SlideShare a Scribd company logo
1 of 20
วัดในบางกอก
              นำาเสนอ
  อ. นภัสสรณ์ ฐิตวัฒนานันท์
                     ิ
                วิชา
ภูมปัญญาบางกอก( ท 20206 )
   ิ
     ระดับชันมัธยมศึกษาปีที่ 3
            ้
      โรงเรียน ราชวินิตมัธยม
•            รายงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชา ภูมิปัญญา
  บางกอก จัดทำาขึ้นเพื่อให้ผู้ทรักที่จะศึกษาเรื่องราวเกี่ยว
                                ี่
  กับวัดวาอารามต่างๆ ให้ได้รู้ข้อมูลต่าง ๆที่เป็นประโยชน์
  ทั้งนี้ด้วยคำาปรึกษาจาก อาจารย์ จึงทำาให้รายงานที่จะนำา
  เสนอต่อไปนี้ ประสบความสำาเร็จตามจุดประสงค์ที่ได้วาง
  ไว้ได้อย่างสวยงาม
•        ซึ่งทางชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ห้อง 3 (กลุ่มที่ 1) ได้แต่
  หวังว่าข้อมูลที่จัดทำาและรวบรวมขึ้นจะเป็นประโยชน์แก่ผู้
  ที่จะศึกษา เป็นอย่างดีเฉกเช่นเดียวกับหนังสือตำาราเรียน
  ต่างๆ
วัด สุท ัศ นเทพวราราม  ราช
              วรมหาวิห าร 




• ความสำา คัญ
• วัดสุทศนเทพวราราม เป็นพระอาราม
        ั
  หลวง ชั้นเอก ชนิดราชวรมหาวิหาร 1
  ใน 6 ของไทย และถือเป็นวัดประจำา
  รัชกาลที่ 8
ประวัติความเป็นมา
•   วัดสุทัศนเทพวราราม เป็นวัดที่พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬา
    โลกมหาราช (รัชกาลที่ 1) โปรดเกล้าฯ ให้สถาปนาขึ้นใน พ.ศ.
    2350 เดิมพระราชทานนามว่า "วัดมหาสุทธาวาส" โปรดเกล้าฯ ให้
    สร้างพระวิหารขึ้นก่อนเพื่อประดิษฐานพระศรีศากยมุนี (พระโต) ซึ่ง
    อัญเชิญมาจากพระวิหารหลวงวัดมหาธาตุ จังหวัดสุโขทัย   ทรงมีพระ
    ราชประสงค์ที่จะสร้างพระวิหารให้มีขนาดใหญ่เท่ากับพระวิหารวัด
    พนัญเชิงเพื่อเป็นศรีสง่าแก่พระนคร แต่สิ้นรัชกาลก่อนที่จะประดิษฐาน
    เป็นสังฆาราม จึงเรียกกันว่า วัดพระโต วัดพระใหญ่ หรือวัดเสาชิงช้า
    บ้าง
•   จนกระทั่งในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย (รัชกาล
    ที่ 2) โปรดเกล้าฯ ให้สร้างต่อ และทรงจำาหลักบานประตูพระวิหารด้วย
    พระองค์เอง แต่ก็สิ้นรัชกาลเสียก่อนที่การก่อสร้างจะแล้วเสร็จ
•   การก่อสร้างวัด มาเสร็จบริบูรณ์ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้า
    เจ้าอยู่หว (รัชกาลที่ 3) ใน พ.ศ. 2390 และพระราชทานนามว่า "วัด
             ั
    สุทัศนเทพวราราม" ปรากฏในจดหมายเหตุว่า "วัดสุทัศนเทพธาราม"
•   และในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 4)
    ทรงผูกนามพระประธานในพระวิหาร พระอุโบสถ และศาลา
    การเปรียญ ให้คล้องกันว่า "พระศรีศากยมุนี" "พระพุทธตรีโลกเชษฐ์"
    และ "พระพุทธเสรฏฐมุนี"  ต่อมาในสมัยพระบาทสมเด็จพระ
    จุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หว (รัชกาลที่ 5) ทรงปฎิสังขรณ์เพิ่มเติมอีก
                         ั
•   ภายในวัดสุทัศนเทพวรารามยังเป็นที่ประดิษฐานพระบรมราชานุสาว
    รีย์ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร
    และได้อัญเชิญพระบรมราชสรีรางคารของพระองค์ มาบรรจุที่ผ้าทิพย์
•                             จุด เด่น และสิง ที่น ่า สนใจ
                                            ่
•   มีพระวิหารขนาดใหญ่ และพระอุโบสถขนาดใหญ่ยาวสวยงามที่สุดใน
    ประเทศไทย ภายในมีภาพจิตรกรรมฝาผนังที่งดงาม
•   มีพระประธานที่สำาคัญ คือ "พระศรีศากยมุนี" ในพระวิหารหลวง
    "พระพุทธตรีโลกเชษฐ์" ในพระอุโบสถ และ "พระพุทธเสรฏฐมุนี" ใน
    ศาลาการเปรียญ
•   วัดสุทัศนเทพวรารามไม่มีเจดียเหมือนวัดอื่นๆ เนื่องจากรัชกาลที่ 3 โปรด
                                  ์
    เกล้าฯ ให้สร้างจำาลอง “สัตตมหาสถาน” ซึ่งเป็นอุเทสิกเจดีย์ หรือเป็นต้น
    ไม้สำาคัญในพุทธศาสนา 7 ชนิดแทน
•   วัดสุทัศนเทพวรารามเป็น 1 ใน 9 วัด ในกิจกรรม "ไหว้พระขอพรเสริม
    สิริมงคล 9 พระอารามหลวง" และ "ไหว้พระประจำา 9 รัชกาล" ที่การท่อง
    เที่ยวแห่งประเทศไทยจัดขึ้น คติการไหว้พระวัดสุทัศน์ฯ คือ  "วิสัยทัศน์
    กว้างไกล มีเสน่ห์แก่บุคคลทั่วไป"
 วัด พระศรีร ัต นศาสดาราม  
   วัดพระศรีรัตนศาสดาราม หรือที่ชาวบ้านเรียกว่า วัดพระ
แก้ว นั้น พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก โปรด
เกล้าฯ ให้สร้างขึ้นพร้อมกับการสถาปนากรุงรัตนโกสินทร์
เมื่อ พ.ศ. ๒๓๒๕ แล้วเสร็จในปี พ.ศ. ๒๓๒๗
เป็นวัดที่สร้างขึนในเขตพระบรมมหาราชวัง ตามแบบวัดพระ
                 ้

     วัดพระศรีรัตนศาสดาราม 
ศรีสรรเพชญสมัยอยุธยา วัดนี้อยูในเขตพระราชฐานชั้นนอก
                                 ่
ทางทิศตะวันออก มีพระระเบียงล้อมรอบเป็นบริเวณ เป็นวัดคู่
กรุงที่ไม่มีพระสงฆ์จำาพรรษา ใช้เป็นที่บวชนาคหลวง และ
ประชุมข้าทูลละอองพระบาทถือนำ้าพระพิพัฒน์สัตยา
      รัชกาลที่ ๑ โปรดเกล้าให้เป็นที่ประดิษฐานพระพุทธมหา
มณีรัตนปฏิมากรหรือพระแก้วมรกต พระพุทธรูปคู่บ้านคู่เมือง
ของไทย มาประดิษฐาน ณ ที่นี้ วัดพระศรีรัตนศาสดารามนี้
ภายหลังจากการสถาปนาแล้ว ก็ได้รับการปฏิสังขรณ์สืบต่อ
มาทุกรัชกาล เพราะเป็นวัดสำาคัญ จึงมีการปฏิสังขรณ์ใหญ่
ทุก ๕๐ ปี คือในสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยูหัว
                                                    ่
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระบาทสมเด็จพระ
ปกเกล้าเจ้าอยู่หัว และสมัยพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหัว
                                                 ่
ภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลปัจจุบัน 
เนื่องในโอกาสสมโภชกรุงรัตนโกสินทร์ครบ ๒๐๐ ปี ในปี
พ.ศ. ๒๕๒๕ ที่ผ่านมา การบูรณปฏิสังขรณ์ที่ผ่านมา มุ่ง
วัด พระเชตุพ นวิม ลมัง คลาราม ราช
                       วรมหาวิห าร  
                        หรือ วัด โพธิ์
•            เป็นพระอารามหลวงชั้นเอกและเป็นวัดประจำารัชกาลที่ 1 แห่งราชวงศ์
    จักรี เนื่องจากพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ทรงพระ
    กรุณาโปรดเกล้า ฯ ให้สถาปนาวัดโพธารามวัดเก่าที่เมืองบางกอกครั้งกรุง
    ศรีอยุธยาเป็นวัดหลวงข้างพระบรมมหาราชวัง และที่ใต้พระแท่นประดิษฐาน
    พระพุทธเทวปฏิมากร พระประธานในพระอุโบสถเป็นที่บรรจุพระบรมอัฐิของ
    พระองค์ท่านไว้ด้วย
              พระอารามหลวงแห่งนี้มีเนื้อที่ 50 ไร่ 38 ตารางวาอยู่ด้านทิศใต้ของ
    พระบรมมหาราชวัง 
    - ทิศเหนือจดถนนท้ายวัง 
    - ทิศตะวันออกจดถนนสนามไชย 
    - ทิศใต้จดถนนเศรษฐการ 
    - ทิศตะวันตกจดถนนมหาราช 
            
•  มีถนนเชตุพนขนาบด้วยกำาแพงสูงสีขาวแบ่งเขต
  พุทธาวาสและสังฆาวาสชัดเจนมีหลักฐานปรากฏในศิลา
  จารึกไว้ว่า หลังจากที่พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้า
  จุฬาโลกมหาราชทรงสถาปนาพระบรมมหาราชวังแล้ว
  ทรงพระราชดำาริว่า มีวัดเก่าขนาบพระบรมมหาราชวัง 2
  วัด ด้านเหนือ คือ วัดสลัก (วัดมหาธาตุฯ) ด้านใต้คือ วัด
  โพธาราม จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ขุนนางเจ้า
  ทรงกรม ช่างสิบหมู่อำานวยการบูรณะปฏิสังขรณ์ เริ่มเมื่อ
  ปี พ.ศ. 2331 ใช้เวลา 7 ปี 5 เดือน 28 วัน จึงแล้วเสร็จ
  และโปรดฯ ให้มีการฉลองเมื่อ พ.ศ. 2344 พระราชทาน
  นามใหม่วา "วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาวาศ" ต่อมา
             ่
  รัชกาลที่ 4 ได้โปรดฯ ให้เปลี่ยนท้ายนามวัดเป็น "วัด
  พระเชตุพนวิมลมังคลาราม" 
  ครั้นรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาล
  ที่ 3 ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้บูรณะปฏิสังขรณ์ครัง    ้
  ใหญ่ นานถึง 16 ปี 7 เดือน ขยายเขตพระอารามด้าน
  ใต้และตะวันตกคือ ส่วนที่เป็นพระวิหารพระพุทธไสยาส
  สวนมิสกวัน สถาปนาขึ้นใหม่ พระมณฑป ศาลา
  การเปรียญ และสระจระเข้บูรณะปฏิสังขรณ์ใหม่เป็น
  โบราณสถานในพระอารามหลวงทีปรากฏอยู่ทุกวันนี้ แม้
                                   ่
สิง สำา คัญ ในพระอาราม
                  ่



•    1. พระอุโ บสถ เป็นพระอุโบสถแบบศิลปะรัตนโกสินทร์ คือฐานตรง
    เสาสี่เหลี่ยม หลังคามุขลดสามชั้น หน้าบันประดับลายปูนปั้นเป็นลาย
    เครือวัลย์ สร้างในสมัยรัชกาลที่ 1 แต่ได้ขยายและสร้างใหม่ใน
    รัชกาลที่ 3 และมีการซ่อมแซมต่อมาอีกหลายครั้งจนถึงปัจจุบัน
              ภายในพระอุโบสถ มีภาพจิตรกรรมฝาผนังเขียนด้วยสีนำ้ามัน
    เรื่องพระสาวกที่ได้รับเอตทัคคะ และเสาในพระอุโบสถทั้ง 16 เสา
    เขียนด้วยสีนำ้ามัน เป็นลายดอกไม้ก้านแย่งสลับนก บานประตูด้านใน
    เขียนลายรดนำ้า เป็นภาพพัดพระราชาคณะฐานานุกรมเปรียญฝ่าย
    อรัญวาสี และคามวาสี ทั้งในกรุงและนอกเมือง ส่วนด้านนอกประดับ
    มุก เป็นภาพรามเกียรติ์
•     2. พระระเบีย งรอบพระอุโ บสถ  เป็นระเบียง 2 ชั้น ทั้ง
    ระเบียนชั้นนอก และระเบียงชั้นใน สร้างในรัชกาลที่ 1 ในรัชกาล
    ที่ 3 โปรดให้เสริมผนังพระระเบียงชั้นใน ให้สูงกว่าเดิม 2 ศอก
    ต่อมาในรัชกาลที่ 5 ได้โปรดให้บูรณะใหม่อีกครั้งหนึ่ง
              ภายในพระระเบียงทั้ง 2 ชั้นประดิษฐานพระพุทธรูปศิลปะ
    สมัยต่างๆ เช่น ล้านนา สุโขทัย อู่ทอง และอยุธยา ซึ่งพระบาท
    สมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก รัชกาลที่ 1 ได้โปรดให้อัญเชิญ
    มาจากหัวเมืองต่างๆ แล้วนำามาบูรณะใหม่ ในรัชกาลที่ 3 ได้ทำา
    ฐานชุกชีพระพุทธรูปใหม่ พระพุทธรูปที่ประดิษฐานในพระระเบียง
    ชั้นในมีทั้งสิ้น 154 องค์ ส่วนในพระระเบียงชั้นนอกประดิษฐาน
    พระพุทธรูป 244 องค์ ตามเสาพระระเบียงจำาหลักศิลาจารึก
    ประเภทวรรณคดีต่างๆ เช่น โคลง ฉันท์ กลอน กลบท ระหว่าง
    พระระเบียงทั้ง 2 ชั้น มีถะ หรือเจดีย์ลัทธิมหายานแบบจีน จำานวน
    20 องค์
•   3. พระพุท ธเทวปฏิม ากร  พระประธานในพระ
  อุโบสถ เป็นพระพุทธรูปปางสมาธิ ขนาดหน้าตักกว้าง 5
  ศอก 1 คืบ 4 นิ้ว
  พระบาทสมเด็จพระรามาธิบดีศรีสินทรมหาจักรีบรมนาถ
  พระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกโปรดให้อัญเชิญมาจากวัด
  คูหาสวรรค์ (วัดศาลาสี่หน้า) ธนบุรีใต้ฐานชุกชีเป็นที่
  บรรจุพระบรมอัฐิ (บางส่วน) ในพระบาทสมเด็จพระพุทธ
  ยอดฟ้าจุฬาโลก 
วัด มหาธาตุย ุว ราชรัง สฤษฎิ์ ราช
             วรมหาวิห าร

•    วัดมหาธาตุยวราชรังสฤษฎิ์ ราชวรมหาวิหาร เป็นวัด
                  ุ
    โบราณ สร้างในสมัยอยุธยา เดิมเรียกว่าวัดสลัก ในรัชสมัย
    พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช เมื่อทรง
    ตั้งกรุงรัตนโกสินทร์เป็นราชธานี และทรงสร้างพระบรม
    มหาราชวังเป็นที่ประทับ และสร้างพระราชวังบวรสถาน
    มงคลเป็นที่ประทับสมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาท
    กรมพระราชวังบวรสถานมงคล นั้น วัดสลักเป็นวัดที่อยู่
    กึ่งกลางระหว่างพระบรมมหาราชวังกับพระราชวังบวร
    สถานมงคล
•       สมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาทโปรดให้บูรณ
    ปฏิสังขรณ์วัดสลักเมื่อ พ.ศ. 2326 พร้อมกับการก่อสร้าง
    พระราชวังบวรสถานมงคล จากนั้นทรงเปลี่ยนชื่อวัดจากวัด
    สลัก เป็น วัดนิพพานาราม
•      เมื่อพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช
    โปรดเกล้าฯ ให้ใช้วัดนิพพานารามเป็นสถานที่สังคายนา
• วัดมหาธาตุเป็นสถานที่ที่ใช้เป็นที่พระราชทานเพลิงพระบุพโพเจ้านายซึ่ง
  ดำารงพระเกียรติยศสูง ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หว    ั
  โปรดเกล้าฯ ให้ใช้พื้นที่ของวัดเป็นที่สร้างเมรุพระราชทานเพลิงพระศพ
  พระบรมวงศ์ชั้นสูง
•    ในปลาย พ.ศ. 2432 โปรดเกล้าฯ ให้จัดตั้งบาลีวิทยาลัยที่วัดมหาธาตุ
  เรียกว่ามหาธาตุวิทยาลัย และย้ายการบอกพระปริยติธรรมมาจากวัดพระ
                                                     ั
  ศรีรัตนศาสดาราม
•     ต่อมา ใน พ.ศ. 2437 โปรดเกล้าฯ ให้สร้างอาคารถาวรวัตถุ เรียกว่า
  สังฆิกเสนาสน์ราชวิทยาลัย เพื่อใช้ในงานพระศพสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช
  เจ้าฟ้ามหาวชิรุณหิศ สยามมกุฎราชกุมาร หลังจากนั้น จะทรงอุทิศถวายแก่
  มหาธาตุวิทยาลัย เพื่อเป็นที่เรียนพระปริยัติธรรมชั้นสูง ซึ่งจะได้พระราชทาน
  นามว่า “มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย” แต่อาคารหลังนี้มาสร้างเสร็จในรัช
  สมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว และงานพระศพสมเด็จพระบรม
  โอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิรุณหิศ สยามมกุฎราชกุมาร ทรงจัดที่วัดบวรสถาน
  สุทธาวาส
•    ใน พ.ศ. 2439 โปรดเกล้าฯ พระราชทานพระราชทรัพย์ส่วนพระองค์ของ
  สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร ในการบูรณะวัดมหาธาตุ
  และพระราชทานนามว่า
• “วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์”
วัด ราชนัด ดาราม วรวิห าร




•   วัดราชนัดดารามวรวิหาร (วัดราชนัดดา) เป็นวัดสมัยต้นกรุง
    รัตนโกสินทร์ ตั้งอยูใกล้กับป้อมมหากาฬ ติดกับลานพลับพลา
                        ่
    มหาเจษฎาบดินทร์ซึ่งเป็นพลับพลารับแขกเมือง เชิงสะพาน
    ผ่านฟ้าลีลาศ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่
    ๓ ทรงสร้างบนสวนผลไม้เก่าเนื้อที่ประมาณ ๒๕ ไร่ เพื่อ
    พระราชทานเป็นเกียรติแก่พระราชนัดดา คือ พระเจ้าหลาน
    เธอพระองค์เจ้าหญิงโสมนัสวัฒนาวดี (ซึ่งภายหลังเป็นพระ
    มเหสีในรัชกาลที่ ๔) โดยทั้งสองพระองค์เสด็จวางศิลาฤกษ์เมื่อ
    พ.ศ. ๒๓๘๙
 จุดเด่นของวัดราชนัดดา

•   จุดเด่นของวัดราชนัดดาที่ประชาชนมองเห็นได้ทั่วไปเมื่อผ่านมา
    ทางถนนพระราชดำาเนิน คือ โลหะปราสาท ซึ่งสร้างโดยพระ
    ราชดำาริในพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้สเจ้าอยูหัว เมื่อ พ.ศ. ๒๓๘๙
                                                 ่
    เนื่องจากทรงมีพระราชศรัทธาทำานุบำารุงพระพุทธศาสนาและทรง
    ทราบว่าในสมัยโบราณมีการสร้างโลหะปราสาทเพียง ๒ ครั้งใน
    โลก คือ หลังแรกนางวิสาขา แห่งเมืองสาวัตถี สร้างยอดปราสาท
    ทำาด้วยทองคำา หลังที่สอง พระเจ้าทุฏฐคามณี แห่งกรุงอนุราธปุระ
    ลังกา ทรงสร้างเมื่อราว พ.ศ. ๓๘๒ หลังคามุงด้วยแผ่นทองแดง
    พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้ทรงสร้างโลหะปราสาท
    เพื่อเป็นเกียรติแก่พระนครแทนการสร้างพระเจดีย์เช่นพระอาราม
    อื่น นับเป็นโลหะปราสาทแห่งที่ ๓ ของโลก โดยสร้างเป็นปราสาท
    สูง ๓ ชั้น มียอดทั้งหมด ๓๗ ยอด กลางปราสาทเป็นช่องกลวง มี
    บันไดเวียน ๖๗ ขั้น ให้เดินขึ้นไปดูทิวทัศน์ขางบนได้
                                               ้
•      พระอุโบสถเป็นแบบไทย คือ มีช่อฟ้า ใบระกา ต่างจากวัด
    เทพธิดารามซึ่งสร้างแบบจีน ภายในพระอุโบสถประดิษฐาน
    พระพุทธเสฏฐตมมุนีซึ่งโปรดให้หล่อด้วยทองแดง จากตำาบลจัน
    ทึก เมืองนครราชสีมา เมื่อ พ.ศ. ๒๓๘๙ ฝาผนังเขียนลายเทพ
    ชุมนุมกับดาวดาราศาสตร์
วัด ระฆัง โฆสิต าราม วรมหาวิห าร




•    วัดระฆังโฆสิตารามวรมหาวิหาร (วัดระฆัง) ตั้งอยูทางฝั่งธนบุรี
                                                     ่
    ตรงข้ามกับท่าช้างวังหลวง เดิมชื่อวัดบางหว้าใหญ่ เป็นวัดโบราณ
    มีมาแต่ครั้งกรุงศรีอยุธยา สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงยกฐานะขึน     ้
    เป็นพระอารามหลวง และโปรดเกล้าฯ ให้สังคยาพระไตรปิฏกที่นี่
    ต่อมาในสมัยรัชกาลที่ ๑ มีการขุดพบระฆังโบราณในเขตวัด
    ประชาชนจึงเรียกว่า วัดระฆังตั้งแต่นั้นมา แต่ตัวระฆังซึ่งมีเสียงดี
    รัชกาลที่ ๑ โปรดเกล้าฯ ให้นำาไปไว้ที่วัดพระศรีรัตนศาสดาราม
•   สิ่งสำาคัญในวัดได้แก่ ตำาหนักทอง ซึ่งเคยเป็นที่ประทับของสมเด็จ
    พระเจ้ากรุงธนบุรีและสมเด็จพระสงฆราช (ศรี) พระอุโบสถกับหอ
    พระไตรปิฏกที่รัชกาลที่ ๑ ทรงสร้าง ภายในมีภาพจิตรกรรมฝา
    ผนังประดับทั้งสองหลัง
ตูพระไตรปิฏก
                     ้

• สถาปัตยกรรมไทยในวัดที่มีชื่อเสียงเลื่อลือว่างามยิ่ง คือ
  หอพระไตรปิฏก เดิมอยู่กลางสระที่ขุดขึ้นด้านหลังพระ
  อุโบสถ สร้างเป็นเรือนแฝด ๓ หลัง ด้วยไม้ที่รื้อพระ
  ตำาหนักและหอนังเดิมของรัชกาลที่ ๑ เมื่อครั้งยังทรงรับ
                  ่
  ราชกาลอยู่กรุงธนบุรี ฝาผนังด้านนอกทาสีดินแดง ด้าน
  ในเขียนภาพฝีมืออาจารย์นาค เป็นภาพแสดงวิถชีวิต  ี
  ประจำาวันของคนสมัยนั้น บานประตูตกแต่งด้วยการ
  เขียนลายรดนำ้าและแกะสลักอย่างงดงาม นอกจากนั้นยัง
  มี ตู้พระไตรปิฏก ลายรดนำ้าขนาดใหญ่สมัยกรุง
  ศรีอยุธยา อยู่ในห้องด้านเหนือและห้องด้านใต้
หอพระไตรปิฎ กของวัด ระฆัง โฆสิ
        ตาราม วรมหาวิห าร
•               เดิมเป็นที่ประทับ หรือจวนเดิมของพระบาท
  สมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชเมื่อครั้งยังเป็น
  พระราชวรินทร์ เจ้ากรมพระตำารวจนอกขวา  ในสมัย
  สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช  อยู่ตรง ปากคลองมอญ 
  ริมฝั่งแม่นำ้าเจ้าพระยา
     เมื่อพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก
  มหาราชทรงสถาปนากรุงเทพฯ ขึ้นแล้ว  ต่อมา
  พุทธศักราช ๒๓๒๗ ทรงพระราชประสงค์จะถวายจวน
  เดิมแก่วัดบางหว้าใหญ่  เพื่อใช้เป็นหอพระไตรปิฎก จึง
  โปรดเกล้าฯ ให้พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้า
  นภาลัย เมื่อครั้งยังดำารงพระอิสริยยศเป็นสมเด็จพระเจ้า
  ลูกยาเธอ เจ้าฟ้ากรมหลวงอิศรสุนทร  ทรงเป็นแม่กอง
  รื้อถอนจวนเดิม นำามาสร้างใหม่ให้เป็นหอพระไตรปิฎก
  กลางสระนำ้า  นอกเขตพุทธาวาส  ขณะขุดสระเพื่อสร้าง
  หอพระไตรปิฎกอยูนั้น  ได้พบระฆังใบใหญ่มีเสียง
                        ่
  กังวานไพเราะมาก จึงโปรดเกล้าฯ ให้นำาไปประดิษฐาน
  ในหอระฆัง วัดพระศรีรัตนศาสดาราม และน่าจะเปลี่ยน
  ชื่อวัดบางหว้าใหญ่  เป็นวัดระฆังโฆสิตารามในคราว
คณะผู้จดทำา
                       ั
•   กลุ่มที่ 1 มีสมาชิกดังนี้
•   ด.ช. กล้าณรงค์ คำาสุข             เลขที่ 1
•   ด.ช. กานต์งาน แก้วแหวน            เลขที่ 8
•   ด.ช. ณัฐพล        ตั้งวรภักดี    เลขที่ 15
•   ด.ช. ทินพัฒน์ ขันเกษตร            เลขที่ 22
•   ด.ญ.รังสิมา     อุ่นประเสริฐสุข เลขที่ 29
•   ด.ญ.พิมมาดา แซ่ลิ้ม             เลขที่ 36

More Related Content

What's hot

เอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรี
เอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรีเอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรี
เอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรีพัน พัน
 
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรีพัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรีพัน พัน
 
เมืองน่าน
เมืองน่านเมืองน่าน
เมืองน่านkrunoony
 
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรีพัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรีพัน พัน
 
ประวัติศาสตร์ สถาปัตยกรรมไทย
ประวัติศาสตร์ สถาปัตยกรรมไทยประวัติศาสตร์ สถาปัตยกรรมไทย
ประวัติศาสตร์ สถาปัตยกรรมไทยPatcha Jirasuwanpong
 
07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยา07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยาJulPcc CR
 
จังหวัดปราจีนบุรี
จังหวัดปราจีนบุรีจังหวัดปราจีนบุรี
จังหวัดปราจีนบุรีKKloveyou
 
งานนำเสนอนางสาวสิรินุช ม่วงนิล
งานนำเสนอนางสาวสิรินุช  ม่วงนิลงานนำเสนอนางสาวสิรินุช  ม่วงนิล
งานนำเสนอนางสาวสิรินุช ม่วงนิลSirinoot
 
พัฒนาการทางสังคมและศิลปวัฒนธรรม601
พัฒนาการทางสังคมและศิลปวัฒนธรรม601พัฒนาการทางสังคมและศิลปวัฒนธรรม601
พัฒนาการทางสังคมและศิลปวัฒนธรรม601Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
เล่มที่ 6 สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
เล่มที่ 6  สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถเล่มที่ 6  สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
เล่มที่ 6 สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถChoengchai Rattanachai
 
ประวัติองค์พระปฐมเจดีย์
ประวัติองค์พระปฐมเจดีย์ประวัติองค์พระปฐมเจดีย์
ประวัติองค์พระปฐมเจดีย์A'mp Minoz
 

What's hot (17)

เอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรี
เอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรีเอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรี
เอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรี
 
พระมหาธรรมราชาที่ 1
พระมหาธรรมราชาที่ 1พระมหาธรรมราชาที่ 1
พระมหาธรรมราชาที่ 1
 
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรีพัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
 
เมืองน่าน
เมืองน่านเมืองน่าน
เมืองน่าน
 
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรีพัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
 
ประวัติศาสตร์ สถาปัตยกรรมไทย
ประวัติศาสตร์ สถาปัตยกรรมไทยประวัติศาสตร์ สถาปัตยกรรมไทย
ประวัติศาสตร์ สถาปัตยกรรมไทย
 
07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยา07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยา
 
อยุธยา
อยุธยาอยุธยา
อยุธยา
 
พัฒนาการอาณาจักรอยุธยา
พัฒนาการอาณาจักรอยุธยาพัฒนาการอาณาจักรอยุธยา
พัฒนาการอาณาจักรอยุธยา
 
อาณาจักรอยุธยา
อาณาจักรอยุธยาอาณาจักรอยุธยา
อาณาจักรอยุธยา
 
จังหวัดปราจีนบุรี
จังหวัดปราจีนบุรีจังหวัดปราจีนบุรี
จังหวัดปราจีนบุรี
 
งานนำเสนอนางสาวสิรินุช ม่วงนิล
งานนำเสนอนางสาวสิรินุช  ม่วงนิลงานนำเสนอนางสาวสิรินุช  ม่วงนิล
งานนำเสนอนางสาวสิรินุช ม่วงนิล
 
พัฒนาการทางด้านสังคม วัฒนธรรม
พัฒนาการทางด้านสังคม วัฒนธรรมพัฒนาการทางด้านสังคม วัฒนธรรม
พัฒนาการทางด้านสังคม วัฒนธรรม
 
Nuin
NuinNuin
Nuin
 
พัฒนาการทางสังคมและศิลปวัฒนธรรม601
พัฒนาการทางสังคมและศิลปวัฒนธรรม601พัฒนาการทางสังคมและศิลปวัฒนธรรม601
พัฒนาการทางสังคมและศิลปวัฒนธรรม601
 
เล่มที่ 6 สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
เล่มที่ 6  สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถเล่มที่ 6  สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
เล่มที่ 6 สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
 
ประวัติองค์พระปฐมเจดีย์
ประวัติองค์พระปฐมเจดีย์ประวัติองค์พระปฐมเจดีย์
ประวัติองค์พระปฐมเจดีย์
 

Viewers also liked

Human resources management in Malaysia
Human resources management in MalaysiaHuman resources management in Malaysia
Human resources management in MalaysiaAnnis Na'im
 
Apunte funciones uba xxi
Apunte funciones uba xxiApunte funciones uba xxi
Apunte funciones uba xxiDamian Suarez
 
Dgym as media for enhanchment dental public health (presented in seaade hongk...
Dgym as media for enhanchment dental public health (presented in seaade hongk...Dgym as media for enhanchment dental public health (presented in seaade hongk...
Dgym as media for enhanchment dental public health (presented in seaade hongk...Tiarisna Hidayatun Nisa
 
Knowurture Introduction web ver 1.0
Knowurture Introduction web ver 1.0Knowurture Introduction web ver 1.0
Knowurture Introduction web ver 1.0Madhukar Kalsapura
 
Gestos para-la-catequesis-(alvaro-ginel)
Gestos para-la-catequesis-(alvaro-ginel)Gestos para-la-catequesis-(alvaro-ginel)
Gestos para-la-catequesis-(alvaro-ginel)teresa mc
 
Loan advance,lending
Loan advance,lendingLoan advance,lending
Loan advance,lendingshahmamta
 
pluralisme agama
pluralisme agamapluralisme agama
pluralisme agamaAnnis Na'im
 
(2) peperiksaan setengah tahun t4
(2) peperiksaan setengah tahun t4(2) peperiksaan setengah tahun t4
(2) peperiksaan setengah tahun t4Mariana Kombos
 
(2) peperiksaan setengah tahun t4
(2) peperiksaan setengah tahun t4(2) peperiksaan setengah tahun t4
(2) peperiksaan setengah tahun t4Mariana Kombos
 

Viewers also liked (15)

Human resources management in Malaysia
Human resources management in MalaysiaHuman resources management in Malaysia
Human resources management in Malaysia
 
Doc177
Doc177Doc177
Doc177
 
Apunte funciones uba xxi
Apunte funciones uba xxiApunte funciones uba xxi
Apunte funciones uba xxi
 
Dgym as media for enhanchment dental public health (presented in seaade hongk...
Dgym as media for enhanchment dental public health (presented in seaade hongk...Dgym as media for enhanchment dental public health (presented in seaade hongk...
Dgym as media for enhanchment dental public health (presented in seaade hongk...
 
Banking
BankingBanking
Banking
 
Knowurture Introduction web ver 1.0
Knowurture Introduction web ver 1.0Knowurture Introduction web ver 1.0
Knowurture Introduction web ver 1.0
 
Mac, save your life
Mac, save your lifeMac, save your life
Mac, save your life
 
과학탐구
과학탐구과학탐구
과학탐구
 
Pendidik
PendidikPendidik
Pendidik
 
Gestos para-la-catequesis-(alvaro-ginel)
Gestos para-la-catequesis-(alvaro-ginel)Gestos para-la-catequesis-(alvaro-ginel)
Gestos para-la-catequesis-(alvaro-ginel)
 
Loan advance,lending
Loan advance,lendingLoan advance,lending
Loan advance,lending
 
pluralisme agama
pluralisme agamapluralisme agama
pluralisme agama
 
Apunte funciones
Apunte funcionesApunte funciones
Apunte funciones
 
(2) peperiksaan setengah tahun t4
(2) peperiksaan setengah tahun t4(2) peperiksaan setengah tahun t4
(2) peperiksaan setengah tahun t4
 
(2) peperiksaan setengah tahun t4
(2) peperiksaan setengah tahun t4(2) peperiksaan setengah tahun t4
(2) peperiksaan setengah tahun t4
 

Similar to วัดในบางกอก ม.3/3 กลุ่มที่ 1

วัดโพธิ์
วัดโพธิ์วัดโพธิ์
วัดโพธิ์suriya phosri
 
พระราชวังเดิม
พระราชวังเดิมพระราชวังเดิม
พระราชวังเดิมPRINTT
 
วัดอรุณราชวราราม ราชวรมหาวิหาร
วัดอรุณราชวราราม ราชวรมหาวิหารวัดอรุณราชวราราม ราชวรมหาวิหาร
วัดอรุณราชวราราม ราชวรมหาวิหารPRINTT
 
วัดอรุณราชวราราม ราชวรมหาวิหาร
วัดอรุณราชวราราม ราชวรมหาวิหารวัดอรุณราชวราราม ราชวรมหาวิหาร
วัดอรุณราชวราราม ราชวรมหาวิหารzubasa_potato
 
ภูมิปัญญาบางกอก
ภูมิปัญญาบางกอกภูมิปัญญาบางกอก
ภูมิปัญญาบางกอกMakuro DarkSoul
 
ภูมิปัญญาบางกอก
ภูมิปัญญาบางกอกภูมิปัญญาบางกอก
ภูมิปัญญาบางกอกMakuro DarkSoul
 
วัดในบางกอก ม.๓ห้อง๙ วิชาภูมิปัญญาบางกอก อ.นภัสสรณ์
วัดในบางกอก ม.๓ห้อง๙ วิชาภูมิปัญญาบางกอก อ.นภัสสรณ์วัดในบางกอก ม.๓ห้อง๙ วิชาภูมิปัญญาบางกอก อ.นภัสสรณ์
วัดในบางกอก ม.๓ห้อง๙ วิชาภูมิปัญญาบางกอก อ.นภัสสรณ์ไนซ์ ไนซ์
 
สถาปัตยกรรมไทยที่เกี่ยวเนื่องกับพระมหากษัตริย์
สถาปัตยกรรมไทยที่เกี่ยวเนื่องกับพระมหากษัตริย์สถาปัตยกรรมไทยที่เกี่ยวเนื่องกับพระมหากษัตริย์
สถาปัตยกรรมไทยที่เกี่ยวเนื่องกับพระมหากษัตริย์Patcha Jirasuwanpong
 
วัดในบางกอก ม.๓ห้อง๙ วิชาภูมิปัญญาบางกอก อ.นภัสสรณ์
วัดในบางกอก ม.๓ห้อง๙ วิชาภูมิปัญญาบางกอก อ.นภัสสรณ์วัดในบางกอก ม.๓ห้อง๙ วิชาภูมิปัญญาบางกอก อ.นภัสสรณ์
วัดในบางกอก ม.๓ห้อง๙ วิชาภูมิปัญญาบางกอก อ.นภัสสรณ์ไนซ์ ไนซ์
 
วัดในบางกอก ม.๓ห้อง๙ วิชาภูมิปัญญาบางกอก อ.นภัสสรณ์
วัดในบางกอก ม.๓ห้อง๙ วิชาภูมิปัญญาบางกอก อ.นภัสสรณ์วัดในบางกอก ม.๓ห้อง๙ วิชาภูมิปัญญาบางกอก อ.นภัสสรณ์
วัดในบางกอก ม.๓ห้อง๙ วิชาภูมิปัญญาบางกอก อ.นภัสสรณ์ไนซ์ ไนซ์
 

Similar to วัดในบางกอก ม.3/3 กลุ่มที่ 1 (20)

วัดโพธิ์
วัดโพธิ์วัดโพธิ์
วัดโพธิ์
 
พระราชวังเดิม
พระราชวังเดิมพระราชวังเดิม
พระราชวังเดิม
 
Wat pho part01
Wat pho part01Wat pho part01
Wat pho part01
 
Ita
ItaIta
Ita
 
วัดอรุณราชวราราม ราชวรมหาวิหาร
วัดอรุณราชวราราม ราชวรมหาวิหารวัดอรุณราชวราราม ราชวรมหาวิหาร
วัดอรุณราชวราราม ราชวรมหาวิหาร
 
วัดอรุณราชวราราม ราชวรมหาวิหาร
วัดอรุณราชวราราม ราชวรมหาวิหารวัดอรุณราชวราราม ราชวรมหาวิหาร
วัดอรุณราชวราราม ราชวรมหาวิหาร
 
ภูมิปัญญาบางกอก
ภูมิปัญญาบางกอกภูมิปัญญาบางกอก
ภูมิปัญญาบางกอก
 
ภูมิปัญญาบางกอก
ภูมิปัญญาบางกอกภูมิปัญญาบางกอก
ภูมิปัญญาบางกอก
 
Bangkok
BangkokBangkok
Bangkok
 
6 tanatchapon
6 tanatchapon6 tanatchapon
6 tanatchapon
 
Bangkok
BangkokBangkok
Bangkok
 
Bangkok
BangkokBangkok
Bangkok
 
Bangkok
BangkokBangkok
Bangkok
 
Bangkok
BangkokBangkok
Bangkok
 
Bangkok
BangkokBangkok
Bangkok
 
Bangkok
BangkokBangkok
Bangkok
 
วัดในบางกอก ม.๓ห้อง๙ วิชาภูมิปัญญาบางกอก อ.นภัสสรณ์
วัดในบางกอก ม.๓ห้อง๙ วิชาภูมิปัญญาบางกอก อ.นภัสสรณ์วัดในบางกอก ม.๓ห้อง๙ วิชาภูมิปัญญาบางกอก อ.นภัสสรณ์
วัดในบางกอก ม.๓ห้อง๙ วิชาภูมิปัญญาบางกอก อ.นภัสสรณ์
 
สถาปัตยกรรมไทยที่เกี่ยวเนื่องกับพระมหากษัตริย์
สถาปัตยกรรมไทยที่เกี่ยวเนื่องกับพระมหากษัตริย์สถาปัตยกรรมไทยที่เกี่ยวเนื่องกับพระมหากษัตริย์
สถาปัตยกรรมไทยที่เกี่ยวเนื่องกับพระมหากษัตริย์
 
วัดในบางกอก ม.๓ห้อง๙ วิชาภูมิปัญญาบางกอก อ.นภัสสรณ์
วัดในบางกอก ม.๓ห้อง๙ วิชาภูมิปัญญาบางกอก อ.นภัสสรณ์วัดในบางกอก ม.๓ห้อง๙ วิชาภูมิปัญญาบางกอก อ.นภัสสรณ์
วัดในบางกอก ม.๓ห้อง๙ วิชาภูมิปัญญาบางกอก อ.นภัสสรณ์
 
วัดในบางกอก ม.๓ห้อง๙ วิชาภูมิปัญญาบางกอก อ.นภัสสรณ์
วัดในบางกอก ม.๓ห้อง๙ วิชาภูมิปัญญาบางกอก อ.นภัสสรณ์วัดในบางกอก ม.๓ห้อง๙ วิชาภูมิปัญญาบางกอก อ.นภัสสรณ์
วัดในบางกอก ม.๓ห้อง๙ วิชาภูมิปัญญาบางกอก อ.นภัสสรณ์
 

วัดในบางกอก ม.3/3 กลุ่มที่ 1

  • 1. วัดในบางกอก นำาเสนอ อ. นภัสสรณ์ ฐิตวัฒนานันท์ ิ วิชา ภูมปัญญาบางกอก( ท 20206 ) ิ ระดับชันมัธยมศึกษาปีที่ 3 ้ โรงเรียน ราชวินิตมัธยม
  • 2. รายงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชา ภูมิปัญญา บางกอก จัดทำาขึ้นเพื่อให้ผู้ทรักที่จะศึกษาเรื่องราวเกี่ยว ี่ กับวัดวาอารามต่างๆ ให้ได้รู้ข้อมูลต่าง ๆที่เป็นประโยชน์ ทั้งนี้ด้วยคำาปรึกษาจาก อาจารย์ จึงทำาให้รายงานที่จะนำา เสนอต่อไปนี้ ประสบความสำาเร็จตามจุดประสงค์ที่ได้วาง ไว้ได้อย่างสวยงาม • ซึ่งทางชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ห้อง 3 (กลุ่มที่ 1) ได้แต่ หวังว่าข้อมูลที่จัดทำาและรวบรวมขึ้นจะเป็นประโยชน์แก่ผู้ ที่จะศึกษา เป็นอย่างดีเฉกเช่นเดียวกับหนังสือตำาราเรียน ต่างๆ
  • 3. วัด สุท ัศ นเทพวราราม  ราช วรมหาวิห าร  • ความสำา คัญ • วัดสุทศนเทพวราราม เป็นพระอาราม ั หลวง ชั้นเอก ชนิดราชวรมหาวิหาร 1 ใน 6 ของไทย และถือเป็นวัดประจำา รัชกาลที่ 8
  • 4. ประวัติความเป็นมา • วัดสุทัศนเทพวราราม เป็นวัดที่พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬา โลกมหาราช (รัชกาลที่ 1) โปรดเกล้าฯ ให้สถาปนาขึ้นใน พ.ศ. 2350 เดิมพระราชทานนามว่า "วัดมหาสุทธาวาส" โปรดเกล้าฯ ให้ สร้างพระวิหารขึ้นก่อนเพื่อประดิษฐานพระศรีศากยมุนี (พระโต) ซึ่ง อัญเชิญมาจากพระวิหารหลวงวัดมหาธาตุ จังหวัดสุโขทัย   ทรงมีพระ ราชประสงค์ที่จะสร้างพระวิหารให้มีขนาดใหญ่เท่ากับพระวิหารวัด พนัญเชิงเพื่อเป็นศรีสง่าแก่พระนคร แต่สิ้นรัชกาลก่อนที่จะประดิษฐาน เป็นสังฆาราม จึงเรียกกันว่า วัดพระโต วัดพระใหญ่ หรือวัดเสาชิงช้า บ้าง • จนกระทั่งในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย (รัชกาล ที่ 2) โปรดเกล้าฯ ให้สร้างต่อ และทรงจำาหลักบานประตูพระวิหารด้วย พระองค์เอง แต่ก็สิ้นรัชกาลเสียก่อนที่การก่อสร้างจะแล้วเสร็จ • การก่อสร้างวัด มาเสร็จบริบูรณ์ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้า เจ้าอยู่หว (รัชกาลที่ 3) ใน พ.ศ. 2390 และพระราชทานนามว่า "วัด ั สุทัศนเทพวราราม" ปรากฏในจดหมายเหตุว่า "วัดสุทัศนเทพธาราม" • และในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 4) ทรงผูกนามพระประธานในพระวิหาร พระอุโบสถ และศาลา การเปรียญ ให้คล้องกันว่า "พระศรีศากยมุนี" "พระพุทธตรีโลกเชษฐ์" และ "พระพุทธเสรฏฐมุนี"  ต่อมาในสมัยพระบาทสมเด็จพระ จุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หว (รัชกาลที่ 5) ทรงปฎิสังขรณ์เพิ่มเติมอีก ั • ภายในวัดสุทัศนเทพวรารามยังเป็นที่ประดิษฐานพระบรมราชานุสาว รีย์ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร และได้อัญเชิญพระบรมราชสรีรางคารของพระองค์ มาบรรจุที่ผ้าทิพย์
  • 5. จุด เด่น และสิง ที่น ่า สนใจ ่ • มีพระวิหารขนาดใหญ่ และพระอุโบสถขนาดใหญ่ยาวสวยงามที่สุดใน ประเทศไทย ภายในมีภาพจิตรกรรมฝาผนังที่งดงาม • มีพระประธานที่สำาคัญ คือ "พระศรีศากยมุนี" ในพระวิหารหลวง "พระพุทธตรีโลกเชษฐ์" ในพระอุโบสถ และ "พระพุทธเสรฏฐมุนี" ใน ศาลาการเปรียญ • วัดสุทัศนเทพวรารามไม่มีเจดียเหมือนวัดอื่นๆ เนื่องจากรัชกาลที่ 3 โปรด ์ เกล้าฯ ให้สร้างจำาลอง “สัตตมหาสถาน” ซึ่งเป็นอุเทสิกเจดีย์ หรือเป็นต้น ไม้สำาคัญในพุทธศาสนา 7 ชนิดแทน • วัดสุทัศนเทพวรารามเป็น 1 ใน 9 วัด ในกิจกรรม "ไหว้พระขอพรเสริม สิริมงคล 9 พระอารามหลวง" และ "ไหว้พระประจำา 9 รัชกาล" ที่การท่อง เที่ยวแห่งประเทศไทยจัดขึ้น คติการไหว้พระวัดสุทัศน์ฯ คือ  "วิสัยทัศน์ กว้างไกล มีเสน่ห์แก่บุคคลทั่วไป"
  • 6.  วัด พระศรีร ัต นศาสดาราม      วัดพระศรีรัตนศาสดาราม หรือที่ชาวบ้านเรียกว่า วัดพระ แก้ว นั้น พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก โปรด เกล้าฯ ให้สร้างขึ้นพร้อมกับการสถาปนากรุงรัตนโกสินทร์ เมื่อ พ.ศ. ๒๓๒๕ แล้วเสร็จในปี พ.ศ. ๒๓๒๗ เป็นวัดที่สร้างขึนในเขตพระบรมมหาราชวัง ตามแบบวัดพระ ้  วัดพระศรีรัตนศาสดาราม  ศรีสรรเพชญสมัยอยุธยา วัดนี้อยูในเขตพระราชฐานชั้นนอก ่ ทางทิศตะวันออก มีพระระเบียงล้อมรอบเป็นบริเวณ เป็นวัดคู่ กรุงที่ไม่มีพระสงฆ์จำาพรรษา ใช้เป็นที่บวชนาคหลวง และ ประชุมข้าทูลละอองพระบาทถือนำ้าพระพิพัฒน์สัตยา       รัชกาลที่ ๑ โปรดเกล้าให้เป็นที่ประดิษฐานพระพุทธมหา มณีรัตนปฏิมากรหรือพระแก้วมรกต พระพุทธรูปคู่บ้านคู่เมือง ของไทย มาประดิษฐาน ณ ที่นี้ วัดพระศรีรัตนศาสดารามนี้ ภายหลังจากการสถาปนาแล้ว ก็ได้รับการปฏิสังขรณ์สืบต่อ มาทุกรัชกาล เพราะเป็นวัดสำาคัญ จึงมีการปฏิสังขรณ์ใหญ่ ทุก ๕๐ ปี คือในสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยูหัว ่ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระบาทสมเด็จพระ ปกเกล้าเจ้าอยู่หัว และสมัยพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหัว ่ ภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลปัจจุบัน  เนื่องในโอกาสสมโภชกรุงรัตนโกสินทร์ครบ ๒๐๐ ปี ในปี พ.ศ. ๒๕๒๕ ที่ผ่านมา การบูรณปฏิสังขรณ์ที่ผ่านมา มุ่ง
  • 7. วัด พระเชตุพ นวิม ลมัง คลาราม ราช วรมหาวิห าร   หรือ วัด โพธิ์ • เป็นพระอารามหลวงชั้นเอกและเป็นวัดประจำารัชกาลที่ 1 แห่งราชวงศ์ จักรี เนื่องจากพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ทรงพระ กรุณาโปรดเกล้า ฯ ให้สถาปนาวัดโพธารามวัดเก่าที่เมืองบางกอกครั้งกรุง ศรีอยุธยาเป็นวัดหลวงข้างพระบรมมหาราชวัง และที่ใต้พระแท่นประดิษฐาน พระพุทธเทวปฏิมากร พระประธานในพระอุโบสถเป็นที่บรรจุพระบรมอัฐิของ พระองค์ท่านไว้ด้วย           พระอารามหลวงแห่งนี้มีเนื้อที่ 50 ไร่ 38 ตารางวาอยู่ด้านทิศใต้ของ พระบรมมหาราชวัง  - ทิศเหนือจดถนนท้ายวัง  - ทิศตะวันออกจดถนนสนามไชย  - ทิศใต้จดถนนเศรษฐการ  - ทิศตะวันตกจดถนนมหาราช          
  • 8. •  มีถนนเชตุพนขนาบด้วยกำาแพงสูงสีขาวแบ่งเขต พุทธาวาสและสังฆาวาสชัดเจนมีหลักฐานปรากฏในศิลา จารึกไว้ว่า หลังจากที่พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้า จุฬาโลกมหาราชทรงสถาปนาพระบรมมหาราชวังแล้ว ทรงพระราชดำาริว่า มีวัดเก่าขนาบพระบรมมหาราชวัง 2 วัด ด้านเหนือ คือ วัดสลัก (วัดมหาธาตุฯ) ด้านใต้คือ วัด โพธาราม จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ขุนนางเจ้า ทรงกรม ช่างสิบหมู่อำานวยการบูรณะปฏิสังขรณ์ เริ่มเมื่อ ปี พ.ศ. 2331 ใช้เวลา 7 ปี 5 เดือน 28 วัน จึงแล้วเสร็จ และโปรดฯ ให้มีการฉลองเมื่อ พ.ศ. 2344 พระราชทาน นามใหม่วา "วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาวาศ" ต่อมา ่ รัชกาลที่ 4 ได้โปรดฯ ให้เปลี่ยนท้ายนามวัดเป็น "วัด พระเชตุพนวิมลมังคลาราม"  ครั้นรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาล ที่ 3 ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้บูรณะปฏิสังขรณ์ครัง ้ ใหญ่ นานถึง 16 ปี 7 เดือน ขยายเขตพระอารามด้าน ใต้และตะวันตกคือ ส่วนที่เป็นพระวิหารพระพุทธไสยาส สวนมิสกวัน สถาปนาขึ้นใหม่ พระมณฑป ศาลา การเปรียญ และสระจระเข้บูรณะปฏิสังขรณ์ใหม่เป็น โบราณสถานในพระอารามหลวงทีปรากฏอยู่ทุกวันนี้ แม้ ่
  • 9. สิง สำา คัญ ในพระอาราม ่ • 1. พระอุโ บสถ เป็นพระอุโบสถแบบศิลปะรัตนโกสินทร์ คือฐานตรง เสาสี่เหลี่ยม หลังคามุขลดสามชั้น หน้าบันประดับลายปูนปั้นเป็นลาย เครือวัลย์ สร้างในสมัยรัชกาลที่ 1 แต่ได้ขยายและสร้างใหม่ใน รัชกาลที่ 3 และมีการซ่อมแซมต่อมาอีกหลายครั้งจนถึงปัจจุบัน           ภายในพระอุโบสถ มีภาพจิตรกรรมฝาผนังเขียนด้วยสีนำ้ามัน เรื่องพระสาวกที่ได้รับเอตทัคคะ และเสาในพระอุโบสถทั้ง 16 เสา เขียนด้วยสีนำ้ามัน เป็นลายดอกไม้ก้านแย่งสลับนก บานประตูด้านใน เขียนลายรดนำ้า เป็นภาพพัดพระราชาคณะฐานานุกรมเปรียญฝ่าย อรัญวาสี และคามวาสี ทั้งในกรุงและนอกเมือง ส่วนด้านนอกประดับ มุก เป็นภาพรามเกียรติ์
  • 10.   2. พระระเบีย งรอบพระอุโ บสถ  เป็นระเบียง 2 ชั้น ทั้ง ระเบียนชั้นนอก และระเบียงชั้นใน สร้างในรัชกาลที่ 1 ในรัชกาล ที่ 3 โปรดให้เสริมผนังพระระเบียงชั้นใน ให้สูงกว่าเดิม 2 ศอก ต่อมาในรัชกาลที่ 5 ได้โปรดให้บูรณะใหม่อีกครั้งหนึ่ง           ภายในพระระเบียงทั้ง 2 ชั้นประดิษฐานพระพุทธรูปศิลปะ สมัยต่างๆ เช่น ล้านนา สุโขทัย อู่ทอง และอยุธยา ซึ่งพระบาท สมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก รัชกาลที่ 1 ได้โปรดให้อัญเชิญ มาจากหัวเมืองต่างๆ แล้วนำามาบูรณะใหม่ ในรัชกาลที่ 3 ได้ทำา ฐานชุกชีพระพุทธรูปใหม่ พระพุทธรูปที่ประดิษฐานในพระระเบียง ชั้นในมีทั้งสิ้น 154 องค์ ส่วนในพระระเบียงชั้นนอกประดิษฐาน พระพุทธรูป 244 องค์ ตามเสาพระระเบียงจำาหลักศิลาจารึก ประเภทวรรณคดีต่างๆ เช่น โคลง ฉันท์ กลอน กลบท ระหว่าง พระระเบียงทั้ง 2 ชั้น มีถะ หรือเจดีย์ลัทธิมหายานแบบจีน จำานวน 20 องค์
  • 11. •   3. พระพุท ธเทวปฏิม ากร  พระประธานในพระ อุโบสถ เป็นพระพุทธรูปปางสมาธิ ขนาดหน้าตักกว้าง 5 ศอก 1 คืบ 4 นิ้ว พระบาทสมเด็จพระรามาธิบดีศรีสินทรมหาจักรีบรมนาถ พระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกโปรดให้อัญเชิญมาจากวัด คูหาสวรรค์ (วัดศาลาสี่หน้า) ธนบุรีใต้ฐานชุกชีเป็นที่ บรรจุพระบรมอัฐิ (บางส่วน) ในพระบาทสมเด็จพระพุทธ ยอดฟ้าจุฬาโลก 
  • 12. วัด มหาธาตุย ุว ราชรัง สฤษฎิ์ ราช วรมหาวิห าร •  วัดมหาธาตุยวราชรังสฤษฎิ์ ราชวรมหาวิหาร เป็นวัด ุ โบราณ สร้างในสมัยอยุธยา เดิมเรียกว่าวัดสลัก ในรัชสมัย พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช เมื่อทรง ตั้งกรุงรัตนโกสินทร์เป็นราชธานี และทรงสร้างพระบรม มหาราชวังเป็นที่ประทับ และสร้างพระราชวังบวรสถาน มงคลเป็นที่ประทับสมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาท กรมพระราชวังบวรสถานมงคล นั้น วัดสลักเป็นวัดที่อยู่ กึ่งกลางระหว่างพระบรมมหาราชวังกับพระราชวังบวร สถานมงคล •     สมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาทโปรดให้บูรณ ปฏิสังขรณ์วัดสลักเมื่อ พ.ศ. 2326 พร้อมกับการก่อสร้าง พระราชวังบวรสถานมงคล จากนั้นทรงเปลี่ยนชื่อวัดจากวัด สลัก เป็น วัดนิพพานาราม •    เมื่อพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช โปรดเกล้าฯ ให้ใช้วัดนิพพานารามเป็นสถานที่สังคายนา
  • 13. • วัดมหาธาตุเป็นสถานที่ที่ใช้เป็นที่พระราชทานเพลิงพระบุพโพเจ้านายซึ่ง ดำารงพระเกียรติยศสูง ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หว ั โปรดเกล้าฯ ให้ใช้พื้นที่ของวัดเป็นที่สร้างเมรุพระราชทานเพลิงพระศพ พระบรมวงศ์ชั้นสูง •    ในปลาย พ.ศ. 2432 โปรดเกล้าฯ ให้จัดตั้งบาลีวิทยาลัยที่วัดมหาธาตุ เรียกว่ามหาธาตุวิทยาลัย และย้ายการบอกพระปริยติธรรมมาจากวัดพระ ั ศรีรัตนศาสดาราม •     ต่อมา ใน พ.ศ. 2437 โปรดเกล้าฯ ให้สร้างอาคารถาวรวัตถุ เรียกว่า สังฆิกเสนาสน์ราชวิทยาลัย เพื่อใช้ในงานพระศพสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิรุณหิศ สยามมกุฎราชกุมาร หลังจากนั้น จะทรงอุทิศถวายแก่ มหาธาตุวิทยาลัย เพื่อเป็นที่เรียนพระปริยัติธรรมชั้นสูง ซึ่งจะได้พระราชทาน นามว่า “มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย” แต่อาคารหลังนี้มาสร้างเสร็จในรัช สมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว และงานพระศพสมเด็จพระบรม โอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิรุณหิศ สยามมกุฎราชกุมาร ทรงจัดที่วัดบวรสถาน สุทธาวาส •    ใน พ.ศ. 2439 โปรดเกล้าฯ พระราชทานพระราชทรัพย์ส่วนพระองค์ของ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร ในการบูรณะวัดมหาธาตุ และพระราชทานนามว่า • “วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์”
  • 14. วัด ราชนัด ดาราม วรวิห าร • วัดราชนัดดารามวรวิหาร (วัดราชนัดดา) เป็นวัดสมัยต้นกรุง รัตนโกสินทร์ ตั้งอยูใกล้กับป้อมมหากาฬ ติดกับลานพลับพลา ่ มหาเจษฎาบดินทร์ซึ่งเป็นพลับพลารับแขกเมือง เชิงสะพาน ผ่านฟ้าลีลาศ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๓ ทรงสร้างบนสวนผลไม้เก่าเนื้อที่ประมาณ ๒๕ ไร่ เพื่อ พระราชทานเป็นเกียรติแก่พระราชนัดดา คือ พระเจ้าหลาน เธอพระองค์เจ้าหญิงโสมนัสวัฒนาวดี (ซึ่งภายหลังเป็นพระ มเหสีในรัชกาลที่ ๔) โดยทั้งสองพระองค์เสด็จวางศิลาฤกษ์เมื่อ พ.ศ. ๒๓๘๙
  • 15.  จุดเด่นของวัดราชนัดดา • จุดเด่นของวัดราชนัดดาที่ประชาชนมองเห็นได้ทั่วไปเมื่อผ่านมา ทางถนนพระราชดำาเนิน คือ โลหะปราสาท ซึ่งสร้างโดยพระ ราชดำาริในพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้สเจ้าอยูหัว เมื่อ พ.ศ. ๒๓๘๙ ่ เนื่องจากทรงมีพระราชศรัทธาทำานุบำารุงพระพุทธศาสนาและทรง ทราบว่าในสมัยโบราณมีการสร้างโลหะปราสาทเพียง ๒ ครั้งใน โลก คือ หลังแรกนางวิสาขา แห่งเมืองสาวัตถี สร้างยอดปราสาท ทำาด้วยทองคำา หลังที่สอง พระเจ้าทุฏฐคามณี แห่งกรุงอนุราธปุระ ลังกา ทรงสร้างเมื่อราว พ.ศ. ๓๘๒ หลังคามุงด้วยแผ่นทองแดง พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้ทรงสร้างโลหะปราสาท เพื่อเป็นเกียรติแก่พระนครแทนการสร้างพระเจดีย์เช่นพระอาราม อื่น นับเป็นโลหะปราสาทแห่งที่ ๓ ของโลก โดยสร้างเป็นปราสาท สูง ๓ ชั้น มียอดทั้งหมด ๓๗ ยอด กลางปราสาทเป็นช่องกลวง มี บันไดเวียน ๖๗ ขั้น ให้เดินขึ้นไปดูทิวทัศน์ขางบนได้ ้
  • 16.    พระอุโบสถเป็นแบบไทย คือ มีช่อฟ้า ใบระกา ต่างจากวัด เทพธิดารามซึ่งสร้างแบบจีน ภายในพระอุโบสถประดิษฐาน พระพุทธเสฏฐตมมุนีซึ่งโปรดให้หล่อด้วยทองแดง จากตำาบลจัน ทึก เมืองนครราชสีมา เมื่อ พ.ศ. ๒๓๘๙ ฝาผนังเขียนลายเทพ ชุมนุมกับดาวดาราศาสตร์
  • 17. วัด ระฆัง โฆสิต าราม วรมหาวิห าร •  วัดระฆังโฆสิตารามวรมหาวิหาร (วัดระฆัง) ตั้งอยูทางฝั่งธนบุรี ่ ตรงข้ามกับท่าช้างวังหลวง เดิมชื่อวัดบางหว้าใหญ่ เป็นวัดโบราณ มีมาแต่ครั้งกรุงศรีอยุธยา สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงยกฐานะขึน ้ เป็นพระอารามหลวง และโปรดเกล้าฯ ให้สังคยาพระไตรปิฏกที่นี่ ต่อมาในสมัยรัชกาลที่ ๑ มีการขุดพบระฆังโบราณในเขตวัด ประชาชนจึงเรียกว่า วัดระฆังตั้งแต่นั้นมา แต่ตัวระฆังซึ่งมีเสียงดี รัชกาลที่ ๑ โปรดเกล้าฯ ให้นำาไปไว้ที่วัดพระศรีรัตนศาสดาราม • สิ่งสำาคัญในวัดได้แก่ ตำาหนักทอง ซึ่งเคยเป็นที่ประทับของสมเด็จ พระเจ้ากรุงธนบุรีและสมเด็จพระสงฆราช (ศรี) พระอุโบสถกับหอ พระไตรปิฏกที่รัชกาลที่ ๑ ทรงสร้าง ภายในมีภาพจิตรกรรมฝา ผนังประดับทั้งสองหลัง
  • 18. ตูพระไตรปิฏก ้ • สถาปัตยกรรมไทยในวัดที่มีชื่อเสียงเลื่อลือว่างามยิ่ง คือ หอพระไตรปิฏก เดิมอยู่กลางสระที่ขุดขึ้นด้านหลังพระ อุโบสถ สร้างเป็นเรือนแฝด ๓ หลัง ด้วยไม้ที่รื้อพระ ตำาหนักและหอนังเดิมของรัชกาลที่ ๑ เมื่อครั้งยังทรงรับ ่ ราชกาลอยู่กรุงธนบุรี ฝาผนังด้านนอกทาสีดินแดง ด้าน ในเขียนภาพฝีมืออาจารย์นาค เป็นภาพแสดงวิถชีวิต ี ประจำาวันของคนสมัยนั้น บานประตูตกแต่งด้วยการ เขียนลายรดนำ้าและแกะสลักอย่างงดงาม นอกจากนั้นยัง มี ตู้พระไตรปิฏก ลายรดนำ้าขนาดใหญ่สมัยกรุง ศรีอยุธยา อยู่ในห้องด้านเหนือและห้องด้านใต้
  • 19. หอพระไตรปิฎ กของวัด ระฆัง โฆสิ ตาราม วรมหาวิห าร •           เดิมเป็นที่ประทับ หรือจวนเดิมของพระบาท สมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชเมื่อครั้งยังเป็น พระราชวรินทร์ เจ้ากรมพระตำารวจนอกขวา  ในสมัย สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช  อยู่ตรง ปากคลองมอญ  ริมฝั่งแม่นำ้าเจ้าพระยา    เมื่อพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก มหาราชทรงสถาปนากรุงเทพฯ ขึ้นแล้ว  ต่อมา พุทธศักราช ๒๓๒๗ ทรงพระราชประสงค์จะถวายจวน เดิมแก่วัดบางหว้าใหญ่  เพื่อใช้เป็นหอพระไตรปิฎก จึง โปรดเกล้าฯ ให้พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้า นภาลัย เมื่อครั้งยังดำารงพระอิสริยยศเป็นสมเด็จพระเจ้า ลูกยาเธอ เจ้าฟ้ากรมหลวงอิศรสุนทร  ทรงเป็นแม่กอง รื้อถอนจวนเดิม นำามาสร้างใหม่ให้เป็นหอพระไตรปิฎก กลางสระนำ้า  นอกเขตพุทธาวาส  ขณะขุดสระเพื่อสร้าง หอพระไตรปิฎกอยูนั้น  ได้พบระฆังใบใหญ่มีเสียง ่ กังวานไพเราะมาก จึงโปรดเกล้าฯ ให้นำาไปประดิษฐาน ในหอระฆัง วัดพระศรีรัตนศาสดาราม และน่าจะเปลี่ยน ชื่อวัดบางหว้าใหญ่  เป็นวัดระฆังโฆสิตารามในคราว
  • 20. คณะผู้จดทำา ั • กลุ่มที่ 1 มีสมาชิกดังนี้ • ด.ช. กล้าณรงค์ คำาสุข เลขที่ 1 • ด.ช. กานต์งาน แก้วแหวน เลขที่ 8 • ด.ช. ณัฐพล ตั้งวรภักดี เลขที่ 15 • ด.ช. ทินพัฒน์ ขันเกษตร เลขที่ 22 • ด.ญ.รังสิมา อุ่นประเสริฐสุข เลขที่ 29 • ด.ญ.พิมมาดา แซ่ลิ้ม เลขที่ 36