SlideShare a Scribd company logo
1 of 30
Download to read offline
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
โครงงานการศึกษาจํานวนการแตกกิ่งตนแกว
ที่เปลี่ยนแปลงตอความเขมขนของฮอรโมนไซโตไคนิน
นําเสนอ
อาจารยวิชัย ลิขิตพรรักษ
สมาชิกกลุม
นางสาวจุฬาลักษณ สหพรอุดมการ ม.6 หอง 77 เลขที่ 3
นางสาวธญานี เกียรติ์สุขสถิตย ม.6 หอง 77 เลขที่ 5
นางสาวธนัญญา พูวณิชย ม.6 หอง 77 เลขที่ 6
นางสาวอารยา ชัยวัฒนประภา ม.6 หอง 77 เลขที่ 20
รายงานนี้เปนสวนหนึ่งของรายวิชาชีววิทยา ว30245 ภาคเรียนที่ 1 ป'การศึกษา 2560 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
คํานํา
รายงานฉบับนี้เปนสวนหนึ่งของวิชาชีววิทยา ว 30245 ชั้นมัธยมศึกษาป'ที่ 6 โดยมีจุดประสงค/เพื่อ
รายงานและสรุปผลการทดลองของโครงงานการศึกษาจํานวนการแตกกิ่งต6นแก6วที่เปลี่ยนแปลงตอความเข6มข6น
ของฮอร/โมนไซโทไคนิน ซึ่งรายงานฉบับนี้ได6ระบุข6อมูลเกี่ยวกับป;ญหา ที่มาและความสําคัญ รายละเอียดของ
ต6นแก6วและข6อมูลฮอร/โมนไซโทไคนิน สมมติฐานการทดลอง จุดประสงค/การทดลอง ตัวแปรและรายละเอียด
เกี่ยวกับการทดลองตางๆ อาทิเชน ขั้นตอนการทดลอง อุปกรณ/ที่ใช6 วิธีการเตรียมสาร วิธีการเก็บข6อมูลอยาง
ละเอียด เพื่อให6ผู6ที่ต6องการศึกษาค6นคว6านั้นได6เข6าใจขั้นตอนอยางละเอียดถี่ถ6วน อีกทั้งในรายงานฉบับนี้ยังได6
ระบุถึงผลการทดลองพร6อมรูปประกอบ สรุปและข6อเสนอแนะ และบรรรณานุกรมอยางชัดเจนสําหรับผู6ที่
ต6องการจะศึกษาเพิ่มเติมด6วย
ผู6จัดทําหวังเปนอยางยิ่งวารายงานฉบับนี้จะเปนประโยชน/อยางยิ่งตอผู6ที่สนใจศึกษาเกี่ยวกับฮอร/โมน
ไซโตไคนินและผลของฮอร/โมนตอพืช หากมีข6อผิดพลาดประการใด คณะผู6จัดทําขออภัยมา ณ ที่นี้
คณะผู6จัดทํา
ก
บทคัดยอ
โครงงานวิทยาศาสตร/นี้ มีวัตถุประสงค/เพื่อศึกษาค6นคว6าความเข6มข6นของฮอร/โมนไซโตไคนินที่
เหมาะสมสําหรับการแตกกิ่งและเปรียบเทียบผลของการใช6ฮอร/โมนไซโตไคนินในความเข6มข6นที่ตางกันตอการ
แตกกิ่งต6นแก6ว
ลําดับแรก คณะผู6จัดทําได6ทําการทดลองโดยศึกษาจากความแตกตางของความเข6มข6นของฮอร/โมนที่
ใช6 อุปกรณ/ในการทดลองประกอบด6วย หลอดฉีดยา ฟอกกี้ฉีดน้ํา ฮอร/โมนไซโตไคนิน และต6นแก6วจํานวน 9
ต6น ระยะเวลาในการทดลอง คือ ระหวางวันที่ 7 มิถุนายน ถึงวันที่ 7 กรกฎาคม 2560 สถานที่ทําการทดลอง
คือบริเวณหน6าตึกศิลปะ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
ลําดับถัดมา คณะผู6จัดทําได6ทําการทดลองโดยแบงต6นแก6วออกเปน 3 กลุม กลุมละ 3 ต6น กลุมที่ 1 รด
ด6วยน้ําผสมฮอร/โมนไซโตไคนินในความเข6มข6น 0.2% โดยปริมาตร กลุมที่ 2 รดด6วยน้ําผสมฮอร/โมนความ
เข6มข6น 0.125% โดยปริมาตร และกลุมที่ 3 รดด6วยน้ําปกติที่ไมผสมฮอร/โมน โดยนับจํานวนกิ่งที่แตกเพิ่ม เก็บ
ข6อมูลการทดลองทุกๆ 7 วัน
ลําดับสุดท6าย คณะผู6จัดทําได6นําข6อมูลมาวิเคราะห/ รวบรวมและสรุปผล เพื่อนํามาจัดทําเปนรูปเลม
และPowerpointนําเสนอ
ซึ่งจากผลการทดลองพบวา เมื่อรดน้ําผสมฮอร/โมนไซโตไคนินในความเข6มข6น 0.2% โดยปริมาตรให6
ต6นแก6วกลุมที่ 1 ต6นแก6วจะมีการแตกกิ่งใหมเฉลี่ย 6 กิ่งตอต6น เมื่อรดด6วยน้ําผสมฮอร/โมนความเข6มข6น
0.125% โดยปริมาตรให6ต6นแก6วกลุมที่ 2 ต6นแก6วจะมีการแตกกิ่งใหมเฉลี่ย 5 กิ่งตอต6น และเมื่อรดน้ําที่ไมผสม
ฮอร/โมนให6ต6นแก6วกลุมที่ 3 ต6นแก6วจะมีการแตกกิ่งใหมเฉลี่ย 4 กิ่งตอต6น
ข
กิตติกรรมประกาศ
โครงงานวิทยาศาสตร/รายวิชาชีววิทยา ในการศึกษาและสํารวจข6อมูลของโครงงานการศึกษาจํานวน
การแตกกิ่งต6นแก6วที่เปลี่ยนแปลงตอความเข6มข6นของฮอร/โมนไซโทไคนินครั้งนี้ทางคณะผู6จัดทําได6รับการ
สนับสนุนด6านตางๆมากมาย โดยเฉพาะอยางยิ่ง อาจารย/วิชัย ลิขิตพรรักษ/ ที่ได6ให6คําปรึกษาระหวางการทํา
การทดลอง และการแก6ป;ญหาอุปสรรคตางๆ อาจารย/วีรานันท/ ลีศิริไพศาล ที่ได6ให6ความอนุเคราะห/ด6านวัสดุ
อุปกรณ/ เชน หลอดทดลอง และบีกเกอร/ตวงสาร รวมถึงสถานที่ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา และคณะครู
อาจารย/ทุกทานในโรงเรียนที่ได6ให6การสนับสนุนการศึกษาโครงงานเลมนี้จนสําเร็จสมบูรณ/
คณะผู6จัดทําโครงงานขอขอบคุณทุกทานมา ณ โอกาสนี้
คณะผู6จัดทํา
ค
สารบัญ
เรื่อง หน6า
บทคัดยอ ก
กิตติกรรมประกาศ ข
สารบัญ ค
บทที่ 1 บทนํา
• ป;ญหา ที่มาและความสําคัญ 1
• สมมติฐานการทดลอง 1
• จุดประสงค/การทดลอง 1
• ประโยชน/ที่คาดวาจะได6รับ 2
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข6อง
• ไซโทไคนิน 3
• ต6นแก6ว 10
• งานวิจัย ผลของไซโตไคนินและออกซินตอการพัฒนาของเนื้อเยื่อเพาะเลี้ยงกระเจียวขาว 12
บทที่ 3 วิธีการทดลอง
• ตัวแปรการทดลอง 13
• รายละเอียดอุปกรณ/การทดลอง 13
• ระยะเวลาในการทําการทดลอง 13
• วิธีการเก็บข6อมูล 14
• ขึ้นตอนการทดลอง 14
บทที่ 4 ผลการทดลอง 19
บทที่ 5 สรุปผล และข6อเสนอแนะ 23
บรรณานุกรม 24
บทที่ 1
บทนํา
ชื่อโครงงาน การศึกษาจํานวนการแตกกิ่งต6นแก6วที่เปลี่ยนแปลงตอความเข6มข6นของฮอร/โมนไซโตไคนิน
ที่มาและความสําคัญของโครงงาน
ป;จจุบันการเกษตรกรรมในประเทศไทยนับวามีความสําคัญอยางมากตอเศรษฐกิจทั้งในและนอกประเทศ
เกษตรกรพยายามหาวิธีที่จะทําให6ผลผลิตได6มากแตต6นทุนน6อย การใช6ฮอร/โมนเรงการเจริญเติบโตของพืชถือ
เปนหนทางหนึ่งที่จะทําให6ผลผลิตเพิ่มพูนขึ้นได6 และหากเราทราบปริมาณ, ความเข6มข6น, ชนิดของฮอร/โมนให6
เหมาะสมและตรงกับผลิตภัณฑ/จากพืชที่เราต6องการ ไมเพียงแตจะชวยลดต6นทุนในการผลิต แตยังชวยเพิ่มพูน
ผลผลิตจากพืชที่เกษตรกรต6องการอยางตรงจุด เปนการชวยกระตุ6นปริมาณการผลิตและสงออกทั้งในและนอก
ประเทศ ทําให6เศรษฐกิจของประเทศไทยเจริญมากยิ่งขึ้น
ในโครงงานการศึกษาจํานวนการแตกกิ่งต6นแก6วที่เปลี่ยนแปลงตอความเข6มข6นของฮอร/โมนไซโทไคนินนี้
ได6มีการศึกษาถึง
- ชนิดของฮอร/โมนที่สงผลตอสิ่งที่คณะผู6จัดทําต6องการจะศึกษา
- ปริมาณฮอร/โมนที่เหมาะสมในการใช6กับต6นพืช
- ความเข6มข6นของฮอร/โมนที่ถูกต6อง เหมาะสม และให6อัตราการเจริญเติบโตของสวนที่เราต6องการจะศึกษา
สูงที่สุด
จึงสามารถกลาวได6วาโครงงานนี้ได6แก6ป;ญหาเกษตรกรรมในประเทศไทยและเปนแนวทางเลือกใหมให6แก
เกษตรกรที่ต6องการเพิ่มพูนผลผลิตอยางตรงจุด ถูกวิธี และใช6ต6นทุนน6อยได6
สมมติฐานการทดลอง
1. ไซโตไคนินมีผลตอการเจริญเติบโตของต6นแก6ว
2. ต6นแก6วที่ได6รับไซโตไคนินมาก (High dose) จะมีการแตกตาข6าง ทําให6มียอดเพิ่มขึ้นมากกวา ต6น
แก6วที่ได6รับไซโตไคนินน6อย (Low dose) และ ต6นแก6วที่ไมได6รับไซโตไคนินเลยตามลําดับ
จุดประสงคการทดลอง
1. เพื่อศึกษาผลของไซโตไคนินตอการเจริญเติบโตของต6นแก6ว (จํานวนกิ่ง)
2. เพื่อสังเกต รวบรวม และวิเคราะห/ผลตามกระบวนการทดลองทางวิทยาศาสตร/อยางเปนระบบ
1
ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ
1. ทราบความเข6มข6นที่เหมาะสมของฮอร/โมนไซโตไคนินที่ใช6ในการแตกยอดกิ่งของต6นแก6ว
2. ทราบผลของของการใช6ฮอร/โมนไซโตไคนินตอการแตกยอดของต6นแก6ว
3. สมาชิกสามัคคี รู6จักการทํางานเปนกลุม
4. สมาชิกได6เรียนรู6วิธีการทดลองตามกระบวนการทางวิทยาศาสตร/
5. สมาชิกมีจิตสํานึกในการดูแลต6นไม6และได6เรียนรู6การดูแลต6นไม6ที่ถูกวิธี
2
บทที่ 2
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ
ไซโตไคนิน (Cytokinins)
ไซโตไคนินเปนฮอร/โมนของพืชที่พบครั้งแรกในน้ํามะพร6าว โดยสารนี้มีความสามารถกระตุ6นการแบง
เซลล/ ซึ่งตอมาพบวาสารนี้คือ 6-furfuryladenine เปนสารที่มีสูตรโครงสร6างแบบพูรีน (Purine) จาก
คุณสมบัติที่สามารถกระตุ6นการแบงเซลล/ได6จึงเรียกสารนี้วาไคเนติน (Kinetin) หลังจากนั้นก็มีผู6พบสารที่มีสูตร
โครงสร6างและคุณสมบัติคล6ายกับไคเนตินอีก หลายชนิด จึงรวมเรียกสารเหลานี้วาไซโตไคนิน ไซ
โตไคนินที่พบในพืชคือ ซีอะติน (Zeatin) แหลงสร6างไซโตไคนินในพืชที่อยูปลายราก ปมราก และพบทั่วไปใน
ต6นพืช เปนสวนประกอบของกรดนิวคลีอิก นอกจากนี้พบในรูปสารอิสระในเอมบริโอ และผลที่กําลัง
เจริญเติบโต ผลของไซโตไคนินกับพืชจะเกิดรวมกับสารกระตุ6นการทํางาน (co-factor) อื่นๆ ถ6าไมมีสาร
เหลานี้ไซโตไคนินจะไมแสดงผลกับพืช
ในป;จจุบันได6มีการสังเคราะห/ไซโตไคนินขึ้นในห6องปฏิบัติการหลายชนิดและนิยมใช6กันอยางแพรหลาย
ในทางการเกษตรและทางการค6า ไซโตไคนินเหลานี้มีคุณสมบัติชวยในการแบงเซลล/และสามารถใช6ชะลอหรือ
ยืด อายุของสวนตางๆ ของพืช เชน ใบ ดอก และผลให6สดอยูได6นาน ตลอดจนมีการนํามาใช6ในสูตรอาหารเพื่อ
เพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืชอยางแพรหลาย ไซโตไคนินสังเคราะห/ที่สําคัญและนิยมใช6กันมากได6แก เบนซิลอะดีนิน
(Benzyl aminopurine หรือ BAP) เททระไฮโดรไพรานิล เบนซิลอะดีนิน(Tetrahydropyranyl benzyl
adenine หรือ TBA) เปนต6น
ประโยชนของไซโตไคนิน
ไซโตไคนินมีคุณสมบัติกระตุ6นการแบงเซลล/และการเจริญเปลี่ยนแปลงของเซลล/ การเจริญทางด6านลํา
ต6นของพืช กระตุ6นการเจริญตาข6างทําให6ตาข6างเจริญออกมาเปนกิ่งได6 ชวยในการเคลื่อนย6ายอาหารจากราก
ไปสูยอด รักษาระดับ การสังเคราะห/โปรตีนให6นานขึ้น ปmองกันคลอโรฟnลล/ให6ถูกทําลายช6าลง ทําให6ใบเขียวอยู
นานและรวงหลนช6าลง ชวยทําให6ใบเลี้ยงคลี่ขยาย ชวยให6เมล็ดงอกได6ในที่มืด เปนต6น ซึ่งสามารถแยกออกเปน
หัวข6อได6ดังนี้
1. สงเสริมเซลล/ให6แบงตัวและพัฒนาไปเปนอวัยวะตางๆ ของพืช หน6าที่ หลักของไซโตไคนิน คือ ชวย
ให6ไซโตพลาสซึมแบงตัว ในการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อถ6าไมใสไซโตไคนินจะมีการแบงตัวของนิวเคลียส เทานั้น ทํา
ให6ได6เซลล/ที่มีหลายนิวเคลียสหรือพอลิพลอยด/ ในการเลี้ยงเนื้อเยื่อนั้นสัดสวนของไซโตไคนินและออกซินมีค
วามสําคัญมาก ถ6ามีไซโตไคนินมาก กลุมเซลล/จะพัฒนาเปนเนื้อเยื่อเจริญที่จะแปลงสภาพไปเปน สวนของยอด
3
คือตา ลําต6น และใบ แตถ6ามีไซโตไคนินต่ําจะเกิดรากมาก ดังนั้นการใช6สัดสวนของฮอร/โมนทั้งสองชนิดนี้อยาง
เหมาะสมกลุมเซลล/จะสามารถพัฒนาไปเปนต6นที่สมบูรณ/ได6 ซึ่งมีประโยชน/มากในการขยายพันธุ/พืชโดยไมต6อง
อาศัยเมล็ดและงานด6านพันธุ วิศวกรรม
2. กระตุ6นการเจริญของกิ่งแขนง สารไซโตไคนินสามารถกระตุ6นให6ตาข6างของพืชเจริญออกมาเปนกิ่ง
ได6 จึงมีประโยชน/ในการควบคุมทรงพุม สวนใหญใช6กับไม6กระถางประดับ นอกจากนี้ยังชวยกระตุ6นตาที่นําไป
ขยายพันธุ/ด6วยวิธีติดตาให6เจริญออกมาเปน กิ่งใหมได6เร็วขึ้นโดยการทาสารที่ตาซึ่งติดสนิทดีแล6ว จะทําให6ตานั้น
เจริญออกมาภายใน 7-14 วัน ภายหลังการใช6สาร ไซโตไคนินที่นิยมใช6ในกรณีนี้คือสาร BAP โดยนํามาผสมกับ
ลาโนลิน (Lanolin) เพื่อให6อยูในรูปครีมซึ่งสะดวกตอการใช6
3. ชวยชะลอความแกของพืช ไซโตไคนินเฉพาะอยางยิ่ง BAP สามารถชะลอความแกของพืชได6หลาย
ชนิด เชน ผักกาดหอมหอ หอมต6น หนอไม6ฝรั่ง บร็อกโคลี่ ขึ้นฉายฝรั่ง โดยการพนสาร BAP ในความเข6มข6น
ต่ําๆบริเวณใบพืชเหลานี้ภายหลังเก็บเกี่ยวหรือจุมต6นลงในสารละลาย BAP โดยตรง จะมีผลทําให6ผักเหลานี้คง
ความเขียวสดอยูได6นาน เปนการยืดอายุการเก็บรักษาผักเหลานี้ได6 เชื่อวาไซโตไคนินชะลอความแกโดยการ
รักษาระดับการสังเคราะห/อาร/เอ็นเอและ โปรตีนให6คงอยูได6นาน ตลอดจนชวยชะลอการสลายตัวของ
คลอโรฟnลล/ นอกจากนี้ยังสามารถใช6ผสมลงในสารละลายที่ใช6ป;กแจเพื่อยืดอายุการป;กแจกันของคาร/เนชั่นได6
ด6วย
4. ชวยในการเคลื่อนย6ายอาหาร ไซโตไคนินมีคุณสมบัติชวยให6การเคลื่อนย6ายสารอาหารจากสวนอื่นๆ
ไปยังสวนที่ได6รับไซโตไคนินได6และเกิดการสะสมอาหาร ณ บริเวณนั้น ต6วอยางเชน ใบออนซึ่งมีไซโตไคนินอยู
มากจะสามารถเคลื่อนย6ายสารอาหารจากใบแกมาเก็บ สะสมไว6ในใบออนที่กําลังเจริญเติบโต นอกจากนี้ไซโต
ไคนินยังชวยปmองกันไมให6คลอโรฟnลล/เสื่อมสลายงาย ใบพืชที่เริ่มเปลี่ยนเปนสีเหลืองถ6าให6ได6รับไซโตไคนินจะทํา
ให6ใบสามารถสังเคราะห/คลอโรฟnลล/ขึ้นได6อีก
5. กระตุ6นการเกิดดอกและผล โดย ไซโตไคนินสามารถชักนําการออกดอกของพืชวันยาวหรือพืชที่
ต6องการอากาศเย็นได6 และยังชวยกระตุ6นให6มีการสร6างผลแบบ parthenocaroic fruit ในพืชบางชนิดได6 แต
อยางไรก็ตามไซโตไคนินที่นํามาใช6ในแปลงเกษตรยังมีคอนข6างน6อย สวนใหญใช6ในงานเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ
4
การออกฤทธิ์ทางสรีรวิทยาที่สําคัญของไซโตไคนิน ได6แก
- ควบคุมการแบงเซลล/หรือวัฏจักรของเซลล/ เปนหน6าที่หลักของไซโตไคนิน
- ควบคุมการเกิดรูปราง อัตราสวนของไซโตไคนินตอออกซินจะมีผลตอการพัฒนาของแคลลัส โดย
แคลลัสที่ได6รับอัตราสวนของไซโตไคนินตอออกซินต่ํา (ออกซินมากกวาไซโตไคนิน) จะเกิดราก
แคลลัสที่ได6รับอัตราสวนของไซโตไคนินตอออกซินสูง (ไซโตไคนินมากกวาออกซิน) จะเกิดตายอด
- สนับสนุนการขยายตัวของเซลล/ ที่เกี่ยวข6องกับการดูดน้ําเข6าไปภายในเซลล/ เพราะไมทําให6น้ําหนัก
แห6งเพิ่มขึ้น
- สนับสนุนการพัฒนาและการแตกตาข6าง ไซโตไคนินสามารถกระตุ6นให6ตาข6างที่ถูกยับยั้งด6วยตายอด
เจริญออกมาได6
- ไขมันไซโตไคนินชวยให6พืชหลายชนิด เชน หนอไม6ฝรั่ง ต6นหอม คงความเขียวสดอยูได6นาน
- การเกิดปม ปมที่เกิดในพืชเปนเนื้อเยื่อที่ไมมีการกําหนดพัฒนาและมีลักษณะคล6ายเนื้องอก เกิดจาก
เชื้อ Agrobacterium tumefaciens
- ทําให6เกิดสีเขียว สนับสนุนการเกิดคลอโรฟnลล/และการเปลี่ยนอีทิโอพลาสต/ไปเปนคลอโรพลาสต/
- ไซโตไคนินจากปลายรากมีผลตอการเจริญของลําต6นและราก การตัดรากออกไปจะทําให6การ
เจริญเติบโตของลําต6นหยุดชะงัก
- การเพิ่มไซโตไคนินจากภายนอกลดขนาดของเนื้อเยื่อเจริญที่ปลายรากลงโดยไมกระทบตออัตราการ
ขยายตัวของเซลล/ภายในเนื้อเยื่อเจริญ แตไซโตไคนินปริมาณมากจะมีความจําเปนในการรักษา
กิจกรรมของเนื้อเยื่อเจริญ ที่ปลายยอด
- กระตุ6นการออกดอกของพืชวันสั้นบางชนิด เชนในแหนเปด ไซโตไคนินกระตุ6นให6พืชสร6างสารฟลอริ
เจน (Florigen) ซึ่งชักนําให6พืชออกดอกได6 ไซโตไคนินยังชวยให6เกิดดอกตัวเมียมากขึ้น
- ทําลายระยะพักตัวของพืช ของเมล็ดพืชหลายชนิดได6 เชน ผักกาดหอม
5
การค6นพบฮอร/โมนในกลุมนี้เริ่มจากการศึกษาการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ โดยในป' ค.ศ.
1920 Haberlandt ได6แสดงให6เห็นวามีสารชนิดหนึ่งเกิดอยูในเนื้อเยื่อพืชและกระตุ6นให6เนื้อเยื่อพาเรนไคมา
ในหัวมันฝรั่งกลับกลายเปนเนื้อเยื่อเจริญได6 ซึ่งแสดงวาสารชนิดนี้สามารถกระตุ6นให6มีการแบงเซลล/ ตอมามี
การพบวาน้ํามะพร6าวและเนื้อเยื่อของหัวแครอทมีคุณสมบัติในการกระตุ6นการแบงเซลล/เชนกัน
นักวิทยาศาสตร/หลายทาน เชน Skoog และ Steward ทําการทดลองในสหรัฐอเมริกา โดยศึกษา
ความต6องการสิ่งที่ใช6ในการเจริญเติบโตของกลุมก6อนของเซลล/ (Callus) ซึ่งเปนเซลล/ที่แบงตัวอยาง
รวดเร็ว แตไมมีการเปลี่ยนแปลงทางคุณภาพเกิดขึ้นของ pith จากยาสูบและรากของแครอท จากผลการ
ทดลองนี้ทําให6รู6จักไซโตไคนินในระยะป' ค.ศ. 1950 ซึ่งเปนฮอร/โมนพืชที่จําเปนตอการแบงเซลล/และการ
เปลี่ยนแปลงทางคุณภาพของเนื้อเยื่อ ในป;จจุบันพบวาไซโตไคนิน ยังเกี่ยวข6องกับการ
เสื่อมสภาพ (Senescence) และการควบคุมการเจริญของตาข6างโดยตายอด (Apical Dominance)
จากการศึกษาของ Skoog โดยเลี้ยงเนื้อเยื่อ pith ของยาสูบ พบวาการที่เนื้อเยื่อจะเจริญตอไปได6นั้น
จะต6องมีอาหารและฮอร/โมน เชน ออกซิน โดยถ6าให6ออกซินในอาหารจะมีการเจริญของเนื้อเยื่อนั้นน6อย
มาก เซลล/ขนาดใหญเกิดขึ้นโดยไมแบงเซลล/ นอกจากนั้นจะไมเกิดการเปลี่ยนแปลงทางคุณภาพ อยางไรก็
ตามหากเพิ่มพิวรีน เบส (Purine Base) ชนิดอะดีนีน (Adenine) ลงไปในอาหารรวมกับ IAA พบวา เนื้อเยื่อ
จะกลายเปนกลุมเซลล/ (Callus) ถ6าใสอะดีนีนอยางเดียวรวมกับอาหาร เนื้อเยื่อจะไมสร6างกลุมเซลล/
ขึ้นมา ดังนั้นจึงมีปฏิสัมพันธ/ (Interaction) ระหวาง อะดีนีน และ IAA ซึ่งกระตุ6นให6เกิดการแบงเซลล/
ขึ้น อะดีนีนเปนพิวรีนเบสซึ่งมีสูตรเปน 6-อะมิโนพิวรีน(6-aminopurine) และปรากฏอยูในสภาพธรรมชาติ
โดยเปนสวนประกอบของกรด นิวคลีอิค
ในป' 1955 Miller ได6แยกสารอีกชนิดหนึ่งซึ่งมีคุณสมบัติคล6ายคลึงแตมีประสิทธิภาพดีกวาอะ
ดีนีน ซึ่งได6จากการสลายตัวของ DNA ของสเปnร/มจากปลาแฮร/ริง สารชนิดนี้ คือ 6-(furfuryl-
amino) purine ซึ่งมีสูตรโครงสร6างคล6ายอะดีนีน เนื่องจากสารชนิดนี้สามารถกระตุ6นให6เกิดการแบงเซลล/โดย
รวมกับออกซิน จึงได6รับชื่อวาไคเนติน (Kinetin)
ไคเนติน เปนสารที่ไมพบตามธรรมชาติในต6นพืช แตเปนสารสังเคราะห/ ตอมาได6มีการค6นพบไซโตไค
นินสังเคราะห/อีกหลายชนิด สารสังเคราะห/ที่มีกิจกรรมของไซโตไคนินสูงที่สุดคือ เบนซิลอะ
ดีนีน (Benzyladenineหรือ BA) และเตตระไฮโดรไพรานีลเบนซิลอะ
ดีนีน (tetrahydropyranylbenzyladenine หรือ PBA)
6
ไซโตไคนินที่พบในพืช
แม6วาไคเนติน BA และ PBA เปนสารที่ไมพบในต6นพืช แตสารซึ่งพบในอวัยวะของพืชหลายชนิด เชน
ในน้ํามะพร6าว ในผลออนของข6าวโพด ให6ผลทางสรีรวิทยาและสัณฐานวิทยาที่คล6ายคลึงกับ
สาร BA และ PBA สารที่เกิดตามธรรมชาติและสารสังเคราะห/หลายชนิด ซึ่งมีคุณสมบัติเหมือนไคเนตินนั้น
เรียกโดยทั่วๆ ไปวา ไซโตไคนิน ซึ่งเปนสารที่เมื่อมีผลรวมกับออกซินแล6วจะเรงให6เกิดการแบงเซลล/ในพืช
มีหลักฐานเดนชัดชี้วาไซโตไคนินที่เกิดในธรรมชาติเปนสารประกอบพิวรีนใน 1964 Letham ได6
แยกไซโตไคนินชนิดหนึ่งจากเมล็ดข6าวโพดหวาน และพบวา เปนสาร 6-(4-hydroxy-3-methyl but-2-
enyl) aminopurine ซึ่ง Letham ได6ตั้งชื่อวา ซีเอติน (Zeatin)
นับตั้งแตมีการแยกไซโตไคนินชนิดแรกคือซีเอตินแล6วก็มีการค6นพบไซโตไคนิน อีกหลายชนิดซึ่งทุก
ชนิดเปนอนุพันธ/ของอะดีนีน คือ เปน 6-substituted amino purines ซีเอตินเปนไซโตไคนินธรรมชาติซึ่งมี
ประสิทธิภาพสูงที่สุด
การสังเคราะหไซโตไคนิน
การสังเคราะห/ไซโตไคนินในต6นพืชเกิดโดยการ substitution ของ side chain บนคาร/บอนอะตอม
ที่ 6 ของอะดีนีน ซึ่ง side chain ของไซโตไคนินในสภาพธรรมชาติ ประกอบด6วยคาร/บอน 5 อะตอม จึง
เปนการชี้ให6เห็นวาเกิดมาจากวิถีการสังเคราะห/ ไอโซพรีนอยด/ (Isoprenoid) ตอมาพบวา กลุมของไซโตไค
นิน เกิดขึ้นบน t-RNA ได6 และเมื่อใช6เมวาโลเนต (Mavalonate หรือ MVA) ที่มีสารกัมมันตรังสี จะสามารถ
ไปรวมกับกลุม อะดีนีนของ t-RNA เกิดเปนไดเมทธิลอัลลิล (Dimethylallyl side chain) เกาะด6านข6าง ใน
เชื้อรา Rhizopus นั้น Dimethylallyl adenine สามารถเปลี่ยนไปเปน Zeatin ได6 จึงคาดกัน
วา Zeatin อาจจะเกิดจากการออกซิไดซ/ Dimethylallyl adenine
การเกิดกลุมของไซโตไคนินใน t-RNA นี้ หมายความวา ไซโตไคนิน อาจจะเกิดขึ้นมาจากการ
สลายตัวของ t-RNA ซึ่งความเปนจริงก็พบเหตุการณ/ดังกลาวบ6าง อยางไรก็ตามยังมีข6อสงสัยอีกมากที่
เกี่ยวข6องกับการเกิดไซโตไคนินจาก t-RNA อาจจะมีวิถีเฉพาะที่กอให6เกิดการสังเคราะห/ไซโตไคนิน ดังแสดง
ในรูปที่ 12.4 ซึ่งเปนวิถีที่แยกอยางเด็ดขาดจากการเกิดไซโตไคนินโดยการสลายตัวของ t-RNA
พบไซโตไคนินมากในผลออนและเมล็ด ในใบออนและปลายรากซึ่งไซโตไคนิน อาจจะสังเคราะห/ที่
บริเวณดังกลาวหรืออาจจะเคลื่อนย6ายมาจากสวนอื่น ๆ ในรากนั้นมีหลักฐานที่ชี้ให6เห็นวาไซโตไคนิน
สังเคราะห/ที่บริเวณนี้ได6เพราะเมื่อมีการตัดรากหรือลําต6น พบวาของเหลวที่ไหลออกมาจากทอน้ําจะปรากฏไซ
โตไคนินจากสวนลางขึ้นมา ติดตอกันถึง 4 วัน ซึ่งอาจจะเปนไปได6วาไซโตไคนินสังเคราะห/ที่รากแล6วสงไปยัง
สวนอื่น ๆ โดยทางทอน้ํา หลักฐานที่แสดงวาสังเคราะห/ที่สวนอื่นยังไมพบและการเคลื่อนย6ายของไซโตไค
นินจากสวนออน เชน ใบ เมล็ด ผล ยังเกิดไมดีและไมมาก
7
การสลายตัวของไซโตไคนิน
ไซโตไคนินสามารถถูกทําลายโดยการออกซิเดชั่น ทําให6 side chain หลุดจากกลุมอะดีนีน ติดตาม
ด6วยการทํางานของเอนไซม/ แซนทีนออกซิเดส (Xanthine Oxidase) ซึ่งสามารถออกซิไดซ/ พิวรีนเกิดเปน
กรดยูริค(Uric Acid) และกลายเปนยูเรียไปในที่สุด อยางไรก็ตามในใบพืชไซโตไคนินอาจจะถูกเปลี่ยนไปเปน
กลูโคไซด/ โดยน้ําตาลกลูโคสจะไปเกาะกับตําแหนงที่ 7 ของอะดีนีนเกิดเปน 7-กลูโคซีลไซโตไคนิน (7-
glucosylcyto- kinins) หน6าที่ของไซโตไคนิน กลูโคไซด/ ยังไมทราบแนชัดนัก อาจจะ
เปน "detoxification" ซึ่งไมเกี่ยวข6องกับกิจกรรมทางเมตาบอลิสม/หรืออาจจะเปนรูปที่ไซโตไคนินอาจจะถูก
ปลดปลอยออกมาในบางสภาวะได6 จากการศึกษาโดยใช6 Radioactive BA พบวาสามารถสลายตัวกลายเปน
กรดยูริคแล6วอาจจะรวมกับ RNA ได6
การเคลื่อนที่ของไซโตไคนิน
ยังไมมีหลักฐานวาเคลื่อนที่อยางไร จากการทดลองพบวาระบบรากเปนสวนสําคัญในการสงไซโตไคนิน
ไปยังใบ และปmองกันการเสื่อมสลายของใบกอนระยะอันสมควร เปนหลักฐานที่สําคัญที่ชี้ให6เห็นวา ไซโตไคนินมี
การเคลื่อนที่ขึ้นสูยอด ยิ่งไปกวานั้นยังพบไซโตไคนินในทอน้ํา ซึ่งมาจากระบบรากด6วย ในทางตรงกันข6ามไซ
โตไคนินซึ่งพบที่ผลซึ่งกําลังเจริญเติบโตไมเคลื่อนที่ไปสวนอื่นเลย ในทํานองเดียวกันจากการศึกษากับการให6
ไซโตไคนินจากภายนอก เชนให6ไคเนติน พบวาจะไมเคลื่อนย6ายเปนเวลานาน แม6วาสารอื่น ๆ จะเคลื่อนย6าย
ออกจากจุดนี้ก็ตาม มีหลักฐานจํานวนมากชี้ให6เห็นวาไซโตไคนินอาจจะเคลื่อนย6ายในรูปที่รวมกับสารอื่น ๆ
เชน น้ําตาล (Ribosidesหรือ glucosides) ซึ่งไซโตไคนินในรูปที่รวมกับน้ําตาลนั้นพบเสมอในทอน้ําทออาหาร
ในการให6ไฃโตไคนินกับตาข6างเพื่อกําจัด Apical dominance นั้น พบวาไซโตไคนินจะไมเคลื่อนที่เลย
เปนระยะเวลานานมาก ในการทดลองกับ BA พบวา BA สามารถเคลื่อนที่ผานก6านใบและมีลักษณะ
แบบ Polar เหมือนกับออกซิน ในทุกการศึกษาพบวา ไซโตไคนินในใบจะไมเคลื่อนที่รวมทั้งในผลออน
ด6วย สวนผลของรากในการควบคุมการเจริญเติบโตของสวนเหนือดินอาจจะอธิบายได6ถึงไซโตไคนินที่
เคลื่อนที่ในทอน้ํา ซึ่งพบเสมอในการทดลองวาไซโตไคนินสามารถเคลื่อนที่จากสวนรากไปสูยอด แต
การเคลื่อนที่แบบ Polar ยังไมเปนที่ยืนยันการเคลื่อนที่ของไซโตไคนินในพืชยังมีความขัดแย6งกันอยูบ6าง
การหาปริมาณของไซโตไคนิน
1. ใช6 Tobacco callus test โดยให6ไซโตไคนินกระตุ6นการเจริญของ tobacco pith cell โดยการ
ชั่งน้ําหนักเนื้อเยื่อพืชที่เพิ่มขึ้น แตเปนวิธีที่ใช6เวลานาน
2. Leaf senescence test ไซโตไคนินทําให6คลอโรฟnลล/ไมสลายตัวในแผนใบที่ลอยอยูในสารละลาย
ไซโตไคนินในที่มืด แล6วหาจํานวนของคลอโรฟnลล/ที่เหลืออยู หลังจากลอยไว6 3-4 วัน วิธีนี้ให6ผลไมดีเทาวิธีแรก
8
กลไกการทํางานของไซโตไคนิน
ไซโตไคนินมีบทบาทสําคัญคือควบคุมการแบงเซลล/ และไซโตไคนินที่เกิดในสภาพธรรมชาตินั้นเปน
อนุพันธ/ของอะดีนีนทั้งสิ้น ดังนั้นงานวิจัยเกี่ยวกับกลไกการทํางานจึงมีแนวโน6มในความสัมพันธ/กับกรดนิว
คลีอิค กลไกการทํางานของไซโตไคนินยังไมเดนชัดเหมือนกับออกซิน และจิบเบอเรลลิน แตไซโตไคนินมีผล
ให6เกิดการสังเคราะห/ RNA และโปรตีนมากขึ้นในเซลล/พืช ผลการทดลองบางรายงานกลาววา หลังจากให6ไซ
โตไคนินกับเซลล/พืชแล6วจะเพิ่มปริมาณของ m-RNA, t-RNA และ r-RNA
การศึกษากลไกการทํางานของไซโตไคนิน ในชวงทศวรรษ 1960 ได6เน6นไปในแงที่วาไซโตไคนิน
อาจจะสงผลของฮอร/โมนผาน t-RNA บางชนิด เนื่องจากมีการค6นพบวามีกลุมไซโตไคนินปรากฏอยูรวมกับ t-
RNA หลายชนิด ทั้ง t-RNA ของซีรีน (Serine) และไธโรซีน (Thyrosine) มีอะดีนีนเบสซึ่งมี side chain และ
มีคุณสมบัติเปนไซโตไคนินซึ่งมีประสิทธิภาพสูง ยิ่งไปกวานั้นในกรณี อะดีนีนซึ่งมีคุณสมบัติของไซโตไคนินจะอ
ยูถัดจากแอนติโคดอน(Anticodon) ของ t-RNA จึงเปนที่เชื่อกันวาการปรากฏของไซโตไคนินบน t-
RNA อาจจะจําเปนตอการเกาะกันของโคดอน (Codon) และแอนติโคดอนระหวาง m-RNA และ t-RNA บน
ไรโบโซม ซึ่งสมมุติฐานที่วาไซโตไคนินควบคุมกระบวนการ Translation ผานทาง t-RNA จึงได6รับความเชื่อ
กันมากในขณะนั้น
อยางไรก็ตามสมมติฐานนี้ ในเวลาตอมาได6รับการวิจารณ/อยางรุนแรง เชนในการสังเคราะห/ t-
RNA ตามปกตินั้น อาจจะเกิดการเปลี่ยนรูปของเบส หลังจากที่มีโพลีนิวคลีโอไทด/ (Polynucleotide) แล6ว ซึ่ง
หมายความวา side chain บนตําแหนงที่ 6 ของอะดีนีนนั้นเกิดขึ้นหลังจากที่อะดีนีนได6อยูบน t-
RNA เรียบร6อยแล6ว ซึ่งเปนไปไมได6ที่ไคเนตินและซีเอตินหรือไซโตไคนินอื่นๆ จะเข6ารวมกับ t-RNA ในรูปที่
เปนโมเลกุลที่สมบูรณ/ หลักฐานอีกข6อที่ไมสนับสนุนสมมุติฐานนี้คือ การพบวา t-RNA ของเมล็ดข6าวโพดซึ่งมี
ซีส-ซีเอติน (Cis-Zeatin) ในขณะที่ไซโตไคนินที่เกิดในธรรมชาติในเมล็ดเดียวกันเปนทรานส/-ซีเอติน (trans-
Zeatin) ดังนั้นจึงเปนการยากที่จะเชื่อวาไซโตไคนินเปนสารเริ่มต6นของการสังเคราะห/ t-RNA แม6วางานทดลอง
จะยังสับสนและขัดแย6งกัน แตโดยทั่วไปการรวมของไซโตไคนินเข6าไปใน t-RNA นั้นเกิดในอัตราที่ต่ํามากจนไม
นาเชื่อสมมุติฐานดังกลาว
งานวิจัยได6เปลี่ยนแนวและสนับสนุนวาไซโตไคนินอาจจะทํางานโดยควบคุม กิจกรรมของเอนไซม/
โดยตรงมากกวาที่จะเกี่ยวกับการสังเคราะห/เอนไซม/ ไซโตไคนินมีอิทธิพลตอเอนไซม/หลายชนิด
เชน ไคเนส (Kinases) ที่ใช6ในกระบวนการหายใจ นอกจากนั้นกิจกรรมของเอนไซม/ที่ใช6ในกระบวนการ
สังเคราะห/แสงก็เพิ่มขึ้น
9
ตนแกว
ชื่อท6องถิ่น : ต6นแก6ว
ชื่อสามัญ : แก6ว
ชื่อวิทยาศาสตร/ : Murraya paniculata (L.) Jack
ชื่อวงศ/ : RUTACEAE
ลักษณะวิสัย/ประเภท : ไม6พุม
ลักษณะพืช : ไม6ยืนต6นขนาดเล็กถึงขนาดกลางลําต6นมีความสูงประมาณ5-10 เมตร
เปลือกลําต6นสีขาวปนเทาลําต6นแตกเปนสะเก็ดเปนรองตามยาวการแตกกิ่งก6านของทรงพุมไมคอยเปนระเบียบ
ใบออกเปนชอเปนแผงออกใบเรียงสลับกันชอหนึ่งประกอบด6วยใบยอยประมาณ 4-8 ใบใบเปนมันสีเขียวเข6ม
ขยี้ดูจะมีกลิ่นฉุนแรงขอบใบเรียบเปนคลื่นเล็กน6อยขนาดของใบกว6างประมาณ 2 - 4 เซนติเมตร ยาวประมาณ
3-6 เซนติเมตร ออกดอกเปนชอใหญชอสั้นออกตามปลายกิ่งหรือยอดชอหนึ่งมีดอกประมาณ 5 - 10 ดอก แต
ละดอกมีกลีบดอก 5 กลีบ ดอกสีขาว กลิ่นหอม ดอกบานเต็มที่กว6างประมาณ 2 - 3 เซนติเมตร ผลรูปไข รี
ปลายทู มีสีส6ม ภายในมีเมล็ด 1 - 2 เมล็ด
ปริมาณที่พบ : มาก
การขยายพันธุ/ : ใช6เมล็ดและการตอน
ลักษณะการเพาะปลูก : - ปลูกในแปลงปลูกเพื่อประดับบริเวณบ6านและสวน คนไทยโบราณนิยม
ปลูกไว6เพื่อเปนแนวรั้วบ6าน ขนาดหลุมปลูก 30 x 30 เซนติเมตร ใช6ปุ†ยคอกหรือปุ†ยหมัก: ดินรวน อัตรา 1: 2
ผสมดินปลูก การปลูกแบบนี้สามารถปลูกเปนกลุม หรือเปนแถวก็ได6และสามารถตัดแตงบังคับทรงพุมได6ตาม
ความต6องการของผู6ปลูก
-ปลูกในกระถางเพื่อประดับภายนอกอาคาร ควรใช6กระถางทรงสูงขนาด
12 - 16 นิ้ว ใช6ปุ†ยคอก หรือปุ†ยหมัก: ดินรวนอัตรา 1: 1 ผสมดินปลูก และควรเปลี่ยนกระถาง 1 - 2 ป'/ ครั้ง
หรือตามความเหมาะสมของการเจริญเติบโตของทรงพุม เพราะการขยายตัวของรากแนนเกินไปและเพื่อ
เปลี่ยนดินปลูกใหมทดแทนดินปลูกเดิมที่เสื่อมสภาพไป
ต6นแก6ว ต6องการน้ําปริมาณปานกลาง ควรให6น้ํา 3 - 5 วัน / ครั้ง ชอบดินรวนซุย ต6องการแสงแดดจัด ไมคอยมี
ป;ญหาเรื่องโรคและแมลง เพราะเปนไม6ที่มึความทนทานตอสภาพธรรมชาติพอสมควร
10
การใช6ประโยชน/ :
การใช6ประโยชน/ทางด6านเนื้อไม6 - เนื้อไม6ที่‡แปรรูปใหมสีเหลืองออน พอนานเข6ากลายเปนสีเหลืองแกมเทา
เสี้ยนอาจตรงหรือสน มักมีลายพื้นหรือลายกาบในบางต6น เนื้อละเอียดสม่ําเสมอเปนมันเลื่อย ผา ไส ขัด
ตบแตงได6ดี ใช6ทําเครื่องเรือน เครื่องกลึง ด6ามเครื่องมือ ไม6บรรทัด ด6ามปากกา มีลายสวยงาม กรอบรูป
ภาชนะ ซอ ด6ามเครื่องมือตางๆ
การใช6ประโยชน/ทางด6านภูมิสถาป;ตย/ - เปนไม6พุมที่มีทรงตัดแตงได6สวยงาม ใบเขียวตลอดป'และมีดอกที่
สวยงาม กลิ่นหอมแรกมาก ใช6ปลูกประดับเพื่อความสวยงาม
การใช6ประโยชน/ทางด6านสมุนไพร :
ก6านและใบ - รสเผ็ด สุขุม ขม ใช6เปนยาชาระงับปวด แก6ผื่นคันที่เกิดขึ้นจากความชื้น แก6แผลเจ็บปวด
เกิดจากการกระทบกระแทก ต6มอมบ6วนปาก แก6ปวดฟ;นโดยใช6ใบสดตําพอแหลกแชเหล6าโรง ในอัตราสวน
15 ใบยอยหรือ 1 กรัมตอเหล6าโรง 1 ช6อนชา หรือ 5 มิลลิลิตร เอาน้ําจิ้มบริเวณที่ปวด
ราก - รสเผ็ด ขม สุขุม ใช6แก6ปวดเอว แก6ผื่นคันที่เกิดจากชื้นและที่เกิดจากแมลงกัดตอย
ใบ - ขับพยาธิตัดตืด แก6บิด แก6ท6องเสีย
ราก, ใบ - เปนยาขับประจําเดือน
ดอก, ใบ - ชวยยอย แก6ไขข6ออักเสบ แก6ไอ เวียนศีรษะ
ผลสุก - รับประทานเปนอาหารได6
ข6อมูลอื่นๆเพิ่มเติม :
คนไทยโบราณเชื่อวา บ6านใดปลูกต6นแก6วไว6ประจําบ6านจะทําให6คนในบ6านมีความดี มีคุณคาสูง เพราะคําวา
แก6ว นั้นหมายถึง สิ่งที่ดีมีคาสูงเปนที่นับถือบูชาของบุคคลทั่วไปซึ่งโบราณได6เปรีบเทียบของที่มีคาสูงนี้เสมือน
ดั่งดวงแก6ว นอกจากนี้คนโบราณยังมีความเชื่ออีกวา บ6านใดปลูกต6นแก6วไว6ประจําบ6านจะทําให6เปนคนที่มีจิตใจ
บริสุทธิ์ มีความเบิกบาน เพราะแก6วคือความใสสะอาดความสดใสนอกจากนี้ดอกแก6วยังมีสีขาวสะอาดสดใสมี
กลิ่นหอมนวลไปไกลและยังนําดอกแก6วไปใช6ในพิธีบูชาพระในพิธีทางศาสนาได6เปนสิริมงคลยิ่งอีกด6วย
เพื่อเปนสิริมงคลแกบ6านและผู6อาศัย ควรปลูกต6นแก6วไว6ทางทิศตะวันออก ผู6ปลูกควรปลูกในวันพุธ เพราะ
โบราณเชื่อวาการปลูกไม6เอาประโยชน/ทั่วไปทางดอกให6ปลูกในวันพุธ
11
งานวิจัยที่เกี่ยวของ:
งานวิจัยเรื่อง ผลของไซโทไคนินและออกซินตอการพัฒนาของเนื้อเยื่อเพาะเลี้ยงกระเจียวขาว
จากการเพาะเลี้ยงชิ้นสวนต6นที่ปลอดเชื้อของกระเจียวขาวพันธุ/ป‰าบนอาหารแข็งสูตร Murashige
and Skoog (MS) (1962) ที่เติมฮอร/โมนในกลุมไซโตไคนิน BAP Kinetin และ TDZ ความ เข6มข6น 0.5, 1.0,
2.0 และ 5.0 มิลลิกรัมตอลิตรตามลําดับ เปนเวลา 6 สัปดาห/พบวา ชิ้นสวนที่เลี้ยงบน อาหารสูตร MS ที่เติม
TDZ ความเข6มข6น 0.5 มิลลิกรัมตอลิตรสามารถชักนําให6เกิดการสร6างยอดได6มากที่สุดคือ 2.7 ยอดตอชิ้นสวน
และในการทดลองชักนําให6เกิดรากจากต6นใหมโดยเลี้ยงบนอาหาร แข็งสูตรที่เติมฮอร/โมนในกลุมของออกซิน
NAA, IAA และ IBA ความเข6มข6น 0.5, 1.0, 2.0 และ 5.0 มิลลิกรัมตอลิตร เปนเวลา 6 สัปดาห/ พบวาชิ้นสวน
ที่เลี้ยงบนอาหารสูตร MS ที่เติม NAA ความเข6มข6น 2.0 มิลลิกรัมตอลิตร สามารถชักนําให6เกิดจํานวนรากได6
สูงสุดคือ 8.06 รากตอชิ้นสวนสําหรับการทดลองเพาะเลี้ยงชิ้นสวนตอนบนอาหารสูตร MS ที่เติม NAA (0,
0.5, 1.0 และ 2.0 มิลลิกรัมตอ ลิตร) รวมกับ BAP (0, 1.0, 2.0 และ 5.0 มิลลิกรัมตอลิตรเปนเวลา 6 สัปดาห/
พบวาชิ้นสวนที่เลี้ยงบนอาหารสูตร MS ที่เติม NAA ความเข6มข6น5.0 มิลลิกรัมตอลิตรเพียงอยางเดียว สามารถ
ชักนําให6เกิด จํานวนยอดได6สูงสุด (2.88 ยอดตอชิ้นสวน) ในขณะที่ชิ้นสวนที่เลี้ยงบนอาหารสูตร MS ที่เติม
NAA ความ เข6มข6น 0.5 มิลลิกรัมตอลิตร สามารถชักนําให6เกิดรากได6มากที่สุด (8.33 รากตอชิ้นสวน) ทั้งนี้ไม
พบการสร6างแคลลัสขึ้นบนชิ้นสวนใดๆ และพืชต6นใหมที่มีขนาดต6นสูงประมาณ 5-10 เซนติเมตร ที่ได6 จาก
การทดลอง สามารถย6ายออกปลูกและเจริญเติบโตได6ดีในสภาพแวดล6อมปกติโดยมีอัตราการรอด ชีวิตสูงที่สุด
75 เปอร/เซ็นต/หลังจากย6ายเลี้ยงไปเปนเวลา 4 สัปดาห/
12
บทที่ 3
วิธีการทดลอง
ตัวแปรการทดลอง
ตัวแปรต6น ได6แก ความเข6มข6นของไซโตไคนิน
ตัวแปรตาม ได6แก จํานวนตาข6างและกิ่งของต6นแก6ว
ตัวแปรควบคุม ได6แก อายุของต6นแก6ว ปริมาณน้ํา แสงแดด สภาพดิน และสภาพแวดล6อม
สําหรับต6นแก6ว ปริมาณไซโตไคนินที่ฉีดให6กับต6นแก6ว
รายละเอียดอุปกรณการดลองการทดลอง
1. ต6นแก6ว จํานวน 9 ต6น ปลูกในกระถางขนาดเทากัน โดยแบงออกเปน 3 กลุม คือ กลุมที่ฉีดไซโต
ไคนินมาก (High dose) จํานวน 3 ต6น กลุมที่ฉีดไซโตไคนินน6อย (Low dose) จํานวน 3 ต6น และกลุมที่ไมฉีด
ไซโตไคนินจํานวน 3 ต6น
2. ไซโตไคนิน สกัดจากสาหรายทะเล ผสมเปนสารละลาย 2 แบบ คือ Low dose (0.125%,
0.75/0.6 L) และ High dose (0.2%, 1.2/0.6 L)
3. ฟอกกี้ฉีดน้ําขนาด 650 มิลลิลิตร จํานวน 3 อัน สําหรับใสไซโตไคนินชนิด High dose ไซโตไคนิน
ชนิด Low dose และน้ําเปลา
4. หลอดฉีดยา ขนาด 5 มิลลิลิตร และบีกเกอร/ขนาด 500 มิลลิลิตรสําหรับผสมฮอร/โมน
5. คัตเตอร/ กรรไกร ฟnวเจอร/บอร/ด เทปกาว ไม6ไอศกรีม สําหรับทําปmายป;กกระถาง
ระยะเวลาในการทําการทดลอง
ตั้งแตวันที่ 7 มิถุนายน 2560 – 7 กรกฎาคม 2560 รวมเปนเวลา 1 เดือน
13
วันที่ กิจกรรมที่ปฏิบัติ สถานที่ทํากิจกรรม ผูรับผิดชอบ
7 มิถุนายน 2560 - เลือกฮอร/โมนและต6นไม6ที่ใช6ในการทําโครงงาน
- ศึกษาข6อมูลเกี่ยวกับเอกสาร หนังสือและอินเตอร/เนต
ห6องเรียน ห6อง 77 สมาชิกในกลุม
10 มิถุนายน 2560 - ซื้อต6นไม6 ฟอกกี้และฮอร/โมน
- แบงหน6าที่รับผิดชอบ
- เตรียมอุปกรณ/ทําปmาย
จตุจักร นางสาวอารยา
12 มิถุนายน 2560 - ทําปmายป;กกระถาง
- ผสมฮอร/โมนตามอัตรสวนที่คํานวณไว6
ห6องเรียน ห6อง 77 สมาชิกในกลุม
13 มิถุนายน 2560 - อาจารย/ตรวจประเมินผลครั้งที่ 1 หน6าตึกศิลปะ ครูประจําวิชา
7 กรกฎาคม 2560 -สิ้นสุดการทดลองฮอร/โมน
-ดูแลรักษาต6นไม6ตามปกติตอไป
หน6าตึกศิลปะ สมาชิกในลุม
3 สิงหาคม 2560 -อาจารย/ตรวจประเมินผลครั้งที่ 2 หน6าตึกศิลปะ ครูประจําวิชา
ตารางที 1 ตารางการปฏิบัติกิจกรรมโครงงานตังแต่วันที 7 มิถุนายน 2560 – 7 กรกฎาคม 2560
วิธีการเก็บขอมูล
• บันทึกผลโดยการทําสัญลักษณ/ไว6ที่กิ่ง
14
การดําเนินการ
1.ผสมฮอร/โมนไซโตไคนินในอัตราสวน 2 แบบ คือ High dose 0.2 % โดยปริมาตร และ low dose 0.125%
โดยปริมาตร
(รูปที่ 1: เตรียมอุปกรณ/ ( คัตเตอร์ กรรไกร ฟิวเจอร์บอร์ด เทปกาว ไม้ไอศกรีม สําหรับทําป้ายปักกระถาง))
(รูปที่ 2: รูปการเตรียมความเข6มข6นของฮอร/โมน)
15
2. นําต6นแก6วที่เตรียมไว6มาจัดวางในที่ที่มีแสงแดดทั่วถึง แบงต6นแก6วออกเปน 3 กลุม ดังนี้
กลุมที่ 1 เปนกลุมที่รดน้ําผสมฮอร/โมนไซโตไคนินในความเข6มข6น 0.2% โดยปริมาตร จํานวน 3 ต6น
กลุมที่ 2 เปนกลุมที่รดน้ําผสมฮอร/โมนไซโตไคนินในความเข6มข6น 0.125% โดยปริมาตร จํานวน 3 ต6น
กลุมที่ 3 เปนกลุมที่รดน้ําปกติโดยไมผสมฮอร/โมนไซโตไคนิน จํานวน 3 ต6น
(รูปที่ 3: ต6นแก6วกลุมที่ 1 รดน้ําผสมฮอร/โมน
ไซโตไคนินในความเข6มข6น 0.2%
โดยปริมาตร จํานวน 3 ต6น )
(รูปที่ 4: ต6นแก6วกลุมที่ 2 รดน้ําผสมฮอร/โมน
ไซโตไคนินในความเข6มข6น 0.125% โดย
ปริมาตร จํานวน 3 ต6น)
(รูปที่ 5: ต6นแก6วกลุมที่ 3 เปนกลุมที่รดน้ํา
ปกติโดยไมผสมฮอร/โมนไซโตไคนิน
จํานวน 3 ต6น)
16
3.อาจารย/ประจําวิชาทําการตรวจประเมินผลครั้งที่ 1
(รูปที่ 6: อาจารย/ประจําวิชาทําการตรวจประเมินครั้งที่ 1)
4.รดน้ําธรรมดาและน้ําผสมฮอร/โมนให6ต6นแก6วทุกเช6า ตั้งแตวันที่ 7 มิถุนายน 2560 – 7 กรกฎาคม 2560 รวม
เปนเวลา 1 เดือน
(รูปที่7: กิจวัตรการดูแลต6นไม6)
17
5.สังเกตการแตกยอดของต6นแก6วทุกๆ 7 วัน และบันทึกผลโดยการทําสัญลักษณ/ไว6ที่กิ่ง
(รูปที่ 8: การนับกิ่งเพื่อบันทึกผล)
6.อาจารย/ประจําวิชาทําการตรวจประเมินครั้งที่2
(รูปที่ 9: อาจารย/ประจําวิชาทําการตรวจประเมินครั้งที่ 2)
7.สรุปผลโครงงานพร6อมนําเสนอในรูปเลมโครงงานและ PowerPointนําเสนอ
18
บทที่ 4
ผลการทดลอง
วัน
จํานวน
กิ่งที่เพิ่ม(กิ่ง)
High dose
0.2% v/v
Low dose
0.125% v/v
ชุดควบคุม
0% v/v
1 2 3 เฉลีย 1 2 3 เฉลีย 1 2 3 เฉลีย
13 มิถุนายน 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0
20 มิถุนายน 1 1 1[1]
1 1 0 1 1 1[3]
(-)
0 1 1
27 มิถุนายน 3 2 0 2 1 2 0[2]
(-)
2 0
(-)
2 1 2
4 กรกฎาคม 3 4 3 4 3 3 0
(-)
3 0
(-)
1 2 2
จํานวนกิงที
เพิมโดยรวม
(กิง)
7 7 4 6 5 5 - 5 - 3 5 4
จํานวนกิงที
เพิมโดยเฉลีย
ต่อต้น (กิง)
2 2 1 2 2 - - 1 2
ตารางที่ 2 แสดงจํานวนกิ่งที่เพิ่มขึ้นของต6นแก6วจากการเก็บบันทึกผลข6อมูลในแตละสัปดาห/
19
หมายเหตุ [1] High dose ต6นที่ 3 ขาดน้ําในชวงสัปดาห/ที่ 1-2 และภายหลังสามารถเจริญเติบโตตอ
และแตกกิ่งได6
[2] Low dose ต6นที่ 2 ตายในชวงสัปดาห/ที่ 2-3
[3] ชุดควบคุม ต6นที่1 ตายในชวงสัปดาห/ที่ 1-2
(-) หมายถึงต6นไม6ตายระหวางการทดลอง
กราฟที่1 แสดงจํานวนกิ่งที่เพิ่มขึ้นของต6นแก6วกลุมที่ 1
ที่รดด6วยน้ําผสมฮอร/โมนไซโตไคนินเข6มข6น 0.2% โดยปริมาตร จากการเก็บบันทึกผลข6อมูลในแตละสัปดาห/
20
0
1
2
3
4
5
6
7
13-Jun 20-Jun 27-Jun 4-Jul
จํานวนกิงทีเพิมขึน(กิง)
วันทีบันทึกข้อมูล
High dose 1
High dose 2
High dose 3
กราฟที่2 แสดงจํานวนกิ่งที่เพิ่มขึ้นของต6นแก6วกลุมที่ 2
ที่รดด6วยน้ําผสมฮอร/โมนไซโตไคนินเข6มข6น 0.125% โดยปริมาตร จากการเก็บบันทึกผลข6อมูลในแตละสัปดาห/
กราฟที่3 แสดงจํานวนกิ่งที่เพิ่มขึ้นของต6นแก6วกลุมที่ 3 ที่รดด6วยน้ําเปลา จากการเก็บบันทึกผลข6อมูลในแตละสัปดาห/
21
0
1
2
3
4
5
6
7
13-Jun 20-Jun 27-Jun 4-Jul
จํานวนกิงทีเพิมขึน(กิง)
วันทีบันทึกข้อมูล
Low dose 1
Low dose 2
Low dose 3
0
1
2
3
4
5
6
7
13-Jun 20-Jun 27-Jun 4-Jul
จํานวนกิงทีเพิมขึน(กิง)
วันทีบันทึกข้อมูล
ชุดควบคุม 1
ชุดควบคุม 2
ชุดควบคุม 3
ตนไมในสัปดาหที่ 1 เมื่อเทียบกับตนไมในสัปดาหที่ 4
กลุมที่ 1 ที่รดน้ําด6วยฮอร/โมนไซโตไคนิน เข6มข6น 0.2% โดยปริมาตร
กลุมที่ 2 ที่รดน้ําด6วยฮอร/โมนไซโตไคนิน เข6มข6น 0.125% โดยปริมาตร
กลุมที่ 3 ที่รดน้ําด6วยน้ําธรรมดา
22
บทที่ 5
สรุปผลการทดลอง และขอเสนอแนะ
สรุปผลการทดลอง
จากตารางที่ 2 พบวา
ต6นแก6วที่รดน้ําโดยฮอร/โมนความเข6มข6น 0.2% โดยปริมาตรแตกกิ่งเพิ่มโดยเฉลี่ย 6 กิ่งตอต6น
ต6นแก6วที่รดน้ําโดยฮอร/โมนความเข6มข6น 0.125% โดยปริมาตร แตกกิ่งเพิ่มโดยเฉลี่ย 5 กิ่งตอต6น
ชุดควบคุม แตกกิ่งเพิ่มโดยเฉลี่ย 4 กิ่งตอต6น
เมื่อสังเกตและเปรียบเทียบผลของการใช6ฮอร/โมนไซโตไคนินในความเข6มข6นที่ตางกันตอการแตกยอดของต6น
แก6วเปนเวลา 4 สัปดาห/ คณะผู6จัดทําสรุปผลการทดลองได6วา ต6นแก6วที่รดน้ําโดยฮอร/โมนความเข6มข6น 0.2%
โดยปริมาตร มีจํานวนกิ่งที่เพิ่มขึ้นมากกวาชุดการทดลองอื่น ซึ่งสามารถสรุปได6วาเปนผลมาจากฮอร/โมนไซโต
ไคนิน ต6นแก6วที่รดน้ําโดยฮอร/โมนความเข6มข6น 0.125% โดยปริมาตร มีอัตราการเพิ่มของจํานวนกิ่งมากกวา
ชุดควบคุมแตน6อยกวา ต6นแก6วที่รดน้ําโดยฮอร/โมนความเข6มข6น 0.2% โดยปริมาตร ทั้งนี้ในชุดของต6นแก6วที่รด
น้ําโดยฮอร/โมนความเข6มข6น 0.125% โดยปริมาตร และชุดควบคุมมีต6นที่ตายชุดละ1 ต6น
ขอเสนอแนะ
1. จากการบันทึกผลข6อมูลพบวามีต6นแก6วที่ตายระหวางการทดลอง ซึ่งอาจจะเปนผลมาจาก
1.1. สภาพอากาศในบริเวณโรงเรียนที่ไมเหมาะสมตอการเจริญเติบโตของต6นแก6ว
1.2. ความไมตอเนื่องในการรดน้ําต6นแก6ว เนื่องจากมีวันหยุดเสาร/-อาทิตย/ระหวางสัปดาห/ รวมทั้ง
ปริมาณน้ําที่รดอาจไมเพียงพอตอความต6องการของต6นไม6
1.3. แมลงศัตรูพืช และวัชพืชที่ขึ้นรบกวนการเจริญเติบโต ทําให6ต6นแก6วโตไมเต็มที่ และอาจตายได6
1.4. ปริมาณฮอร/โมนในการฉีดแตละครั้งอาจไมเทากัน เนื่องจากผู6ทดลองจัดเวรในการฉีดฮอร/โมนแต
ละวันตางกัน ทําให6ต6นแก6วอาจได6รับปริมาณฮอร/โมนมากหรือน6อยเกินไปในแตละวัน
1.5. อุบัติเหตุ เชน กระถางต6นไม6ล6ม
2.ควรศึกษาหาสาเหตุโรคของกุหลาบที่พบ และวิธีแก6ไข เพื่อปmองกันข6อผิดพลาด
3.ศึกษางานวิจัยและเอกสารที่เกี่ยวข6องกับโครงงานวิทยาศาสตร/เพิ่มเติมให6มากขึ้น
23
บรรณานุกรม
“ไซโตไคนินกับไคโตซาน.” [ม.ป.ป.]. [ออนไลน/]. เข6าถึงได6จาก:
http://www.kasetporpeang.com/forums/index.php?topic=4236.0;wap2 วันที่ค6นข6อมูล 25
กรกฎาคม 2560.
ดนัย บุณยเกียรติ. [ม.ป.ป.]. “ฮอร/โมนพืช.” [ออนไลน/]. เข6าถึงได6จาก:
http://web.agri.cmu.ac.th/hort/course/359311/PPHY10_hormone.html วันที่ค6นข6อมูล 25
กรกฎาคม 2560.
“ต6นแก6ว.” [ม.ป.ป.]. [ออนไลน/]. เข6าถึงได6จาก:
http://www.bedo.or.th/lcdb/biodiversity/view.aspx?id=11187 วันที่ค6นข6อมูล 25 กรกฎาคม
2560.
หนวยวิจัยการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช ภาควิชาชีววิทยาคณะวิทยาศาสตร/มหาวิทยาลัยนเรศวร จังหวัดพิษณุโลก.
“งานวิจัย ผลของไซโทไคนินและออกซินตอการพัฒนาของเนื้อเยื่อเพาะเลี้ยงกระเจียว
ขาว”[ออนไลน/].เข6าถึงได6จาก.http://www.sci.nu.ac.th วันที่ค6นข6อมูล 25 กรกฎาคม 2560.
24
Plant hor 7_77_60

More Related Content

What's hot

อาณาจักรมอเนอรา
อาณาจักรมอเนอราอาณาจักรมอเนอรา
อาณาจักรมอเนอราพัน พัน
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญาปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญาPadvee Academy
 
วิทยาศาสตร์ วงจรไฟฟ้า
วิทยาศาสตร์ วงจรไฟฟ้าวิทยาศาสตร์ วงจรไฟฟ้า
วิทยาศาสตร์ วงจรไฟฟ้าChanida Manonom
 
ระเบียบวิธีวิจัย.ppt
ระเบียบวิธีวิจัย.pptระเบียบวิธีวิจัย.ppt
ระเบียบวิธีวิจัย.pptAey Usanee
 
โครงงานคณิตศาสตร์ (1)
โครงงานคณิตศาสตร์ (1)โครงงานคณิตศาสตร์ (1)
โครงงานคณิตศาสตร์ (1)Nomjeab Nook
 
หน่วยที่ 4 โรคทางพันธุกรรมและโรคจากการประกอบอาชีพ
หน่วยที่ 4 โรคทางพันธุกรรมและโรคจากการประกอบอาชีพหน่วยที่ 4 โรคทางพันธุกรรมและโรคจากการประกอบอาชีพ
หน่วยที่ 4 โรคทางพันธุกรรมและโรคจากการประกอบอาชีพTerapong Piriyapan
 
แบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจแบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจDuangnapa Inyayot
 
คู่มือการเขียนรายงาน การอ้างอิง การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ สมาคมวิทยาศาสตร์ ...
คู่มือการเขียนรายงาน การอ้างอิง การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ สมาคมวิทยาศาสตร์ ...คู่มือการเขียนรายงาน การอ้างอิง การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ สมาคมวิทยาศาสตร์ ...
คู่มือการเขียนรายงาน การอ้างอิง การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ สมาคมวิทยาศาสตร์ ...Totsaporn Inthanin
 
ขนาดอะตอมและขนาดไอออน
ขนาดอะตอมและขนาดไอออนขนาดอะตอมและขนาดไอออน
ขนาดอะตอมและขนาดไอออนkkrunuch
 
แบบทดสอบมัทนะพาธา
แบบทดสอบมัทนะพาธาแบบทดสอบมัทนะพาธา
แบบทดสอบมัทนะพาธาkrudow14
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงาน
แบบเสนอโครงร่างโครงงานแบบเสนอโครงร่างโครงงาน
แบบเสนอโครงร่างโครงงานChamp Wachwittayakhang
 
การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (Participatory Action Research : PAR)
การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (Participatory Action Research : PAR)การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (Participatory Action Research : PAR)
การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (Participatory Action Research : PAR)DuangdenSandee
 
บทที่ 5 สรุปผล
บทที่ 5 สรุปผลบทที่ 5 สรุปผล
บทที่ 5 สรุปผลGuntima NaLove
 
อินดิเคเตอร์สำหรับกรดเบส
อินดิเคเตอร์สำหรับกรดเบสอินดิเคเตอร์สำหรับกรดเบส
อินดิเคเตอร์สำหรับกรดเบสJariya Jaiyot
 
ข้อสอบวิทย์กลางภาค-ป.5.docx
ข้อสอบวิทย์กลางภาค-ป.5.docxข้อสอบวิทย์กลางภาค-ป.5.docx
ข้อสอบวิทย์กลางภาค-ป.5.docxssuser920267
 

What's hot (20)

อาณาจักรมอเนอรา
อาณาจักรมอเนอราอาณาจักรมอเนอรา
อาณาจักรมอเนอรา
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญาปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
 
วิทยาศาสตร์ วงจรไฟฟ้า
วิทยาศาสตร์ วงจรไฟฟ้าวิทยาศาสตร์ วงจรไฟฟ้า
วิทยาศาสตร์ วงจรไฟฟ้า
 
ระเบียบวิธีวิจัย.ppt
ระเบียบวิธีวิจัย.pptระเบียบวิธีวิจัย.ppt
ระเบียบวิธีวิจัย.ppt
 
Key biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaituKey biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaitu
 
โครงงานคณิตศาสตร์ (1)
โครงงานคณิตศาสตร์ (1)โครงงานคณิตศาสตร์ (1)
โครงงานคณิตศาสตร์ (1)
 
หน่วยที่ 4 โรคทางพันธุกรรมและโรคจากการประกอบอาชีพ
หน่วยที่ 4 โรคทางพันธุกรรมและโรคจากการประกอบอาชีพหน่วยที่ 4 โรคทางพันธุกรรมและโรคจากการประกอบอาชีพ
หน่วยที่ 4 โรคทางพันธุกรรมและโรคจากการประกอบอาชีพ
 
แบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจแบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจ
 
คู่มือการเขียนรายงาน การอ้างอิง การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ สมาคมวิทยาศาสตร์ ...
คู่มือการเขียนรายงาน การอ้างอิง การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ สมาคมวิทยาศาสตร์ ...คู่มือการเขียนรายงาน การอ้างอิง การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ สมาคมวิทยาศาสตร์ ...
คู่มือการเขียนรายงาน การอ้างอิง การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ สมาคมวิทยาศาสตร์ ...
 
ขนาดอะตอมและขนาดไอออน
ขนาดอะตอมและขนาดไอออนขนาดอะตอมและขนาดไอออน
ขนาดอะตอมและขนาดไอออน
 
องค์ประกอบทางเคมีของดีเอ็นเอ
องค์ประกอบทางเคมีของดีเอ็นเอองค์ประกอบทางเคมีของดีเอ็นเอ
องค์ประกอบทางเคมีของดีเอ็นเอ
 
แบบทดสอบมัทนะพาธา
แบบทดสอบมัทนะพาธาแบบทดสอบมัทนะพาธา
แบบทดสอบมัทนะพาธา
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงาน
แบบเสนอโครงร่างโครงงานแบบเสนอโครงร่างโครงงาน
แบบเสนอโครงร่างโครงงาน
 
การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (Participatory Action Research : PAR)
การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (Participatory Action Research : PAR)การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (Participatory Action Research : PAR)
การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (Participatory Action Research : PAR)
 
ระบบย่อยอาหาร
ระบบย่อยอาหารระบบย่อยอาหาร
ระบบย่อยอาหาร
 
บทที่ 5 สรุปผล
บทที่ 5 สรุปผลบทที่ 5 สรุปผล
บทที่ 5 สรุปผล
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
อินดิเคเตอร์สำหรับกรดเบส
อินดิเคเตอร์สำหรับกรดเบสอินดิเคเตอร์สำหรับกรดเบส
อินดิเคเตอร์สำหรับกรดเบส
 
Keydesign
KeydesignKeydesign
Keydesign
 
ข้อสอบวิทย์กลางภาค-ป.5.docx
ข้อสอบวิทย์กลางภาค-ป.5.docxข้อสอบวิทย์กลางภาค-ป.5.docx
ข้อสอบวิทย์กลางภาค-ป.5.docx
 

Similar to Plant hor 7_77_60

โครงงานเกษตรตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
โครงงานเกษตรตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงโครงงานเกษตรตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
โครงงานเกษตรตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเจื๋อง เมืองลื้อ
 
พันธ์ุบุกในประเทศไทย
พันธ์ุบุกในประเทศไทยพันธ์ุบุกในประเทศไทย
พันธ์ุบุกในประเทศไทยWasan Yodsanit
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...ssuser858855
 
หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4) Page 101 136
หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4)  Page 101 136หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4)  Page 101 136
หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4) Page 101 136Makin Puttaisong
 
เรื่อง การทำการเกษตร
เรื่อง การทำการเกษตรเรื่อง การทำการเกษตร
เรื่อง การทำการเกษตรtualekdm
 
โครงงานวิตามินในไข่
โครงงานวิตามินในไข่โครงงานวิตามินในไข่
โครงงานวิตามินในไข่punchza
 
โครงงานเพื่อการศึกษา
โครงงานเพื่อการศึกษาโครงงานเพื่อการศึกษา
โครงงานเพื่อการศึกษาBream Mie
 
ชุดส่งเสริมความรู้โภชนาการและการบริโภค
ชุดส่งเสริมความรู้โภชนาการและการบริโภคชุดส่งเสริมความรู้โภชนาการและการบริโภค
ชุดส่งเสริมความรู้โภชนาการและการบริโภคtassanee chaicharoen
 
อาหาร fastfood การบูรณาการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
อาหาร fastfood  การบูรณาการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง อาหาร fastfood  การบูรณาการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
อาหาร fastfood การบูรณาการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง Kkae Rujira
 
องค์ความรู้ด้านอาหารและโภชนาการสำหรับทุกช่วงวัย
องค์ความรู้ด้านอาหารและโภชนาการสำหรับทุกช่วงวัยองค์ความรู้ด้านอาหารและโภชนาการสำหรับทุกช่วงวัย
องค์ความรู้ด้านอาหารและโภชนาการสำหรับทุกช่วงวัยVorawut Wongumpornpinit
 
เรื่อง การทำการเกษตร
เรื่อง การทำการเกษตรเรื่อง การทำการเกษตร
เรื่อง การทำการเกษตรchompoo28
 
เรื่อง การทำการเกษตร
เรื่อง  การทำการเกษตรเรื่อง  การทำการเกษตร
เรื่อง การทำการเกษตรdaiideah102
 
อาหารจานโปรดของเด็กทับแก้ว
อาหารจานโปรดของเด็กทับแก้วอาหารจานโปรดของเด็กทับแก้ว
อาหารจานโปรดของเด็กทับแก้วTiwapornwa
 
ประสิทธิผลของการให้ข้อมูลด้านโภชนาการต่อพฤติกรรม การบริโภคอาหารของนักศึกษาในเ...
ประสิทธิผลของการให้ข้อมูลด้านโภชนาการต่อพฤติกรรม การบริโภคอาหารของนักศึกษาในเ...ประสิทธิผลของการให้ข้อมูลด้านโภชนาการต่อพฤติกรรม การบริโภคอาหารของนักศึกษาในเ...
ประสิทธิผลของการให้ข้อมูลด้านโภชนาการต่อพฤติกรรม การบริโภคอาหารของนักศึกษาในเ...Thira Woratanarat
 
โครงงานสุขภาพนำหมักชีวภาพ
โครงงานสุขภาพนำหมักชีวภาพโครงงานสุขภาพนำหมักชีวภาพ
โครงงานสุขภาพนำหมักชีวภาพbeau1234
 
วัยซน วัยใส ใส่ใจมื้อหลัก
วัยซน วัยใส ใส่ใจมื้อหลักวัยซน วัยใส ใส่ใจมื้อหลัก
วัยซน วัยใส ใส่ใจมื้อหลักdentyomaraj
 

Similar to Plant hor 7_77_60 (20)

โครงงานเกษตรตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
โครงงานเกษตรตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงโครงงานเกษตรตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
โครงงานเกษตรตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
พันธ์ุบุกในประเทศไทย
พันธ์ุบุกในประเทศไทยพันธ์ุบุกในประเทศไทย
พันธ์ุบุกในประเทศไทย
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
 
หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4) Page 101 136
หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4)  Page 101 136หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4)  Page 101 136
หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4) Page 101 136
 
เรื่อง การทำการเกษตร
เรื่อง การทำการเกษตรเรื่อง การทำการเกษตร
เรื่อง การทำการเกษตร
 
โครงงานวิตามินในไข่
โครงงานวิตามินในไข่โครงงานวิตามินในไข่
โครงงานวิตามินในไข่
 
โครงงานเพื่อการศึกษา
โครงงานเพื่อการศึกษาโครงงานเพื่อการศึกษา
โครงงานเพื่อการศึกษา
 
ชุดส่งเสริมความรู้โภชนาการและการบริโภค
ชุดส่งเสริมความรู้โภชนาการและการบริโภคชุดส่งเสริมความรู้โภชนาการและการบริโภค
ชุดส่งเสริมความรู้โภชนาการและการบริโภค
 
อาหาร fastfood การบูรณาการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
อาหาร fastfood  การบูรณาการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง อาหาร fastfood  การบูรณาการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
อาหาร fastfood การบูรณาการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
 
องค์ความรู้ด้านอาหารและโภชนาการสำหรับทุกช่วงวัย
องค์ความรู้ด้านอาหารและโภชนาการสำหรับทุกช่วงวัยองค์ความรู้ด้านอาหารและโภชนาการสำหรับทุกช่วงวัย
องค์ความรู้ด้านอาหารและโภชนาการสำหรับทุกช่วงวัย
 
กลุ่ม4
กลุ่ม4กลุ่ม4
กลุ่ม4
 
เรื่อง การทำการเกษตร
เรื่อง การทำการเกษตรเรื่อง การทำการเกษตร
เรื่อง การทำการเกษตร
 
เรื่อง การทำการเกษตร
เรื่อง  การทำการเกษตรเรื่อง  การทำการเกษตร
เรื่อง การทำการเกษตร
 
2560 project
2560 project2560 project
2560 project
 
อาหารจานโปรดของเด็กทับแก้ว
อาหารจานโปรดของเด็กทับแก้วอาหารจานโปรดของเด็กทับแก้ว
อาหารจานโปรดของเด็กทับแก้ว
 
ประสิทธิผลของการให้ข้อมูลด้านโภชนาการต่อพฤติกรรม การบริโภคอาหารของนักศึกษาในเ...
ประสิทธิผลของการให้ข้อมูลด้านโภชนาการต่อพฤติกรรม การบริโภคอาหารของนักศึกษาในเ...ประสิทธิผลของการให้ข้อมูลด้านโภชนาการต่อพฤติกรรม การบริโภคอาหารของนักศึกษาในเ...
ประสิทธิผลของการให้ข้อมูลด้านโภชนาการต่อพฤติกรรม การบริโภคอาหารของนักศึกษาในเ...
 
โครงงานสุขภาพนำหมักชีวภาพ
โครงงานสุขภาพนำหมักชีวภาพโครงงานสุขภาพนำหมักชีวภาพ
โครงงานสุขภาพนำหมักชีวภาพ
 
วัยซน วัยใส ใส่ใจมื้อหลัก
วัยซน วัยใส ใส่ใจมื้อหลักวัยซน วัยใส ใส่ใจมื้อหลัก
วัยซน วัยใส ใส่ใจมื้อหลัก
 
Final Project computer_4
Final Project computer_4Final Project computer_4
Final Project computer_4
 
โครงงาน เลขที่-4-8 คู่
โครงงาน เลขที่-4-8 คู่โครงงาน เลขที่-4-8 คู่
โครงงาน เลขที่-4-8 คู่
 

More from Wichai Likitponrak

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfWichai Likitponrak
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64Wichai Likitponrak
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564Wichai Likitponrak
 

More from Wichai Likitponrak (20)

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
 
Biotest kku60
Biotest kku60Biotest kku60
Biotest kku60
 
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichaiBi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
 
BiOsaman2564
BiOsaman2564BiOsaman2564
BiOsaman2564
 
Biosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichaiBiosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichai
 
Ijs obio62 testing
Ijs obio62 testingIjs obio62 testing
Ijs obio62 testing
 
Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62
 
Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62
 
Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61
 
Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61
 
Pptgst uprojectcoconut61
Pptgst uprojectcoconut61Pptgst uprojectcoconut61
Pptgst uprojectcoconut61
 

Plant hor 7_77_60

  • 1. โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา โครงงานการศึกษาจํานวนการแตกกิ่งตนแกว ที่เปลี่ยนแปลงตอความเขมขนของฮอรโมนไซโตไคนิน นําเสนอ อาจารยวิชัย ลิขิตพรรักษ สมาชิกกลุม นางสาวจุฬาลักษณ สหพรอุดมการ ม.6 หอง 77 เลขที่ 3 นางสาวธญานี เกียรติ์สุขสถิตย ม.6 หอง 77 เลขที่ 5 นางสาวธนัญญา พูวณิชย ม.6 หอง 77 เลขที่ 6 นางสาวอารยา ชัยวัฒนประภา ม.6 หอง 77 เลขที่ 20 รายงานนี้เปนสวนหนึ่งของรายวิชาชีววิทยา ว30245 ภาคเรียนที่ 1 ป'การศึกษา 2560 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
  • 2. คํานํา รายงานฉบับนี้เปนสวนหนึ่งของวิชาชีววิทยา ว 30245 ชั้นมัธยมศึกษาป'ที่ 6 โดยมีจุดประสงค/เพื่อ รายงานและสรุปผลการทดลองของโครงงานการศึกษาจํานวนการแตกกิ่งต6นแก6วที่เปลี่ยนแปลงตอความเข6มข6น ของฮอร/โมนไซโทไคนิน ซึ่งรายงานฉบับนี้ได6ระบุข6อมูลเกี่ยวกับป;ญหา ที่มาและความสําคัญ รายละเอียดของ ต6นแก6วและข6อมูลฮอร/โมนไซโทไคนิน สมมติฐานการทดลอง จุดประสงค/การทดลอง ตัวแปรและรายละเอียด เกี่ยวกับการทดลองตางๆ อาทิเชน ขั้นตอนการทดลอง อุปกรณ/ที่ใช6 วิธีการเตรียมสาร วิธีการเก็บข6อมูลอยาง ละเอียด เพื่อให6ผู6ที่ต6องการศึกษาค6นคว6านั้นได6เข6าใจขั้นตอนอยางละเอียดถี่ถ6วน อีกทั้งในรายงานฉบับนี้ยังได6 ระบุถึงผลการทดลองพร6อมรูปประกอบ สรุปและข6อเสนอแนะ และบรรรณานุกรมอยางชัดเจนสําหรับผู6ที่ ต6องการจะศึกษาเพิ่มเติมด6วย ผู6จัดทําหวังเปนอยางยิ่งวารายงานฉบับนี้จะเปนประโยชน/อยางยิ่งตอผู6ที่สนใจศึกษาเกี่ยวกับฮอร/โมน ไซโตไคนินและผลของฮอร/โมนตอพืช หากมีข6อผิดพลาดประการใด คณะผู6จัดทําขออภัยมา ณ ที่นี้ คณะผู6จัดทํา ก
  • 3. บทคัดยอ โครงงานวิทยาศาสตร/นี้ มีวัตถุประสงค/เพื่อศึกษาค6นคว6าความเข6มข6นของฮอร/โมนไซโตไคนินที่ เหมาะสมสําหรับการแตกกิ่งและเปรียบเทียบผลของการใช6ฮอร/โมนไซโตไคนินในความเข6มข6นที่ตางกันตอการ แตกกิ่งต6นแก6ว ลําดับแรก คณะผู6จัดทําได6ทําการทดลองโดยศึกษาจากความแตกตางของความเข6มข6นของฮอร/โมนที่ ใช6 อุปกรณ/ในการทดลองประกอบด6วย หลอดฉีดยา ฟอกกี้ฉีดน้ํา ฮอร/โมนไซโตไคนิน และต6นแก6วจํานวน 9 ต6น ระยะเวลาในการทดลอง คือ ระหวางวันที่ 7 มิถุนายน ถึงวันที่ 7 กรกฎาคม 2560 สถานที่ทําการทดลอง คือบริเวณหน6าตึกศิลปะ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ลําดับถัดมา คณะผู6จัดทําได6ทําการทดลองโดยแบงต6นแก6วออกเปน 3 กลุม กลุมละ 3 ต6น กลุมที่ 1 รด ด6วยน้ําผสมฮอร/โมนไซโตไคนินในความเข6มข6น 0.2% โดยปริมาตร กลุมที่ 2 รดด6วยน้ําผสมฮอร/โมนความ เข6มข6น 0.125% โดยปริมาตร และกลุมที่ 3 รดด6วยน้ําปกติที่ไมผสมฮอร/โมน โดยนับจํานวนกิ่งที่แตกเพิ่ม เก็บ ข6อมูลการทดลองทุกๆ 7 วัน ลําดับสุดท6าย คณะผู6จัดทําได6นําข6อมูลมาวิเคราะห/ รวบรวมและสรุปผล เพื่อนํามาจัดทําเปนรูปเลม และPowerpointนําเสนอ ซึ่งจากผลการทดลองพบวา เมื่อรดน้ําผสมฮอร/โมนไซโตไคนินในความเข6มข6น 0.2% โดยปริมาตรให6 ต6นแก6วกลุมที่ 1 ต6นแก6วจะมีการแตกกิ่งใหมเฉลี่ย 6 กิ่งตอต6น เมื่อรดด6วยน้ําผสมฮอร/โมนความเข6มข6น 0.125% โดยปริมาตรให6ต6นแก6วกลุมที่ 2 ต6นแก6วจะมีการแตกกิ่งใหมเฉลี่ย 5 กิ่งตอต6น และเมื่อรดน้ําที่ไมผสม ฮอร/โมนให6ต6นแก6วกลุมที่ 3 ต6นแก6วจะมีการแตกกิ่งใหมเฉลี่ย 4 กิ่งตอต6น ข
  • 4. กิตติกรรมประกาศ โครงงานวิทยาศาสตร/รายวิชาชีววิทยา ในการศึกษาและสํารวจข6อมูลของโครงงานการศึกษาจํานวน การแตกกิ่งต6นแก6วที่เปลี่ยนแปลงตอความเข6มข6นของฮอร/โมนไซโทไคนินครั้งนี้ทางคณะผู6จัดทําได6รับการ สนับสนุนด6านตางๆมากมาย โดยเฉพาะอยางยิ่ง อาจารย/วิชัย ลิขิตพรรักษ/ ที่ได6ให6คําปรึกษาระหวางการทํา การทดลอง และการแก6ป;ญหาอุปสรรคตางๆ อาจารย/วีรานันท/ ลีศิริไพศาล ที่ได6ให6ความอนุเคราะห/ด6านวัสดุ อุปกรณ/ เชน หลอดทดลอง และบีกเกอร/ตวงสาร รวมถึงสถานที่ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา และคณะครู อาจารย/ทุกทานในโรงเรียนที่ได6ให6การสนับสนุนการศึกษาโครงงานเลมนี้จนสําเร็จสมบูรณ/ คณะผู6จัดทําโครงงานขอขอบคุณทุกทานมา ณ โอกาสนี้ คณะผู6จัดทํา ค
  • 5. สารบัญ เรื่อง หน6า บทคัดยอ ก กิตติกรรมประกาศ ข สารบัญ ค บทที่ 1 บทนํา • ป;ญหา ที่มาและความสําคัญ 1 • สมมติฐานการทดลอง 1 • จุดประสงค/การทดลอง 1 • ประโยชน/ที่คาดวาจะได6รับ 2 บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข6อง • ไซโทไคนิน 3 • ต6นแก6ว 10 • งานวิจัย ผลของไซโตไคนินและออกซินตอการพัฒนาของเนื้อเยื่อเพาะเลี้ยงกระเจียวขาว 12 บทที่ 3 วิธีการทดลอง • ตัวแปรการทดลอง 13 • รายละเอียดอุปกรณ/การทดลอง 13 • ระยะเวลาในการทําการทดลอง 13 • วิธีการเก็บข6อมูล 14 • ขึ้นตอนการทดลอง 14 บทที่ 4 ผลการทดลอง 19 บทที่ 5 สรุปผล และข6อเสนอแนะ 23 บรรณานุกรม 24
  • 6. บทที่ 1 บทนํา ชื่อโครงงาน การศึกษาจํานวนการแตกกิ่งต6นแก6วที่เปลี่ยนแปลงตอความเข6มข6นของฮอร/โมนไซโตไคนิน ที่มาและความสําคัญของโครงงาน ป;จจุบันการเกษตรกรรมในประเทศไทยนับวามีความสําคัญอยางมากตอเศรษฐกิจทั้งในและนอกประเทศ เกษตรกรพยายามหาวิธีที่จะทําให6ผลผลิตได6มากแตต6นทุนน6อย การใช6ฮอร/โมนเรงการเจริญเติบโตของพืชถือ เปนหนทางหนึ่งที่จะทําให6ผลผลิตเพิ่มพูนขึ้นได6 และหากเราทราบปริมาณ, ความเข6มข6น, ชนิดของฮอร/โมนให6 เหมาะสมและตรงกับผลิตภัณฑ/จากพืชที่เราต6องการ ไมเพียงแตจะชวยลดต6นทุนในการผลิต แตยังชวยเพิ่มพูน ผลผลิตจากพืชที่เกษตรกรต6องการอยางตรงจุด เปนการชวยกระตุ6นปริมาณการผลิตและสงออกทั้งในและนอก ประเทศ ทําให6เศรษฐกิจของประเทศไทยเจริญมากยิ่งขึ้น ในโครงงานการศึกษาจํานวนการแตกกิ่งต6นแก6วที่เปลี่ยนแปลงตอความเข6มข6นของฮอร/โมนไซโทไคนินนี้ ได6มีการศึกษาถึง - ชนิดของฮอร/โมนที่สงผลตอสิ่งที่คณะผู6จัดทําต6องการจะศึกษา - ปริมาณฮอร/โมนที่เหมาะสมในการใช6กับต6นพืช - ความเข6มข6นของฮอร/โมนที่ถูกต6อง เหมาะสม และให6อัตราการเจริญเติบโตของสวนที่เราต6องการจะศึกษา สูงที่สุด จึงสามารถกลาวได6วาโครงงานนี้ได6แก6ป;ญหาเกษตรกรรมในประเทศไทยและเปนแนวทางเลือกใหมให6แก เกษตรกรที่ต6องการเพิ่มพูนผลผลิตอยางตรงจุด ถูกวิธี และใช6ต6นทุนน6อยได6 สมมติฐานการทดลอง 1. ไซโตไคนินมีผลตอการเจริญเติบโตของต6นแก6ว 2. ต6นแก6วที่ได6รับไซโตไคนินมาก (High dose) จะมีการแตกตาข6าง ทําให6มียอดเพิ่มขึ้นมากกวา ต6น แก6วที่ได6รับไซโตไคนินน6อย (Low dose) และ ต6นแก6วที่ไมได6รับไซโตไคนินเลยตามลําดับ จุดประสงคการทดลอง 1. เพื่อศึกษาผลของไซโตไคนินตอการเจริญเติบโตของต6นแก6ว (จํานวนกิ่ง) 2. เพื่อสังเกต รวบรวม และวิเคราะห/ผลตามกระบวนการทดลองทางวิทยาศาสตร/อยางเปนระบบ 1
  • 7. ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ 1. ทราบความเข6มข6นที่เหมาะสมของฮอร/โมนไซโตไคนินที่ใช6ในการแตกยอดกิ่งของต6นแก6ว 2. ทราบผลของของการใช6ฮอร/โมนไซโตไคนินตอการแตกยอดของต6นแก6ว 3. สมาชิกสามัคคี รู6จักการทํางานเปนกลุม 4. สมาชิกได6เรียนรู6วิธีการทดลองตามกระบวนการทางวิทยาศาสตร/ 5. สมาชิกมีจิตสํานึกในการดูแลต6นไม6และได6เรียนรู6การดูแลต6นไม6ที่ถูกวิธี 2
  • 8. บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ ไซโตไคนิน (Cytokinins) ไซโตไคนินเปนฮอร/โมนของพืชที่พบครั้งแรกในน้ํามะพร6าว โดยสารนี้มีความสามารถกระตุ6นการแบง เซลล/ ซึ่งตอมาพบวาสารนี้คือ 6-furfuryladenine เปนสารที่มีสูตรโครงสร6างแบบพูรีน (Purine) จาก คุณสมบัติที่สามารถกระตุ6นการแบงเซลล/ได6จึงเรียกสารนี้วาไคเนติน (Kinetin) หลังจากนั้นก็มีผู6พบสารที่มีสูตร โครงสร6างและคุณสมบัติคล6ายกับไคเนตินอีก หลายชนิด จึงรวมเรียกสารเหลานี้วาไซโตไคนิน ไซ โตไคนินที่พบในพืชคือ ซีอะติน (Zeatin) แหลงสร6างไซโตไคนินในพืชที่อยูปลายราก ปมราก และพบทั่วไปใน ต6นพืช เปนสวนประกอบของกรดนิวคลีอิก นอกจากนี้พบในรูปสารอิสระในเอมบริโอ และผลที่กําลัง เจริญเติบโต ผลของไซโตไคนินกับพืชจะเกิดรวมกับสารกระตุ6นการทํางาน (co-factor) อื่นๆ ถ6าไมมีสาร เหลานี้ไซโตไคนินจะไมแสดงผลกับพืช ในป;จจุบันได6มีการสังเคราะห/ไซโตไคนินขึ้นในห6องปฏิบัติการหลายชนิดและนิยมใช6กันอยางแพรหลาย ในทางการเกษตรและทางการค6า ไซโตไคนินเหลานี้มีคุณสมบัติชวยในการแบงเซลล/และสามารถใช6ชะลอหรือ ยืด อายุของสวนตางๆ ของพืช เชน ใบ ดอก และผลให6สดอยูได6นาน ตลอดจนมีการนํามาใช6ในสูตรอาหารเพื่อ เพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืชอยางแพรหลาย ไซโตไคนินสังเคราะห/ที่สําคัญและนิยมใช6กันมากได6แก เบนซิลอะดีนิน (Benzyl aminopurine หรือ BAP) เททระไฮโดรไพรานิล เบนซิลอะดีนิน(Tetrahydropyranyl benzyl adenine หรือ TBA) เปนต6น ประโยชนของไซโตไคนิน ไซโตไคนินมีคุณสมบัติกระตุ6นการแบงเซลล/และการเจริญเปลี่ยนแปลงของเซลล/ การเจริญทางด6านลํา ต6นของพืช กระตุ6นการเจริญตาข6างทําให6ตาข6างเจริญออกมาเปนกิ่งได6 ชวยในการเคลื่อนย6ายอาหารจากราก ไปสูยอด รักษาระดับ การสังเคราะห/โปรตีนให6นานขึ้น ปmองกันคลอโรฟnลล/ให6ถูกทําลายช6าลง ทําให6ใบเขียวอยู นานและรวงหลนช6าลง ชวยทําให6ใบเลี้ยงคลี่ขยาย ชวยให6เมล็ดงอกได6ในที่มืด เปนต6น ซึ่งสามารถแยกออกเปน หัวข6อได6ดังนี้ 1. สงเสริมเซลล/ให6แบงตัวและพัฒนาไปเปนอวัยวะตางๆ ของพืช หน6าที่ หลักของไซโตไคนิน คือ ชวย ให6ไซโตพลาสซึมแบงตัว ในการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อถ6าไมใสไซโตไคนินจะมีการแบงตัวของนิวเคลียส เทานั้น ทํา ให6ได6เซลล/ที่มีหลายนิวเคลียสหรือพอลิพลอยด/ ในการเลี้ยงเนื้อเยื่อนั้นสัดสวนของไซโตไคนินและออกซินมีค วามสําคัญมาก ถ6ามีไซโตไคนินมาก กลุมเซลล/จะพัฒนาเปนเนื้อเยื่อเจริญที่จะแปลงสภาพไปเปน สวนของยอด 3
  • 9. คือตา ลําต6น และใบ แตถ6ามีไซโตไคนินต่ําจะเกิดรากมาก ดังนั้นการใช6สัดสวนของฮอร/โมนทั้งสองชนิดนี้อยาง เหมาะสมกลุมเซลล/จะสามารถพัฒนาไปเปนต6นที่สมบูรณ/ได6 ซึ่งมีประโยชน/มากในการขยายพันธุ/พืชโดยไมต6อง อาศัยเมล็ดและงานด6านพันธุ วิศวกรรม 2. กระตุ6นการเจริญของกิ่งแขนง สารไซโตไคนินสามารถกระตุ6นให6ตาข6างของพืชเจริญออกมาเปนกิ่ง ได6 จึงมีประโยชน/ในการควบคุมทรงพุม สวนใหญใช6กับไม6กระถางประดับ นอกจากนี้ยังชวยกระตุ6นตาที่นําไป ขยายพันธุ/ด6วยวิธีติดตาให6เจริญออกมาเปน กิ่งใหมได6เร็วขึ้นโดยการทาสารที่ตาซึ่งติดสนิทดีแล6ว จะทําให6ตานั้น เจริญออกมาภายใน 7-14 วัน ภายหลังการใช6สาร ไซโตไคนินที่นิยมใช6ในกรณีนี้คือสาร BAP โดยนํามาผสมกับ ลาโนลิน (Lanolin) เพื่อให6อยูในรูปครีมซึ่งสะดวกตอการใช6 3. ชวยชะลอความแกของพืช ไซโตไคนินเฉพาะอยางยิ่ง BAP สามารถชะลอความแกของพืชได6หลาย ชนิด เชน ผักกาดหอมหอ หอมต6น หนอไม6ฝรั่ง บร็อกโคลี่ ขึ้นฉายฝรั่ง โดยการพนสาร BAP ในความเข6มข6น ต่ําๆบริเวณใบพืชเหลานี้ภายหลังเก็บเกี่ยวหรือจุมต6นลงในสารละลาย BAP โดยตรง จะมีผลทําให6ผักเหลานี้คง ความเขียวสดอยูได6นาน เปนการยืดอายุการเก็บรักษาผักเหลานี้ได6 เชื่อวาไซโตไคนินชะลอความแกโดยการ รักษาระดับการสังเคราะห/อาร/เอ็นเอและ โปรตีนให6คงอยูได6นาน ตลอดจนชวยชะลอการสลายตัวของ คลอโรฟnลล/ นอกจากนี้ยังสามารถใช6ผสมลงในสารละลายที่ใช6ป;กแจเพื่อยืดอายุการป;กแจกันของคาร/เนชั่นได6 ด6วย 4. ชวยในการเคลื่อนย6ายอาหาร ไซโตไคนินมีคุณสมบัติชวยให6การเคลื่อนย6ายสารอาหารจากสวนอื่นๆ ไปยังสวนที่ได6รับไซโตไคนินได6และเกิดการสะสมอาหาร ณ บริเวณนั้น ต6วอยางเชน ใบออนซึ่งมีไซโตไคนินอยู มากจะสามารถเคลื่อนย6ายสารอาหารจากใบแกมาเก็บ สะสมไว6ในใบออนที่กําลังเจริญเติบโต นอกจากนี้ไซโต ไคนินยังชวยปmองกันไมให6คลอโรฟnลล/เสื่อมสลายงาย ใบพืชที่เริ่มเปลี่ยนเปนสีเหลืองถ6าให6ได6รับไซโตไคนินจะทํา ให6ใบสามารถสังเคราะห/คลอโรฟnลล/ขึ้นได6อีก 5. กระตุ6นการเกิดดอกและผล โดย ไซโตไคนินสามารถชักนําการออกดอกของพืชวันยาวหรือพืชที่ ต6องการอากาศเย็นได6 และยังชวยกระตุ6นให6มีการสร6างผลแบบ parthenocaroic fruit ในพืชบางชนิดได6 แต อยางไรก็ตามไซโตไคนินที่นํามาใช6ในแปลงเกษตรยังมีคอนข6างน6อย สวนใหญใช6ในงานเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ 4
  • 10. การออกฤทธิ์ทางสรีรวิทยาที่สําคัญของไซโตไคนิน ได6แก - ควบคุมการแบงเซลล/หรือวัฏจักรของเซลล/ เปนหน6าที่หลักของไซโตไคนิน - ควบคุมการเกิดรูปราง อัตราสวนของไซโตไคนินตอออกซินจะมีผลตอการพัฒนาของแคลลัส โดย แคลลัสที่ได6รับอัตราสวนของไซโตไคนินตอออกซินต่ํา (ออกซินมากกวาไซโตไคนิน) จะเกิดราก แคลลัสที่ได6รับอัตราสวนของไซโตไคนินตอออกซินสูง (ไซโตไคนินมากกวาออกซิน) จะเกิดตายอด - สนับสนุนการขยายตัวของเซลล/ ที่เกี่ยวข6องกับการดูดน้ําเข6าไปภายในเซลล/ เพราะไมทําให6น้ําหนัก แห6งเพิ่มขึ้น - สนับสนุนการพัฒนาและการแตกตาข6าง ไซโตไคนินสามารถกระตุ6นให6ตาข6างที่ถูกยับยั้งด6วยตายอด เจริญออกมาได6 - ไขมันไซโตไคนินชวยให6พืชหลายชนิด เชน หนอไม6ฝรั่ง ต6นหอม คงความเขียวสดอยูได6นาน - การเกิดปม ปมที่เกิดในพืชเปนเนื้อเยื่อที่ไมมีการกําหนดพัฒนาและมีลักษณะคล6ายเนื้องอก เกิดจาก เชื้อ Agrobacterium tumefaciens - ทําให6เกิดสีเขียว สนับสนุนการเกิดคลอโรฟnลล/และการเปลี่ยนอีทิโอพลาสต/ไปเปนคลอโรพลาสต/ - ไซโตไคนินจากปลายรากมีผลตอการเจริญของลําต6นและราก การตัดรากออกไปจะทําให6การ เจริญเติบโตของลําต6นหยุดชะงัก - การเพิ่มไซโตไคนินจากภายนอกลดขนาดของเนื้อเยื่อเจริญที่ปลายรากลงโดยไมกระทบตออัตราการ ขยายตัวของเซลล/ภายในเนื้อเยื่อเจริญ แตไซโตไคนินปริมาณมากจะมีความจําเปนในการรักษา กิจกรรมของเนื้อเยื่อเจริญ ที่ปลายยอด - กระตุ6นการออกดอกของพืชวันสั้นบางชนิด เชนในแหนเปด ไซโตไคนินกระตุ6นให6พืชสร6างสารฟลอริ เจน (Florigen) ซึ่งชักนําให6พืชออกดอกได6 ไซโตไคนินยังชวยให6เกิดดอกตัวเมียมากขึ้น - ทําลายระยะพักตัวของพืช ของเมล็ดพืชหลายชนิดได6 เชน ผักกาดหอม 5
  • 11. การค6นพบฮอร/โมนในกลุมนี้เริ่มจากการศึกษาการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ โดยในป' ค.ศ. 1920 Haberlandt ได6แสดงให6เห็นวามีสารชนิดหนึ่งเกิดอยูในเนื้อเยื่อพืชและกระตุ6นให6เนื้อเยื่อพาเรนไคมา ในหัวมันฝรั่งกลับกลายเปนเนื้อเยื่อเจริญได6 ซึ่งแสดงวาสารชนิดนี้สามารถกระตุ6นให6มีการแบงเซลล/ ตอมามี การพบวาน้ํามะพร6าวและเนื้อเยื่อของหัวแครอทมีคุณสมบัติในการกระตุ6นการแบงเซลล/เชนกัน นักวิทยาศาสตร/หลายทาน เชน Skoog และ Steward ทําการทดลองในสหรัฐอเมริกา โดยศึกษา ความต6องการสิ่งที่ใช6ในการเจริญเติบโตของกลุมก6อนของเซลล/ (Callus) ซึ่งเปนเซลล/ที่แบงตัวอยาง รวดเร็ว แตไมมีการเปลี่ยนแปลงทางคุณภาพเกิดขึ้นของ pith จากยาสูบและรากของแครอท จากผลการ ทดลองนี้ทําให6รู6จักไซโตไคนินในระยะป' ค.ศ. 1950 ซึ่งเปนฮอร/โมนพืชที่จําเปนตอการแบงเซลล/และการ เปลี่ยนแปลงทางคุณภาพของเนื้อเยื่อ ในป;จจุบันพบวาไซโตไคนิน ยังเกี่ยวข6องกับการ เสื่อมสภาพ (Senescence) และการควบคุมการเจริญของตาข6างโดยตายอด (Apical Dominance) จากการศึกษาของ Skoog โดยเลี้ยงเนื้อเยื่อ pith ของยาสูบ พบวาการที่เนื้อเยื่อจะเจริญตอไปได6นั้น จะต6องมีอาหารและฮอร/โมน เชน ออกซิน โดยถ6าให6ออกซินในอาหารจะมีการเจริญของเนื้อเยื่อนั้นน6อย มาก เซลล/ขนาดใหญเกิดขึ้นโดยไมแบงเซลล/ นอกจากนั้นจะไมเกิดการเปลี่ยนแปลงทางคุณภาพ อยางไรก็ ตามหากเพิ่มพิวรีน เบส (Purine Base) ชนิดอะดีนีน (Adenine) ลงไปในอาหารรวมกับ IAA พบวา เนื้อเยื่อ จะกลายเปนกลุมเซลล/ (Callus) ถ6าใสอะดีนีนอยางเดียวรวมกับอาหาร เนื้อเยื่อจะไมสร6างกลุมเซลล/ ขึ้นมา ดังนั้นจึงมีปฏิสัมพันธ/ (Interaction) ระหวาง อะดีนีน และ IAA ซึ่งกระตุ6นให6เกิดการแบงเซลล/ ขึ้น อะดีนีนเปนพิวรีนเบสซึ่งมีสูตรเปน 6-อะมิโนพิวรีน(6-aminopurine) และปรากฏอยูในสภาพธรรมชาติ โดยเปนสวนประกอบของกรด นิวคลีอิค ในป' 1955 Miller ได6แยกสารอีกชนิดหนึ่งซึ่งมีคุณสมบัติคล6ายคลึงแตมีประสิทธิภาพดีกวาอะ ดีนีน ซึ่งได6จากการสลายตัวของ DNA ของสเปnร/มจากปลาแฮร/ริง สารชนิดนี้ คือ 6-(furfuryl- amino) purine ซึ่งมีสูตรโครงสร6างคล6ายอะดีนีน เนื่องจากสารชนิดนี้สามารถกระตุ6นให6เกิดการแบงเซลล/โดย รวมกับออกซิน จึงได6รับชื่อวาไคเนติน (Kinetin) ไคเนติน เปนสารที่ไมพบตามธรรมชาติในต6นพืช แตเปนสารสังเคราะห/ ตอมาได6มีการค6นพบไซโตไค นินสังเคราะห/อีกหลายชนิด สารสังเคราะห/ที่มีกิจกรรมของไซโตไคนินสูงที่สุดคือ เบนซิลอะ ดีนีน (Benzyladenineหรือ BA) และเตตระไฮโดรไพรานีลเบนซิลอะ ดีนีน (tetrahydropyranylbenzyladenine หรือ PBA) 6
  • 12. ไซโตไคนินที่พบในพืช แม6วาไคเนติน BA และ PBA เปนสารที่ไมพบในต6นพืช แตสารซึ่งพบในอวัยวะของพืชหลายชนิด เชน ในน้ํามะพร6าว ในผลออนของข6าวโพด ให6ผลทางสรีรวิทยาและสัณฐานวิทยาที่คล6ายคลึงกับ สาร BA และ PBA สารที่เกิดตามธรรมชาติและสารสังเคราะห/หลายชนิด ซึ่งมีคุณสมบัติเหมือนไคเนตินนั้น เรียกโดยทั่วๆ ไปวา ไซโตไคนิน ซึ่งเปนสารที่เมื่อมีผลรวมกับออกซินแล6วจะเรงให6เกิดการแบงเซลล/ในพืช มีหลักฐานเดนชัดชี้วาไซโตไคนินที่เกิดในธรรมชาติเปนสารประกอบพิวรีนใน 1964 Letham ได6 แยกไซโตไคนินชนิดหนึ่งจากเมล็ดข6าวโพดหวาน และพบวา เปนสาร 6-(4-hydroxy-3-methyl but-2- enyl) aminopurine ซึ่ง Letham ได6ตั้งชื่อวา ซีเอติน (Zeatin) นับตั้งแตมีการแยกไซโตไคนินชนิดแรกคือซีเอตินแล6วก็มีการค6นพบไซโตไคนิน อีกหลายชนิดซึ่งทุก ชนิดเปนอนุพันธ/ของอะดีนีน คือ เปน 6-substituted amino purines ซีเอตินเปนไซโตไคนินธรรมชาติซึ่งมี ประสิทธิภาพสูงที่สุด การสังเคราะหไซโตไคนิน การสังเคราะห/ไซโตไคนินในต6นพืชเกิดโดยการ substitution ของ side chain บนคาร/บอนอะตอม ที่ 6 ของอะดีนีน ซึ่ง side chain ของไซโตไคนินในสภาพธรรมชาติ ประกอบด6วยคาร/บอน 5 อะตอม จึง เปนการชี้ให6เห็นวาเกิดมาจากวิถีการสังเคราะห/ ไอโซพรีนอยด/ (Isoprenoid) ตอมาพบวา กลุมของไซโตไค นิน เกิดขึ้นบน t-RNA ได6 และเมื่อใช6เมวาโลเนต (Mavalonate หรือ MVA) ที่มีสารกัมมันตรังสี จะสามารถ ไปรวมกับกลุม อะดีนีนของ t-RNA เกิดเปนไดเมทธิลอัลลิล (Dimethylallyl side chain) เกาะด6านข6าง ใน เชื้อรา Rhizopus นั้น Dimethylallyl adenine สามารถเปลี่ยนไปเปน Zeatin ได6 จึงคาดกัน วา Zeatin อาจจะเกิดจากการออกซิไดซ/ Dimethylallyl adenine การเกิดกลุมของไซโตไคนินใน t-RNA นี้ หมายความวา ไซโตไคนิน อาจจะเกิดขึ้นมาจากการ สลายตัวของ t-RNA ซึ่งความเปนจริงก็พบเหตุการณ/ดังกลาวบ6าง อยางไรก็ตามยังมีข6อสงสัยอีกมากที่ เกี่ยวข6องกับการเกิดไซโตไคนินจาก t-RNA อาจจะมีวิถีเฉพาะที่กอให6เกิดการสังเคราะห/ไซโตไคนิน ดังแสดง ในรูปที่ 12.4 ซึ่งเปนวิถีที่แยกอยางเด็ดขาดจากการเกิดไซโตไคนินโดยการสลายตัวของ t-RNA พบไซโตไคนินมากในผลออนและเมล็ด ในใบออนและปลายรากซึ่งไซโตไคนิน อาจจะสังเคราะห/ที่ บริเวณดังกลาวหรืออาจจะเคลื่อนย6ายมาจากสวนอื่น ๆ ในรากนั้นมีหลักฐานที่ชี้ให6เห็นวาไซโตไคนิน สังเคราะห/ที่บริเวณนี้ได6เพราะเมื่อมีการตัดรากหรือลําต6น พบวาของเหลวที่ไหลออกมาจากทอน้ําจะปรากฏไซ โตไคนินจากสวนลางขึ้นมา ติดตอกันถึง 4 วัน ซึ่งอาจจะเปนไปได6วาไซโตไคนินสังเคราะห/ที่รากแล6วสงไปยัง สวนอื่น ๆ โดยทางทอน้ํา หลักฐานที่แสดงวาสังเคราะห/ที่สวนอื่นยังไมพบและการเคลื่อนย6ายของไซโตไค นินจากสวนออน เชน ใบ เมล็ด ผล ยังเกิดไมดีและไมมาก 7
  • 13. การสลายตัวของไซโตไคนิน ไซโตไคนินสามารถถูกทําลายโดยการออกซิเดชั่น ทําให6 side chain หลุดจากกลุมอะดีนีน ติดตาม ด6วยการทํางานของเอนไซม/ แซนทีนออกซิเดส (Xanthine Oxidase) ซึ่งสามารถออกซิไดซ/ พิวรีนเกิดเปน กรดยูริค(Uric Acid) และกลายเปนยูเรียไปในที่สุด อยางไรก็ตามในใบพืชไซโตไคนินอาจจะถูกเปลี่ยนไปเปน กลูโคไซด/ โดยน้ําตาลกลูโคสจะไปเกาะกับตําแหนงที่ 7 ของอะดีนีนเกิดเปน 7-กลูโคซีลไซโตไคนิน (7- glucosylcyto- kinins) หน6าที่ของไซโตไคนิน กลูโคไซด/ ยังไมทราบแนชัดนัก อาจจะ เปน "detoxification" ซึ่งไมเกี่ยวข6องกับกิจกรรมทางเมตาบอลิสม/หรืออาจจะเปนรูปที่ไซโตไคนินอาจจะถูก ปลดปลอยออกมาในบางสภาวะได6 จากการศึกษาโดยใช6 Radioactive BA พบวาสามารถสลายตัวกลายเปน กรดยูริคแล6วอาจจะรวมกับ RNA ได6 การเคลื่อนที่ของไซโตไคนิน ยังไมมีหลักฐานวาเคลื่อนที่อยางไร จากการทดลองพบวาระบบรากเปนสวนสําคัญในการสงไซโตไคนิน ไปยังใบ และปmองกันการเสื่อมสลายของใบกอนระยะอันสมควร เปนหลักฐานที่สําคัญที่ชี้ให6เห็นวา ไซโตไคนินมี การเคลื่อนที่ขึ้นสูยอด ยิ่งไปกวานั้นยังพบไซโตไคนินในทอน้ํา ซึ่งมาจากระบบรากด6วย ในทางตรงกันข6ามไซ โตไคนินซึ่งพบที่ผลซึ่งกําลังเจริญเติบโตไมเคลื่อนที่ไปสวนอื่นเลย ในทํานองเดียวกันจากการศึกษากับการให6 ไซโตไคนินจากภายนอก เชนให6ไคเนติน พบวาจะไมเคลื่อนย6ายเปนเวลานาน แม6วาสารอื่น ๆ จะเคลื่อนย6าย ออกจากจุดนี้ก็ตาม มีหลักฐานจํานวนมากชี้ให6เห็นวาไซโตไคนินอาจจะเคลื่อนย6ายในรูปที่รวมกับสารอื่น ๆ เชน น้ําตาล (Ribosidesหรือ glucosides) ซึ่งไซโตไคนินในรูปที่รวมกับน้ําตาลนั้นพบเสมอในทอน้ําทออาหาร ในการให6ไฃโตไคนินกับตาข6างเพื่อกําจัด Apical dominance นั้น พบวาไซโตไคนินจะไมเคลื่อนที่เลย เปนระยะเวลานานมาก ในการทดลองกับ BA พบวา BA สามารถเคลื่อนที่ผานก6านใบและมีลักษณะ แบบ Polar เหมือนกับออกซิน ในทุกการศึกษาพบวา ไซโตไคนินในใบจะไมเคลื่อนที่รวมทั้งในผลออน ด6วย สวนผลของรากในการควบคุมการเจริญเติบโตของสวนเหนือดินอาจจะอธิบายได6ถึงไซโตไคนินที่ เคลื่อนที่ในทอน้ํา ซึ่งพบเสมอในการทดลองวาไซโตไคนินสามารถเคลื่อนที่จากสวนรากไปสูยอด แต การเคลื่อนที่แบบ Polar ยังไมเปนที่ยืนยันการเคลื่อนที่ของไซโตไคนินในพืชยังมีความขัดแย6งกันอยูบ6าง การหาปริมาณของไซโตไคนิน 1. ใช6 Tobacco callus test โดยให6ไซโตไคนินกระตุ6นการเจริญของ tobacco pith cell โดยการ ชั่งน้ําหนักเนื้อเยื่อพืชที่เพิ่มขึ้น แตเปนวิธีที่ใช6เวลานาน 2. Leaf senescence test ไซโตไคนินทําให6คลอโรฟnลล/ไมสลายตัวในแผนใบที่ลอยอยูในสารละลาย ไซโตไคนินในที่มืด แล6วหาจํานวนของคลอโรฟnลล/ที่เหลืออยู หลังจากลอยไว6 3-4 วัน วิธีนี้ให6ผลไมดีเทาวิธีแรก 8
  • 14. กลไกการทํางานของไซโตไคนิน ไซโตไคนินมีบทบาทสําคัญคือควบคุมการแบงเซลล/ และไซโตไคนินที่เกิดในสภาพธรรมชาตินั้นเปน อนุพันธ/ของอะดีนีนทั้งสิ้น ดังนั้นงานวิจัยเกี่ยวกับกลไกการทํางานจึงมีแนวโน6มในความสัมพันธ/กับกรดนิว คลีอิค กลไกการทํางานของไซโตไคนินยังไมเดนชัดเหมือนกับออกซิน และจิบเบอเรลลิน แตไซโตไคนินมีผล ให6เกิดการสังเคราะห/ RNA และโปรตีนมากขึ้นในเซลล/พืช ผลการทดลองบางรายงานกลาววา หลังจากให6ไซ โตไคนินกับเซลล/พืชแล6วจะเพิ่มปริมาณของ m-RNA, t-RNA และ r-RNA การศึกษากลไกการทํางานของไซโตไคนิน ในชวงทศวรรษ 1960 ได6เน6นไปในแงที่วาไซโตไคนิน อาจจะสงผลของฮอร/โมนผาน t-RNA บางชนิด เนื่องจากมีการค6นพบวามีกลุมไซโตไคนินปรากฏอยูรวมกับ t- RNA หลายชนิด ทั้ง t-RNA ของซีรีน (Serine) และไธโรซีน (Thyrosine) มีอะดีนีนเบสซึ่งมี side chain และ มีคุณสมบัติเปนไซโตไคนินซึ่งมีประสิทธิภาพสูง ยิ่งไปกวานั้นในกรณี อะดีนีนซึ่งมีคุณสมบัติของไซโตไคนินจะอ ยูถัดจากแอนติโคดอน(Anticodon) ของ t-RNA จึงเปนที่เชื่อกันวาการปรากฏของไซโตไคนินบน t- RNA อาจจะจําเปนตอการเกาะกันของโคดอน (Codon) และแอนติโคดอนระหวาง m-RNA และ t-RNA บน ไรโบโซม ซึ่งสมมุติฐานที่วาไซโตไคนินควบคุมกระบวนการ Translation ผานทาง t-RNA จึงได6รับความเชื่อ กันมากในขณะนั้น อยางไรก็ตามสมมติฐานนี้ ในเวลาตอมาได6รับการวิจารณ/อยางรุนแรง เชนในการสังเคราะห/ t- RNA ตามปกตินั้น อาจจะเกิดการเปลี่ยนรูปของเบส หลังจากที่มีโพลีนิวคลีโอไทด/ (Polynucleotide) แล6ว ซึ่ง หมายความวา side chain บนตําแหนงที่ 6 ของอะดีนีนนั้นเกิดขึ้นหลังจากที่อะดีนีนได6อยูบน t- RNA เรียบร6อยแล6ว ซึ่งเปนไปไมได6ที่ไคเนตินและซีเอตินหรือไซโตไคนินอื่นๆ จะเข6ารวมกับ t-RNA ในรูปที่ เปนโมเลกุลที่สมบูรณ/ หลักฐานอีกข6อที่ไมสนับสนุนสมมุติฐานนี้คือ การพบวา t-RNA ของเมล็ดข6าวโพดซึ่งมี ซีส-ซีเอติน (Cis-Zeatin) ในขณะที่ไซโตไคนินที่เกิดในธรรมชาติในเมล็ดเดียวกันเปนทรานส/-ซีเอติน (trans- Zeatin) ดังนั้นจึงเปนการยากที่จะเชื่อวาไซโตไคนินเปนสารเริ่มต6นของการสังเคราะห/ t-RNA แม6วางานทดลอง จะยังสับสนและขัดแย6งกัน แตโดยทั่วไปการรวมของไซโตไคนินเข6าไปใน t-RNA นั้นเกิดในอัตราที่ต่ํามากจนไม นาเชื่อสมมุติฐานดังกลาว งานวิจัยได6เปลี่ยนแนวและสนับสนุนวาไซโตไคนินอาจจะทํางานโดยควบคุม กิจกรรมของเอนไซม/ โดยตรงมากกวาที่จะเกี่ยวกับการสังเคราะห/เอนไซม/ ไซโตไคนินมีอิทธิพลตอเอนไซม/หลายชนิด เชน ไคเนส (Kinases) ที่ใช6ในกระบวนการหายใจ นอกจากนั้นกิจกรรมของเอนไซม/ที่ใช6ในกระบวนการ สังเคราะห/แสงก็เพิ่มขึ้น 9
  • 15. ตนแกว ชื่อท6องถิ่น : ต6นแก6ว ชื่อสามัญ : แก6ว ชื่อวิทยาศาสตร/ : Murraya paniculata (L.) Jack ชื่อวงศ/ : RUTACEAE ลักษณะวิสัย/ประเภท : ไม6พุม ลักษณะพืช : ไม6ยืนต6นขนาดเล็กถึงขนาดกลางลําต6นมีความสูงประมาณ5-10 เมตร เปลือกลําต6นสีขาวปนเทาลําต6นแตกเปนสะเก็ดเปนรองตามยาวการแตกกิ่งก6านของทรงพุมไมคอยเปนระเบียบ ใบออกเปนชอเปนแผงออกใบเรียงสลับกันชอหนึ่งประกอบด6วยใบยอยประมาณ 4-8 ใบใบเปนมันสีเขียวเข6ม ขยี้ดูจะมีกลิ่นฉุนแรงขอบใบเรียบเปนคลื่นเล็กน6อยขนาดของใบกว6างประมาณ 2 - 4 เซนติเมตร ยาวประมาณ 3-6 เซนติเมตร ออกดอกเปนชอใหญชอสั้นออกตามปลายกิ่งหรือยอดชอหนึ่งมีดอกประมาณ 5 - 10 ดอก แต ละดอกมีกลีบดอก 5 กลีบ ดอกสีขาว กลิ่นหอม ดอกบานเต็มที่กว6างประมาณ 2 - 3 เซนติเมตร ผลรูปไข รี ปลายทู มีสีส6ม ภายในมีเมล็ด 1 - 2 เมล็ด ปริมาณที่พบ : มาก การขยายพันธุ/ : ใช6เมล็ดและการตอน ลักษณะการเพาะปลูก : - ปลูกในแปลงปลูกเพื่อประดับบริเวณบ6านและสวน คนไทยโบราณนิยม ปลูกไว6เพื่อเปนแนวรั้วบ6าน ขนาดหลุมปลูก 30 x 30 เซนติเมตร ใช6ปุ†ยคอกหรือปุ†ยหมัก: ดินรวน อัตรา 1: 2 ผสมดินปลูก การปลูกแบบนี้สามารถปลูกเปนกลุม หรือเปนแถวก็ได6และสามารถตัดแตงบังคับทรงพุมได6ตาม ความต6องการของผู6ปลูก -ปลูกในกระถางเพื่อประดับภายนอกอาคาร ควรใช6กระถางทรงสูงขนาด 12 - 16 นิ้ว ใช6ปุ†ยคอก หรือปุ†ยหมัก: ดินรวนอัตรา 1: 1 ผสมดินปลูก และควรเปลี่ยนกระถาง 1 - 2 ป'/ ครั้ง หรือตามความเหมาะสมของการเจริญเติบโตของทรงพุม เพราะการขยายตัวของรากแนนเกินไปและเพื่อ เปลี่ยนดินปลูกใหมทดแทนดินปลูกเดิมที่เสื่อมสภาพไป ต6นแก6ว ต6องการน้ําปริมาณปานกลาง ควรให6น้ํา 3 - 5 วัน / ครั้ง ชอบดินรวนซุย ต6องการแสงแดดจัด ไมคอยมี ป;ญหาเรื่องโรคและแมลง เพราะเปนไม6ที่มึความทนทานตอสภาพธรรมชาติพอสมควร 10
  • 16. การใช6ประโยชน/ : การใช6ประโยชน/ทางด6านเนื้อไม6 - เนื้อไม6ที่‡แปรรูปใหมสีเหลืองออน พอนานเข6ากลายเปนสีเหลืองแกมเทา เสี้ยนอาจตรงหรือสน มักมีลายพื้นหรือลายกาบในบางต6น เนื้อละเอียดสม่ําเสมอเปนมันเลื่อย ผา ไส ขัด ตบแตงได6ดี ใช6ทําเครื่องเรือน เครื่องกลึง ด6ามเครื่องมือ ไม6บรรทัด ด6ามปากกา มีลายสวยงาม กรอบรูป ภาชนะ ซอ ด6ามเครื่องมือตางๆ การใช6ประโยชน/ทางด6านภูมิสถาป;ตย/ - เปนไม6พุมที่มีทรงตัดแตงได6สวยงาม ใบเขียวตลอดป'และมีดอกที่ สวยงาม กลิ่นหอมแรกมาก ใช6ปลูกประดับเพื่อความสวยงาม การใช6ประโยชน/ทางด6านสมุนไพร : ก6านและใบ - รสเผ็ด สุขุม ขม ใช6เปนยาชาระงับปวด แก6ผื่นคันที่เกิดขึ้นจากความชื้น แก6แผลเจ็บปวด เกิดจากการกระทบกระแทก ต6มอมบ6วนปาก แก6ปวดฟ;นโดยใช6ใบสดตําพอแหลกแชเหล6าโรง ในอัตราสวน 15 ใบยอยหรือ 1 กรัมตอเหล6าโรง 1 ช6อนชา หรือ 5 มิลลิลิตร เอาน้ําจิ้มบริเวณที่ปวด ราก - รสเผ็ด ขม สุขุม ใช6แก6ปวดเอว แก6ผื่นคันที่เกิดจากชื้นและที่เกิดจากแมลงกัดตอย ใบ - ขับพยาธิตัดตืด แก6บิด แก6ท6องเสีย ราก, ใบ - เปนยาขับประจําเดือน ดอก, ใบ - ชวยยอย แก6ไขข6ออักเสบ แก6ไอ เวียนศีรษะ ผลสุก - รับประทานเปนอาหารได6 ข6อมูลอื่นๆเพิ่มเติม : คนไทยโบราณเชื่อวา บ6านใดปลูกต6นแก6วไว6ประจําบ6านจะทําให6คนในบ6านมีความดี มีคุณคาสูง เพราะคําวา แก6ว นั้นหมายถึง สิ่งที่ดีมีคาสูงเปนที่นับถือบูชาของบุคคลทั่วไปซึ่งโบราณได6เปรีบเทียบของที่มีคาสูงนี้เสมือน ดั่งดวงแก6ว นอกจากนี้คนโบราณยังมีความเชื่ออีกวา บ6านใดปลูกต6นแก6วไว6ประจําบ6านจะทําให6เปนคนที่มีจิตใจ บริสุทธิ์ มีความเบิกบาน เพราะแก6วคือความใสสะอาดความสดใสนอกจากนี้ดอกแก6วยังมีสีขาวสะอาดสดใสมี กลิ่นหอมนวลไปไกลและยังนําดอกแก6วไปใช6ในพิธีบูชาพระในพิธีทางศาสนาได6เปนสิริมงคลยิ่งอีกด6วย เพื่อเปนสิริมงคลแกบ6านและผู6อาศัย ควรปลูกต6นแก6วไว6ทางทิศตะวันออก ผู6ปลูกควรปลูกในวันพุธ เพราะ โบราณเชื่อวาการปลูกไม6เอาประโยชน/ทั่วไปทางดอกให6ปลูกในวันพุธ 11
  • 17. งานวิจัยที่เกี่ยวของ: งานวิจัยเรื่อง ผลของไซโทไคนินและออกซินตอการพัฒนาของเนื้อเยื่อเพาะเลี้ยงกระเจียวขาว จากการเพาะเลี้ยงชิ้นสวนต6นที่ปลอดเชื้อของกระเจียวขาวพันธุ/ป‰าบนอาหารแข็งสูตร Murashige and Skoog (MS) (1962) ที่เติมฮอร/โมนในกลุมไซโตไคนิน BAP Kinetin และ TDZ ความ เข6มข6น 0.5, 1.0, 2.0 และ 5.0 มิลลิกรัมตอลิตรตามลําดับ เปนเวลา 6 สัปดาห/พบวา ชิ้นสวนที่เลี้ยงบน อาหารสูตร MS ที่เติม TDZ ความเข6มข6น 0.5 มิลลิกรัมตอลิตรสามารถชักนําให6เกิดการสร6างยอดได6มากที่สุดคือ 2.7 ยอดตอชิ้นสวน และในการทดลองชักนําให6เกิดรากจากต6นใหมโดยเลี้ยงบนอาหาร แข็งสูตรที่เติมฮอร/โมนในกลุมของออกซิน NAA, IAA และ IBA ความเข6มข6น 0.5, 1.0, 2.0 และ 5.0 มิลลิกรัมตอลิตร เปนเวลา 6 สัปดาห/ พบวาชิ้นสวน ที่เลี้ยงบนอาหารสูตร MS ที่เติม NAA ความเข6มข6น 2.0 มิลลิกรัมตอลิตร สามารถชักนําให6เกิดจํานวนรากได6 สูงสุดคือ 8.06 รากตอชิ้นสวนสําหรับการทดลองเพาะเลี้ยงชิ้นสวนตอนบนอาหารสูตร MS ที่เติม NAA (0, 0.5, 1.0 และ 2.0 มิลลิกรัมตอ ลิตร) รวมกับ BAP (0, 1.0, 2.0 และ 5.0 มิลลิกรัมตอลิตรเปนเวลา 6 สัปดาห/ พบวาชิ้นสวนที่เลี้ยงบนอาหารสูตร MS ที่เติม NAA ความเข6มข6น5.0 มิลลิกรัมตอลิตรเพียงอยางเดียว สามารถ ชักนําให6เกิด จํานวนยอดได6สูงสุด (2.88 ยอดตอชิ้นสวน) ในขณะที่ชิ้นสวนที่เลี้ยงบนอาหารสูตร MS ที่เติม NAA ความ เข6มข6น 0.5 มิลลิกรัมตอลิตร สามารถชักนําให6เกิดรากได6มากที่สุด (8.33 รากตอชิ้นสวน) ทั้งนี้ไม พบการสร6างแคลลัสขึ้นบนชิ้นสวนใดๆ และพืชต6นใหมที่มีขนาดต6นสูงประมาณ 5-10 เซนติเมตร ที่ได6 จาก การทดลอง สามารถย6ายออกปลูกและเจริญเติบโตได6ดีในสภาพแวดล6อมปกติโดยมีอัตราการรอด ชีวิตสูงที่สุด 75 เปอร/เซ็นต/หลังจากย6ายเลี้ยงไปเปนเวลา 4 สัปดาห/ 12
  • 18. บทที่ 3 วิธีการทดลอง ตัวแปรการทดลอง ตัวแปรต6น ได6แก ความเข6มข6นของไซโตไคนิน ตัวแปรตาม ได6แก จํานวนตาข6างและกิ่งของต6นแก6ว ตัวแปรควบคุม ได6แก อายุของต6นแก6ว ปริมาณน้ํา แสงแดด สภาพดิน และสภาพแวดล6อม สําหรับต6นแก6ว ปริมาณไซโตไคนินที่ฉีดให6กับต6นแก6ว รายละเอียดอุปกรณการดลองการทดลอง 1. ต6นแก6ว จํานวน 9 ต6น ปลูกในกระถางขนาดเทากัน โดยแบงออกเปน 3 กลุม คือ กลุมที่ฉีดไซโต ไคนินมาก (High dose) จํานวน 3 ต6น กลุมที่ฉีดไซโตไคนินน6อย (Low dose) จํานวน 3 ต6น และกลุมที่ไมฉีด ไซโตไคนินจํานวน 3 ต6น 2. ไซโตไคนิน สกัดจากสาหรายทะเล ผสมเปนสารละลาย 2 แบบ คือ Low dose (0.125%, 0.75/0.6 L) และ High dose (0.2%, 1.2/0.6 L) 3. ฟอกกี้ฉีดน้ําขนาด 650 มิลลิลิตร จํานวน 3 อัน สําหรับใสไซโตไคนินชนิด High dose ไซโตไคนิน ชนิด Low dose และน้ําเปลา 4. หลอดฉีดยา ขนาด 5 มิลลิลิตร และบีกเกอร/ขนาด 500 มิลลิลิตรสําหรับผสมฮอร/โมน 5. คัตเตอร/ กรรไกร ฟnวเจอร/บอร/ด เทปกาว ไม6ไอศกรีม สําหรับทําปmายป;กกระถาง ระยะเวลาในการทําการทดลอง ตั้งแตวันที่ 7 มิถุนายน 2560 – 7 กรกฎาคม 2560 รวมเปนเวลา 1 เดือน 13
  • 19. วันที่ กิจกรรมที่ปฏิบัติ สถานที่ทํากิจกรรม ผูรับผิดชอบ 7 มิถุนายน 2560 - เลือกฮอร/โมนและต6นไม6ที่ใช6ในการทําโครงงาน - ศึกษาข6อมูลเกี่ยวกับเอกสาร หนังสือและอินเตอร/เนต ห6องเรียน ห6อง 77 สมาชิกในกลุม 10 มิถุนายน 2560 - ซื้อต6นไม6 ฟอกกี้และฮอร/โมน - แบงหน6าที่รับผิดชอบ - เตรียมอุปกรณ/ทําปmาย จตุจักร นางสาวอารยา 12 มิถุนายน 2560 - ทําปmายป;กกระถาง - ผสมฮอร/โมนตามอัตรสวนที่คํานวณไว6 ห6องเรียน ห6อง 77 สมาชิกในกลุม 13 มิถุนายน 2560 - อาจารย/ตรวจประเมินผลครั้งที่ 1 หน6าตึกศิลปะ ครูประจําวิชา 7 กรกฎาคม 2560 -สิ้นสุดการทดลองฮอร/โมน -ดูแลรักษาต6นไม6ตามปกติตอไป หน6าตึกศิลปะ สมาชิกในลุม 3 สิงหาคม 2560 -อาจารย/ตรวจประเมินผลครั้งที่ 2 หน6าตึกศิลปะ ครูประจําวิชา ตารางที 1 ตารางการปฏิบัติกิจกรรมโครงงานตังแต่วันที 7 มิถุนายน 2560 – 7 กรกฎาคม 2560 วิธีการเก็บขอมูล • บันทึกผลโดยการทําสัญลักษณ/ไว6ที่กิ่ง 14
  • 20. การดําเนินการ 1.ผสมฮอร/โมนไซโตไคนินในอัตราสวน 2 แบบ คือ High dose 0.2 % โดยปริมาตร และ low dose 0.125% โดยปริมาตร (รูปที่ 1: เตรียมอุปกรณ/ ( คัตเตอร์ กรรไกร ฟิวเจอร์บอร์ด เทปกาว ไม้ไอศกรีม สําหรับทําป้ายปักกระถาง)) (รูปที่ 2: รูปการเตรียมความเข6มข6นของฮอร/โมน) 15
  • 21. 2. นําต6นแก6วที่เตรียมไว6มาจัดวางในที่ที่มีแสงแดดทั่วถึง แบงต6นแก6วออกเปน 3 กลุม ดังนี้ กลุมที่ 1 เปนกลุมที่รดน้ําผสมฮอร/โมนไซโตไคนินในความเข6มข6น 0.2% โดยปริมาตร จํานวน 3 ต6น กลุมที่ 2 เปนกลุมที่รดน้ําผสมฮอร/โมนไซโตไคนินในความเข6มข6น 0.125% โดยปริมาตร จํานวน 3 ต6น กลุมที่ 3 เปนกลุมที่รดน้ําปกติโดยไมผสมฮอร/โมนไซโตไคนิน จํานวน 3 ต6น (รูปที่ 3: ต6นแก6วกลุมที่ 1 รดน้ําผสมฮอร/โมน ไซโตไคนินในความเข6มข6น 0.2% โดยปริมาตร จํานวน 3 ต6น ) (รูปที่ 4: ต6นแก6วกลุมที่ 2 รดน้ําผสมฮอร/โมน ไซโตไคนินในความเข6มข6น 0.125% โดย ปริมาตร จํานวน 3 ต6น) (รูปที่ 5: ต6นแก6วกลุมที่ 3 เปนกลุมที่รดน้ํา ปกติโดยไมผสมฮอร/โมนไซโตไคนิน จํานวน 3 ต6น) 16
  • 22. 3.อาจารย/ประจําวิชาทําการตรวจประเมินผลครั้งที่ 1 (รูปที่ 6: อาจารย/ประจําวิชาทําการตรวจประเมินครั้งที่ 1) 4.รดน้ําธรรมดาและน้ําผสมฮอร/โมนให6ต6นแก6วทุกเช6า ตั้งแตวันที่ 7 มิถุนายน 2560 – 7 กรกฎาคม 2560 รวม เปนเวลา 1 เดือน (รูปที่7: กิจวัตรการดูแลต6นไม6) 17
  • 23. 5.สังเกตการแตกยอดของต6นแก6วทุกๆ 7 วัน และบันทึกผลโดยการทําสัญลักษณ/ไว6ที่กิ่ง (รูปที่ 8: การนับกิ่งเพื่อบันทึกผล) 6.อาจารย/ประจําวิชาทําการตรวจประเมินครั้งที่2 (รูปที่ 9: อาจารย/ประจําวิชาทําการตรวจประเมินครั้งที่ 2) 7.สรุปผลโครงงานพร6อมนําเสนอในรูปเลมโครงงานและ PowerPointนําเสนอ 18
  • 24. บทที่ 4 ผลการทดลอง วัน จํานวน กิ่งที่เพิ่ม(กิ่ง) High dose 0.2% v/v Low dose 0.125% v/v ชุดควบคุม 0% v/v 1 2 3 เฉลีย 1 2 3 เฉลีย 1 2 3 เฉลีย 13 มิถุนายน 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 20 มิถุนายน 1 1 1[1] 1 1 0 1 1 1[3] (-) 0 1 1 27 มิถุนายน 3 2 0 2 1 2 0[2] (-) 2 0 (-) 2 1 2 4 กรกฎาคม 3 4 3 4 3 3 0 (-) 3 0 (-) 1 2 2 จํานวนกิงที เพิมโดยรวม (กิง) 7 7 4 6 5 5 - 5 - 3 5 4 จํานวนกิงที เพิมโดยเฉลีย ต่อต้น (กิง) 2 2 1 2 2 - - 1 2 ตารางที่ 2 แสดงจํานวนกิ่งที่เพิ่มขึ้นของต6นแก6วจากการเก็บบันทึกผลข6อมูลในแตละสัปดาห/ 19
  • 25. หมายเหตุ [1] High dose ต6นที่ 3 ขาดน้ําในชวงสัปดาห/ที่ 1-2 และภายหลังสามารถเจริญเติบโตตอ และแตกกิ่งได6 [2] Low dose ต6นที่ 2 ตายในชวงสัปดาห/ที่ 2-3 [3] ชุดควบคุม ต6นที่1 ตายในชวงสัปดาห/ที่ 1-2 (-) หมายถึงต6นไม6ตายระหวางการทดลอง กราฟที่1 แสดงจํานวนกิ่งที่เพิ่มขึ้นของต6นแก6วกลุมที่ 1 ที่รดด6วยน้ําผสมฮอร/โมนไซโตไคนินเข6มข6น 0.2% โดยปริมาตร จากการเก็บบันทึกผลข6อมูลในแตละสัปดาห/ 20 0 1 2 3 4 5 6 7 13-Jun 20-Jun 27-Jun 4-Jul จํานวนกิงทีเพิมขึน(กิง) วันทีบันทึกข้อมูล High dose 1 High dose 2 High dose 3
  • 26. กราฟที่2 แสดงจํานวนกิ่งที่เพิ่มขึ้นของต6นแก6วกลุมที่ 2 ที่รดด6วยน้ําผสมฮอร/โมนไซโตไคนินเข6มข6น 0.125% โดยปริมาตร จากการเก็บบันทึกผลข6อมูลในแตละสัปดาห/ กราฟที่3 แสดงจํานวนกิ่งที่เพิ่มขึ้นของต6นแก6วกลุมที่ 3 ที่รดด6วยน้ําเปลา จากการเก็บบันทึกผลข6อมูลในแตละสัปดาห/ 21 0 1 2 3 4 5 6 7 13-Jun 20-Jun 27-Jun 4-Jul จํานวนกิงทีเพิมขึน(กิง) วันทีบันทึกข้อมูล Low dose 1 Low dose 2 Low dose 3 0 1 2 3 4 5 6 7 13-Jun 20-Jun 27-Jun 4-Jul จํานวนกิงทีเพิมขึน(กิง) วันทีบันทึกข้อมูล ชุดควบคุม 1 ชุดควบคุม 2 ชุดควบคุม 3
  • 27. ตนไมในสัปดาหที่ 1 เมื่อเทียบกับตนไมในสัปดาหที่ 4 กลุมที่ 1 ที่รดน้ําด6วยฮอร/โมนไซโตไคนิน เข6มข6น 0.2% โดยปริมาตร กลุมที่ 2 ที่รดน้ําด6วยฮอร/โมนไซโตไคนิน เข6มข6น 0.125% โดยปริมาตร กลุมที่ 3 ที่รดน้ําด6วยน้ําธรรมดา 22
  • 28. บทที่ 5 สรุปผลการทดลอง และขอเสนอแนะ สรุปผลการทดลอง จากตารางที่ 2 พบวา ต6นแก6วที่รดน้ําโดยฮอร/โมนความเข6มข6น 0.2% โดยปริมาตรแตกกิ่งเพิ่มโดยเฉลี่ย 6 กิ่งตอต6น ต6นแก6วที่รดน้ําโดยฮอร/โมนความเข6มข6น 0.125% โดยปริมาตร แตกกิ่งเพิ่มโดยเฉลี่ย 5 กิ่งตอต6น ชุดควบคุม แตกกิ่งเพิ่มโดยเฉลี่ย 4 กิ่งตอต6น เมื่อสังเกตและเปรียบเทียบผลของการใช6ฮอร/โมนไซโตไคนินในความเข6มข6นที่ตางกันตอการแตกยอดของต6น แก6วเปนเวลา 4 สัปดาห/ คณะผู6จัดทําสรุปผลการทดลองได6วา ต6นแก6วที่รดน้ําโดยฮอร/โมนความเข6มข6น 0.2% โดยปริมาตร มีจํานวนกิ่งที่เพิ่มขึ้นมากกวาชุดการทดลองอื่น ซึ่งสามารถสรุปได6วาเปนผลมาจากฮอร/โมนไซโต ไคนิน ต6นแก6วที่รดน้ําโดยฮอร/โมนความเข6มข6น 0.125% โดยปริมาตร มีอัตราการเพิ่มของจํานวนกิ่งมากกวา ชุดควบคุมแตน6อยกวา ต6นแก6วที่รดน้ําโดยฮอร/โมนความเข6มข6น 0.2% โดยปริมาตร ทั้งนี้ในชุดของต6นแก6วที่รด น้ําโดยฮอร/โมนความเข6มข6น 0.125% โดยปริมาตร และชุดควบคุมมีต6นที่ตายชุดละ1 ต6น ขอเสนอแนะ 1. จากการบันทึกผลข6อมูลพบวามีต6นแก6วที่ตายระหวางการทดลอง ซึ่งอาจจะเปนผลมาจาก 1.1. สภาพอากาศในบริเวณโรงเรียนที่ไมเหมาะสมตอการเจริญเติบโตของต6นแก6ว 1.2. ความไมตอเนื่องในการรดน้ําต6นแก6ว เนื่องจากมีวันหยุดเสาร/-อาทิตย/ระหวางสัปดาห/ รวมทั้ง ปริมาณน้ําที่รดอาจไมเพียงพอตอความต6องการของต6นไม6 1.3. แมลงศัตรูพืช และวัชพืชที่ขึ้นรบกวนการเจริญเติบโต ทําให6ต6นแก6วโตไมเต็มที่ และอาจตายได6 1.4. ปริมาณฮอร/โมนในการฉีดแตละครั้งอาจไมเทากัน เนื่องจากผู6ทดลองจัดเวรในการฉีดฮอร/โมนแต ละวันตางกัน ทําให6ต6นแก6วอาจได6รับปริมาณฮอร/โมนมากหรือน6อยเกินไปในแตละวัน 1.5. อุบัติเหตุ เชน กระถางต6นไม6ล6ม 2.ควรศึกษาหาสาเหตุโรคของกุหลาบที่พบ และวิธีแก6ไข เพื่อปmองกันข6อผิดพลาด 3.ศึกษางานวิจัยและเอกสารที่เกี่ยวข6องกับโครงงานวิทยาศาสตร/เพิ่มเติมให6มากขึ้น 23
  • 29. บรรณานุกรม “ไซโตไคนินกับไคโตซาน.” [ม.ป.ป.]. [ออนไลน/]. เข6าถึงได6จาก: http://www.kasetporpeang.com/forums/index.php?topic=4236.0;wap2 วันที่ค6นข6อมูล 25 กรกฎาคม 2560. ดนัย บุณยเกียรติ. [ม.ป.ป.]. “ฮอร/โมนพืช.” [ออนไลน/]. เข6าถึงได6จาก: http://web.agri.cmu.ac.th/hort/course/359311/PPHY10_hormone.html วันที่ค6นข6อมูล 25 กรกฎาคม 2560. “ต6นแก6ว.” [ม.ป.ป.]. [ออนไลน/]. เข6าถึงได6จาก: http://www.bedo.or.th/lcdb/biodiversity/view.aspx?id=11187 วันที่ค6นข6อมูล 25 กรกฎาคม 2560. หนวยวิจัยการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช ภาควิชาชีววิทยาคณะวิทยาศาสตร/มหาวิทยาลัยนเรศวร จังหวัดพิษณุโลก. “งานวิจัย ผลของไซโทไคนินและออกซินตอการพัฒนาของเนื้อเยื่อเพาะเลี้ยงกระเจียว ขาว”[ออนไลน/].เข6าถึงได6จาก.http://www.sci.nu.ac.th วันที่ค6นข6อมูล 25 กรกฎาคม 2560. 24