SlideShare a Scribd company logo
1 of 146
ประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรมไทย
HISTORY OF THAI
ARCHITECTURE
รัตนโกสินทร์
พุทธศตวรรษที่ ๒๔
พ.ศ. 2325 - ปัจจุบัน
1. พระบรมมหาราชวัง
2. พระราชวังบวรสถานมงคล
3. พระราชวังเดิม
4. ศาลหลักเมือง
สถาปัตยกรรมไทยประเพณียุครัตนโกสินทร์
สถาปัตยกรรมไทยที่เกี่ยวเนื่องกับพระมหากษัตริย์
กรุงรัตนโกสินทร์
๓
INTRODUCTION TO
THAI ARCHITECTURE
๑. พระบรมมหาราชวัง
๓
INTRODUCTION TO
THAI ARCHITECTURE
๑
๒ ๓
เขตพระราชฐานชั้นกลาง
๑. หมู่พระมหามณเฑียร
๒. หมู่พระที่นั่งดุสิตมหาปราสาท
๓. หมู่พระที่นั่งจักรีมหาปราสาท
INTRODUCTION TO
THAI ARCHITECTURE
๑. หมู่พระมหามณเฑียร
๒. หมู่พระที่นั่งดุสิตมหาปราสาท
๓. หมู่พระที่นั่งจักรีมหาปราสาท
เขตพระราชฐานชั้นกลาง
๑. พระบรมมหาราชวัง
๓
INTRODUCTION TO
THAI ARCHITECTURE
๑. พระบรมมหาราชวัง
๑. หมู่พระมหามณเฑียร
๒. หมู่พระที่นั่งดุสิตมหาปราสาท
๓. หมู่พระที่นั่งจักรีมหาปราสาท
เขตพระราชฐานชั้นกลาง
๓
INTRODUCTION TO
THAI ARCHITECTURE
๑. พระที่นั่งอมรินทรวินิจฉัยมไหยสูรยพิมาน
๒. พระที่นั่งไพศาลทักษิณ
๓. พระที่นั่งจักรพรรดิพิมาน
๑.๑ หมู่พระมหามณเฑียร
๑. พระบรมมหาราชวัง
๓
INTRODUCTION TO
THAI ARCHITECTURE
หมู่พระมหามณเฑียรได้ถูก
สร้างขึ้นเพื่อใช้เป็นที่ประทับแห่งแรก
ขณะที่พระบรมมหาราชวัง และราช
ธานีแห่งใหม่ที่กาลังก่อตัวขึ้น และยัง
ใช้ในการ ออกว่าราชการแผ่นดิน
และเป็นมณฑลพิธีในการประกอบ
พระราชพิธีสาคัญ โดยเฉพาะพิธี
บรมราชาภิเษก
๑.๑ หมู่พระมหามณเฑียร
๑. พระบรมมหาราชวัง
๓
INTRODUCTION TO
THAI ARCHITECTURE
๑.๑ หมู่พระมหามณเฑียร
๑. พระบรมมหาราชวัง
๓
พระราชพิธีบรมราชาภิเษก
พ.ศ. 2562
INTRODUCTION TO
THAI ARCHITECTURE
๑.๑ หมู่พระมหามณเฑียร
๑. พระบรมมหาราชวัง
๓
พระราชพิธีบรมราชาภิเษก
พ.ศ. 2562
INTRODUCTION TO
THAI ARCHITECTURE
❖ พระที่นั่งอมรินทรวินิจฉัย มไหยสูรยพิมาน
เป็นท้องพระโรงสาคัญที่พระมหากษัตริย์แห่งพระ
บรมราชจักรีวงศ์ทรงใช้เป็นที่ประกอบพระราชกรณียกิจ
สาคัญของบ้านเมือง เสด็จออกมหาสมาคมในพระราช
พิธีบรมราชาภิเษก พระราชพิธีเฉลิมพระชนมพรรษา
ตลอดจนเสด็จออกรับทูตต่างประเทศที่เข้ามาเจริญพระ
ราชไมตรีในสมัยต้นรัตนโกสินทร์
๑.๑ หมู่พระมหามณเฑียร
๑. พระบรมมหาราชวัง
๓
INTRODUCTION TO
THAI ARCHITECTURE
❖ พระที่นั่งอมรินทรวินิจฉัย มไหยสูรยพิมาน
๑.๑ หมู่พระมหามณเฑียร
๑. พระบรมมหาราชวัง
๓
INTRODUCTION TO
THAI ARCHITECTURE
พระที่นั่งบุษบกมาลามหาจักรพรรดิพิมาน
บุษบกประกอบท้ายเกรินทั้ง 2 ข้าง ที่ท้ายเกรินปักฉัตร
ลายทอง 7 ชั้น สาหรับพระมหากษัตริย์เสด็จขึ้นประทับ
ในวโรกาสเสด็จออกฝ่ายหน้าในงานมหาสมาคม
พระที่นั่งพุดตานกาญจนสิงหาสน์
พระราชบัลลังก์ทองขนาดย่อม พระมหากษัตริย์จะเสด็จ
ขึ้นประทับบนพระราชบัลลังก์นี้ เพื่อเสด็จออกมหา
สมาคมเป็นครั้งแรกในรัชกาลของพระองค์ และในวัน
เฉลิมพระชนมพรรษาของทุกปี เพื่อรับการถวายพระพร
ชัยมงคล
ที่ปลายสุดของท้องพระโรง เป็นที่
ประดิษฐานพระที่นั่งบุษบกมาลามหาจักรพรรดิ
พิมาน และด้านหน้าพระที่นั่งนี้เป็นที่ประดิษฐาน
พระที่นั่งพุดตานกาญจนสิงหาสน์ ภายใต้พระนพ
ปฎลมหาเศวตฉัตร
❖ พระที่นั่งอมรินทรวินิจฉัย มไหยสูรยพิมาน
๑.๑ หมู่พระมหามณเฑียร
๑. พระบรมมหาราชวัง
๓
INTRODUCTION TO
THAI ARCHITECTURE
๑.๑ หมู่พระมหามณเฑียร
๑. พระบรมมหาราชวัง
❖ พระที่นั่งไพศาลทักษิณ
๓
INTRODUCTION TO
THAI ARCHITECTURE
หอพระธาตุมณเฑียร ตั้งอยู่ทางทิศ
ตะวันตกของพระที่นั่งไพศาลทักษิณ เป็น
อาคารทรงไทยขนาดเล็ก ชั้นเดียว ยกพื้นสูง
ทอดยาวจากทิศเหนือไปใต้ เชื่อมต่อกับพระที่
นั่งไพศาลทักษิณด้วยมุขกระสัน ที่มุขกระสัน
มีสีหบัญชรเป็นที่เสด็จฯ ออกให้เข้าเฝ้าฯ
หน้าบันเป็นไม้จาหลักลายลงรักปิด
ทอง เป็นลายกระหนกเครือวัลย์ประกอบลาย
ดอกพุดตาลใบเทศ ตรงกลางหน้าบันมีเรือน
แก้ว พระทวารและพระบัญชรเป็นซุ้มทรงอย่าง
เทศ ปั้นปูนเป็นลายพุดตานปิดทอง ด้านใน
พระบัญชรเขียนลายทองเป็นภาพพระราชพิธี
12 เดือน
สีหบัญชร
๑.๑ หมู่พระมหามณเฑียร
๑. พระบรมมหาราชวัง
❖ พระที่นั่งไพศาลทักษิณ
๓
INTRODUCTION TO
THAI ARCHITECTURE
จิตรกรรมฝาผนัง ของพระที่นั่ง เป็นรูป
สวรรค์ชั้นดาวดึงอันเป็นที่สถิตของพระอินทร์ ภาพ
จิตรกรรมระหว่างช่องพระบัญชร หรือช่องประตูเป็น
รูปเทพเจ้าองค์สาคัญในศาสนาพราหมณ์ เช่น พระ
อิศวร พระนารายณ์ พระพรหม หรือแม้แต่พระขันธ
กุมาร แน่นอนว่า ทุกพระองค์ล้วนเกี่ยวกับอานาจการ
ปกครอง ความสมบูรณ์ของพืชพันธุ์ธัญญาหารใน
แผ่นดิน ทั้งหมดสอดคล้องกับคติความเชื่อที่ว่า
พระมหากษัตริย์คือ องค์สมมติเทพ
๑.๑ หมู่พระมหามณเฑียร
๑. พระบรมมหาราชวัง
❖ พระที่นั่งไพศาลทักษิณ
๓
หมู่พระมหามณเฑียร
INTRODUCTION TO
THAI ARCHITECTURE
พระสยามเทวาธิราช
เป็นเทวรูป หล่อด้วยทองคาสูง 8 นิ้ว
ประทับยืนทรงเครื่องกษัตริยาธิราช ทรงฉลอง
พระองค์อย่างเครื่องของเทพารักษ์ สวมมงกูฏ
พระหัตถ์ขวาทรงพระแสงขรรค์ พระหัตถ์ ซ้าย
ยกขึ้นจีบดรรชนีเสมอพระอุระ
องค์พระสยามเทวาธิราชประดิษฐานอยู่ใน
เรือนแก้วทาด้วยไม้จันทร์ ลักษณะแบบวิมานเก๋ง
จีน มีคาจารึกเป็นภาษาจีนที่ผนังเบื้องหลัง
แปลว่า "ที่สถิตแห่งพระสยามเทวาธิราช" (暹國
顯靈神位敬奉)
๒. พระที่นั่งไพศาลทักษิณ
๓
INTRODUCTION TO
THAI ARCHITECTURE
ชื่อ ไพศาลทักษิณ สื่อถึงชมทูทวีปอัน
กว้างใหญ่ซึ่งอยู่ทางทิศใต้ของเขาพระสุเมรุ
ห้องนี้จึงถูกใช้ในขั้นตอนการบรมราชาภิเษก
เริ่มจากการถวายน้าอภิเษก การถวายสิริราช
สมบัติ เครื่องเบญจราชกกุธภัณฑ์ เครื่องบรม
ราชูปโภค พระแสง ตลอดจนพระนพปฎลมหา
เศวตฉัตร
พระที่นั่งไพศาลทักษิณเป็นที่ประดิษฐาน
ของปูชนียวัตถุสาคัญ 3 อย่าง คือ
• พระสยามเทวาธิราช
• พระที่นั่งอัฐทิศอุทุมพรราชอาสน์
• พระที่นั่งภัทรบิฐ
ด้านตะวันตกของ พระที่นั่งไพศาลทักษิณ
ประดิษฐานพระที่นั่งภัทรบิฐ ซึ่งมีความหมายว่า
เป็นที่ประทับอันเป็นมงคลของพระมหากษัตริย์ มี
พระนพปฎลมหาเศวตฉัตรหรือฉัตรสีขาว 9 ชั้น
กางกั้นเหนือพระที่นั่ง
๑.๑ หมู่พระมหามณเฑียร
๑. พระบรมมหาราชวัง
❖ พระที่นั่งไพศาลทักษิณ
๓
หมู่พระมหามณเฑียร
INTRODUCTION TO
THAI ARCHITECTURE
๒. พระที่นั่งไพศาลทักษิณ
ตอนกลาง ของพระที่นั่งประดิษฐานพระ
วิมานพระสยามเทวาทิราช ที่สร้างขึ้นในสมัย
รัชกาลที่ 4
ด้านตะวันออกประดิษฐานพระที่นั่งอัฐทิศ
อุทุมพรราชอาสน์ ตั่งไม้มะเดื่อรูปแปดเหลี่ยมกาง
กั้นด้วยฉัตรขาว 7 ชั้น สาหรับประกอบพิธีรับน้า
อภิเษกจากผู้แทนรัฐสภา เป็นนัยถึงการถวายพระ
ราชอานาจในการปกครองแผ่นดินทั้ง 8 ทิศ
พระที่นั่งไพศาลทักษิณเป็นที่ประดิษฐาน
ของปูชนียวัตถุสาคัญ 3 อย่าง คือ
• พระสยามเทวาธิราช
• พระที่นั่งอัฐทิศอุทุมพรราชอาสน์
• พระที่นั่งภัทรบิฐ
๓
INTRODUCTION TO
THAI ARCHITECTURE
๑.๑ หมู่พระมหามณเฑียร
๑. พระบรมมหาราชวัง
❖ พระที่นั่งไพศาลทักษิณ
๓
INTRODUCTION TO
THAI ARCHITECTURE
❖ พระที่นั่งจักรพรรดิพิมาน
ชื่อมีความหมายถึง วิมานที่
ประทับของพระเจ้าแผ่นดิน ผู้ทรงเป็น
พระมหาจักรพรรดิราช ด้านใน
ประกอบด้วย 3 ห้อง
โดยภายในพระที่นั่งองค์
ตะวันออกประดิษฐานพระแท่นราช
บรรจถรณ์ หรือก็คือ พระแท่นบรรทม
ส่วนพระที่นั่งองค์ตะวันตกประดิษฐาน
เครื่องเบญราชกกุธภัณฑ์ เครื่อง
ราชูปโภค และพระแสงศัตราวุธ
๑.๑ หมู่พระมหามณเฑียร
๑. พระบรมมหาราชวัง
๓
INTRODUCTION TO
THAI ARCHITECTURE
❖ พระที่นั่งจักรพรรดิพิมาน
๑.๑ หมู่พระมหามณเฑียร
๑. พระบรมมหาราชวัง
๓
ส่วนพระที่นั่งองค์ตะวันตกประดิษฐานเครื่องเบญ
ราชกกุธภัณฑ์ เครื่องราชูปโภค และพระแสง
ศัตราวุธ
๑.๒ หมู่พระที่นั่งดุสิตมหาปราสาท
INTRODUCTION TO
THAI ARCHITECTURE
มหาปราสาทองค์แรกในยุค
รัตนโกสินทร์ โดยหลังจากสร้างแล้ว
เสร็จ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอด
ฟ้าจุฬาโลกมหาราช ได้เสด็จออกว่า
ราชการที่ท้องพระโรง และ
พระราชทานนามว่า “พระที่นั่งดุสิต
มหาปราสาท”
สมัยรัชกาลที่ 1 เสด็จสวรรคต ได้
อัญเชิญพระบรมศพมาตั้งไว้ที่พระที่
นั่งองค์นี้ จนกลายเป็นธรรมเนียมที่
จะต้องประดิษฐานพระบรมศพสมเด็จ
พระมหากษัตราธิราชเจ้าและสมเด็จ
พระอัครมเหสีไว้บนพระที่นั่งองค์นี้
๑. พระบรมมหาราชวัง
๓
INTRODUCTION TO
THAI ARCHITECTURE
๑.๒ หมู่พระที่นั่งดุสิตมหาปราสาท
๑. พระบรมมหาราชวัง
๓
เครื่องยอดสี่เหลี่ยมไม้สิบสองยื่น
ออกมารับบานแถลง
มีครุฑแบบชายคาทั้งสี่ด้าน
พระที่นั่งองค์นี้ได้รับยกย่องว่าเป็น
สถาปัตยกรรมชั้นเอก ของกรุง
รัตนโกสินทร์ โดยเฉพาะเรือนยอดพระ
มหาปราสาท (กุฎาคาร)
INTRODUCTION TO
THAI ARCHITECTURE
๑.๒ หมู่พระที่นั่งดุสิตมหาปราสาท
๑. พระบรมมหาราชวัง
๓
๓
INTRODUCTION TO
THAI ARCHITECTURE
๑.๒ หมู่พระที่นั่งดุสิตมหาปราสาท
๑. พระบรมมหาราชวัง
๓
เครื่องยอดสี่เหลี่ยมไม้สิบสองยื่น
ออกมารับบานแถลง
มีครุฑแบบชายคาทั้งสี่ด้าน
ครุฑรับไขรายอดปราสาท
ทั้ง ๔ ด้าน
INTRODUCTION TO
THAI ARCHITECTURE
๑.๒ หมู่พระที่นั่งดุสิตมหาปราสาท
๑. พระบรมมหาราชวัง
๓
INTRODUCTION TO
THAI ARCHITECTURE
๑.๒ หมู่พระที่นั่งดุสิตมหาปราสาท
๑. พระบรมมหาราชวัง
๓
INTRODUCTION TO
THAI ARCHITECTURE
๑.๒ หมู่พระที่นั่งดุสิตมหาปราสาท
๑. พระบรมมหาราชวัง
๓
ซึ่งพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ ให้สร้างสาหรับเสด็จฯ ออกในงาน
พระราชพิธีอันเป็นมหาสมาคมบางโอกาสโปรดเกล้าฯ ให้อัญเชิญปูชนียวัตถุขึ้น
ประดิษฐานเพื่อทรงทาพิธีสังเวยหรือบวงสรวง
พระที่นั่งบุษบกมาลา
INTRODUCTION TO
THAI ARCHITECTURE
๑.๒ หมู่พระที่นั่งดุสิตมหาปราสาท
๑. พระบรมมหาราชวัง
๓
ภายในกลางพระมหาปราสาท
ประดิษฐานพระแท่นพระราช
บัลลังก์ประดับมุก กางกั้น
ด้วยนพปฎลมหาเศวตฉัตร
INTRODUCTION TO
THAI ARCHITECTURE
๑.๒ หมู่พระที่นั่งดุสิตมหาปราสาท
๑. พระบรมมหาราชวัง
๓ เป็นที่ประดิษฐาน “พระบรมศพ” พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มหิตลาธิเบศรรามาธิบดี
จักรีนฤบดินทร สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร
INTRODUCTION TO
THAI ARCHITECTURE
๑.๒ หมู่พระที่นั่งดุสิตมหาปราสาท
๑. พระบรมมหาราชวัง
๓
พระที่นั่งอาภรณ์ภิโมกข์ปราสาท
๑.๓ หมู่พระที่นั่งจักรีมหาปราสาท
INTRODUCTION TO
THAI ARCHITECTURE
สร้างขึ้นในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว คราว
แรกพระที่นั่งจักรีมหาปราสาทมีการออกแบบดวย รูปแบบสถาปตยกรรม
นีโอเรอเนซองซ และมีหลังคาโดมฐานเหลี่ยมแบบมังซารด แตหลังจาก
การกอสรางดาเนินไปถึงชั้นสาม ไดมีการปรับเปลี่ยนแบบ ภายหลังจาก
สมเด็จเจาพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศทูลทัดทาน และเสนอใหปรับ
เปนทรงปราสาทแบบประเพณี
สมัยเมื่อกรุงเทพฯ ยังเป็น
จังหวัดพระนคร กรม
ศิลปากร ได้กาหนดให้ใช้รูป
พระที่นั่ง จักรีมหาปราสาท
เป็นตราประจาจังหวัด
๑. พระบรมมหาราชวัง
๓
INTRODUCTION TO
THAI ARCHITECTURE
๓
INTRODUCTION TO
THAI ARCHITECTURE
หมู่พระที่นั่งจักรีมหาปราสาท
ประกอบด้วย พระที่นั่ง 5 องค์ ได้แก่
๑. พระที่นั่งจักรีมหาปราสาท เป็น
พระที่นั่งองค์เดียวในหมู่พระที่นั่ง
จักรีมหาปราสาทที่สร้างขึ้นใน
รัชกาลที่ 5
๒. พระที่นั่งมูลสถานบรมอาสน์
๓. พระที่นั่งสมมติเทวราชอุปบัติ
๔. พระที่นั่งบรมราชสถิตยมโหฬาร
๕. พระที่นั่งเทวารัณยสถาน
๑.๓ หมู่พระที่นั่งจักรีมหาปราสาท
๑. พระบรมมหาราชวัง
๓
INTRODUCTION TO
THAI ARCHITECTURE
๑.๓ หมู่พระที่นั่งจักรีมหาปราสาท
๑. พระบรมมหาราชวัง
๓
• พระวิมานด้านทิศตะวันออก
ประดิษฐานพระพุทธรูปสาคัญที่
สร้างขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 5
• พระวิมานองค์กลาง ประดิษฐานพระ
บรมอัฐิ และพระอัฐิ พระเจ้าอยู่หัว
ตั้งแต่รัชกาลที่ 4 จนถึงรัชกาลที่ 9
รวมถึงพระอัครมเหสี และพระ
ราชวงศ์ชั้นสูงที่โปรดเกล้าเป็นกรณี
พิเศษ
• พระวิมานองค์ทิศตะวันตก
ประดิษฐานพระบรมอัฐิ และพระอัฐิ
ของพระราชวงศ์ชั้นสูงตั้งแต่รัชกาลที่
4 ลงมา
INTRODUCTION TO
THAI ARCHITECTURE
๑.๓ หมู่พระที่นั่งจักรีมหาปราสาท
๑. พระบรมมหาราชวัง
๓
INTRODUCTION TO
THAI ARCHITECTURE
๑.๓ หมู่พระที่นั่งจักรีมหาปราสาท
๑. พระบรมมหาราชวัง
๓
INTRODUCTION TO
THAI ARCHITECTURE
๑.๓ หมู่พระที่นั่งจักรีมหาปราสาท
๑. พระบรมมหาราชวัง
๓ สัญลักษณ์ราชวงศ์จักรี รูปตรีศูลในวงจักรสุทรรศน์ ซึ่ง
เป็นอาวุธของพระนารายณ์ ด้วยเหตุผลว่า จักร และ ตรี
สอดคล้องกับชื่อ จักรี ของราชวงศ์
INTRODUCTION TO
THAI ARCHITECTURE
ภาพร่างรูปทวยหงส์ฝีพระหัตถ์สมเด็จฯ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุ
วัดติวงศ์ที่ประทานแก่ พระพรหมพิจิตรเพื่อให้นาไปเขียนขยายแบบ
มีลายพระหัตถ์กากับการขยายแบบว่า “ทวยหน้าบรรพจักรี จง
พยายามผูกให้เปนลายมากกว่าให้เปนตัวนกจริง ๆ”
๑.๓ หมู่พระที่นั่งจักรีมหาปราสาท
๑. พระบรมมหาราชวัง
๓
INTRODUCTION TO
THAI ARCHITECTURE
พระที่นั่งบรมราชสถิตยมโหฬารองค์
ปัจจุบันเป็นพระที่นั่งองค์ใหม่ที่สร้างขึ้นแทน
หมู่พระที่นั่งองค์เดิมที่อยู่ในสภาพชารุดทรุด
โทรมจนเกินกว่าจะบูรณะ พระบาทสมเด็จ
พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช จึงโปรด
เกล้าฯ ให้รื้อพระที่นั่งองค์เก่าลงและสร้าง
พระที่นั่งองค์ใหม่ขึ้นแทน ในปี พ.ศ. 2537
โดยมีลักษณะเป็นพระที่นั่ง ๒ องค์สร้าง
ซ้อนกัน คือ พระที่นั่งบรมราชสถิตยม
โหฬาร และพระที่นั่งเทวารัณยสถาน
พระที่นั่งบรมราชสถิตยมโหฬาร
พระที่นั่งเทวารัณยสถาน
๑.๓ หมู่พระที่นั่งจักรีมหาปราสาท
๑. พระบรมมหาราชวัง
๓
พ.ศ. 2537
INTRODUCTION TO
THAI ARCHITECTURE
พระที่นั่งบรมราชสถิตยมโหฬาร
พระที่นั่งเทวารัณยสถาน
๑.๓ หมู่พระที่นั่งจักรีมหาปราสาท
๑. พระบรมมหาราชวัง
๓
พระราชพิธีฉลองสิริราชสมบัติ ครบ 60 ปี
พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหา
ภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร
ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้จัดพระราชพิธี
วันพฤหัสบดีที่ 8 — วันอังคารที่ 13
มิถุนายน พ.ศ. 2549
INTRODUCTION TO
THAI ARCHITECTURE
พระที่นั่งบรมราชสถิตยมโหฬาร
๑.๓ หมู่พระที่นั่งจักรีมหาปราสาท
๑. พระบรมมหาราชวัง
๓
พระที่นั่งเทวารัณยสถาน
INTRODUCTION TO
THAI ARCHITECTURE
๑.๓ หมู่พระที่นั่งจักรีมหาปราสาท
๑. พระบรมมหาราชวัง
๓
INTRODUCTION TO
THAI ARCHITECTURE
ทางเชื่อมระหว่างพระที่นั่งจักรีมหาปราสาท และ พระที่นั่งบรมราชสถิตยมโหราฬ
๑.๓ หมู่พระที่นั่งจักรีมหาปราสาท
๑. พระบรมมหาราชวัง
๓
INTRODUCTION TO
THAI ARCHITECTURE
๓
ฐานไพที
๒.๑ พระอุโบสถ
๒.๒ พระศรีรัตนเจดีย์
๒.๓ พระมณฑป
๒.๔ ปราสาทพระเทพบิดร
๒.๕ หอมณเฑียรธรรม
๒.๖ ระเบียงคต
๒.๗ วิหารยอด
๑. พระบรมมหาราชวัง
๑.๔ วัดพระศรีรัตนศาสดาราม
INTRODUCTION TO
THAI ARCHITECTURE
๑.๔ วัดพระศรีรัตนศาสดาราม
๓
๑ ๒ ๓ ๔ ๕
๖
ฐานไพที
๑. พระบรมมหาราชวัง
INTRODUCTION TO
THAI ARCHITECTURE
๓
๑ ๒ ๓ ๔ ๕
๖
ฐานไพที
๑ พระอุโบสถ
๒ พระศรีรัตนเจดีย์
๓ พระมณฑป
๔ ปราสาทพระเทพบิดร
๕ หอมณเฑียรธรรม
๖ ระเบียงคต
๗ วิหารยอด
๗
๑. พระบรมมหาราชวัง
๑.๔ วัดพระศรีรัตนศาสดาราม
INTRODUCTION TO
THAI ARCHITECTURE
๓ พระอุโบสถ
๑. พระบรมมหาราชวัง
๑.๔ วัดพระศรีรัตนศาสดาราม
INTRODUCTION TO
THAI ARCHITECTURE
๓ พระอุโบสถ
๑. พระบรมมหาราชวัง
๑.๔ วัดพระศรีรัตนศาสดาราม
INTRODUCTION TO
THAI ARCHITECTURE
๓
หน้าบันอุโบสถวัดพระแก้ว
นารายณ์ทรงสุบรรณ
ไม้แกะสลักปิดทองประดับกระจกสีน้าเงิน
พระอุโบสถ
๑. พระบรมมหาราชวัง
๑.๔ วัดพระศรีรัตนศาสดาราม
INTRODUCTION TO
THAI ARCHITECTURE
๓
ฐานประดับด้วยครุฑหล่อโลหะปิดทอง
พระอุโบสถ
๑. พระบรมมหาราชวัง
๑.๔ วัดพระศรีรัตนศาสดาราม
INTRODUCTION TO
THAI ARCHITECTURE
๓
พระพุทธมหามณีรัตนปฏิมากร
ทรงเครื่องทรงสาหรับฤดูหนาว
ฉายเมื่อวันที่ ๒๑ พฤศจิกายน
พระพุทธศักราช ๒๕๖๔
พระอุโบสถ
๑. พระบรมมหาราชวัง
๑.๔ วัดพระศรีรัตนศาสดาราม
INTRODUCTION TO
THAI ARCHITECTURE
๓
๑. พระบรมมหาราชวัง
๑.๔ วัดพระศรีรัตนศาสดาราม
INTRODUCTION TO
THAI ARCHITECTURE
๓
ฐานไพที
๒.๑ พระอุโบสถ
๒.๒ พระศรีรัตนเจดีย์
๒.๓ พระมณฑป
๒.๔ ปราสาทพระเทพบิดร
๒.๕ หอมณเฑียรธรรม
๒.๖ ระเบียงคต
๒.๗ วิหารยอด
๑. พระบรมมหาราชวัง
๑.๔ วัดพระศรีรัตนศาสดาราม
INTRODUCTION TO
THAI ARCHITECTURE
๓
ฐานไพที
๒.๒ พระศรีรัตนเจดีย์
๒.๓ พระมณฑป
๒.๔ ปราสาทพระเทพบิดร
๑. พระบรมมหาราชวัง
๑.๔ วัดพระศรีรัตนศาสดาราม
INTRODUCTION TO
THAI ARCHITECTURE
๓
ประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุ
องค์เจดีย์ประดับกระเบื้องโมเสกสีทอง
๑. พระบรมมหาราชวัง
พระศรีรัตนเจดีย์
๑.๔ วัดพระศรีรัตนศาสดาราม
INTRODUCTION TO
THAI ARCHITECTURE
๓
ประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุ
องค์เจดีย์ประดับกระเบื้องโมเสกสีทอง
๑. พระบรมมหาราชวัง
พระศรีรัตนเจดีย์
๑.๔ วัดพระศรีรัตนศาสดาราม
INTRODUCTION TO
THAI ARCHITECTURE
๓
๑. พระบรมมหาราชวัง
พระศรีรัตนเจดีย์
๑.๔ วัดพระศรีรัตนศาสดาราม
INTRODUCTION TO
THAI ARCHITECTURE
๓
๑. พระบรมมหาราชวัง
๑.๔ วัดพระศรีรัตนศาสดาราม
INTRODUCTION TO
THAI ARCHITECTURE
๓ พระมณฑป
สถานที่ประดิษฐาน
พระไตรปิฏกฉบับทอง
เป็นอาคารทรงสี่เหลี่ยมจัสตุรัส
เครื่องยอดทรงมณฑป
ปิดทองประดับกระจกสี
ฐานอาคารด้านในลายเทพพนม
ฐานอาคารด้านนอกประดับด้วยหินอ่อน
๑. พระบรมมหาราชวัง
๑.๔ วัดพระศรีรัตนศาสดาราม
INTRODUCTION TO
THAI ARCHITECTURE
๓
สถานที่ประดิษฐาน
พระไตรปิฏกฉบับทอง
เป็นอาคารทรงสี่เหลี่ยมจัสตุรัส
เครื่องยอดทรงมณฑป
ปิดทองประดับกระจกสี
ฐานอาคารด้านในลายเทพพนม
ฐานอาคารด้านนอกประดับด้วยหินอ่อน
พระมณฑป
๑. พระบรมมหาราชวัง
๑.๔ วัดพระศรีรัตนศาสดาราม
INTRODUCTION TO
THAI ARCHITECTURE
๓ พระมณฑป
๑. พระบรมมหาราชวัง
๑.๔ วัดพระศรีรัตนศาสดาราม
INTRODUCTION TO
THAI ARCHITECTURE
๓ ฐานอาคารประดับลายเทพพนม
พระมณฑป
๑. พระบรมมหาราชวัง
๑.๔ วัดพระศรีรัตนศาสดาราม
INTRODUCTION TO
THAI ARCHITECTURE
๓ พระมณฑป
๑. พระบรมมหาราชวัง
๑.๔ วัดพระศรีรัตนศาสดาราม
INTRODUCTION TO
THAI ARCHITECTURE
๓ ปราสาทพระเทพบิดร
เป็นอาคารทรงจตุรมุขยอดปรางค์
ภายในประดิษฐานพระบรมรูป
พระมหากษัตริย์แห่งกรุงรัตนโกสินทร์
๑. พระบรมมหาราชวัง
๑.๔ วัดพระศรีรัตนศาสดาราม
INTRODUCTION TO
THAI ARCHITECTURE
๓
เป็นอาคารทรงจตุรมุขยอดปรางค์
ภายในประดิษฐานพระบรมรูป
พระมหากษัตริย์แห่งกรุงรัตนโกสินทร์
พระอัษฏามหาเจดีย์ หรือ พระปรางค์ 8 องค์
ปราสาทพระเทพบิดร
๑. พระบรมมหาราชวัง
๑.๔ วัดพระศรีรัตนศาสดาราม
INTRODUCTION TO
THAI ARCHITECTURE
๓ ปราสาทพระเทพบิดร
๑. พระบรมมหาราชวัง
๑.๔ วัดพระศรีรัตนศาสดาราม
INTRODUCTION TO
THAI ARCHITECTURE
๓
พระมหามงกุฎ
โลหะปิดทอง
พระบรมราชสัญลักษณ์ของ
รัชกาลที่ 4
ปราสาทพระเทพบิดร
๑. พระบรมมหาราชวัง
๑.๔ วัดพระศรีรัตนศาสดาราม
INTRODUCTION TO
THAI ARCHITECTURE
๓ ปราสาทพระเทพบิดร
๑. พระบรมมหาราชวัง
๑.๔ วัดพระศรีรัตนศาสดาราม
INTRODUCTION TO
THAI ARCHITECTURE
๓ ปราสาทพระเทพบิดร
๑. พระบรมมหาราชวัง
๑.๔ วัดพระศรีรัตนศาสดาราม
INTRODUCTION TO
THAI ARCHITECTURE
๓ เจดีย์ทอง
ปราสาทพระเทพบิดร
๑. พระบรมมหาราชวัง
๑.๔ วัดพระศรีรัตนศาสดาราม
INTRODUCTION TO
THAI ARCHITECTURE
๓
เจดีย์ทอง
ปราสาทพระเทพบิดร
๑. พระบรมมหาราชวัง
๑.๔ วัดพระศรีรัตนศาสดาราม
INTRODUCTION TO
THAI ARCHITECTURE
๓
• สิงหพานร ครึ่งบน
เป็นลิงครื่งล่างเป็น
สิงห์
• เทพปักษี ที่มีหาง
เหมือนนกแต่ขาเป็น
อย่างมนุษย์
• อสุรปักษีที่ครึ่งบนเป็น
ยักษ์ครึ่งล่างเป็นนก
• กินรและกินรีที่ครึ่งล่าง
เป็นนก
• เทพนรสิงห์ที่ครึ่งบน
เป็นอย่างมนุษย์และ
เทวดาแต่ครึ่งล่างเป็น
สิงห์
สัตว์หิมพานต์ ซึ่งเป็นสัตว์วิเศษในป่าหิมพานต์เชิงเขาพระสุเมรุ
๑.๔ วัดพระศรีรัตนศาสดาราม
INTRODUCTION TO
THAI ARCHITECTURE
๓ หอมณเฑียรธรรม
หอพระไตรปิฏก
อาคารทรงสี่เหลี่ยมผืนผ้า
หน้าบันเครื่องลายอง
ลวดลาย
๑. พระบรมมหาราชวัง
๑.๔ วัดพระศรีรัตนศาสดาราม
INTRODUCTION TO
THAI ARCHITECTURE
๓
พระอินทร์ทรงช้างเอราวัณ
หอมณเฑียรธรรม
๑. พระบรมมหาราชวัง
๑.๔ วัดพระศรีรัตนศาสดาราม
INTRODUCTION TO
THAI ARCHITECTURE
๓
วิหารที่มียอดทรงมงกุฎ
ประดับกระเบื้องเคลือบลายดอกไม้
วิหารยอด
๑. พระบรมมหาราชวัง
๑.๔ วัดพระศรีรัตนศาสดาราม
INTRODUCTION TO
THAI ARCHITECTURE
๓ วิหารยอด
๑. พระบรมมหาราชวัง
๑.๔ วัดพระศรีรัตนศาสดาราม
INTRODUCTION TO
THAI ARCHITECTURE
๓ นกทัณฑิมา สาริด ถือกระบอง
วิหารยอด
๑. พระบรมมหาราชวัง
๑.๔ วัดพระศรีรัตนศาสดาราม
INTRODUCTION TO
THAI ARCHITECTURE
๓ ระเบียงคต
ยักษ์เฝ้าวัดพระแก้ว
ที่ประตูทางเข้าจะมียักษ์ประตูละ 1 คู่
ลักษณะพิเศษคือ ยืนหันหน้าเข้าหาวัด
เชื่อว่ามาจากตานานพระแก้วมรกต ที่กล่าวว่า
ยักษ์เคยเป็นผู้เฝ้ารักษาหินสีเขียว ณ
ภูเขาวิบุลพรรพต จึงเป็นตาแหน่งที่
รักษาพระแก้วมรกต
6 ประตูมียักษ์ปูนปั้นกายสูงใหญ่ถึง 6 เมตร
ประดับเคลือบสีประณีตงดงาม เป็นทวาร
บาล เฝ้าอยู่ประตูละ 2 ตน
ประตูวัดพระแก้ว มี 7 ประตู
หนังสือพระอารามหลวง ในกรุงเทพมหานคร เล่ม 1
(วิทยาลัยศาสนศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล)
๑. พระบรมมหาราชวัง
๑.๔ วัดพระศรีรัตนศาสดาราม
INTRODUCTION TO
THAI ARCHITECTURE
๓
ประตูเกยเสด็จ (หลัง) มีพญายักษ์
2 ตน เป็นทวารบาล ด้านซ้ายคือ
ทศกัณฐ์ ทศกัณฐ์มี 10 เศียร 20
กร มีกายสีเขียว เป็นเจ้าผู้ครอง
กรุงลงกา
ด้านขวาประตูเกยเสด็จ (หลัง) คือ
พญายักษ์สีกายขาว เจ้าเมืองปาง
ตาล มีนามว่า สหัสสเดชะ พญา
ยักษ์ตนนี้มี 1,000 เศียร 2,000
กร มีอาวุธวิเศษคือกระบองตาล
ระเบียงคต
๑. พระบรมมหาราชวัง
๑.๔ วัดพระศรีรัตนศาสดาราม
INTRODUCTION TO
THAI ARCHITECTURE
๓
สหัสสเดชะ
ระเบียงคต
๑.๔ วัดพระศรีศาสดาราม
๑. พระบรมมหาราชวัง
จิตรกรรมภาพฝาผนัง ชุดรามเกียรติ์
รายล้อมรอบระเบียงคต 178 ภาพ
INTRODUCTION TO
THAI ARCHITECTURE
๓ ระเบียงคต
๑.๔ วัดพระศรีศาสดาราม
๑. พระบรมมหาราชวัง
INTRODUCTION TO
THAI ARCHITECTURE
๓
พิธีอุปภิเษก
(หรือพิธีรดน้าแต่งงาน)
ของ พระราม และ นางสีดา
ในเมืองมิถิลา
ระเบียงคต
๑.๔ วัดพระศรีศาสดาราม
๑. พระบรมมหาราชวัง
หนุมานอมพลับพลา
คราวเคราะห์ของพระรามที่
พิเภกทานายจากความฝัน
ของพระราม ว่าที่จะถูกฝ่าย
ทศกัณฐ์จับตัวนางสีดา จึงวางแผน
ป้องกัน โดยจัดเฝ้าเวรยาม
และ หนุมานอาสาปกป้อง ด้วยการ
ขยายร่างเพื่ออมพลับพลาไว้
แต่สุดท้ายด้วย สติปัญญา
ของยักษ์ พระรามก็หนี
เคราะห์นี้ไปไม่พ้น
INTRODUCTION TO
THAI ARCHITECTURE
๓ ระเบียงคต
๑.๔ วัดพระศรีศาสดาราม
๑. พระบรมมหาราชวัง
INTRODUCTION TO
THAI ARCHITECTURE
๓
นางลอย
เล่าเรื่องราวหลังจากที่ทศกัณฐ์
มาลักพานางสีดาไปแล้ว แต่ไม่
อยากถูกพระรามตามมาเอาคืน
จึงให้หลานสาวคือ
นางเบญจกาย แปลงกายเป็น
ศพนางสีดาตายลอยน้ามา ซึ่ง
ตอนแรก ๆ พระรามก็เกือบจะ
เชื่อเสียแล้วด้วยความอาลัยรัก
จึงไม่ทันคิด ดีที่หนุมานทัดทาน
ไว้ทันจึงแก้กลได้ในที่สุด
ระเบียงคต
๑.๔ วัดพระศรีศาสดาราม
๑. พระบรมมหาราชวัง
INTRODUCTION TO
THAI ARCHITECTURE
๒. พระราชวังบวรสถานมงคล (วังหน้า)
๓ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร
๓.๑ พระที่นั่งพุทไธสวรรย์
๓.๓ วัดพระแก้ววังหน้า หรือ
วัดบวรสถานสุทธาวาส
๓.๒. พระที่นั่งศิวโมกขพิมาน
INTRODUCTION TO
THAI ARCHITECTURE
๓ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร
วังหน้าในสมัยรัตนโกสินทร์มีทั้งสิ้น 6 พระองค์
ประทับอยู่ในพระราชวังบวรสถานมงคล ทาง
ทิศเหนือของพระบรมมหาราชวัง ตาแหน่งวัง
หน้าถูกยกเลิกในสมัยรัชกาลที่ 5 ดังนั้น
บริเวณที่เป็นวังหน้าจึงถูกเปลี่ยนแปลงลักษณะ
การใช้สอยต่างๆ กันไป เช่น พื้นที่ส่วนใหญ่
กลายเป็นพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร
บางส่วนเป็นมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
๒. พระราชวังบวรสถานมงคล (วังหน้า)
INTRODUCTION TO
THAI ARCHITECTURE
๓ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร
กรมศิลปากร, 2555, กรมพระราชวังบวรสถานมงคลสมัยรัตนโกสินทร์
พระที่นั่งพุทไธสวรรย์
พระที่นั่งศิวโมกขพิมาน
พระวิมาน
๒. พระราชวังบวรสถานมงคล (วังหน้า)
INTRODUCTION TO
THAI ARCHITECTURE
๓ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร
พระที่นั่งพุทไธสวรรย์จะเป็นหอพระ
หรือที่ประดิษฐานพระพุทธสิหิงค์
ซึ่งอัญเชิญมาจากเมืองเชียงใหม่
๒.๑ พระที่นั่งพุทไธสวรรย์
๒. พระราชวังบวรสถานมงคล (วังหน้า)
INTRODUCTION TO
THAI ARCHITECTURE
๓
พรหมวิมานบนหน้าบันของพระที่นั่งพุทไธสวรรย์
๒.๑ พระที่นั่งพุทไธสวรรย์
๒. พระราชวังบวรสถานมงคล (วังหน้า)
จิตรกรรมและประติมากรรมของวัง
หน้าคือภาพบันทึกอดีต ซึ่งไม่ใช่อดีตที่
หยุดนิ่ง แต่เป็นอดีตที่เคลื่อนไหว
ภาพจิตรกรรมในพระที่นั่งพุทไธ
สวรรย์เล่าเรื่องพุทธประวัติ เน้นความ
สวยงามแบบอุดมคติ
INTRODUCTION TO
THAI ARCHITECTURE
๓ ๒.๑ พระที่นั่งพุทไธสวรรย์
๒. พระราชวังบวรสถานมงคล (วังหน้า)
ลายดาวเพดาน
INTRODUCTION TO
THAI ARCHITECTURE
๓ ๒.๑ พระที่นั่งพุทไธสวรรย์
๒. พระราชวังบวรสถานมงคล (วังหน้า)
จิตรกรรมฝาผนังที่เล่าเรื่องนิทาน
พุทธประวัติ เทพชุมนุม ซึ่งวาดฝี
แปรงโดยช่างเขียนในสมัยรัชกาลที่ 1
INTRODUCTION TO
THAI ARCHITECTURE
๓ ๒.๑ พระที่นั่งพุทไธสวรรย์
๒. พระราชวังบวรสถานมงคล (วังหน้า)
เมื่อต้นไม้ในจิตรกรรมฝาผนังฉายภาพอดีต
รศ.ดร.กิติเชษฐ์ ศรีดิษฐ แห่งคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ คือนักพฤกษศาสตร์ที่คุณใหม่เชิญมาดูพรรณไม้ต่างๆ ใน
จิตรกรรมฝาผนังของพระที่นั่งพุทไธสวรรย์ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ
ภาพต้นยางนา (Dipterocarpus alatus Roxb. ex G. Don) ในภาพถ่ายจิตรกรรมฝาผนังที่พระที่นั่งพุทไธสวรรย์
INTRODUCTION TO
THAI ARCHITECTURE
๓ ๒.๑ พระที่นั่งพุทไธสวรรย์
๒. พระราชวังบวรสถานมงคล (วังหน้า)
ช่างผู้เขียนฉากนี้ สังเกตความงดงาม
ของธรรมชาติ เพราะเขียนให้ภาพโค
เหล่านั้นสะท้อนบนผิวน้าสระบัว
INTRODUCTION TO
THAI ARCHITECTURE
๓ ๒.๑ พระที่นั่งพุทไธสวรรย์
๒. พระราชวังบวรสถานมงคล (วังหน้า)
๒.๒. หมู่พระวิมาน
INTRODUCTION TO
THAI ARCHITECTURE
๓
กรมศิลปากร, 2555, กรมพระราชวังบวรสถานมงคลสมัยรัตนโกสินทร์
พระวิมานวังน่า
พระราชมนเทียร จัดสร้างสาเร็จในสมัยรัชกาล
ที่ ๓ จัดเป็นชุด ๗ องค์ องค์หน้าคือ พระที่
นั่งอิศราวินิจฉัย เป็นท้องพระโรง
๒. พระราชวังบวรสถานมงคล (วังหน้า)
INTRODUCTION TO
THAI ARCHITECTURE
๓
กรมศิลปากร, 2555, กรมพระราชวังบวรสถานมงคลสมัยรัตนโกสินทร์
พระที่นั่งอิศราวินิจฉัย
ทรงจั่ว มีลดชั้นหลังคา 1 ชั้น และ
ไม่มีมุขลด มุงด้วยกระเบื้องดินเผา
ไม่เคลือบสี ขณะที่วังหลวงนิยมใช้
กระเบื้องทาด้วยดีบุก หรือกระเบื้อง
เคลือบสีตัดกันหลายสี
๒.๒. หมู่พระวิมาน
๒. พระราชวังบวรสถานมงคล (วังหน้า)
INTRODUCTION TO
THAI ARCHITECTURE
๓
พระที่นั่งอิศราวินิจฉัย
หน้าบันเป็นไม้แกะสลัก
รูปเทวดา ปิดทองประดับ
กระจกสีขาว
๒.๒. หมู่พระวิมาน
๒. พระราชวังบวรสถานมงคล (วังหน้า)
INTRODUCTION TO
THAI ARCHITECTURE
๓
ช่อฟ้า
คือส่วนหนึ่งของเครื่องลายอง
ช่างวังหน้า
นิยมทาช่อฟ้าแบบปากปลา มี
จะงอยปากแหลมขึ้น
ขณะที่วังหลวงจะทาช่อฟ้าปาก
ครุฑ มีจะงอยงุ้มลง
๒.๒. หมู่พระวิมาน
๒. พระราชวังบวรสถานมงคล (วังหน้า)
การจัดแสดง ท้องพระโรงวังหน้า ณ พระที่นั่งอิศราวินิจฉัย พระที่นั่งภิมุขมณเฑียร เครื่องราชยานคานหาม
INTRODUCTION TO
THAI ARCHITECTURE
๓ ๒.๒. หมู่พระวิมาน
๒. พระราชวังบวรสถานมงคล (วังหน้า)
การจัดแสดง ท้องพระโรงวังหน้า ณ
พระที่นั่งอิศราวินิจฉัย
INTRODUCTION TO
THAI ARCHITECTURE
๓ ๒.๒. หมู่พระวิมาน
๒. พระราชวังบวรสถานมงคล (วังหน้า)
INTRODUCTION TO
THAI ARCHITECTURE
๓
พระที่นั่งบุษบกเกรินในพระที่นั่งอิศ
ราวินิจฉัย พระบวรราชวัง เป็นพระที่
นั่งทรงบุษบกท้ายเกรินศิลปะต้นกรุง
รัตนโกสินทร์ที่ได้รับการยกย่องว่ามี
ความเป็นศิลปะอยุธยาแฝงอยู่อย่าง
งดงามเป็นที่สุด ฝีมือช่างวังหน้า
๒.๒. หมู่พระวิมาน
๒. พระราชวังบวรสถานมงคล (วังหน้า)
INTRODUCTION TO
THAI ARCHITECTURE
๓
พระที่นั่งบุษบกเกรินในพระที่นั่งอิศ
ราวินิจฉัย พระบวรราชวัง เป็นพระที่
นั่งทรงบุษบกท้ายเกรินศิลปะต้นกรุง
รัตนโกสินทร์ที่ได้รับการยกย่องว่ามี
ความเป็นศิลปะอยุธยาแฝงอยู่อย่าง
งดงามเป็นที่สุด ฝีมือช่างวังหน้า
๒.๒. หมู่พระวิมาน
๒. พระราชวังบวรสถานมงคล (วังหน้า)
การจัดแสดง ท้องพระโรงวังหน้า ณ
พระที่นั่งอิศราวินิจฉัย
INTRODUCTION TO
THAI ARCHITECTURE
๓
พระที่นั่งบุษบกเกรินในพระที่นั่งอิศ
ราวินิจฉัย พระบวรราชวัง เป็นพระที่
นั่งทรงบุษบกท้ายเกรินศิลปะต้นกรุง
รัตนโกสินทร์ที่ได้รับการยกย่องว่ามี
ความเป็นศิลปะอยุธยาแฝงอยู่อย่าง
งดงามเป็นที่สุด ฝีมือช่างวังหน้า
๒.๒. หมู่พระวิมาน
๒. พระราชวังบวรสถานมงคล (วังหน้า)
INTRODUCTION TO
THAI ARCHITECTURE
๒. พระราชวังบวรสถานมงคล (วังหน้า)
๓ ๒.๓. พระที่นั่งศิวโมกขพิมาน
INTRODUCTION TO
THAI ARCHITECTURE
๓
หางหงส์นาคเบือน
๒. พระราชวังบวรสถานมงคล (วังหน้า)
๒.๓. พระที่นั่งศิวโมกขพิมาน
INTRODUCTION TO
THAI ARCHITECTURE
๓
ห้องจัดแสดงศิลปะสุโขทัย ล้านนา และรัตนโกสินทร์สมัยใหม่ และพระพุทธรูปศิลาขาวทวารวดี
๒. พระราชวังบวรสถานมงคล (วังหน้า)
๒.๓. พระที่นั่งศิวโมกขพิมาน
INTRODUCTION TO
THAI ARCHITECTURE
๓
ห้องจัดแสดงศิลปะสุโขทัย ล้านนา และรัตนโกสินทร์สมัยใหม่ และพระพุทธรูปศิลาขาวทวารวดี
๒. พระราชวังบวรสถานมงคล (วังหน้า)
๒.๓. พระที่นั่งศิวโมกขพิมาน
นิทรรศการพิเศษ จิ๋นซีฮ่องเต้: จักรพรรดิองค์แรกของแผ่นดินจีนกับกองทัพทหารดินเผา
(Qin Shi Huang: The First Emperor of China and Terracotta Warriors)
วันที่ 16 กันยายน 2562
ณ พระที่นั่งศิวโมกขพิมาน
INTRODUCTION TO
THAI ARCHITECTURE
๓ ๒. พระราชวังบวรสถานมงคล (วังหน้า)
๒.๓. พระที่นั่งศิวโมกขพิมาน
INTRODUCTION TO
THAI ARCHITECTURE
๓ ๒. พระราชวังบวรสถานมงคล (วังหน้า)
๒.๔ วัดพระแก้ววังหน้า หรือ วัดบวรสถานสุทธาวาส
วัดพระแก้ววังหน้าที่เหลืออยู่ใน
ปัจจุบันนี้มีเพียงพระอุโบสถ
จตุรมุขสูงใหญ่ตั้งสูงตะหง่านอ
ยู่บนฐานซึ่งมีบันไดขึ้นที่งสี่ด้าน
ตั้งอยู่ในบริเวณ สถาบัน
บัณฑิตพัฒน์ศิลป์ หรือ
วิทยาลัยนาฏศิลป์เดิม
INTRODUCTION TO
THAI ARCHITECTURE
๒. พระราชวังบวรสถานมงคล (วังหน้า)
๒.๔ วัดพระแก้ววังหน้า หรือ วัดบวรสถานสุทธาวาส
๓
INTRODUCTION TO
THAI ARCHITECTURE
๓
พระอุโบสถของวัดบวรสถานสุทธาวาสนี้เป็น
อาคารทรงจัตุรมุขขนาดใหญ่ ส่วนหน้าบันมี
การประดับลายดอกไม้ ใบไม้ตามแบบที่นิยม
ในสมัยรัชกาลที่ 3 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์
๒. พระราชวังบวรสถานมงคล (วังหน้า)
๒.๔ วัดพระแก้ววังหน้า หรือ วัดบวรสถานสุทธาวาส
INTRODUCTION TO
THAI ARCHITECTURE
๓ ๒. พระราชวังบวรสถานมงคล (วังหน้า)
๒.๔ วัดพระแก้ววังหน้า หรือ วัดบวรสถานสุทธาวาส
INTRODUCTION TO
THAI ARCHITECTURE
จิตรกรรมในวัดพระแก้ววังหน้า
เล่าเรื่องตานานการอัญเชิญพระ
พุทธสิหิงค์ จึงมีเรื่องราวของ
สามัญชนเพิ่มเข้ามา
๓ ๒. พระราชวังบวรสถานมงคล (วังหน้า)
๒.๔ วัดพระแก้ววังหน้า หรือ วัดบวรสถานสุทธาวาส
ประวัติอดีตพระพุทธเจ้า 28 พระองค์
INTRODUCTION TO
THAI ARCHITECTURE
๓ ๒. พระราชวังบวรสถานมงคล (วังหน้า)
๒.๔ วัดพระแก้ววังหน้า หรือ วัดบวรสถานสุทธาวาส
INTRODUCTION TO
THAI ARCHITECTURE
จิตรกรรมในวัดพระแก้ววังหน้า
เล่าเรื่องตานานการอัญเชิญพระ
พุทธสิหิงค์ จึงมีเรื่องราวของ
สามัญชนเพิ่มเข้ามา
๓ ๒. พระราชวังบวรสถานมงคล (วังหน้า)
๒.๔ วัดพระแก้ววังหน้า หรือ วัดบวรสถานสุทธาวาส
INTRODUCTION TO
THAI ARCHITECTURE
ฉากเกาะลังกาและเมืองลังกา
ด้วยเมืองสไตล์ตะวันตก
๓ ๒. พระราชวังบวรสถานมงคล (วังหน้า)
๒.๔ วัดพระแก้ววังหน้า หรือ วัดบวรสถานสุทธาวาส
พระพลราม หรือ พระพลเทพ พี่ชายของพระกฤษณะผู้เป็นนารายณ์อวตารจากมหาภารตะ ฝั่งขวา พระเทวริงค์
ทวารบาล เป็นรูปเทพเจ้าในศาสนาฮินดู
INTRODUCTION TO
THAI ARCHITECTURE
๓ ๒. พระราชวังบวรสถานมงคล (วังหน้า)
๒.๔ วัดพระแก้ววังหน้า หรือ วัดบวรสถานสุทธาวาส
พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก
มหาราช ทรงมีพระราชปรารภกับสมเด็จพระ
อนุชาธิราชกรมพระราชวังบวรฯ จะทาสังคายนา
พระไตรปิฎก
โปรดให้ประชุมพระราชาคณะสอบไล่พระปริยัติ
ธรรม และโปรดให้เปลี่ยนนามพระอาราม ว่า “วัด
มหาธาตุ”
พ.ศ. 2439 รัชกาลที่ 5 ทรงบริจาคพระราช
ทรัพย์อันเป็นส่วนของสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช
เจ้าฟ้ามหาวชิรุณหิศ สยามมกุฎราชกุมาร ซึ่ง
สวรรคตเมื่อปี พ.ศ. 2437 อุทิศพระราชทานให้
ปฏิสังขรณ์พระอารามจนสาเร็จ และโปรดให้เพิ่ม
สร้อยต่อนามพระอารามเฉลิมพระเกียรติยศสมเด็จ
พระบรมโอรสาธิราชว่า “วัดมหาธาตุ ยุวราช
รังสฤษดิ์”
INTRODUCTION TO
THAI ARCHITECTURE
๒. พระราชวังบวรสถานมงคล (วังหน้า)
๒.๕ วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์ราชวรมหาวิหาร
๓
INTRODUCTION TO
THAI ARCHITECTURE
๓
ได้รับการบูรณปฏิสังขรณ์โดยสมเด็จ
พระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาท ผู้ดารง
ตาแหน่งกรมพระราชวังบวรสถานมงคล
พระองค์แรกของกรุงรัตนโกสินทร์ ทาให้
สถาปัตยกรรมของวัดนี้จึงสร้างตาม
แบบ สกุลช่างวังหน้า ที่ค่อนข้างเรียบง่ายและ
แตกต่างจากสกุลช่างหลวง
ประธานของวัดแห่งนี้คือ “พระมณฑป”
๒. พระราชวังบวรสถานมงคล (วังหน้า)
๒.๕ วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์ราชวรมหาวิหาร
INTRODUCTION TO
THAI ARCHITECTURE
๓
พระมณฑปของ วัด
มหาธาตุฯ ไม่ได้มีหลังคายอด
แหลม ทรงปราสาทเหมือนที่
อื่น ๆ มีสาเหตุมาจาก
ข้อจากัดของศิลปกรรมวัง
หน้า ที่สร้างอาคารยอดแบบ
วังหลวงไม่ได้ ประกอบกับเคย
เกิดเหตุเพลิงไหม้ครั้งหนึ่ง
๒. พระราชวังบวรสถานมงคล (วังหน้า)
๒.๕ วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์ราชวรมหาวิหาร
INTRODUCTION TO
THAI ARCHITECTURE
๓
หน้าบัน เป็นไม้แกะสลักปิดทองประดับ
กระจก ตรงกลางเป็นรูปพระลักษณ์ทรง
หนุมานยืนแท่น ซึ่งเป็นตราพระราช
ลัญจกรของ กรมพระราชวังบวรสถาน
มงคล
๒. พระราชวังบวรสถานมงคล (วังหน้า)
๒.๕ วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์ราชวรมหาวิหาร
INTRODUCTION TO
THAI ARCHITECTURE
๓
พระมณฑป ของวัดมหาธาตุฯ
ไม่ได้มีหลังคายอดแหลมทรงปราสาท
เหมือนที่อื่น ๆ มีสาเหตุมาจาก
ข้อจากัดของศิลปกรรมวังหน้า ที่
สร้างอาคารยอดแบบวังหลวงไม่ได้
ประกอบกับเคยเกิดเหตุเพลิงไหม้ครั้ง
หนึ่ง
พระมณฑป เป็นที่ประดิษฐาน พระ
เจดีย์ทอง พระเจดีย์ทรงเครื่องย่อมุม
ไม้สิบสอง บรรจุพระบรมสารีริกธาตุ
๒. พระราชวังบวรสถานมงคล (วังหน้า)
๒.๕ วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์ราชวรมหาวิหาร
INTRODUCTION TO
THAI ARCHITECTURE
๓
พระอุโบสถ หน้าบันเป็นไม้แกะสลักปิดทองประดับกระจกเป็นภาพนารายณ์ทรงครุฑยุดนาค
๒. พระราชวังบวรสถานมงคล (วังหน้า)
๒.๕ วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์ราชวรมหาวิหาร
INTRODUCTION TO
THAI ARCHITECTURE
๓ ๒. พระราชวังบวรสถานมงคล (วังหน้า)
๒.๕ วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์ราชวรมหาวิหาร
INTRODUCTION TO
THAI ARCHITECTURE
๓
พระประธานในพระอุโบสถมีนามว่า พระศรีสรรเพชญ เป็นพระพุทธรูปปางมารวิชัย ก่ออิฐถือปูนลงรักปิดทอง รอบองค์พระ
ประดิษฐานรูปพระอรหัน 8 ทิศ 8 องค์ นั่งประนมมือ ฟังพระธรรมเทศนาจากพระพุทธเจ้า
๒. พระราชวังบวรสถานมงคล (วังหน้า)
๒.๕ วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์ราชวรมหาวิหาร
INTRODUCTION TO
THAI ARCHITECTURE
๓
หน้าบันพระวิหาร เป็นรูปตราพระราช
สัญลักษณ์ใน สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช
เจ้าฟ้ามหาวชิรุณหิศ สยามมกุฎราชกุมาร
มีอักษรย่อว่า ร.จ.บ.ต.ว.ห.จ. (เราจะบารุง
ตระกูลวงศ์ให้เจริญ)
๒. พระราชวังบวรสถานมงคล (วังหน้า)
๒.๕ วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์ราชวรมหาวิหาร
INTRODUCTION TO
THAI ARCHITECTURE
๓
ระเบียงคต
๒. พระราชวังบวรสถานมงคล (วังหน้า)
๒.๕ วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์ราชวรมหาวิหาร
๓. พระราชวังเดิม (พระราชวังกรุงธนบุรี)
๓
INTRODUCTION TO
THAI ARCHITECTURE
“ท้องพระโรง” อาคารเดียวภายใน
พระราชวัง ที่หลงเหลือจากสมัย
สมเด็จพระเจ้าตากสินฯ
๓
INTRODUCTION TO
THAI ARCHITECTURE
ท้องพระโรง สร้างขึ้นราวปี พ.ศ. 2310
พร้อมกับการสร้างพระราชวังกรุงธนบุรี
และการสถาปนากรุงธนบุรีเป็นราชธานี
ประกอบด้วยพระที่นั่งสององค์เชื่อมต่อ
กันคือ
พระที่นั่งองค์ทิศเหนือ เรียกว่า "ท้องพระ
โรง" หรือ "วินิจฉัย" ใช้เป็นที่ออกขุนนาง
พื้นที่ตรงกลางท้องพระโรงมีเสา 2 แถว
แถวละ 8 ต้น เรียกว่า "ในประธาน"
พระที่นั่งองค์ทิศใต้หรือที่เรียกว่า "พระที่
นั่งขวาง" เป็นส่วนราชมณเฑียรอันเป็นที่
ประทับส่วนพระองค์ของพระมหากษัตริย์
๓. พระราชวังเดิม (พระราชวังกรุงธนบุรี)
๓
INTRODUCTION TO
THAI ARCHITECTURE
๓. พระราชวังเดิม (พระราชวังกรุงธนบุรี)
๓
INTRODUCTION TO
THAI ARCHITECTURE
ภายในส่วนพระที่นั่งองค์ใต้ หรือส่วนที่เป็นห้องของท้องพระโรง
จะเห็นโต๊ะเก้าอี้ที่จัดไว้รับแขกของกองทัพเรือ
๓. พระราชวังเดิม (พระราชวังกรุงธนบุรี)
๓
INTRODUCTION TO
THAI ARCHITECTURE
ตาหนักเก๋งคู่หลังใหญ่และตาหนักเก๋งคู่หลังเล็ก เก๋งคู่หลังเล็กสร้างขึ้นในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
๓. พระราชวังเดิม (พระราชวังกรุงธนบุรี)
๓
INTRODUCTION TO
THAI ARCHITECTURE
ศาลศีรษะวาฬ จัดแสดง
กระดูกศีรษะวาฬซึ่งพบโดย
บังเอิญใต้ถุนศาลสมเด็จพระ
เจ้าตากสินมหาราช
๓. พระราชวังเดิม (พระราชวังกรุงธนบุรี)
๓
INTRODUCTION TO
THAI ARCHITECTURE
ศาลสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
๓. พระราชวังเดิม (พระราชวังกรุงธนบุรี)
๔. ศาลหลักเมือง
๓
INTRODUCTION TO
THAI ARCHITECTURE
ชาติ
สร้างขึ้นมาพร้อมกับการสถาปนากรุง
รัตนโกสินทร์เป็นราชธานี ตามธรรมเนียมพิธี
พราหมณ์ว่า ก่อนที่จะสร้างเมืองจะต้องทาพิธี
ยกเสาหลักเมืองในที่อันเป็นชัยภูมิสาคัญ เพื่อ
เป็นสิริมงคลแก่บ้านเมือง
รูปแบบสถาปัตยกรรมอาคาร “ศาลหลักเมือง”
กรุงเทพมหานคร ที่ปรากฏในปัจจุบัน เป็น
อาคารหลังหนึ่งที่ “ในหลวงรัชกาลที่ 9” ทรงมี
พระบรมราชวินิจฉัยแก้ไขปรับปรุงรูปแบบ
ระหว่างการออกแบบ และทรงมีพระราชดารัสถึง
การเลือกใช้วัสดุตกแต่งหลังคาและปรางค์ส่วน
ยอดแบบพอเพียง
๓
INTRODUCTION TO
THAI ARCHITECTURE
ชาติ
อาคารหลังนี้ สร้างขึ้นภายหลังการ
ฉลองกรุงรัตนโกสินทร์ ครบรอบ
200 ปีในปีพ.ศ.2525 ซึ่ง นาวา
อากาศเอกอาวุธ เงินชูกลิ่น
รูปแบบเป็นอาคารเครื่องปูน ทรงยอด
ปรางค์ มีมุขยื่นทั้ง 4 ด้าน แต่ละด้าน
มีหลังคาซ้อน 2 ชั้น และมีมุขลดอีก
ด้านละ 1 ชั้น มีหลังคากันสาด
โดยรอบ เครื่องมุงประดับกระเบื้อง
เคลือบ
๔. ศาลหลักเมือง
๓
INTRODUCTION TO
THAI ARCHITECTURE
ชาติ
วัสดุที่ใช้ทาหลังคาคือกระเบื้องดินเผาเคลือบสีด่อน
(สีเทาอ่อน) หน้าบันของมุขที่ยื่นต่อออกมา
ช่อฟ้า ใบระกา หางหงส์ ซึ่งทาจากกระเบื้องเคลือบ
สี โดยช่อฟ้ามีลักษณะเป็นหัวนกเจ่า และใบระกาทา
เป็นลายช่อหางโต ส่วนปลายขอบของหลังคา
ประดับหัวนกเจ่าทาจากกระเบื้องเคลือบสี
๔. ศาลหลักเมือง
๓
INTRODUCTION TO
THAI ARCHITECTURE
ชาติ
หน้าบันของหลังคาชั้นถัดมาเป็นลวดลายเถาดอกพุดตาน มีสีแดง ม่วง น้าเงิน
เหลือง ส่วนที่มีลักษณะคล้ายใบไม้เป็นสีเขียว พื้นหลังของหน้าบันทั้งสอง
ประดับด้วยกระเบื้องสีเหลืองที่มีลักษณะคล้ายดอกไม้
๔. ศาลหลักเมือง
๓
INTRODUCTION TO
THAI ARCHITECTURE
ชาติ
๔. ศาลหลักเมือง
๓
INTRODUCTION TO
THAI ARCHITECTURE
ชาติ
๔. ศาลหลักเมือง
เขียนแบบขยาย หัวเสา
งานที่ ๒
INTRODUCTION TO
THAI ARCHITECTURE
บัวโถ กาบพรหมศร
กระจังปฏิญาณ/
กระจังรวน
บัวจงกล
งานที่ ๒
INTRODUCTION TO
THAI ARCHITECTURE
บัวปลายเสา
หน้าอุโบสถ วัดเบจมบพิตร
เขียนแบบขยาย คันทวย
งานที่ ๒
INTRODUCTION TO
THAI ARCHITECTURE
ทวยหน้าบรรพจักรี
ภาพร่างรูปทวยหงส์ฝีพระหัตถ์สมเด็จฯ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ที่ประทานแก่
พระพรหมพิจิตรเพื่อให้นาไปเขียนขยายแบบ มีลายพระหัตถ์กากับการขยายแบบว่า
“ทวยหน้าบรรพจักรี จงพยายามผูกให้เปนลายมากกว่าให้เปนตัวนกจริง ๆ”
งานที่ ๒
INTRODUCTION TO
THAI ARCHITECTURE

More Related Content

What's hot

บทที่ 6 การจัดการศึกษาปฐมวัยในปัจจุบัน 55
บทที่ 6 การจัดการศึกษาปฐมวัยในปัจจุบัน 55บทที่ 6 การจัดการศึกษาปฐมวัยในปัจจุบัน 55
บทที่ 6 การจัดการศึกษาปฐมวัยในปัจจุบัน 55Decode Ac
 
โครงงาน น้ำตะไคร้เพื่อสุขภาพ
โครงงาน น้ำตะไคร้เพื่อสุขภาพโครงงาน น้ำตะไคร้เพื่อสุขภาพ
โครงงาน น้ำตะไคร้เพื่อสุขภาพกก กอล์ฟ
 
ประวัติศาสตร์กรุงรัตนโกสินทร์ ม.3
ประวัติศาสตร์กรุงรัตนโกสินทร์ ม.3ประวัติศาสตร์กรุงรัตนโกสินทร์ ม.3
ประวัติศาสตร์กรุงรัตนโกสินทร์ ม.3Oae Butrawong Skr
 
สื่อการสอน เรื่อง งานประดิษฐ์
สื่อการสอน เรื่อง งานประดิษฐ์สื่อการสอน เรื่อง งานประดิษฐ์
สื่อการสอน เรื่อง งานประดิษฐ์Beerza Kub
 
ศิลปะพระพุทธรูปสมัยอยุธยา
ศิลปะพระพุทธรูปสมัยอยุธยาศิลปะพระพุทธรูปสมัยอยุธยา
ศิลปะพระพุทธรูปสมัยอยุธยาPadvee Academy
 
ศิลปะไทย
ศิลปะไทยศิลปะไทย
ศิลปะไทยTonkao Limsila
 
บทที่ 5 ประวัติความเป็นมาการจัดการศึกาปฐมวัยในประเทศไทย 55
บทที่ 5 ประวัติความเป็นมาการจัดการศึกาปฐมวัยในประเทศไทย 55บทที่ 5 ประวัติความเป็นมาการจัดการศึกาปฐมวัยในประเทศไทย 55
บทที่ 5 ประวัติความเป็นมาการจัดการศึกาปฐมวัยในประเทศไทย 55Decode Ac
 
Is2 การสื่อสารและการนำเสนอ กลุ่ม1
Is2  การสื่อสารและการนำเสนอ  กลุ่ม1Is2  การสื่อสารและการนำเสนอ  กลุ่ม1
Is2 การสื่อสารและการนำเสนอ กลุ่ม1พัน พัน
 
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัด
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัดโครงการจิตอาสาพัฒนาวัด
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัดพัน พัน
 
ความหมายของสตอรี่บอร์ด
ความหมายของสตอรี่บอร์ดความหมายของสตอรี่บอร์ด
ความหมายของสตอรี่บอร์ดrungtip boontiengtam
 
ศิลปะก่อนประวัติศาสตร์
ศิลปะก่อนประวัติศาสตร์ศิลปะก่อนประวัติศาสตร์
ศิลปะก่อนประวัติศาสตร์พัน พัน
 
012 ancient chinese wooden architecture นิลลดา
012 ancient chinese wooden architecture นิลลดา012 ancient chinese wooden architecture นิลลดา
012 ancient chinese wooden architecture นิลลดาAniwat Suyata
 
โครงงานวาฟเฟิลสมุนไพร
โครงงานวาฟเฟิลสมุนไพรโครงงานวาฟเฟิลสมุนไพร
โครงงานวาฟเฟิลสมุนไพรnokyoong47
 
Key of 5 การสถาปนาธนบุรี
Key of 5 การสถาปนาธนบุรีKey of 5 การสถาปนาธนบุรี
Key of 5 การสถาปนาธนบุรีPracha Wongsrida
 
รูปเล่มรายงาน
รูปเล่มรายงานรูปเล่มรายงาน
รูปเล่มรายงานZnackiie Rn
 
คำศัพท์ทางทัศนศิลป์สำหรับใช้บรรยายผลงานทางทัศนศิลป์
คำศัพท์ทางทัศนศิลป์สำหรับใช้บรรยายผลงานทางทัศนศิลป์คำศัพท์ทางทัศนศิลป์สำหรับใช้บรรยายผลงานทางทัศนศิลป์
คำศัพท์ทางทัศนศิลป์สำหรับใช้บรรยายผลงานทางทัศนศิลป์พัน พัน
 

What's hot (20)

บทที่ 6 การจัดการศึกษาปฐมวัยในปัจจุบัน 55
บทที่ 6 การจัดการศึกษาปฐมวัยในปัจจุบัน 55บทที่ 6 การจัดการศึกษาปฐมวัยในปัจจุบัน 55
บทที่ 6 การจัดการศึกษาปฐมวัยในปัจจุบัน 55
 
หน้าปกคำนำสารบัญ
หน้าปกคำนำสารบัญหน้าปกคำนำสารบัญ
หน้าปกคำนำสารบัญ
 
โครงงาน น้ำตะไคร้เพื่อสุขภาพ
โครงงาน น้ำตะไคร้เพื่อสุขภาพโครงงาน น้ำตะไคร้เพื่อสุขภาพ
โครงงาน น้ำตะไคร้เพื่อสุขภาพ
 
ประวัติศาสตร์กรุงรัตนโกสินทร์ ม.3
ประวัติศาสตร์กรุงรัตนโกสินทร์ ม.3ประวัติศาสตร์กรุงรัตนโกสินทร์ ม.3
ประวัติศาสตร์กรุงรัตนโกสินทร์ ม.3
 
พระมหาธรรมราชาที่ 1
พระมหาธรรมราชาที่ 1พระมหาธรรมราชาที่ 1
พระมหาธรรมราชาที่ 1
 
สื่อการสอน เรื่อง งานประดิษฐ์
สื่อการสอน เรื่อง งานประดิษฐ์สื่อการสอน เรื่อง งานประดิษฐ์
สื่อการสอน เรื่อง งานประดิษฐ์
 
ศิลปะพระพุทธรูปสมัยอยุธยา
ศิลปะพระพุทธรูปสมัยอยุธยาศิลปะพระพุทธรูปสมัยอยุธยา
ศิลปะพระพุทธรูปสมัยอยุธยา
 
ศิลปะไทย
ศิลปะไทยศิลปะไทย
ศิลปะไทย
 
บทที่ 5 ประวัติความเป็นมาการจัดการศึกาปฐมวัยในประเทศไทย 55
บทที่ 5 ประวัติความเป็นมาการจัดการศึกาปฐมวัยในประเทศไทย 55บทที่ 5 ประวัติความเป็นมาการจัดการศึกาปฐมวัยในประเทศไทย 55
บทที่ 5 ประวัติความเป็นมาการจัดการศึกาปฐมวัยในประเทศไทย 55
 
Is2 การสื่อสารและการนำเสนอ กลุ่ม1
Is2  การสื่อสารและการนำเสนอ  กลุ่ม1Is2  การสื่อสารและการนำเสนอ  กลุ่ม1
Is2 การสื่อสารและการนำเสนอ กลุ่ม1
 
สื่อผังมโนทัศน์
สื่อผังมโนทัศน์สื่อผังมโนทัศน์
สื่อผังมโนทัศน์
 
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัด
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัดโครงการจิตอาสาพัฒนาวัด
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัด
 
ความหมายของสตอรี่บอร์ด
ความหมายของสตอรี่บอร์ดความหมายของสตอรี่บอร์ด
ความหมายของสตอรี่บอร์ด
 
ศิลปะก่อนประวัติศาสตร์
ศิลปะก่อนประวัติศาสตร์ศิลปะก่อนประวัติศาสตร์
ศิลปะก่อนประวัติศาสตร์
 
012 ancient chinese wooden architecture นิลลดา
012 ancient chinese wooden architecture นิลลดา012 ancient chinese wooden architecture นิลลดา
012 ancient chinese wooden architecture นิลลดา
 
โครงงานวาฟเฟิลสมุนไพร
โครงงานวาฟเฟิลสมุนไพรโครงงานวาฟเฟิลสมุนไพร
โครงงานวาฟเฟิลสมุนไพร
 
Key of 5 การสถาปนาธนบุรี
Key of 5 การสถาปนาธนบุรีKey of 5 การสถาปนาธนบุรี
Key of 5 การสถาปนาธนบุรี
 
รูปเล่มรายงาน
รูปเล่มรายงานรูปเล่มรายงาน
รูปเล่มรายงาน
 
คำศัพท์ทางทัศนศิลป์สำหรับใช้บรรยายผลงานทางทัศนศิลป์
คำศัพท์ทางทัศนศิลป์สำหรับใช้บรรยายผลงานทางทัศนศิลป์คำศัพท์ทางทัศนศิลป์สำหรับใช้บรรยายผลงานทางทัศนศิลป์
คำศัพท์ทางทัศนศิลป์สำหรับใช้บรรยายผลงานทางทัศนศิลป์
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 

Similar to สถาปัตยกรรมไทยที่เกี่ยวเนื่องกับพระมหากษัตริย์

วัดในบางกอก ของ ม.3/3 กลุ่มที่ 1
วัดในบางกอก ของ ม.3/3 กลุ่มที่ 1วัดในบางกอก ของ ม.3/3 กลุ่มที่ 1
วัดในบางกอก ของ ม.3/3 กลุ่มที่ 1Junior'z Pimmada Saelim
 
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนครพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนครPRINTT
 
พระราชวังเดิม
พระราชวังเดิมพระราชวังเดิม
พระราชวังเดิมPRINTT
 
วัดในบางกอก ม.3/3 กลุ่มที่ 1
วัดในบางกอก ม.3/3 กลุ่มที่ 1  วัดในบางกอก ม.3/3 กลุ่มที่ 1
วัดในบางกอก ม.3/3 กลุ่มที่ 1 Junior'z Pimmada Saelim
 
วัดพระแก้ว วัดแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ (ย่อ)
วัดพระแก้ว วัดแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ (ย่อ)วัดพระแก้ว วัดแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ (ย่อ)
วัดพระแก้ว วัดแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ (ย่อ)sungetbackers
 
งานหนังสือเล่มเล็ก คอม2003
งานหนังสือเล่มเล็ก คอม2003งานหนังสือเล่มเล็ก คอม2003
งานหนังสือเล่มเล็ก คอม2003Natti_kim
 
วัดอรุณราชวราราม ราชวรมหาวิหาร
วัดอรุณราชวราราม ราชวรมหาวิหารวัดอรุณราชวราราม ราชวรมหาวิหาร
วัดอรุณราชวราราม ราชวรมหาวิหารPRINTT
 
วัดอรุณราชวราราม ราชวรมหาวิหาร
วัดอรุณราชวราราม ราชวรมหาวิหารวัดอรุณราชวราราม ราชวรมหาวิหาร
วัดอรุณราชวราราม ราชวรมหาวิหารzubasa_potato
 
พิพิธภัณฑ์ในบางกอก
พิพิธภัณฑ์ในบางกอกพิพิธภัณฑ์ในบางกอก
พิพิธภัณฑ์ในบางกอกTony Axe
 
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
ภูมิปัญญาบางกอก
ภูมิปัญญาบางกอกภูมิปัญญาบางกอก
ภูมิปัญญาบางกอกMakuro DarkSoul
 
ภูมิปัญญาบางกอก
ภูมิปัญญาบางกอกภูมิปัญญาบางกอก
ภูมิปัญญาบางกอกMakuro DarkSoul
 
หัวข้อที่ ๕ ประวัติศาสตร์ไทยก่อนสมัยสุโขทัย
หัวข้อที่ ๕  ประวัติศาสตร์ไทยก่อนสมัยสุโขทัยหัวข้อที่ ๕  ประวัติศาสตร์ไทยก่อนสมัยสุโขทัย
หัวข้อที่ ๕ ประวัติศาสตร์ไทยก่อนสมัยสุโขทัยchakaew4524
 
ประวัติองค์พระปฐมเจดีย์
ประวัติองค์พระปฐมเจดีย์ประวัติองค์พระปฐมเจดีย์
ประวัติองค์พระปฐมเจดีย์A'mp Minoz
 

Similar to สถาปัตยกรรมไทยที่เกี่ยวเนื่องกับพระมหากษัตริย์ (20)

วัด
วัดวัด
วัด
 
วัดในบางกอก ของ ม.3/3 กลุ่มที่ 1
วัดในบางกอก ของ ม.3/3 กลุ่มที่ 1วัดในบางกอก ของ ม.3/3 กลุ่มที่ 1
วัดในบางกอก ของ ม.3/3 กลุ่มที่ 1
 
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนครพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร
 
พระราชวังเดิม
พระราชวังเดิมพระราชวังเดิม
พระราชวังเดิม
 
วัดในบางกอก ม.3/3 กลุ่มที่ 1
วัดในบางกอก ม.3/3 กลุ่มที่ 1  วัดในบางกอก ม.3/3 กลุ่มที่ 1
วัดในบางกอก ม.3/3 กลุ่มที่ 1
 
วัดพระแก้ว วัดแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ (ย่อ)
วัดพระแก้ว วัดแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ (ย่อ)วัดพระแก้ว วัดแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ (ย่อ)
วัดพระแก้ว วัดแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ (ย่อ)
 
งานหนังสือเล่มเล็ก คอม2003
งานหนังสือเล่มเล็ก คอม2003งานหนังสือเล่มเล็ก คอม2003
งานหนังสือเล่มเล็ก คอม2003
 
วัดอรุณราชวราราม ราชวรมหาวิหาร
วัดอรุณราชวราราม ราชวรมหาวิหารวัดอรุณราชวราราม ราชวรมหาวิหาร
วัดอรุณราชวราราม ราชวรมหาวิหาร
 
วัดอรุณราชวราราม ราชวรมหาวิหาร
วัดอรุณราชวราราม ราชวรมหาวิหารวัดอรุณราชวราราม ราชวรมหาวิหาร
วัดอรุณราชวราราม ราชวรมหาวิหาร
 
Wat pho part01
Wat pho part01Wat pho part01
Wat pho part01
 
พิพิธภัณฑ์ในบางกอก
พิพิธภัณฑ์ในบางกอกพิพิธภัณฑ์ในบางกอก
พิพิธภัณฑ์ในบางกอก
 
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
 
ภูมิปัญญาบางกอก
ภูมิปัญญาบางกอกภูมิปัญญาบางกอก
ภูมิปัญญาบางกอก
 
ภูมิปัญญาบางกอก
ภูมิปัญญาบางกอกภูมิปัญญาบางกอก
ภูมิปัญญาบางกอก
 
หัวข้อที่ ๕ ประวัติศาสตร์ไทยก่อนสมัยสุโขทัย
หัวข้อที่ ๕  ประวัติศาสตร์ไทยก่อนสมัยสุโขทัยหัวข้อที่ ๕  ประวัติศาสตร์ไทยก่อนสมัยสุโขทัย
หัวข้อที่ ๕ ประวัติศาสตร์ไทยก่อนสมัยสุโขทัย
 
เล่มเล็ก
เล่มเล็กเล่มเล็ก
เล่มเล็ก
 
ประวัติองค์พระปฐมเจดีย์
ประวัติองค์พระปฐมเจดีย์ประวัติองค์พระปฐมเจดีย์
ประวัติองค์พระปฐมเจดีย์
 
Bangkok
BangkokBangkok
Bangkok
 
Bangkok
BangkokBangkok
Bangkok
 
Bangkok
BangkokBangkok
Bangkok
 

สถาปัตยกรรมไทยที่เกี่ยวเนื่องกับพระมหากษัตริย์