tha203 5
Tha203 5Tha203 5
Tha203 5
 
7 การเขียนเรียงความและการเขียนย่อความ(209-237)
7 การเขียนเรียงความและการเขียนย่อความ(209-237)7 การเขียนเรียงความและการเขียนย่อความ(209-237)
7 การเขียนเรียงความและการเขียนย่อความ(209-237)
 
หลักภาษา
หลักภาษาหลักภาษา
หลักภาษา
 
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)
 
หลักการอ่านจับใจความสำคัญ
หลักการอ่านจับใจความสำคัญหลักการอ่านจับใจความสำคัญ
หลักการอ่านจับใจความสำคัญ
 

More from Nongkran Jarurnphong

ประโยคความซ้อน กลุ่ม ๖ [โหมดความเข้ากันได้]
ประโยคความซ้อน กลุ่ม ๖ [โหมดความเข้ากันได้]ประโยคความซ้อน กลุ่ม ๖ [โหมดความเข้ากันได้]
ประโยคความซ้อน กลุ่ม ๖ [โหมดความเข้ากันได้]Nongkran Jarurnphong
 
สื่อฯช่วยสอน เรื่องรามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทก(ปรับ) [โหมดความเข้ากันได้]
สื่อฯช่วยสอน เรื่องรามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทก(ปรับ) [โหมดความเข้ากันได้]สื่อฯช่วยสอน เรื่องรามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทก(ปรับ) [โหมดความเข้ากันได้]
สื่อฯช่วยสอน เรื่องรามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทก(ปรับ) [โหมดความเข้ากันได้]Nongkran Jarurnphong
 
คำซ้อน (งานกลุ่ม)
คำซ้อน (งานกลุ่ม)คำซ้อน (งานกลุ่ม)
คำซ้อน (งานกลุ่ม)Nongkran Jarurnphong
 
กลุ่มที่ 8 กลุ่ม ประโยคตามเจตนา
กลุ่มที่ 8 กลุ่ม ประโยคตามเจตนากลุ่มที่ 8 กลุ่ม ประโยคตามเจตนา
กลุ่มที่ 8 กลุ่ม ประโยคตามเจตนาNongkran Jarurnphong
 
ตัวอย่างโอเน็ต เรื่องชนิดคำ
ตัวอย่างโอเน็ต เรื่องชนิดคำตัวอย่างโอเน็ต เรื่องชนิดคำ
ตัวอย่างโอเน็ต เรื่องชนิดคำNongkran Jarurnphong
 
สังเกตบาลีสันสกฤต [โหมดความเข้ากันได้]
สังเกตบาลีสันสกฤต [โหมดความเข้ากันได้]สังเกตบาลีสันสกฤต [โหมดความเข้ากันได้]
สังเกตบาลีสันสกฤต [โหมดความเข้ากันได้]Nongkran Jarurnphong
 
คำสมาส [โหมดความเข้ากันได้]
คำสมาส [โหมดความเข้ากันได้]คำสมาส [โหมดความเข้ากันได้]
คำสมาส [โหมดความเข้ากันได้]Nongkran Jarurnphong
 

More from Nongkran Jarurnphong (12)

สอนติว 3 ส.ค.2557
สอนติว 3 ส.ค.2557สอนติว 3 ส.ค.2557
สอนติว 3 ส.ค.2557
 
สอนติว
สอนติวสอนติว
สอนติว
 
คุรุสดุดี
คุรุสดุดีคุรุสดุดี
คุรุสดุดี
 
ครูดีเด่น
ครูดีเด่นครูดีเด่น
ครูดีเด่น
 
ประโยคความซ้อน กลุ่ม ๖ [โหมดความเข้ากันได้]
ประโยคความซ้อน กลุ่ม ๖ [โหมดความเข้ากันได้]ประโยคความซ้อน กลุ่ม ๖ [โหมดความเข้ากันได้]
ประโยคความซ้อน กลุ่ม ๖ [โหมดความเข้ากันได้]
 
สื่อฯช่วยสอน เรื่องรามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทก(ปรับ) [โหมดความเข้ากันได้]
สื่อฯช่วยสอน เรื่องรามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทก(ปรับ) [โหมดความเข้ากันได้]สื่อฯช่วยสอน เรื่องรามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทก(ปรับ) [โหมดความเข้ากันได้]
สื่อฯช่วยสอน เรื่องรามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทก(ปรับ) [โหมดความเข้ากันได้]
 
คำซ้อน (งานกลุ่ม)
คำซ้อน (งานกลุ่ม)คำซ้อน (งานกลุ่ม)
คำซ้อน (งานกลุ่ม)
 
กลุ่มที่ 8 กลุ่ม ประโยคตามเจตนา
กลุ่มที่ 8 กลุ่ม ประโยคตามเจตนากลุ่มที่ 8 กลุ่ม ประโยคตามเจตนา
กลุ่มที่ 8 กลุ่ม ประโยคตามเจตนา
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
ตัวอย่างโอเน็ต เรื่องชนิดคำ
ตัวอย่างโอเน็ต เรื่องชนิดคำตัวอย่างโอเน็ต เรื่องชนิดคำ
ตัวอย่างโอเน็ต เรื่องชนิดคำ
 
สังเกตบาลีสันสกฤต [โหมดความเข้ากันได้]
สังเกตบาลีสันสกฤต [โหมดความเข้ากันได้]สังเกตบาลีสันสกฤต [โหมดความเข้ากันได้]
สังเกตบาลีสันสกฤต [โหมดความเข้ากันได้]
 
คำสมาส [โหมดความเข้ากันได้]
คำสมาส [โหมดความเข้ากันได้]คำสมาส [โหมดความเข้ากันได้]
คำสมาส [โหมดความเข้ากันได้]
 

แบบฝึกเล่ม 1