SlideShare a Scribd company logo
1 of 22
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับศาสนา
อาจจะกล่าวได้ว่าในประวัติศาสตร์ของมวลมนุษยชาติไม่มียุคสมัยใดและไม่มีเผ่าใดเลยที่ไม่นับถือศาสนา
ซึ่งในสังคมปัจจุบันนี้มีประเทศต่างๆในโลกมากกว่า 190ประเทศและมีประชากรมากกว่า 6,000ล้านคน
ต่างก็นับถือศาสนาด้วยกันแทบทั้งสิ้น
ศาสนาจึงมีอิทธิพลและแพร่หลายไปทั่วในสังคมมนุษย์ทุกยุคทุกสมัยตั้งแต่สังคมปฐมภูมิเก่าแก่ที่สุดจนถึงยุคปัจจุบัน
ศาสนาจึงเป็นคาที่มนุษย์คุ้นเคยได้ยินมานานและมีความหมายมากที่สุดยิ่งใหญ่ที่สุด
อีกทั้งมีความสาคัญต่อวิถีชีวิตของมนุษย์มากที่สุดด้วย
ดังนั้นจึงมีความจาเป็นและสาคัญอย่างยิ่งที่เราควรจะต้องศึกษาให้เข้าใจถึงภูมิหลังของศาสนาต่างๆ
ที่มีมนุษย์นับถือกันอยู่ทั่วโลก
1.1 ความหมายของศาสนา
คาว่าศาสนานักปราชญ์ได้นิยามความหมายของศาสนาไว้แตกต่างกันอยู่มากจึงขอนาเสนอความหมายที่ควรทราบดังนี้
1.1.1 ความหมายตามรูปศัพท์เดิม
1.1.1 ความหมายตามรูปศัพท์เดิม1)
ในภาษาสันสกฤตคือศาสนและตรงกับในภาษาบาลีว่าสาสนแปลว่าคาสั่งสอน
คาสอนหรือการปกครองซึ่งมีความหมายเป็นลาดับได้แก่
1) คาสั่งสอนแยกได้เป็นคาสั่งหมายถึงข้อห้ามทาความชั่วเรียกว่าศีลหรือวินัย คาสอนหมายถึงคาแนะนาให้ทาความดี
ที่เรียกว่าธรรมเมื่อรวมคาสั่งและคาสอนจึงหมายถึงศีลธรรมหรือศีลกับธรรมนั่นคือมีทั้งข้อห้ามทาความชั่ว
และแนะนาให้ทาความดีซึ่งคาสั่งสอนต้องมีองค์ประกอบคือ
1. กล่าวถึงความเชื่อในอานาจของสิ่งที่มิอาจมองเห็นได้ด้วยตาเช่น
ก.ศาสนาอิสลามและศาสนาคริสต์เชื่อในอานาจแห่งพระเจ้า
ข.ศาสนาพุทธเชื่ออานาจแห่งกรรม
ค.ศาสนาพราหมณ์-ฮินดูเชื่ออานาจแห่งเทพเจ้า
2. มีหลักศีลธรรมเช่นสอนให้ละความชั่วสร้างความดีและทาจิตใจให้บริสุทธิ์เป็นต้น
3. มีจุดหมายสูงสุดในชีวิตเช่นนิพพานในศาสนาพุทธชีวิตนิรันดรในศาสนาคริสต์และศาสนาอิสลาม
4. มีพิธีกรรมเช่น
ก.พิธีบรรพชาและพิธีอุปสมบทในศาสนาพุทธ
ข.พิธีรับศีลล้างบาปศีลมหาสนิทและศีลพลังในศาสนาคริสต์
ค.พิธีละหมาดพิธีเคารพพระเจ้าในศาสนาอิสลาม
5. มีความเข้มงวดกวดขันในเรื่องความจงรักภักดี
2) การปกครองหมายถึงการปกครองจิตใจของตนเองควบคุมดูแลตนเองกล่าวตักเตือนตนเองอยู่เสมอ
และรับผิดชอบการกระทาทุกอย่างของตนบุคคลผู้สามารถปกครองจิตใจของตนได้
ย่อมจะไม่ทาความชั่วทั้งในที่ลับและที่แจ้ง
1.1.2 ความหมายตามรูปศัพท์ในภาษาอังกฤษ
ความหมายตามรูปศัพท์ในภาษาอังกฤษ2)
ความหมายตามรูปศัพท์ในภาษาอังกฤษ1คือReligion มาจากภาษาละตินว่า
Religare มีความหมายเป็นภาษาอังกฤษว่า Tobind fast (ยึดถือ/ผูกพันอย่างแน่นแฟ้ น)กล่าวคือ
ผูกพันอย่างเหนียวแน่นต่อพระผู้เป็นเจ้า(God)หรือพระผู้สร้าง(Creator)และอีกศัพท์หนึ่งว่าRelegere แปลว่าการปฏิบัติต่อ
หรือการเกี่ยวข้องด้วยความระมัดระวังเป็นการปฏิบัติตนเพื่อแสดงความเลื่อมใสหรือเกรงกลัวอานาจเหนือตน
ซึ่งในความหมายของชาวตะวันตก3)
ตลอดทั้งผู้นับถือศาสนาประเภทเทวนิยมจะเข้าใจศาสนาในลักษณะที่ว่า
1. มีความเชื่อว่าพระเจ้าเป็นผู้สร้างโลกสร้างสรรพสิ่งและสรรพสัตว์ทั้งหลาย
2. มีความเชื่อว่าหลักคาสั่งสอนต่างๆมาจากพระเจ้า
ทั้งศีลธรรมจรรยาและกฎหมายในสังคมเป็นสิ่งที่พระเจ้าทรงกาหนดขึ้น
3. มีหลักความเชื่อบางอย่างเป็นอจินไตยคือเชื่อไปตามคาสอนโดยไม่คานึงถึงข้อพิสูจน์ตามหลักวิทยาศาสตร์
แต่อาศัยเทวานุภาพของเทพเจ้าผู้อยู่เหนือตนเป็นเกณฑ์
4. มีหลักการมอบตนคือมอบการกระทาของตนและอื่นใดที่เกี่ยวข้องกับตนให้พระเจ้าด้วยความจงรักภักดี
ส่วนคาว่าศาสนาตามความหมายของชาวตะวันออก4)
โดยเฉพาะทางศาสนาพุทธหมายถึงคาสั่งสอนของท่านผู้รู้ คาสั่ง
คือ วินัยคาสอนคือธรรมหรือธรรมะรวมเรียกว่าธรรมวินัยซึ่งมีลักษณะตรงกันข้ามกับคาว่า ReligionŽ
ของทางสังคมตะวันตกคือ
1. ไม่มีหลักความเชื่อว่าพระเจ้าเป็นผู้สร้างโลกแต่มีหลักความเชื่อว่ากรรมเป็นผู้สร้างโลกและสร้างสรรพสิ่ง(กมฺมุนาวตฺตตี
โลโก-สัตวโลกย่อมเป็นไปตามกรรม)
2. ไม่มีหลักความเชื่อว่าคาสอนต่างๆมาจากพระเจ้าแต่มีหลักความเชื่อว่าคาสอนต่างๆผู้รู้ คือพุทธ เป็นผู้สั่งสอน
(สพฺพปาปสฺสอกรณกุสลสฺสูปสมฺปทาสจิตฺตปริโย-ทปนเอต พุทฺธานสาสน-การไม่ทาชั่วทั้งปวงการทาความดีให้ถึงพร้อม
การทาใจให้ผ่องแผ้วนี่คือคาสอนของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า)
3. ไม่มีหลักความเชื่อไปตามคาสอนโดยไม่คานึงถึงข้อพิสูจน์แต่มีหลักให้พิสูจน์คาสอนนั้น(สนฺทิฏฺิโกอกาลิโกเอหิปสฺสิโก
โอปนยิโกปจฺจตฺต เวทิตพฺโพวิญฺญูหิ-อันผู้ปฏิบัติจะพึงเห็นชัดด้วยตัวเองไม่จากัดด้วยกาลควรเรียกให้มาดู
ควรน้อมเข้ามาอันวิญญูชนพึงรู้เฉพาะตน)
4. ไม่มีหลักการยอมมอบตนให้แก่พระเจ้าแต่มีหลักการมอบตนให้แก่ตนเอง(อตฺตาหิ อตฺตโนนาโถ - ตนแล
เป็นที่พึ่งของตน)
ตามที่กล่าวมานี้จะเห็นได้ว่าศาสนาตามความหมายของทางตะวันออกโดยเฉพาะทางศาสนาพุทธกับคาว่า Religion
ตามความหมายของทางตะวันตกย่อมมีลักษณะแตกต่างกันไปตามธรรมชาติของศาสนาในแต่ละประเภท
ศาสนาตามความหมายของทางตะวันออกโดยเฉพาะทางศาสนาพุทธนั้นมีจุดยืนตั้งอยู่บนหลักของเหตุและผล
รวมทั้งเป็นเรื่องของมนุษย์กับธรรมชาติโดยตรงส่วนศาสนาของทางตะวันตก
มีจุดยืนอยู่ที่ศรัทธาหรือความเชื่อในสิ่งนอกเหนือธรรมชาติซึ่งเหตุผลต่างๆย่อมถูกนามาสนับสนุนความเชื่อต่างๆ
โดยไม่ต้องมีการพิสูจน์
1.1.3 ความหมายตามพจนานุกรม
ความหมายตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถานพ.ศ. 25425)
ศาสนาคือลัทธิความเชื่อถือของมนุษย์อันมีหลัก
คือแสดงกาเนิดและความสิ้นสุดของโลกเป็นต้นอันเป็นไปในฝ่ ายปรมัตถ์ประการหนึ่ง
แสดงหลักธรรมเกี่ยวกับบุญบาปอันเป็นไปในฝ่ ายศีลธรรมประการหนึ่ง
พร้อมทั้งลัทธิพิธีที่กระทาตามความเห็นหรือตามคาสั่งสอนในความเชื่อถือนั้นๆ
1.1.4 ในทรรศนะของพระยาอนุมานราชธน
ในทรรศนะของพระยาอนุมานราชธน6)
ให้ความหมายว่าศาสนาคือ
ความเชื่อซึ่งแสดงออกมาให้ปรากฏเห็นเป็นกิริยาอาการของผู้เลื่อมใสว่ามีความเคารพเกรงกลัว
ซึ่งอานาจอันอยู่เหนือโลกหรือพระเจ้าซึ่งบอกให้ผู้เชื่อรู้ได้ด้วยปัญญาความรู้สึกเกิดขึ้นเองโดยสัญชาตญาณ
ว่าต้องมีอยู่เป็นรูปร่างอย่างใดอย่างหนึ่งและต้องเป็นผู้สร้างและเป็นผู้กาหนดวิถีชีวิตของมนุษย์ให้มีอยู่เป็นอยู่
กล่าวกันง่ายๆศาสนาคือการบูชาพระเจ้าผู้ซึ่งมีทิพยอานาจอยู่เหนือธรรมชาติด้วยความเคารพกลัวเกรง
.
1.1.5 ในทรรศนะของหลวงวิจิตรวาทการ
ในทรรศนะของหลวงวิจิตรวาทการ7)
ให้ความหมายว่าศาสนาเป็นเรื่องที่ถือว่ามีความศักดิ์สิทธิ์มีคาสอนทางจรรยา
มีศาสดามีคณะบุคคลที่รักษาความศักดิ์สิทธิ์และคาสอนไว้ เช่นพระหรือนักบวชและมีการกวดขันเรื่องความจงรักภักดี
1.1.6 ในทรรศนะของ Emile Durkheim
ในทรรศนะของ Emile Durkheim8)
ให้ความหมายว่าศาสนาคือระบบรวม
ว่าด้วยความเชื่อและการปฏิบัติเพื่อความสัมพันธ์ในสิ่งศักดิ์สิทธิ์
1.1.7 ในทรรศนะของ A.CBouget
ในทรรศนะของ A.CBouget9)
ให้ความหมายว่าศาสนาหมายถึงความสัมพันธ์อันแนบแน่นระหว่างมนุษย์กับสิ่งที่มิใช่มนุษย์
คือ สิ่งศักดิ์สิทธิ์เหนือธรรมชาติสิ่งที่สามารถดารงอยู่ได้ด้วยตนเองหรือพระเจ้า
แต่สาหรับผู้ที่เกี่ยวข้องกับขบวนการมากกว่าเกี่ยวข้องกับบุคคลศาสนาคือ
หนทางอย่างหนึ่งซึ่งแสดงความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับจุดมุ่งหมายจุดประสงค์ความเชื่อของเขา
จากทรรศนะต่างๆที่กล่าวมาทั้งหมดในตอนต้นนั้นสามารถสรุปให้ครอบคลุม
ความหมายของศาสนาทั้งที่เป็นเทวนิยมและอเทวนิยมได้ว่าศาสนาคือคาสอนที่ศาสดานามาเผยแผ่สั่งสอนแจกแจง
แสดงให้มนุษย์ละเว้นจากความชั่วกระทาแต่ความดีเพื่อประสบสันติสุขในชีวิต
ทั้งในระดับธรรมดาสามัญและความสุขสงบนิรันดร
ซึ่งมนุษย์ยึดถือปฏิบัติตามคาสอนนั้นด้วยความเคารพเลื่อมใสและศรัทธาคาสอนดังกล่าวนี้
จะมีลักษณะเป็นสัจธรรมที่มีอยู่ในธรรมชาติแล้วศาสดาเป็นผู้ค้นพบหรือจะเป็นโองการที่ศาสดารับมาจากพระเจ้าก็ได้
1.2 ลักษณะของศาสนา
จากความหมายของศาสนาที่ได้กล่าวมาแล้วในตอนต้นสรุปลักษณะของศาสนาได้ดังนี้
1. ศาสนาเป็นศูนย์รวมของความเคารพนับถือสูงสุดของมนุษย์
2. ศาสนาเป็นที่ยึดเหนี่ยวเป็นที่พึ่งทางใจ
3. ศาสดาเป็นผู้นาศาสนามาเผยแผ่สั่งสอนแก่มวลมนุษย์
4. ศาสนามีสาระสาคัญอยู่ที่การสอนให้มนุษย์ละเว้นจากความชั่วกระทาแต่ความดี
5. คาสอนในศาสนามีทั้งระดับโลกิยะและระดับโลกุตระ
6. มนุษย์ต้องปฏิบัติตามคาสอนในศาสนาด้วยความเคารพเลื่อมใสและศรัทธา
7. ศาสนาต้องมีพิธีกรรมเพื่อความศักดิ์สิทธิ์และมีสัญลักษณ์อันเป็นเครื่องหมาย
1.3 องค์ประกอบของศาสนา
ศาสนาที่จะเป็นศาสนาอย่างสมบูรณ์ได้ต้องมีองค์ประกอบครบถ้วนตามหลักเกณฑ์ทางวิชาการที่นักการศาสนาจัดไว้
โดยจะต้องมีองค์ประกอบดังต่อไปนี้
1. ศาสดาต้องมีศาสดาเป็นผู้ก่อตั้งศาสนาและศาสดาต้องมีชีวิตอยู่จริงในประวัติศาสตร์ เช่นศาสนายิวมีโมเสสเป็นศาสดา
ศาสนาพุทธมีพระสัมมาสัมพุทธเจ้าเป็นศาสดาศาสนาคริสต์มีพระเยซูเป็นศาสดา
และศาสนาอิสลามมีนบีมุฮัมมัดเป็นศาสดา
2. ศาสนธรรมต้องมีศาสนธรรมคือคาสอนซึ่งเป็นหลักของศาสนา ต้องมีคัมภีร์เป็นที่รวบรวมคาสอนเช่นศาสนาพราหมณ์-
ฮินดู มีคัมภีร์พระเวทศาสนาพุทธมีพระไตรปิฎกศาสนาอิสลามมีคัมภีร์อัลกุรอาน
3. ศาสนพิธีต้องมีพิธีกรรมที่เกี่ยวเนื่องมาจากคาสอนของศาสนาเช่นพิธีสวมสายยัชโญปวีต
หรือสายธุราของศาสนาพราหมณ์-ฮินดูพิธีอุปสมบทของศาสนาพุทธพิธีล้างบาปของศาสนายิวและศาสนาคริสต์
และพิธีฮัจญ์ของศาสนาอิสลาม
4. ปูชนียวัตถุหรือปูชนียสถานทางศาสนาเช่นพระพุทธรูปและสังเวชนียสถานในศาสนาพุทธ
ไม้กางเขนและวิหารเมืองเยรูซาเลมในศาสนาคริสต์รูปของพระคุรุและเมืองอมฤตสระของศาสนาซิกข์
5. ศาสนบุคคลต้องมีคณะบุคคลสืบทอดคาสอนของศาสนาซึ่งเป็นผู้ปฏิบัติตามหลักคาสอนของศาสนาโดยตรงเช่นพระ
นักบวชนักพรตบาทหลวงในศาสนาต่างๆ
6. ศาสนสถานต้องมีศาสนสถานเพื่อประกอบศาสนกิจและศาสนพิธีต่างๆศาสน-สถานของศาสนาพราหมณ์-ฮินดูได้แก่
เทวสถานหรือเทวาลัยของศาสนาพุทธได้แก่ วัดอุโบสถศาลาการเปรียญวิหารของศาสนาคริสต์ได้แก่ โบสถ์ วิหาร
ของศาสนาอิสลามได้แก่ สุเหร่าหรือมัสยิดเป็นต้น
7. ศาสนิกชนต้องมีศาสนิกชนผู้นับถือเลื่อมใสศรัทธาในศาสนานั้นซึ่งศาสนิกชนดังกล่าว
มักเรียกตามชื่อของศาสนาที่ตนนับถือเช่นฮินดูชน พุทธศาสนิกชนคริสต์ศาสนิกชนอิสลามิกชนหรือมุสลิมเป็นต้น
8. การกวดขันเรื่องความภักดีต้องมีการกวดขันเรื่องความภักดีในศาสนาเช่นศาสนาพราหมณ์-
ฮินดูกวดขันเรื่องการดาเนินชีวิตตามหลักอาศรม4ศาสนาพุทธกวดขันเรื่องไตรสรณคมน์
ศาสนาคริสต์กวดขันเรื่องการไปสวดมนต์ที่โบสถ์ในวันอาทิตย์ศาสนาอิสลามกวดขันเรื่องหลักปฏิบัติหรือหน้าที่ในศาสนา
องค์ประกอบทั้ง 8 ประการนี้ในบางศาสนาอาจขาดข้อใดข้อหนึ่งไปแต่ก็ยังถือว่าเป็นศาสนาเช่นศาสนาพราหมณ์-ฮินดู
ขาดองค์ประกอบข้อที่หนึ่ง คือศาสดาไม่ได้มีชีวิตอยู่จริงในประวัติศาสตร์ ศาสนาอิสลามขาดองค์ประกอบข้อ5คือ
ศาสนบุคคลเพราะผู้นับถือศาสนาอิสลามไม่มีการถือเพศเป็นบรรพชิตคงมีแต่เพศฆราวาสเท่านั้น
1.4 วิวัฒนาการของศาสนา
ไม่ว่ายุคสมัยใดมนุษย์ต่างก็ต้องการให้ชีวิตมีความสุขความปลอดภัยและมีชีวิตยืนยาว
จะทาอะไรทุกอย่างก็เพื่อจุดหมายดังกล่าว อันเป็นที่มาของการนับถือศาสนาโดยมีวิวัฒนาการดังนี้
วิญญาณนิยม
มนุษย์สมัยปฐมบรรพ์ยังมีประสบการณ์ชีวิตน้อยยังไม่เจริญด้วยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
จึงคิดและเชื่อไปตามความรู้ของตนเมื่อเห็นสิ่งต่างๆเช่นก้อนหินที่มีลักษณะแปลกๆหรือมีสีสันพิเศษแตกต่างกว่าปกติ
ก็จะคิดว่ามีสิ่งลี้ลับอยู่ภายในจึงทาให้สิ่งนั้นๆแปลกประหลาดไปสิ่งลี้ลับนี้เรียกว่ามนะหรืออานาจที่ไม่มีตัวตน
แต่มีชีวิตจิตใจมีพลังวิเศษที่จะบันดาลให้คุณหรือโทษแก่มนุษย์ได้ จึงเกิดการเคารพนับถือมนะขึ้นมา
ระยะนี้เรียกว่าสมัยมนะต่อมาจึงเกิดหมอผี(Shaman)
ซึ่งเป็นบุคคลที่จะอัญเชิญพลังวิเศษของมนะออกมาใช้ตามจุดประสงค์ต่างๆ
ยุคที่หมอผีมีความสาคัญนี้เรียกว่า สมัยมายาต่อมามนุษย์ได้พยายามทาความเข้าใจในเรื่องมนะให้มากขึ้น
ก็เกิดความเข้าใจว่ามนะก็คือวิญญาณนั่นเองซึ่งวิญญาณนี้สิงสถิตอยู่ในที่ทั่วไป
ไม่จาเป็นต้องมีอยู่ในสิ่งแปลกประหลาดเท่านั้นอาจสิงอยู่ในตัวสัตว์ในต้นไม้ ภูเขาและทะเลก็ได้
จึงเกิดการนับถือสัตว์ที่ตนคิดว่าน่าจะมีวิญญาณสิงสถิตอยู่เช่นนับถือจระเข้ เต่าแมว สิงโต เป็นต้น
ทั้งยังนาสัตว์หรือสิ่งที่ตนเคารพมาเป็นที่เคารพของเผ่าจนกลายเป็นสัญลักษณ์ประจาเผ่าต่างๆ
ชาวพื้นเมืองบางเผ่าของประเทศนิวซีแลนด์ได้แกะสลักรูปคนนั่งซ้อนกันหรือที่เรียกว่ารูปเคารพติกิ
การนาสัตว์หรือรูปแกะสลักมาเป็นสัญลักษณ์ประจาเผ่าเรียกว่ารูปเคารพประจาเผ่า(Totemism)
ธรรมชาติเทวนิยม
ต่อมามนุษย์พยายามทาความเข้าใจในเรื่องวิญญาณให้ชัดเจนขึ้นไปอีกก็ได้มีความเข้าใจ
ว่าวิญญาณมีความศักดิ์สิทธิ์วิเศษเกินกว่าวิสัยของมนุษย์จึงเรียกวิญญาณว่าเทวดาหรือเทพเจ้า
ซึ่งเทพเจ้าเหล่านี้สิงสถิตอยู่ในธรรมชาติทั่วไปจึงเกิดการเรียกว่าพระอาทิตย์พระจันทร์ พระวรุณพระอัคนีและพระคงคา
ฯลฯเช่นในศาสนากรีกโบราณและศาสนาพราหมณ์ เป็นต้นนอกจากนี้ยังนับถือผู้ที่ตนเคารพเช่นบิดามารดาบรรพบุรุษ
พระมหากษัตริย์และวีรบุรุษฯลฯว่าเมื่อตายไปแล้วก็จะกลายเป็นเทพเจ้าสิงสถิตอยู่ในที่ทั่วไปเช่นบ้านเรือนเป็นต้น
ที่เรียกกันว่าเจ้าที่เจ้าทางหรือผีบ้านผีเรือน
เทวนิยม
ในสมัยต่อมามนุษย์บางพวกเกิดความคิดว่าเทพเจ้าต่างๆน่าจะมีฐานะสูงต่าลดหลั่นอย่างมนุษย์
ทั้งน่าจะมีเทพเจ้าสูงสุดเหนือกว่าเทพเจ้าทั้งหลายดุจพระราชาเป็นใหญ่กว่าปวงประชาพระองค์ทรงมีอานาจสูงสุดเช่น
ทรงสร้างโลกและสรรพสิ่งตลอดทั้งกาหนดชะตากรรมของมนุษย์ดูแลความเป็นไปของโลกพวกที่มีความเชื่อดังกล่าว
ยังมีความคิดแตกต่างกันไปอีกบางคนมีความเห็นว่าเทพเจ้าสูงสุดมีหลายองค์เช่นศาสนาพราหมณ์ ก็เรียกว่าพหุเทวนิยม
บางคนมีความเห็นว่าเทพเจ้าสูงสุดมี2องค์ คอยทัดทานอานาจกันฝ่ ายหนึ่งสร้างแต่สิ่งที่ดีแต่อีกฝ่ ายหนึ่งสร้างแต่สิ่งไม่ดี
ดังที่มีสิ่งคู่กันอยู่ในโลกเช่นศาสนาโซโรอัสเตอร์ ก็เรียกว่าทวิเทวนิยมและบางคนมีความเห็นว่า
เทพเจ้าสูงสุดหรือพระเจ้ามีเพียงองค์เดียวเท่านั้นเช่นพระเจ้าในศาสนาคริสต์และศาสนาอิสลามก็เรียกว่าเอกเทวนิยม
อเทวนิยม
กาลต่อมามนุษย์บางคนมีความเห็นว่าพระเจ้าสูงสุดดังที่เชื่อกันนั้นไม่มีเป็นเพียงมนุษย์คิดกันขึ้นมาเอง
เห็นได้จากการที่คุณลักษณะต่างๆของเทพเจ้าเปลี่ยนแปลงไปเรื่อยๆและเพิ่มมากขึ้นทุกทีทั้งนี้ก็เพราะมนุษย์เป็นต้นเหตุ
แล้วก็หลงเคารพนับถือในสิ่งที่ตนสร้างขึ้นมาความจริงทุกสิ่งทุกอย่างเป็นไปตามเหตุปัจจัย
จะเกิดขึ้นได้ก็เพราะเหตุปัจจัยหลายอย่างประกอบกันขึ้นมาดารงอยู่ไม่ได้ด้วยตัวเองสาหรับมนุษย์แล้ว
กรรมหรือการกระทาของมนุษย์ต่างหากที่สาคัญที่สุดสามารถดลบันดาลชีวิตให้เป็นไปอย่างไรก็ได้ ความเชื่ออย่างนี้เรียกว่า
อเทวนิยม
1.5 มูลเหตุการเกิดของศาสนา
มูลเหตุที่ทาให้เกิดศาสนานั้นมีมากมายหลายอย่างแล้วแต่สภาพแวดล้อมของแต่ละกลุ่มชนและยุคสมัย
ซึ่งนักการศาสนาได้ตั้งข้อสันนิษฐานเกี่ยวกับมูลเหตุที่ทาให้เกิดศาสนาดังนี้
1. เกิดจากอวิชชาอวิชชาในที่นี้หมายถึงความไม่รู้หรือความเข้าใจไม่แจ่มแจ้งเช่น
ไม่เข้าใจในปรากฏการณ์ธรรมชาติรอบตัวว่าเหตุใดจึงเกิดฟ้ าแลบฟ้ าร้องฟ้ าผ่าหรือฝนตกเมื่อไม่รู้ ไม่เข้าใจ
จึงหาคาตอบออกมาในลักษณะต่างๆเช่นเข้าใจว่าฟ้ าแลบเนื่องจากนางมณีเมขลาเอาแก้วมาล่อรามสูร
และฟ้ าผ่าเพราะรามสูรขว้างขวานไปถูกแก้วแตกเป็นต้นและเมื่อไม่ทราบสาเหตุที่แท้จริงของปรากฏการณ์ธรรมชาติ
จึงพากันคิดว่าจะต้องมีสิ่งเหนือธรรมชาติซึ่งอาจเป็นเทพยดาหรือสิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่มีอานาจเหนือมนุษย์
จึงมีการบูชาบวงสรวงอ้อนวอนให้เมตตาปรานีความคิดเช่นนี้เป็นมูลเหตุทาให้เกิดศาสนาขึ้น
ศาสนาของคนโบราณจึงมีมูลเหตุมาจากอวิชชาหรือความไม่รู้
2. เกิดจากความกลัวความกลัวเป็นมูลเหตุที่ต่อเนื่องจากอวิชชาเมื่อเกิดความไม่รู้ หรือไม่เข้าใจแจ่มแจ้งขึ้น
สิ่งที่ตามมาก็คือความกลัวกลัวในสิ่งที่ตนไม่รู้ไม่เข้าใจจึงคิดหาทางเอาอกเอาใจในสิ่งนั้นในรูปของการเคารพกราบไหว้
เซ่นสรวงบูชาตลอดจนบนบานศาลกล่าวเพื่อไม่ให้บันดาลภัยพิบัติแก่ตนแต่ให้บันดาลความสุขสวัสดีมาให้ เป็นต้น
3. เกิดจากความภักดีความภักดีในทางศาสนาหมายถึงความเชื่อและความเลื่อมใส
ด้วยมั่นใจว่าสิ่งที่ตนเชื่อและเลื่อมใสนั้นเป็นสิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่สามารถอานวยประโยชน์แก่ตนได้
ศาสนาที่มีมูลเหตุเกิดจากความภักดีได้แก่ศาสนาประเภทเทวนิยมเช่นศาสนายิวศาสนาคริสต์ศาสนาอิสลามเป็นต้น
4. เกิดจากความต้องการความรู้แจ้งความจริงของชีวิต ความต้องการความรู้แจ้งเป็นมูลเหตุให้เกิดศาสนา
โดยเฉพาะพระพุทธศาสนาที่เน้นความรู้ประจักษ์แจ้งความจริงเป็นสาคัญ
5. เกิดจากความต้องการความสงบสุขของสังคม
กฎหมายระเบียบข้อบังคับ และกติกายังไม่เพียงพอที่จะทาให้สังคมสงบสุขได้
จาเป็นต้องมีคาสอนของศาสนาช่วยขัดเกลาอบรมจิตใจของคนในสังคมให้มีความละอายต่อการทาชั่วกลัวต่อการทาผิด
เมื่อใช้กฎหมายควบคู่กับคาสอนทางศาสนาแล้วย่อมทาให้สังคมมีความสงบสุขยิ่งขึ้น
1.6 ประเภทของศาสนา
เนื่องจากมนุษย์มีความแตกต่างทางภูมิศาสตร์ สิ่งแวดล้อมและความเชื่อถือจึงทาให้เกิดศาสนาหลายรูปแบบขึ้น
เพื่อความสะดวกในการศึกษาจาเป็นจะต้องมีการแบ่งศาสนาออกเป็นประเภทต่างๆ
ตามลักษณะและสภาพการณ์จริงในปัจจุบันของศาสนาเหล่านั้นดังนี้
1.6.1 แบ่งตามลักษณะของศาสนาแบ่งออกเป็น4ประเภท
1. เอกเทวนิยม(Monotheism) เชื่อในพระเจ้าองค์เดียวเช่นศาสนายิวศาสนาคริสต์และศาสนาอิสลามเป็นต้น
2. พหุเทวนิยม(Polytheism) เชื่อในพระเจ้าหลายองค์เช่นศาสนาพราหมณ์-ฮินดูและศาสนากรีกโบราณเป็นต้น
3. สัพพัตถเทวนิยม(Pantheism)เชื่อว่าพระผู้เป็นเจ้าสถิตอยู่ในทุกคนทุกแห่งเช่นศาสนาพราหมณ์-ฮินดู(บางลัทธิ)
ถือว่าพระพรหมสถิตอยู่ทุกหนทุกแห่ง
4. อเทวนิยม(Atheism) ไม่เชื่อว่าพระเจ้าเป็นผู้สร้างได้แก่ ศาสนาพุทธศาสนาเชน
ทั้ง 4 ประเภทนี้อาจย่อลงเป็น 2 คือ
- เทวนิยม(Theism) เป็นศาสนาที่เชื่อว่าพระเจ้าสร้างโลกได้แก่ ศาสนาพราหมณ์-ฮินดูศาสนายิว(ยูดาย)ศาสนาคริสต์
ศาสนาอิสลามฯลฯ
- อเทวนิยม(Atheism) เป็นศาสนาที่ปฏิเสธเรื่องพระเจ้าสร้างโลกได้แก่ ศาสนาพุทธศาสนาเชน
1.6.2 แบ่งตามสภาพการณ์จริงในปัจจุบันแบ่งออกเป็น 2 ประเภทคือ
1. ศาสนาที่ตายแล้ว(Dead Religions) หมายถึงศาสนาที่เคยมีผู้นับถือในอดีตกาลแต่ปัจจุบันไม่มีผู้นับถือแล้ว
คงเหลือแต่ชื่อในประวัติศาสตร์เท่านั้นมี12 ศาสนาได้แก่1.1ในทวีปแอฟริกา1 ศาสนาคือศาสนาของอียิปต์โบราณ
1.2 ในทวีปอเมริกา มี 2 ศาสนา คือ
(1) ศาสนาของพวกเปรูโบราณ
(2) ศาสนาของพวกเม็กซิกันโบราณ
1.3 ในทวีปเอเชียมี 5 ศาสนา คือ
(1) ศาสนามิถรา(Mithraism) ได้แก่ ศาสนาที่นับถือพระอาทิตย์ของพวกเปอร์เซีย
(2) ศาสนามนีกี (Manichaeism) มีผู้นับถือระหว่างคริสต์ศตวรรษที่3-5ชื่อศาสนาตั้งขึ้นตามชื่อผู้ตั้งศาสนานี้เรียกทั่วไปว่ามนี
ศาสนานี้ถือว่าพระเจ้ากับซาตานหรือพญามารเป็นของคู่กันชั่วนิรันดร
(3) ศาสนาของพวกบาบิโลเนีย
(4) ศาสนาของพวกฟีนิเซีย
(5) ศาสนาของพวกฮิตไตต์(Hittites)ชนพวกนี้เป็นชนชาติโบราณที่ตั้งภูมิลาเนาอยู่ในเอเชียไมเนอร์
1.4 ในทวีปยุโรป มี 4 ศาสนา คือ
(1) ศาสนาของพวกกรีกโบราณ
(2) ศาสนาของพวกโรมันโบราณ
(3) ศาสนาของพวกติวตันยุคแรก(4)ศาสนาของพวกที่อยู่ณแหลมสแกนดิเนเวีย(สวีเดนนอร์เวย์และเดนมาร์ก)
2. ศาสนาที่ยังมีชีวิตอยู่ (Living Religion) หมายถึงศาสนาที่ยังมีผู้นับถืออยู่ในปัจจุบันมี 12 ศาสนาดังนี้
2.1 ศาสนาที่เกิดในเอเชียตะวันออก
1.1 ศาสนาเต๋า
1.2 ศาสนาขงจื๊อ
1.3 ศาสนาชินโต
2.2 ศาสนาที่เกิดในเอเชียใต้
2.1 ศาสนาพราหมณ์-ฮินดู
2.2 ศาสนาเชน
2.3 ศาสนาพุทธ
2.4 ศาสนาซิกข์
2.3 ศาสนาที่เกิดในเอเชียตะวันตก
3.1 ศาสนาโซโรอัสเตอร์
3.2 ศาสนายูดายหรือยิว
3.3 ศาสนาคริสต์
3.4 ศาสนาอิสลาม
3.5 ศาสนาบาไฮ
1.6.3 แบ่งตามลาดับแห่งวิวัฒนาการของศาสนาแบ่งออกได้ 2 ประเภทคือ
1. ศาสนาธรรมชาติ(Natural Religion) คือศาสนาที่นับถือธรรมชาติมีความรู้สึกว่าในธรรมชาติเช่นแม่น้า ภูเขา ป่าไม้ ฯลฯ
มีวิญญาณสิงอยู่จึงแสดงความเคารพนับถือโดยการเซ่นสรวงสังเวยเป็นต้น
การที่มนุษย์เห็นปรากฏการณ์ต่างๆทางธรรมชาติแล้วใช้ความรู้สึกสามัญของมนุษย์ตัดสิน
กระทั่งทาให้เกิดความเชื่อว่าทุกอย่างต้องมีผู้สร้างธรรมชาตินั้นมีสิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่อยู่เหนือธรรมชาติคอยควบคุมอยู่
ซึ่งเป็นการแสดงออกของศาสนาดั้งเดิมและเป็นขั้นแรกที่มนุษย์แสดงออกเกี่ยวกับสิ่งเหนือธรรมชาติ
2. ศาสนาองค์กร(Organized Religion) ศาสนาประเภทนี้มีวิวัฒนาการมาโดยลาดับมีการจัดรูปแบบมีการควบคุมเป็นระบบ
จนถึงกับก่อตั้งในรูปสถาบันขึ้นอาจเรียกว่าศาสนาทางสังคม(AssociativeReligion)
ซึ่งมีการจัดระบบความเชื่อตอบสนองสังคมโดยคานึงถึงความเหมาะสมแก่สภาวะของแต่ละสังคมเป็นหลัก
และก่อรูปเป็นสถาบันทางศาสนาขึ้นเป็นเหตุให้ศาสนาประเภทนี้มีระบบและรูปแบบของตัวเอง
มีความมั่นคงถาวรในสังคมสืบมาเช่นศาสนายิวศาสนาคริสต์ศาสนาอิสลามศาสนาพราหมณ์-ฮินดูและศาสนาพุทธ
เป็นต้น
1.6.4 แบ่งตามประเภทของผู้นับถือศาสนาแบ่งออกได้ 3 ประเภทคือ
1. ศาสนาเผ่า(Tribal Religion) คือศาสนาของคนในเผ่าใดเผ่าหนึ่งเป็นความเชื่อของกลุ่มชนในเผ่า
เช่นศาสนาของคนโบราณเผ่าต่างๆซึ่งได้พัฒนาการขึ้นเป็นศาสนาชาติเช่นศาสนาเชนและศาสนาพราหมณ์-ฮินดู
นับถือกันเฉพาะในประเทศอินเดียเป็นส่วนใหญ่ ศาสนาโซโรอัสเตอร์ นับถือเฉพาะในหมู่ชนเผ่าเปอร์เซีย
ศาสนายูดายหรือศาสนายิวนับถือกันเฉพาะในประเทศอิสราเอลหรือหมู่ชาวยิวศาสนาชินโตนับถือเฉพาะในหมู่ชาวญี่ปุ่น
และศาสนาขงจื๊อก็นับถือเฉพาะในหมู่ชาวจีน
2. ศาสนาโลก(World Religion) คือศาสนาที่มีผู้นับถือกระจายอยู่ทั่วโลกไม่จากัดอยู่เฉพาะกลุ่มบุคคลกลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง
และที่ใดที่หนึ่ง เช่นศาสนาพุทธศาสนาคริสต์และศาสนาอิสลามซึ่งเรียกอีกอย่างว่าศาสนาสากล
3. ศาสนานิกาย(Segmental Religion) คือศาสนาที่เกิดจากศาสนาใหญ่ หรือนิกายย่อยของศาสนาสากล
ซึ่งเกิดขึ้นจากสาเหตุความกดดันทางสังคมเช่นการเหยียดสีผิวสิทธิทางกฎหมายความไม่เท่าเทียมกันฯลฯ
กลุ่มบุคคลที่เสียเปรียบทางสังคมจึงหาทางแก้ไขปัญหาเหล่านี้และธารงไว้ซึ่งวัฒนธรรมของตน
จึงฟื้นฟูลัทธิศาสนาและระบบทางสังคมให้เป็นของตัวเองขึ้นมาใหม่
โดยรวบรวมผู้คนที่เห็นด้วยทาการเผยแผ่ศาสนาและวัฒนธรรมของตนในต่างแดนเช่นกลุ่มชาวพุทธในอินโดนีเซีย
กลุ่มมุสลิมดาในอเมริกากลุ่มโซโรอัสเตอร์ในอินเดียกลุ่มฮินดูในแอฟริกาใต้ เป็นต้นโดยอาศัยศาสนาเป็นพลังชี้นา
1.7 ความสาคัญของศาสนา
ศาสนานั้นเป็นสิ่งที่สาคัญมากไม่ว่าศาสนาใดๆก็ตามล้วนแต่มีลักษณะร่วมสาคัญคือสอนคนให้เป็นคนดี
มีศีลธรรมประจาใจอยู่ในสังคมได้อย่างสันติสุขอีกทั้งยังเป็นที่ยึดเหนี่ยวทางจิตใจ
และมีหลักในการดาเนินชีวิตที่ถูกต้องและปลอดภัยดังนั้นศาสนาจึงเป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับชีวิตของมนุษย์ทุกรูปทุกนาม
ไม่ว่ามนุษย์จะเจริญหรือล้าหลังก็ตามก็ย่อมมีศาสนาประจาบ้านเมืองประจาหมู่คณะ
หรืออย่างน้อยก็ประจาตระกูลหรือครอบครัวความสาคัญของศาสนานอกจากที่กล่าวมาแล้วนั้นยังมีอีกนานัปการได้แก่
1. ศาสนาเป็นเครื่องสั่งสอนให้มนุษย์ประพฤติปฏิบัติในทางที่ถูกต้องดีงามเป็นประโยชน์ต่อตนเองสังคมและประเทศชาติ
2. ศาสนาเป็นบ่อเกิดแห่งศีลธรรมจรรยาและขนบธรรมเนียมประเพณีที่ชอบ
อันเป็นเครื่องประกอบให้เกิดความสมัครสมานสามัคคีมีเอกลักษณ์อารยธรรมและวัฒนธรรมอันดีงามเป็นของตนเอง
3. ศาสนาเป็นเครื่องบาบัดทุกข์และบารุงสุขให้แก่มนุษย์ทั้งทางด้านร่างกายและจิตใจ
4. ศาสนาเปรียบเสมือนดวงประทีปโคมไฟที่ให้ความสว่างไสวแก่เส้นทางการดาเนินชีวิตของมนุษย์ผู้อาศัยอยู่ในโลก
5. ศาสนาช่วยทาให้ชีวิตครอบครัวอบอุ่นเป็นแหล่งผลิตทรัพยากรมนุษย์ที่มีคุณค่าให้แก่สังคม
6. ศาสนาเป็นพลังใจให้มนุษย์สามารถเผชิญชีวิตด้วยความกล้าหาญไม่หวั่นไหวต่อโลกธรรม
ทาให้มีความสงบสุขและผาสุกในชีวิต
7. ศาสนาช่วยยกระดับจิตใจทาให้เป็นผู้ควรแก่การเคารพนับถือ
อีกทั้งยังช่วยสร้างจิตสานึกในคุณค่าของความเป็นมนุษย์ให้กับคนในสังคมอีกด้วย
8. ศาสนาช่วยสร้างมนุษยสัมพันธ์อันดีต่อกันช่วยขจัดช่องว่างทางสังคมสร้างความไว้วางใจซึ่งกันและกันให้เกิดขึ้น
เป็นรากฐานแห่งความสามัคคีการร่วมแรงร่วมใจกันพัฒนาชุมชนและสร้างความสงบสุขความมั่นคงให้แก่ชุมชน
9. ศาสนาช่วยให้มนุษย์ได้ประสบความสุขสงบและสันติสุขขั้นสูงจนกระทั่งบรรลุถึงเป้ าหมายสูงสุดของชีวิตคือ
หมดทุกข์โดยสิ้นเชิงได้
10. ศาสนาเป็นมรดกล้าค่าแห่งมนุษยชาติเป็นความหวังและวิถีทางสุดท้ายแห่งความอยู่รอดของมวลมนุษยชาติ
1.8 คุณค่าของศาสนา
ศาสนามีคุณค่านานัปการคุณค่าของศาสนาที่มีต่อมนุษย์เป็นคุณค่าทางจิตใจอันถือว่าสูงกว่าคุณค่าทางวัตถุ
คุณค่าของศาสนาที่พอประมวลได้ เช่น
1. เป็นที่ยึดเหนี่ยวจิตใจของมนุษย์คือเป็นที่พึ่งทางใจทาให้ไม่รู้สึกอ้างว้างว้าเหว่จนเกินไป
2. เป็นบ่อเกิดแห่งความสามัคคีของหมู่คณะรวมถึงความสามัคคีในหมู่มวลมนุษยชาติ
3. เป็นบ่อเกิดแห่งการศึกษาทั้งในด้านพุทธิศึกษาจริยศึกษาและศีลธรรมจรรยา
4. เป็นบ่อเกิดแห่งจริยธรรมศีลธรรมและคุณธรรม
5. เป็นบ่อเกิดแห่งขนบธรรมเนียมประเพณีอันดีงามทั้งหลาย
6. เป็นเครื่องดับความเร่าร้อนทางใจทาให้ใจสงบเย็น
7. เป็นดวงประทีปส่องโลกที่มืดมิด
8. เป็นสิ่งที่แยกมนุษย์ออกจากสัตว์เพราะสัตว์ไม่มีศาสนา
1.9 ประโยชน์ของศาสนา
เมื่อมนุษย์ได้นาหลักศาสนาไปประพฤติปฏิบัติในวิถีชีวิตของตนอย่างสม่าเสมอแล้ว
ย่อมก่อให้เกิดประโยชน์อย่างอเนกอนันต์ต่อตนเองอย่างแน่นอนประโยชน์ของศาสนาโดยภาพรวมมีดังนี้
1. ศาสนาช่วยทาให้คนมีจิตใจสูงและประเสริฐกว่าสัตว์
2. ศาสนาช่วยทาให้คนมีวินัยในตัวเองสูง
3. ศาสนาช่วยทาให้คนในสังคมอยู่กันได้อย่างสงบสุข
4. ศาสนาช่วยส่งเสริมและสร้างสรรค์ผลงานอันมีคุณค่าทางด้านศิลปะและวัฒนธรรมแก่สังคม
5. ศาสนาช่วยให้คนมีความอดทนไม่หวั่นไหวในโลกธรรมไม่ดีใจจนเกินเหตุเมื่อประสบกับอารมณ์ดี
และไม่เสียใจจนเสียคนเมื่อเผชิญกับเหตุร้าย
6. ศาสนาช่วยประสานรอยร้าวในสังคมมนุษย์ทาให้สังคมมีเอกภาพในการทาการพูดและการคิด
7. ศาสนาทาให้มนุษย์ปกครองตนเองได้ในทุกสถานและทุกเวลา
8. ศาสนาสอนให้มนุษย์มีจิตใจสะอาดไม่กล้าทาความชั่วทั้งในที่ลับและที่แจ้ง
9. ศาสนาทาให้มนุษย์ผู้ประพฤติตามพ้นจากความทุกข์ความเดือดร้อน
และช่วยให้ประสบความสงบสุขทางจิตใจอย่างเป็นลาดับขั้นตอนจนบรรลุเป้ าประสงค์สูงสุดของชีวิต
10. ศาสนาช่วยให้มนุษย์มีความสามัคคีช่วยเหลือเกื้อกูลกันทาให้อยู่ร่วมกันเป็นหมู่คณะได้อย่างมีความสุข
11. ศาสนาช่วยให้มีหลักในการดาเนินชีวิตให้ชีวิตมีความหมายและความหวัง
และช่วยให้เกิดเสถียรภาพและความสงบสุขในสังคม
พัฒนาการของพระพุทธศาสนา
ก่อนที่จะกล่าวถึงพระพุทธศาสนาในประเทศต่างๆในปัจจุบันเป็นเรื่องที่สมควรอย่างยิ่งที่จะสืบค้นเพื่อเรียนรู้เรื่องราวในอดีต
เพราะโดยทั่วไปอดีตกับปัจจุบันมักจะมีรอยต่อที่แยกกันไม่ออกเสมออย่างน้อยก็จะ
ช่วยให้เราทราบว่าเหตุใดพระพุทธศาสนาจึงสามารถแพร่หลายออกนอกเขตอินเดียซึ่งเป็นแผ่นดินเกิดได้ และ
เมื่อพระพุทธศาสนาอยู่ในประเทศของเราแล้วเราควรจะมีส่วนในการทานุบารุงส่งเสริมพระพุทธศาสนาให้
ถูกต้องเหมาะสมได้อย่างไร พระพุทธศาสนาได้ถือกาเนิดขึ้นในโลกมายาวนานกว่าสามพันปี และเคย
เจริญรุ่งเรืองถึงขีดสุดในประเทศอินเดียหรือดินแดนชมพูทวีปของสมัยอดีต ตลอดระยะเวลา ๔๕พรรษาที่
พระพุทธเจ้ายังทรงพระชนม์อยู่หลังจากที่พระพุทธองค์เสด็จดับขันธ์แล้วได้มีการสังคายนากล่าวคือการ
รวบรวมและชาระสะสางพระธรรมวินัยขึ้นหลายครั้งการสังคายนาครั้งที่สาคัญที่มีผลต่อความเจริญรุ่งเรืองของ
พระพุทธศาสนามากที่สุดมีด้วยกัน ๕ครั้งโดยจัดขึ้นที่ประเทศอินเดีย ๓ครั้งและที่ประเทศศรีลังกา ๒ครั้งการ
สังคายนาที่ส่งผลให้พระพุทธศาสนาได้แพร่หลายสู่ต่างประเทศเป็นครั้งแรกคือการสังคายนาครั้งที่ ๓ต่อมา
พระพุทธศาสนาได้แยกเป็นสองนิกายหลักคือนิกายหีนยานและนิกายมหายานซึ่งได้เจริญรุ่งเรืองเคียงคู่กันมาจนถึงปัจจุบัน
ตามประวัติศาสตร์พระพุทธศาสนา ยังไม่เคยเกิดความขัดแย้งในรูปแบบใดๆ ระหว่าง๒นิกายแต่ตรงกันข้าม
ทั้งสองนิกายได้ร่วมกันทาหน้าที่นาส่งหลักพุทธธรรมสู่ประชาคมโลกอย่างเข้มแข็งและทั่วถึงจนกระทั่งมี
การเปรียบเปรยว่าพระพุทธศาสนาทั้ง ๒นิกายเปรียบเหมือนดวงตาทั้ง ๒ของโลก โดยนิกายหีนยานหรือที่นิยม
เรียกกันว่าเถรวาทนั้นได้แพร่หลายในแถบทวีปเอเชียเป็นส่วนใหญ่ส่วนนิกายมหายานได้แพร่หลายทั้งแถบทวีปเอเชีย
ทวีปยุโรปและทวีปอเมริกา เอกลักษณ์เฉพาะที่โดดเด่นอย่างหนึ่งของพระพุทธศาสนาก็คือ มีการปรับตัว
เข้ากับสภาพแวดล้อมของประเทศนั้นๆ ได้เป็นอย่างดี จนกลายเป็นลักษณะเฉพาะของพระพุทธศาสนาใน ประเทศนั้นๆ
ซึ่งสังเกตได้อย่างชัดเจนจากคาเรียกพระพุทธศาสนาโดยเพิ่มชื่อประเทศนั้นๆต่อท้ายเช่น
พระพุทธศาสนาแบบสยามวงศ์ พระพุทธศาสนาแบบลังกาวงศ์ มหายานแบบจีน มหายานแบบญี่ปุ่น มหายาน แบบเกาหลี
มหายานแบบเวียดนาม เป็นต้นและที่สาคัญแม้แต่ในประเทศเดียวกัน พระพุทธศาสนาก็ยังมี รูปแบบคาสอน
และศาสนพิธีที่เป็นเอกลักษณ์เฉพาะของแต่ละท้องถิ่นจึงเป็นเรื่องที่สมควรอย่างยิ่งที่พวกเรา
ชาวพุทธจะได้ศึกษาเรียนรู้ให้ทราบถึงพัฒนาการของรูปแบบคาสอนและศาสนพิธีของพระพุทธศาสนาในโลก ปัจจุบัน
เพื่อเป็นการสร้างความเข้าใจอันดีระหว่างประเทศที่นับถือพระพุทธศาสนาด้วยกันและเพื่อเป็นการ
รวมกันพิทักษ์พระพุทธศาสนาให้คงอยู่คู่มวลมนุษยชาติตลอดไป
ท่าทีพระพุทธเจ้าต่อการประกาศพระศาสนา
เป็นที่ทราบกันดีว่าพระพุทธเจ้าได้เสด็จอุบัติขึ้นในโลกเพื่อประโยชน์สุขของมวลมนุษยชาติทั้งหลาย1
ซึ่งไม่ได้ถูกจากัดด้วยขอบเขตพื้นดินเพศผิวพรรณหรือเส้นแบ่งใดๆขอเพียงเป็นมนุษย์ก็ย่อมมีสิทธิและมี
สวนแห่งธรรมโอสถของพระพุทธองค์ทั้งสิ้นบทพระพุทธคุณที่ว่าสตฺถาเทวมนุสฺสนานซึ่งแปลว่าพระองค์
ทรงเป็นศาสดาของเหล่าเทวดาและมวลมนุษย์ทั้งหลายคือหลักฐานยืนยันพันธกิจข้อนี้ของพระพุทธองค์ได้เป็น อย่างดี
หลังจากตรัสรู้เสร็จสมบูรณ์ พระองค์ทรงตกลงพระทัยที่จะเผยแผ่หลักธรรมเพื่อให้โอกาสมวลมนุษย์
ได้รับประโยชน์จากธรรมโอสถของพระองค์ตามสมควรแก่อุปนิสัยของตนๆนี่คือเครื่องยืนยันว่าพระพุทธองค์
ทรงประสงค์ให้หลักพุทธธรรมแพร่หลายกว้างขวางตั้งแต่ต้นหลังจากตรัสรู้แล้วพระพุทธองค์ทรงใช้เวลา
ทังหมดไปกับการประกาศคาสอนเพื่อให้มวลมนุษยชาติรู้จักละความชั่วรู้จักทาความดีและรู้จักวิธีทาใจให้ สะอาดบริสุทธิ์สุขสงบ
พระองค์เสด็จไปทั่วอินเดียโดยไม่เคยมีประวัติว่าทรงเดินทางด้วยยานพาหนะใดๆเลยจะหยุดพักเพียงช่วงระยะเวลาสั้นๆ
เฉพาะช่วงเข้าพรรษาเท่านั้นพระองค์จึงได้รับการยกย่องว่าเป็นMissonary พระองค์แรกของโลกอย่างแท้จริง2
พระองค์ทรงบาเพ็ญพุทธกิจเผยแผ่พุทธธรรมอย่างต่อเนื่องตลอดระยะเวลา๔๕พรรษาจนกระทั่งวาระสุดท้ายแห่งพระชนมายุ
ทรงประกาศคาสอนแม้กระทั่งขณะบรรทมบนเตียง
ปรินิพพานกลุ่มผู้ฟังธรรมครั้งแรกมีเพียง๕ท่านและจากนั้นก็เพิ่มมากขึ้นตามลาดับเมื่อครบจานวน๖๐ท่าน
พระพุทธองค์ได้ทรงมอบหมายภารกิจประกาศธรรมให้กับเหล่าพระสาวกช่วยกันดาเนินการโดยทรงประทาน
พระพุทโธวาทแก่พระธรรมทูตรุ่นแรกว่า "จรถ ภิกฺขเวจาริกพหุชนหิตาย พหุชนสุขายโลกานุกมฺปายภิกษุ ทังหลาย
เธอทังหลายจงเที่ยวจาริกไปเพื่ออนุเคราะห์ประโยชน์สุขแก่ชาวโลก"ซึ่งเป็นลักษณะของหลักการที่ว่า รู้แล้วต้องบอกต่อ
การที่หลักพุทธธรรมแพร่หลายจนถึงปัจจุบันได้ ก็ด้วยผลงานการเผยแผ่อันยิงใหญ่ของเหล่าพระสาวกที่สานต่อกันมา
ท่านนารทมหาเถระได้ให้ข้อสังเกตในการเผยแผ่พระพุทธศาสนา
ไว้ว่ามนุษย์ไม่ได้เกิดมาเพื่อพระพุทธศาสนาแต่พระพุทธศาสนาเกิดมาเพื่อมนุษย์นี่คือหลักการที่นักเผยแผ่ทุก
ศาสนาควรจะยึดถือประจาใจเพื่อไม่ให้เกิดความขัดแย้งกันในการดูแลมนุษย์ก็คือมนุษย์ไม่ได้เกิดมาเพื่อศาสนา
แต่ศาสนาเกิดมาเพื่อมนุษย์สาเหตุแห่งความขัดแย้งของศาสนาต่างๆส่วนใหญ่เกิดจากการแก่งแย่งหาคนเข้าศาสนา
โดยวิธีการบังคับนานาชนิด โดยไม่ส่งเสริมให้คนมีโอกาสเลือกด้วยพลังสติปัญญาของเขาเลย
การสังคายนา
พระพุทธศาสนามีลักษณะเด่นที่สุดอย่างหนึ่งก็คือ พระพุทธเจ้าไม่ได้ทรงมอบหมายตาแหน่งการ
ปกครองสงฆ์ให้กับพระสาวกองค์ใดเลยก่อนที่พระพุทธเจ้าจะเสด็จดับขันธ์นั้นไม่ได้ทรงแต่งตั้งใครเป็น
ผู้ปกครองคณะสงฆ์แทนพระองค์ แต่ได้ตรัสสอนให้คณะสงฆ์รวมทั้งพุทธบริษัทอื่นๆ ปฏิบัติตามพระธรรม
วินัยที่ได้ทรงพร่าสอนและบัญญัติไว้แล้วในฐานะเป็นพระศาสดาแทนพระองค์5ซึ่งมีความหมายว่าทรงยก
ฐานะคาสั่งสอนของพระองค์ให้เทียบเท่าฐานะของพระองค์เองซึ่งยืนยันได้อย่างชัดเจนว่าพระพุทธศาสนา
ยังคงมีพระศาสดาอยู่ตลอดไปตราบเท่าที่พระธรรมวินัยยังคงอยู่โดยทั่วไปแล้ว
คาว่าพระธรรมวินัยหมายถึงคาสั่งสอนทั้งหมดของพระพุทธเจ้าซึ่งในสมัยพุทธกาลนั้น
พระองค์ได้ตรัสสอนต่างกรรมต่างวาระกันโดยมีกลุ่มผู้ฟังทั้งที่เป็นบรรพชิตและฆราวาสคาสั่งสอนบางเรื่องทรงแสดงซาๆ
ให้แก่ผู้ฟังทั้งที่เป็นรายบุคคลและกลุ่มบุคคลคาสั่งสอนบางเรื่องทรงแสดงเพียงครั้งเดียวคาสั่ง
สอนแบบแรกจะมีชื่อเรียกเป็นสากล เช่น อนุปุพพิกถา อริยสัจ๔อริยมรรคมีองค์ ๘เป็นต้นสาหรับคาสั่งสอน แบบที่สอง
ส่วนใหญ่จะมีชื่อเรื่องแบบเฉพาะที่ระบุชัดเจนถึงผู้ฟังหรือกลุ่มผู้ฟังเช่นกูฏทันตสูตรกาลามสูตร เป็นต้น
คาสั่งสอนจึงมีลักษณะกระจัดกระจาย เพราะยังไม่ได้รวบรวมเป็นระบบอย่างชัดเจน ในสมัยที่พระบรม ศาสดายังทรงพระชนม์อยู่
พระอัครสาวกเบื้องขวาคือท่านพระสารีบุตร ได้พยายามจัดหมวดหมู่พระธรรมวินัย หรือที่เรียกว่าการสังคายนา
ซึ่งรู้จักกันดีในชื่อว่าสังคีติสูตรและกลายเป็นต้นแบบของการสังคายนาในยุคต่อๆ มา
ในยุคที่ยังไม่มีการบันทึกเป็นลายลักษณ์อักษร ศาสนาต่างๆนิยมใช้วิธีท่องจาหรือที่เรียกกันว่า มุขปาฐะ เพื่อ
รักษาและถ่ายทอดคาสอนของตนจากรุ่นสู่รุ่นพระพุทธศาสนาก็ใช้วิธีเดียวกันและเพื่อให้คาสอนที่แต่ละท่าน
ได้รับฟังและจดจามามีความสอดคล้องตรงกันและเพื่อจัดหมวดหมู่คาสอนให้เป็นระบบให้ง่ายต่อการจดจานาไปปฏิบัติ
ให้ง่ายต่อการตรวจสอบความถูกต้องและที่สาคัญเพื่อชาระสะสางความเข้าใจผิดอันก่อให้เกิดการ
ปฏิบัติผิด ซึ่งส่งผลโดยตรงต่อความเจริญรุ่งเรืองหรือความเสื่อมโทรมของพระพุทธศาสนา คณะพระเถระ
ผู้ใหญ่จึงจัดให้มีการทาสังคายนาติดต่อกันมาหลายครั้งซึ่งแต่ละครั้งจะมีองค์ประกอบสาคัญอย่างน้อย ๓ประการคือ ๑.
เหตุการณ์ที่ส่งผลเสียต่อพระธรรมวินัย ๒.ผู้อุปถัมภ์ในการทาสังคายนา ๓. ผู้นาฝ่ ายบรรพชิตใน การทาสังคายนา
หลังจากการทาสังคายนาแต่ละครั้งจะมีการประกาศผลให้เหล่าพุทธบริษัทรับทราบอย่างทั่วถึง
จึงทาให้การทาสังคายนาแต่ละครั้งเป็นที่รู้จักของพุทธบริษัททุกหมู่เหล่าตลอดมา7
พระคัมภีร์จุลวรรคแห่งพระวินัยปิฎกบันทึกตัวอย่างเหตุการณ์ที่ก่อให้เกิดอันตรายต่อพระพุทธศาสนาครั้งแรกไว้ว่า
เมื่อข่าวการเสด็จดับขันธ์ของพระพุทธองค์แพร่กระจายไปเหล่าพุทธบริษัทที่ยังเป็นปุถุชนต่างก็
เศร้าโศกเสียใจร่าไห้ราพันอาลัยอาวรณ์ เหล่าพระอรหันตสาวกต่างก็เกิดธรรมสังเวชสลดใจแต่มีพระหลวงตา
นามว่าสุภัททะซึ่งเป็นลูกศิษย์ของพระมหาเถระนามว่ามหากัสสปะได้แสดงอาการและความรู้สึกที่ตรงกันข้ามกับทุกคน
ด้วยการพูดว่าพวกท่านจะมัวเศร้าโศกเสียใจร้องไห้เสียน้ําตาไปทาไมการที่พระพุทธเจ้าเสด็จดับขันธ์
มิใช่เป็นเรื่องที่ดีหรอกหรือลองคิดดูขณะที่พระองค์ยังทรงพระชนม์อยู่นันพระองค์ทรงเข้มงวดกวดขันกับพวกเรายิ่งนัก
ทรงห้ามโน่นห้ามนี่แทบกระดิกตัวมิได้เลยตอนนี้พระองค์ก็ไม่อยู่แล้วพวกเราอยากทาอะไรก็
สามารถทาได้ตามใจชอบ8เหตุการณ์ครั้งนี้ เป็นจุดเริ่มต้นให้ท่านพระมหากัสสปะจัดประชุมคณะสงฆ์เพื่อทา
สังคายนาเป็นครั้งแรกและเป็นหนึ่งในจานวนสังคายนาที่สาคัญทั้งห้าครั้งซึ่งนักปราชญ์ทางพระพุทธศาสนาต่าง
ให้การยอมรับ รายละเอียดโดยย่อของแต่ละครั้งมีดังต่อไปนี้
การสังคายนาครั้งที่ ๑
เมื่อปีพุทธศักราชที่ ๑หลังจากเสร็จสิ้นพระราชพิธีพระราชทานเพลิงพระสรีระพระพุทธองค์ ท่านพระมหากัสสปะ
ได้ประกาศให้พุทธบริษัทรับทราบถึงความจาเป็นในการทาสังคายนา โดยปรารภความเห็นที่เป็น
โทษต่อพระพุทธศาสนาของพระหลวงตาสุภัททะตามที่กล่าวมาข้างต้น ซึ่งท่านพระมหากัสสปะพิจารณาเห็น อย่างแจ่มแจ้งว่า
หากไม่รีบชาระสะสางทาความเข้าใจให้ถูกต้องอาจก่อให้เกิดความวุ่นวายสับสนและเป็น
ผลเสียต่อเหล่าพุทธบริษัทที่ยังมีความรู้น้อยและยังมีศรัทธาไม่มั่นคงในการนี้ท่านพระมหาเถระได้ประชุมพระ
อริยสงฆ์จานวนทังสิน ๕๐๐ องค์ ซึ่งทังหมดล้วนแต่เป็นพระอรหันตสาวก โดยจัดขึ้นที่ถ้ําสัตตบรรณคูหา บน
ภูเขาเวภารบรรพตเขตเมืองราชคฤภายใต้พระบรมราชูปถัมภ์ของพระเจ้าอชาตศัตรู ใช้เวลาดาเนินการทั้งสิ้น ๗เดือน
ในการทาสังคายนาครั้งที่๑นี้พระมหาเถระที่มีบทบาทสาคัญในการรวบรวมและจัดหมวดหมู่พระธรรมวินัยมีด้วยกัน๓องค์
คือ๑.ท่านพระมหากัสสปะ ทาหน้าที่เป็นประธานคณะสงฆ์และทาหน้าที่เป็นผู้ ซักถามเกี่ยวกับพระธรรมวินัยว่า
พระพุทธองค์ทรงแสดงแก่ใคร ที่ไหน เมื่อไหร่ รายละเอียดเป็นอย่างไร เป็นต้น๒.ท่านพระอานนท์
ซึ่งมีฐานะเป็นพระอนุชาและเป็นพระอุปฐากประจาองค์พระบรมศาสดา ทาหน้าที่
รับผิดชอบตอบคาถามเกี่ยวกับเรื่องราวของพระธรรมหรือที่นิยมเรียกว่าพระสุตตันตปิฎกที่พระพุทธเจ้าทรง
แสดงไว้ในวาระต่างๆ กัน๓. ท่านพระอุบาลี รับหน้าที่ตอบคาถามเกี่ยวกับเรื่องราวของพระวินัยหรือที่นิยม
เรียกว่าพระวินัยปิฎกทังส่วนที่เป็นวินัยของภิกษุและภิกษุณเมื่อเสร็จสินการซักถามและได้รับคาตอบชัดเจน ทุกประเด็นแล้ว
ท่านพระมหากัสสปะได้ขอให้คณะพระอริยสงฆ์ทัง ๕๐๐ องค์สวดทบทวนทุกประเด็นอย่าง พร้อมเพรียงกันจนจดจาขึนใจ
การสวดพร้อมกันนีคือความหมายที่แท้จริงของคาว่า สังคายนา หลังจากเสร็จสินการทาสังคายนาแล้ว
คณะพระอริยสงฆ์ได้นาผลการทาสังคายนาไปประกาศบอกต่อให้เหล่าพุทธบริษัท รับทราบโดยทั่วกัน
ซึ่งมีผลให้เหล่าพุทธบริษัทได้รับทราบคาสอนอย่างเป็นระบบเป็นครั้งแรกจุดเด่นอีกอย่าง หนึ่งของการสังคายนาครั้งที่๑คือ
การมีมติเป็นเอกฉันท์ที่จะคงพระธรรมวินัยไว้ตามเดิมไม่ได้ถอดถอนสิกขาบทใดๆ
การสังคายนาครั้งที่ ๒
ในปีพุทธศักราชที่๑๐๐คณะสงฆ์ได้ทาการสังคายนาเป็นครั้งที่๒โดยจัดขึ้นที่วาฬุการามเขตเมืองเวสาลี
ภายใต้พระบรมราชูปถัมภ์ของพระเจ้ากาฬาโศกมีพระอริยสงฆ์เข้าร่วมจานวน๗๐๐องค์ ซึ่งเป็นพระอรหันตสาวกทั้งหมด
ประธานการทาสังคายนาคือพระสัพพกามีสาเหตุของการสังคายนาครั้งนี้ก็เพื่อแก้ปัญหาการปฏิบัติผิดพระวินัย
ซึ่งเกิดจากการตีความหมายพระวินัยคลาดเคลื่อน๑๐เรื่อง(กถาวัตถุ๑๐)ซึ่งเหล่าภิกษุ ชาวเมืองวัชชีได้ก่อขึ้น
ใช้เวลาดาเนินการยาวนานถึง๑๐เดือนจึงแล้วเสร็จผลจากการสังคายนาครั้งนี้เป็นเหตุให้พระพุทธศาสนาแยกเป็น ๒
นิกายคือนิกายสถวีรวาทหรือเถรวาท(ยึดถือตามมติพระมหาเถระผู้ทาการสังคายนา)
และนิกายมหาสังฆิกะ(ยึดถือตามฝ่ ายเสียงข้างมากซึ่งตรงกันข้ามกับมติจากการสังคายนา)ซึ่งได้
ชวยวางรากฐานให้นิกายมหายานในเวลาต่อมาถือได้ว่าสังคายนาครั้งนี้คือวิวัฒนาการของนิกายใหม่อย่างไม่ ต้องสังสัย
การสังคายนาครั้งที่ ๓
ในปีพุทธศักราชที่๒๑๗คณะสงฆ์ได้ทาการสังคายนาครั้งที่๓ภายใต้พระบรมราชูปถัมภ์ของพระเจ้าอโศกมหาราช15
โดยมีคณะสงฆ์ซึ่งล้วนแต่เป็นพระอรหันต์เข้าร่วมจานวน ๑,๐๐๐องค์ ประธานการทาสังคายนาคือ
ท่านพระโมคคัลลีบุตรติสสเถระจัดทาขึ้นณวัดอโศการามเมืองปาฏลีบุตร(ปัจจุบันคือเมือง ปัฏณะ)ใช้เวลา๙
เดือนจึงแล้วเสร็จสาเหตุที่ต้องสังคายนาก็เนื่องจากว่าในสมัยนั้นพระพุทธศาสนาเจริญรุ่งเรื่องมาก
เพราะได้รับการถวายพระอุปถัมภ์จากพระเจ้าอโศกมหาราชทาให้ลาภสักการะอุดมสมบูรณ์ในขณะที่ศาสนาอื่นๆ
กลับซบเซา ประชาชนเสื่อมศรัทธาลาภสักการะร่อยหรอเลี้ยงชีวิตด้วยความยากลาบากทาให้ นักบวชในศาสนาอื่นๆ
เป็นจานวนมากหันมาปลอมปนบวชเป็นพระภิกษุชาวพุทธเพื่ออาศัยเลี้ยงชีพโดยไม่มี
ความรู้เรื่องหลักธรรมวินัยของพระพุทธศาสนาเลยอาศัยรูปแบบการนุ่งห่มของพระภิกษุชาวพุทธแต่ยังมีวิถีชิวิต
เหมือนศาสนาเดิมของตนเป็นเหตุให้เกิดความวุ่นวายสับสนในวงการคณะสงฆ์เป็นอย่างมากเกิดการทะเลาะ
วิวาทเรื่องพระธรรมวินัยระหว่างพระสงฆ์ที่แท้จริงกับพระสงฆ์ที่ปลอมบวชส่งผลให้ชาวบ้านเกิดความสับสน
สงสัยติฉินนินทาเป็นวงกว้างคณะสงฆ์จึงต้องขอความร่วมมือจากทางการเพื่อทาสังคายนาเพื่อชาระสะสางพระ
ธรรมวินัยให้ถูกต้องขจัดความมัวหมองของพระพุทธศาสนาอานิสงส์ของการทาสังคายนาครั้งที่๓นี้มีหลายประการเป็นต้นว่า
การลงโทษคนปลอมบวชการเผยแผ่ความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องเรื่องพระธรรมวินัยให้กับพุทธบริษัทและที่สาคัญที่สุดก็คือ
ได้มีการส่งพระสมณทูตจานวน๙สายไปประกาศพระพุทธศาสนานอกเขตประเทศอินเดียเป็นครั้งแรก
ซึ่งเป็นจุดเริ่มต้นให้พระพุทธศาสนาได้แพร่หลายออกสู่ต่างประเทศเป็นครั้งแรกด้วยคงไม่เกินจริงนักหากจะบอกว่า
ที่ประชาคมโลกรู้จักพระพุทธศาสนาในปัจจุบันนี้ก็เพราะผลของการ สังคายนาครั้งที่๓นี่เอง
การสังคายนาครั้งที่ ๔
ผลจากการสังคายนาครั้งที่๓ซึ่งมีการส่งพระสมณทูตไปประกาศพระพุทธศาสนาในต่างประเทศ เป็นครั้งแรก
ทาให้ประเทศต่างๆได้เรียนรู้และน้อมนาคาสั่งสอนของพระพุทธศาสนาไปประพฤติปฏิบัติอย่างแพรหลาย
รายงานพระพุทธ
รายงานพระพุทธ
รายงานพระพุทธ
รายงานพระพุทธ
รายงานพระพุทธ
รายงานพระพุทธ
รายงานพระพุทธ
รายงานพระพุทธ
รายงานพระพุทธ
รายงานพระพุทธ

More Related Content

What's hot

บทที่1.1พื้นฐานพลเมือง
บทที่1.1พื้นฐานพลเมืองบทที่1.1พื้นฐานพลเมือง
บทที่1.1พื้นฐานพลเมือง
Natthachai Nimnual
 
ศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลาม
พัน พัน
 
โครงงาน น้ำตะไคร้เพื่อสุขภาพ
โครงงาน น้ำตะไคร้เพื่อสุขภาพโครงงาน น้ำตะไคร้เพื่อสุขภาพ
โครงงาน น้ำตะไคร้เพื่อสุขภาพ
กก กอล์ฟ
 
ปฏิวัติฝรั่งเศส
ปฏิวัติฝรั่งเศส ปฏิวัติฝรั่งเศส
ปฏิวัติฝรั่งเศส
Thongkum Virut
 
หลักฐานทางประวัติศาสตร์1
หลักฐานทางประวัติศาสตร์1หลักฐานทางประวัติศาสตร์1
หลักฐานทางประวัติศาสตร์1
montira
 
ประวัติศาสตร์ รัตนโกสินทร์ ประถมศึกษาปีที่6
ประวัติศาสตร์ รัตนโกสินทร์ ประถมศึกษาปีที่6ประวัติศาสตร์ รัตนโกสินทร์ ประถมศึกษาปีที่6
ประวัติศาสตร์ รัตนโกสินทร์ ประถมศึกษาปีที่6
ARM ARM
 
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนาวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
Thongsawan Seeha
 

What's hot (20)

ศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลาม
 
อารยธรรมโรมัน
อารยธรรมโรมันอารยธรรมโรมัน
อารยธรรมโรมัน
 
บทที่1.1พื้นฐานพลเมือง
บทที่1.1พื้นฐานพลเมืองบทที่1.1พื้นฐานพลเมือง
บทที่1.1พื้นฐานพลเมือง
 
ศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลาม
 
โครงงาน น้ำตะไคร้เพื่อสุขภาพ
โครงงาน น้ำตะไคร้เพื่อสุขภาพโครงงาน น้ำตะไคร้เพื่อสุขภาพ
โครงงาน น้ำตะไคร้เพื่อสุขภาพ
 
รายงานกฎกติกาเทเบิลเทนนิส
รายงานกฎกติกาเทเบิลเทนนิสรายงานกฎกติกาเทเบิลเทนนิส
รายงานกฎกติกาเทเบิลเทนนิส
 
ศาสนาเชน
ศาสนาเชนศาสนาเชน
ศาสนาเชน
 
ปฏิวัติฝรั่งเศส
ปฏิวัติฝรั่งเศส ปฏิวัติฝรั่งเศส
ปฏิวัติฝรั่งเศส
 
หลักฐานทางประวัติศาสตร์1
หลักฐานทางประวัติศาสตร์1หลักฐานทางประวัติศาสตร์1
หลักฐานทางประวัติศาสตร์1
 
Isการสำรวจปัญหาการศึกษาไทยในปัจจุบัน
IsการสำรวจปัญหาการศึกษาไทยในปัจจุบันIsการสำรวจปัญหาการศึกษาไทยในปัจจุบัน
Isการสำรวจปัญหาการศึกษาไทยในปัจจุบัน
 
ประวัติศาสตร์ รัตนโกสินทร์ ประถมศึกษาปีที่6
ประวัติศาสตร์ รัตนโกสินทร์ ประถมศึกษาปีที่6ประวัติศาสตร์ รัตนโกสินทร์ ประถมศึกษาปีที่6
ประวัติศาสตร์ รัตนโกสินทร์ ประถมศึกษาปีที่6
 
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม1
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม1เอกสารประกอบการเรียนเล่ม1
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม1
 
ศาสนาชินโต
ศาสนาชินโตศาสนาชินโต
ศาสนาชินโต
 
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
 
พุทธสาวก : พระราธะ ส16101 ป.6
พุทธสาวก :  พระราธะ  ส16101 ป.6พุทธสาวก :  พระราธะ  ส16101 ป.6
พุทธสาวก : พระราธะ ส16101 ป.6
 
การปฏิรูปศาสนา Religious Reformation
การปฏิรูปศาสนา Religious Reformationการปฏิรูปศาสนา Religious Reformation
การปฏิรูปศาสนา Religious Reformation
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนาวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
 
การศึกษาโครงสร้างดอกกุหลาบ เข็ม เฟื่องฟ้า กลุ่มที่ 8 ม.5 ห้อง 931
การศึกษาโครงสร้างดอกกุหลาบ เข็ม เฟื่องฟ้า กลุ่มที่ 8 ม.5 ห้อง 931การศึกษาโครงสร้างดอกกุหลาบ เข็ม เฟื่องฟ้า กลุ่มที่ 8 ม.5 ห้อง 931
การศึกษาโครงสร้างดอกกุหลาบ เข็ม เฟื่องฟ้า กลุ่มที่ 8 ม.5 ห้อง 931
 
คำนำ2527895555
คำนำ2527895555คำนำ2527895555
คำนำ2527895555
 

More from leemeanshun minzstar

ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากล
leemeanshun minzstar
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะ
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะ
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะ
leemeanshun minzstar
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลัก
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลักใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลัก
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลัก
leemeanshun minzstar
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล
leemeanshun minzstar
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากล
leemeanshun minzstar
 

More from leemeanshun minzstar (20)

ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากล
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะ
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะ
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะ
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลัก
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลักใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลัก
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลัก
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากล
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล
 
โฮมเพจวารสาร
โฮมเพจวารสารโฮมเพจวารสาร
โฮมเพจวารสาร
 
เหนือ ท่องเที่ยว
เหนือ  ท่องเที่ยวเหนือ  ท่องเที่ยว
เหนือ ท่องเที่ยว
 
เหนือ เที่ยว
เหนือ   เที่ยวเหนือ   เที่ยว
เหนือ เที่ยว
 
เหนือ ท่องเที่ยว
เหนือ   ท่องเที่ยวเหนือ   ท่องเที่ยว
เหนือ ท่องเที่ยว
 
โรงเรียนมัธยมสังคีตวิทยา กรุงเทพมหานคร
โรงเรียนมัธยมสังคีตวิทยา กรุงเทพมหานครโรงเรียนมัธยมสังคีตวิทยา กรุงเทพมหานคร
โรงเรียนมัธยมสังคีตวิทยา กรุงเทพมหานคร
 
ภาคเหนือ เที่ยว
ภาคเหนือ เที่ยวภาคเหนือ เที่ยว
ภาคเหนือ เที่ยว
 
ภาคตะวันออก เที่ยว
ภาคตะวันออก เที่ยวภาคตะวันออก เที่ยว
ภาคตะวันออก เที่ยว
 
การท่องเที่ยว
การท่องเที่ยวการท่องเที่ยว
การท่องเที่ยว
 
ภาคตะวันตก เที่ยว
ภาคตะวันตก เที่ยวภาคตะวันตก เที่ยว
ภาคตะวันตก เที่ยว
 
การจัดการความรู้ของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
การจัดการความรู้ของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชการจัดการความรู้ของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
การจัดการความรู้ของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
 
กลยุทธ์การจัดการความรู้สำหรับการรับประกันคุณภาพ
กลยุทธ์การจัดการความรู้สำหรับการรับประกันคุณภาพกลยุทธ์การจัดการความรู้สำหรับการรับประกันคุณภาพ
กลยุทธ์การจัดการความรู้สำหรับการรับประกันคุณภาพ
 
Wiki
WikiWiki
Wiki
 

รายงานพระพุทธ

  • 1. ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับศาสนา อาจจะกล่าวได้ว่าในประวัติศาสตร์ของมวลมนุษยชาติไม่มียุคสมัยใดและไม่มีเผ่าใดเลยที่ไม่นับถือศาสนา ซึ่งในสังคมปัจจุบันนี้มีประเทศต่างๆในโลกมากกว่า 190ประเทศและมีประชากรมากกว่า 6,000ล้านคน ต่างก็นับถือศาสนาด้วยกันแทบทั้งสิ้น ศาสนาจึงมีอิทธิพลและแพร่หลายไปทั่วในสังคมมนุษย์ทุกยุคทุกสมัยตั้งแต่สังคมปฐมภูมิเก่าแก่ที่สุดจนถึงยุคปัจจุบัน ศาสนาจึงเป็นคาที่มนุษย์คุ้นเคยได้ยินมานานและมีความหมายมากที่สุดยิ่งใหญ่ที่สุด อีกทั้งมีความสาคัญต่อวิถีชีวิตของมนุษย์มากที่สุดด้วย ดังนั้นจึงมีความจาเป็นและสาคัญอย่างยิ่งที่เราควรจะต้องศึกษาให้เข้าใจถึงภูมิหลังของศาสนาต่างๆ ที่มีมนุษย์นับถือกันอยู่ทั่วโลก 1.1 ความหมายของศาสนา คาว่าศาสนานักปราชญ์ได้นิยามความหมายของศาสนาไว้แตกต่างกันอยู่มากจึงขอนาเสนอความหมายที่ควรทราบดังนี้ 1.1.1 ความหมายตามรูปศัพท์เดิม 1.1.1 ความหมายตามรูปศัพท์เดิม1) ในภาษาสันสกฤตคือศาสนและตรงกับในภาษาบาลีว่าสาสนแปลว่าคาสั่งสอน คาสอนหรือการปกครองซึ่งมีความหมายเป็นลาดับได้แก่ 1) คาสั่งสอนแยกได้เป็นคาสั่งหมายถึงข้อห้ามทาความชั่วเรียกว่าศีลหรือวินัย คาสอนหมายถึงคาแนะนาให้ทาความดี ที่เรียกว่าธรรมเมื่อรวมคาสั่งและคาสอนจึงหมายถึงศีลธรรมหรือศีลกับธรรมนั่นคือมีทั้งข้อห้ามทาความชั่ว และแนะนาให้ทาความดีซึ่งคาสั่งสอนต้องมีองค์ประกอบคือ 1. กล่าวถึงความเชื่อในอานาจของสิ่งที่มิอาจมองเห็นได้ด้วยตาเช่น ก.ศาสนาอิสลามและศาสนาคริสต์เชื่อในอานาจแห่งพระเจ้า ข.ศาสนาพุทธเชื่ออานาจแห่งกรรม ค.ศาสนาพราหมณ์-ฮินดูเชื่ออานาจแห่งเทพเจ้า 2. มีหลักศีลธรรมเช่นสอนให้ละความชั่วสร้างความดีและทาจิตใจให้บริสุทธิ์เป็นต้น 3. มีจุดหมายสูงสุดในชีวิตเช่นนิพพานในศาสนาพุทธชีวิตนิรันดรในศาสนาคริสต์และศาสนาอิสลาม 4. มีพิธีกรรมเช่น ก.พิธีบรรพชาและพิธีอุปสมบทในศาสนาพุทธ ข.พิธีรับศีลล้างบาปศีลมหาสนิทและศีลพลังในศาสนาคริสต์ ค.พิธีละหมาดพิธีเคารพพระเจ้าในศาสนาอิสลาม 5. มีความเข้มงวดกวดขันในเรื่องความจงรักภักดี 2) การปกครองหมายถึงการปกครองจิตใจของตนเองควบคุมดูแลตนเองกล่าวตักเตือนตนเองอยู่เสมอ และรับผิดชอบการกระทาทุกอย่างของตนบุคคลผู้สามารถปกครองจิตใจของตนได้ ย่อมจะไม่ทาความชั่วทั้งในที่ลับและที่แจ้ง 1.1.2 ความหมายตามรูปศัพท์ในภาษาอังกฤษ ความหมายตามรูปศัพท์ในภาษาอังกฤษ2) ความหมายตามรูปศัพท์ในภาษาอังกฤษ1คือReligion มาจากภาษาละตินว่า Religare มีความหมายเป็นภาษาอังกฤษว่า Tobind fast (ยึดถือ/ผูกพันอย่างแน่นแฟ้ น)กล่าวคือ ผูกพันอย่างเหนียวแน่นต่อพระผู้เป็นเจ้า(God)หรือพระผู้สร้าง(Creator)และอีกศัพท์หนึ่งว่าRelegere แปลว่าการปฏิบัติต่อ หรือการเกี่ยวข้องด้วยความระมัดระวังเป็นการปฏิบัติตนเพื่อแสดงความเลื่อมใสหรือเกรงกลัวอานาจเหนือตน ซึ่งในความหมายของชาวตะวันตก3) ตลอดทั้งผู้นับถือศาสนาประเภทเทวนิยมจะเข้าใจศาสนาในลักษณะที่ว่า 1. มีความเชื่อว่าพระเจ้าเป็นผู้สร้างโลกสร้างสรรพสิ่งและสรรพสัตว์ทั้งหลาย
  • 2. 2. มีความเชื่อว่าหลักคาสั่งสอนต่างๆมาจากพระเจ้า ทั้งศีลธรรมจรรยาและกฎหมายในสังคมเป็นสิ่งที่พระเจ้าทรงกาหนดขึ้น 3. มีหลักความเชื่อบางอย่างเป็นอจินไตยคือเชื่อไปตามคาสอนโดยไม่คานึงถึงข้อพิสูจน์ตามหลักวิทยาศาสตร์ แต่อาศัยเทวานุภาพของเทพเจ้าผู้อยู่เหนือตนเป็นเกณฑ์ 4. มีหลักการมอบตนคือมอบการกระทาของตนและอื่นใดที่เกี่ยวข้องกับตนให้พระเจ้าด้วยความจงรักภักดี ส่วนคาว่าศาสนาตามความหมายของชาวตะวันออก4) โดยเฉพาะทางศาสนาพุทธหมายถึงคาสั่งสอนของท่านผู้รู้ คาสั่ง คือ วินัยคาสอนคือธรรมหรือธรรมะรวมเรียกว่าธรรมวินัยซึ่งมีลักษณะตรงกันข้ามกับคาว่า ReligionŽ ของทางสังคมตะวันตกคือ 1. ไม่มีหลักความเชื่อว่าพระเจ้าเป็นผู้สร้างโลกแต่มีหลักความเชื่อว่ากรรมเป็นผู้สร้างโลกและสร้างสรรพสิ่ง(กมฺมุนาวตฺตตี โลโก-สัตวโลกย่อมเป็นไปตามกรรม) 2. ไม่มีหลักความเชื่อว่าคาสอนต่างๆมาจากพระเจ้าแต่มีหลักความเชื่อว่าคาสอนต่างๆผู้รู้ คือพุทธ เป็นผู้สั่งสอน (สพฺพปาปสฺสอกรณกุสลสฺสูปสมฺปทาสจิตฺตปริโย-ทปนเอต พุทฺธานสาสน-การไม่ทาชั่วทั้งปวงการทาความดีให้ถึงพร้อม การทาใจให้ผ่องแผ้วนี่คือคาสอนของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า) 3. ไม่มีหลักความเชื่อไปตามคาสอนโดยไม่คานึงถึงข้อพิสูจน์แต่มีหลักให้พิสูจน์คาสอนนั้น(สนฺทิฏฺิโกอกาลิโกเอหิปสฺสิโก โอปนยิโกปจฺจตฺต เวทิตพฺโพวิญฺญูหิ-อันผู้ปฏิบัติจะพึงเห็นชัดด้วยตัวเองไม่จากัดด้วยกาลควรเรียกให้มาดู ควรน้อมเข้ามาอันวิญญูชนพึงรู้เฉพาะตน) 4. ไม่มีหลักการยอมมอบตนให้แก่พระเจ้าแต่มีหลักการมอบตนให้แก่ตนเอง(อตฺตาหิ อตฺตโนนาโถ - ตนแล เป็นที่พึ่งของตน) ตามที่กล่าวมานี้จะเห็นได้ว่าศาสนาตามความหมายของทางตะวันออกโดยเฉพาะทางศาสนาพุทธกับคาว่า Religion ตามความหมายของทางตะวันตกย่อมมีลักษณะแตกต่างกันไปตามธรรมชาติของศาสนาในแต่ละประเภท ศาสนาตามความหมายของทางตะวันออกโดยเฉพาะทางศาสนาพุทธนั้นมีจุดยืนตั้งอยู่บนหลักของเหตุและผล รวมทั้งเป็นเรื่องของมนุษย์กับธรรมชาติโดยตรงส่วนศาสนาของทางตะวันตก มีจุดยืนอยู่ที่ศรัทธาหรือความเชื่อในสิ่งนอกเหนือธรรมชาติซึ่งเหตุผลต่างๆย่อมถูกนามาสนับสนุนความเชื่อต่างๆ โดยไม่ต้องมีการพิสูจน์ 1.1.3 ความหมายตามพจนานุกรม ความหมายตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถานพ.ศ. 25425) ศาสนาคือลัทธิความเชื่อถือของมนุษย์อันมีหลัก คือแสดงกาเนิดและความสิ้นสุดของโลกเป็นต้นอันเป็นไปในฝ่ ายปรมัตถ์ประการหนึ่ง แสดงหลักธรรมเกี่ยวกับบุญบาปอันเป็นไปในฝ่ ายศีลธรรมประการหนึ่ง พร้อมทั้งลัทธิพิธีที่กระทาตามความเห็นหรือตามคาสั่งสอนในความเชื่อถือนั้นๆ 1.1.4 ในทรรศนะของพระยาอนุมานราชธน ในทรรศนะของพระยาอนุมานราชธน6) ให้ความหมายว่าศาสนาคือ ความเชื่อซึ่งแสดงออกมาให้ปรากฏเห็นเป็นกิริยาอาการของผู้เลื่อมใสว่ามีความเคารพเกรงกลัว ซึ่งอานาจอันอยู่เหนือโลกหรือพระเจ้าซึ่งบอกให้ผู้เชื่อรู้ได้ด้วยปัญญาความรู้สึกเกิดขึ้นเองโดยสัญชาตญาณ ว่าต้องมีอยู่เป็นรูปร่างอย่างใดอย่างหนึ่งและต้องเป็นผู้สร้างและเป็นผู้กาหนดวิถีชีวิตของมนุษย์ให้มีอยู่เป็นอยู่ กล่าวกันง่ายๆศาสนาคือการบูชาพระเจ้าผู้ซึ่งมีทิพยอานาจอยู่เหนือธรรมชาติด้วยความเคารพกลัวเกรง . 1.1.5 ในทรรศนะของหลวงวิจิตรวาทการ
  • 3. ในทรรศนะของหลวงวิจิตรวาทการ7) ให้ความหมายว่าศาสนาเป็นเรื่องที่ถือว่ามีความศักดิ์สิทธิ์มีคาสอนทางจรรยา มีศาสดามีคณะบุคคลที่รักษาความศักดิ์สิทธิ์และคาสอนไว้ เช่นพระหรือนักบวชและมีการกวดขันเรื่องความจงรักภักดี 1.1.6 ในทรรศนะของ Emile Durkheim ในทรรศนะของ Emile Durkheim8) ให้ความหมายว่าศาสนาคือระบบรวม ว่าด้วยความเชื่อและการปฏิบัติเพื่อความสัมพันธ์ในสิ่งศักดิ์สิทธิ์ 1.1.7 ในทรรศนะของ A.CBouget ในทรรศนะของ A.CBouget9) ให้ความหมายว่าศาสนาหมายถึงความสัมพันธ์อันแนบแน่นระหว่างมนุษย์กับสิ่งที่มิใช่มนุษย์ คือ สิ่งศักดิ์สิทธิ์เหนือธรรมชาติสิ่งที่สามารถดารงอยู่ได้ด้วยตนเองหรือพระเจ้า แต่สาหรับผู้ที่เกี่ยวข้องกับขบวนการมากกว่าเกี่ยวข้องกับบุคคลศาสนาคือ หนทางอย่างหนึ่งซึ่งแสดงความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับจุดมุ่งหมายจุดประสงค์ความเชื่อของเขา จากทรรศนะต่างๆที่กล่าวมาทั้งหมดในตอนต้นนั้นสามารถสรุปให้ครอบคลุม ความหมายของศาสนาทั้งที่เป็นเทวนิยมและอเทวนิยมได้ว่าศาสนาคือคาสอนที่ศาสดานามาเผยแผ่สั่งสอนแจกแจง แสดงให้มนุษย์ละเว้นจากความชั่วกระทาแต่ความดีเพื่อประสบสันติสุขในชีวิต ทั้งในระดับธรรมดาสามัญและความสุขสงบนิรันดร ซึ่งมนุษย์ยึดถือปฏิบัติตามคาสอนนั้นด้วยความเคารพเลื่อมใสและศรัทธาคาสอนดังกล่าวนี้ จะมีลักษณะเป็นสัจธรรมที่มีอยู่ในธรรมชาติแล้วศาสดาเป็นผู้ค้นพบหรือจะเป็นโองการที่ศาสดารับมาจากพระเจ้าก็ได้ 1.2 ลักษณะของศาสนา จากความหมายของศาสนาที่ได้กล่าวมาแล้วในตอนต้นสรุปลักษณะของศาสนาได้ดังนี้ 1. ศาสนาเป็นศูนย์รวมของความเคารพนับถือสูงสุดของมนุษย์ 2. ศาสนาเป็นที่ยึดเหนี่ยวเป็นที่พึ่งทางใจ 3. ศาสดาเป็นผู้นาศาสนามาเผยแผ่สั่งสอนแก่มวลมนุษย์ 4. ศาสนามีสาระสาคัญอยู่ที่การสอนให้มนุษย์ละเว้นจากความชั่วกระทาแต่ความดี 5. คาสอนในศาสนามีทั้งระดับโลกิยะและระดับโลกุตระ 6. มนุษย์ต้องปฏิบัติตามคาสอนในศาสนาด้วยความเคารพเลื่อมใสและศรัทธา 7. ศาสนาต้องมีพิธีกรรมเพื่อความศักดิ์สิทธิ์และมีสัญลักษณ์อันเป็นเครื่องหมาย 1.3 องค์ประกอบของศาสนา ศาสนาที่จะเป็นศาสนาอย่างสมบูรณ์ได้ต้องมีองค์ประกอบครบถ้วนตามหลักเกณฑ์ทางวิชาการที่นักการศาสนาจัดไว้ โดยจะต้องมีองค์ประกอบดังต่อไปนี้ 1. ศาสดาต้องมีศาสดาเป็นผู้ก่อตั้งศาสนาและศาสดาต้องมีชีวิตอยู่จริงในประวัติศาสตร์ เช่นศาสนายิวมีโมเสสเป็นศาสดา ศาสนาพุทธมีพระสัมมาสัมพุทธเจ้าเป็นศาสดาศาสนาคริสต์มีพระเยซูเป็นศาสดา และศาสนาอิสลามมีนบีมุฮัมมัดเป็นศาสดา 2. ศาสนธรรมต้องมีศาสนธรรมคือคาสอนซึ่งเป็นหลักของศาสนา ต้องมีคัมภีร์เป็นที่รวบรวมคาสอนเช่นศาสนาพราหมณ์- ฮินดู มีคัมภีร์พระเวทศาสนาพุทธมีพระไตรปิฎกศาสนาอิสลามมีคัมภีร์อัลกุรอาน 3. ศาสนพิธีต้องมีพิธีกรรมที่เกี่ยวเนื่องมาจากคาสอนของศาสนาเช่นพิธีสวมสายยัชโญปวีต หรือสายธุราของศาสนาพราหมณ์-ฮินดูพิธีอุปสมบทของศาสนาพุทธพิธีล้างบาปของศาสนายิวและศาสนาคริสต์ และพิธีฮัจญ์ของศาสนาอิสลาม
  • 4. 4. ปูชนียวัตถุหรือปูชนียสถานทางศาสนาเช่นพระพุทธรูปและสังเวชนียสถานในศาสนาพุทธ ไม้กางเขนและวิหารเมืองเยรูซาเลมในศาสนาคริสต์รูปของพระคุรุและเมืองอมฤตสระของศาสนาซิกข์ 5. ศาสนบุคคลต้องมีคณะบุคคลสืบทอดคาสอนของศาสนาซึ่งเป็นผู้ปฏิบัติตามหลักคาสอนของศาสนาโดยตรงเช่นพระ นักบวชนักพรตบาทหลวงในศาสนาต่างๆ 6. ศาสนสถานต้องมีศาสนสถานเพื่อประกอบศาสนกิจและศาสนพิธีต่างๆศาสน-สถานของศาสนาพราหมณ์-ฮินดูได้แก่ เทวสถานหรือเทวาลัยของศาสนาพุทธได้แก่ วัดอุโบสถศาลาการเปรียญวิหารของศาสนาคริสต์ได้แก่ โบสถ์ วิหาร ของศาสนาอิสลามได้แก่ สุเหร่าหรือมัสยิดเป็นต้น 7. ศาสนิกชนต้องมีศาสนิกชนผู้นับถือเลื่อมใสศรัทธาในศาสนานั้นซึ่งศาสนิกชนดังกล่าว มักเรียกตามชื่อของศาสนาที่ตนนับถือเช่นฮินดูชน พุทธศาสนิกชนคริสต์ศาสนิกชนอิสลามิกชนหรือมุสลิมเป็นต้น 8. การกวดขันเรื่องความภักดีต้องมีการกวดขันเรื่องความภักดีในศาสนาเช่นศาสนาพราหมณ์- ฮินดูกวดขันเรื่องการดาเนินชีวิตตามหลักอาศรม4ศาสนาพุทธกวดขันเรื่องไตรสรณคมน์ ศาสนาคริสต์กวดขันเรื่องการไปสวดมนต์ที่โบสถ์ในวันอาทิตย์ศาสนาอิสลามกวดขันเรื่องหลักปฏิบัติหรือหน้าที่ในศาสนา องค์ประกอบทั้ง 8 ประการนี้ในบางศาสนาอาจขาดข้อใดข้อหนึ่งไปแต่ก็ยังถือว่าเป็นศาสนาเช่นศาสนาพราหมณ์-ฮินดู ขาดองค์ประกอบข้อที่หนึ่ง คือศาสดาไม่ได้มีชีวิตอยู่จริงในประวัติศาสตร์ ศาสนาอิสลามขาดองค์ประกอบข้อ5คือ ศาสนบุคคลเพราะผู้นับถือศาสนาอิสลามไม่มีการถือเพศเป็นบรรพชิตคงมีแต่เพศฆราวาสเท่านั้น 1.4 วิวัฒนาการของศาสนา ไม่ว่ายุคสมัยใดมนุษย์ต่างก็ต้องการให้ชีวิตมีความสุขความปลอดภัยและมีชีวิตยืนยาว จะทาอะไรทุกอย่างก็เพื่อจุดหมายดังกล่าว อันเป็นที่มาของการนับถือศาสนาโดยมีวิวัฒนาการดังนี้ วิญญาณนิยม มนุษย์สมัยปฐมบรรพ์ยังมีประสบการณ์ชีวิตน้อยยังไม่เจริญด้วยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี จึงคิดและเชื่อไปตามความรู้ของตนเมื่อเห็นสิ่งต่างๆเช่นก้อนหินที่มีลักษณะแปลกๆหรือมีสีสันพิเศษแตกต่างกว่าปกติ ก็จะคิดว่ามีสิ่งลี้ลับอยู่ภายในจึงทาให้สิ่งนั้นๆแปลกประหลาดไปสิ่งลี้ลับนี้เรียกว่ามนะหรืออานาจที่ไม่มีตัวตน แต่มีชีวิตจิตใจมีพลังวิเศษที่จะบันดาลให้คุณหรือโทษแก่มนุษย์ได้ จึงเกิดการเคารพนับถือมนะขึ้นมา ระยะนี้เรียกว่าสมัยมนะต่อมาจึงเกิดหมอผี(Shaman) ซึ่งเป็นบุคคลที่จะอัญเชิญพลังวิเศษของมนะออกมาใช้ตามจุดประสงค์ต่างๆ ยุคที่หมอผีมีความสาคัญนี้เรียกว่า สมัยมายาต่อมามนุษย์ได้พยายามทาความเข้าใจในเรื่องมนะให้มากขึ้น ก็เกิดความเข้าใจว่ามนะก็คือวิญญาณนั่นเองซึ่งวิญญาณนี้สิงสถิตอยู่ในที่ทั่วไป ไม่จาเป็นต้องมีอยู่ในสิ่งแปลกประหลาดเท่านั้นอาจสิงอยู่ในตัวสัตว์ในต้นไม้ ภูเขาและทะเลก็ได้ จึงเกิดการนับถือสัตว์ที่ตนคิดว่าน่าจะมีวิญญาณสิงสถิตอยู่เช่นนับถือจระเข้ เต่าแมว สิงโต เป็นต้น ทั้งยังนาสัตว์หรือสิ่งที่ตนเคารพมาเป็นที่เคารพของเผ่าจนกลายเป็นสัญลักษณ์ประจาเผ่าต่างๆ ชาวพื้นเมืองบางเผ่าของประเทศนิวซีแลนด์ได้แกะสลักรูปคนนั่งซ้อนกันหรือที่เรียกว่ารูปเคารพติกิ การนาสัตว์หรือรูปแกะสลักมาเป็นสัญลักษณ์ประจาเผ่าเรียกว่ารูปเคารพประจาเผ่า(Totemism) ธรรมชาติเทวนิยม ต่อมามนุษย์พยายามทาความเข้าใจในเรื่องวิญญาณให้ชัดเจนขึ้นไปอีกก็ได้มีความเข้าใจ ว่าวิญญาณมีความศักดิ์สิทธิ์วิเศษเกินกว่าวิสัยของมนุษย์จึงเรียกวิญญาณว่าเทวดาหรือเทพเจ้า ซึ่งเทพเจ้าเหล่านี้สิงสถิตอยู่ในธรรมชาติทั่วไปจึงเกิดการเรียกว่าพระอาทิตย์พระจันทร์ พระวรุณพระอัคนีและพระคงคา ฯลฯเช่นในศาสนากรีกโบราณและศาสนาพราหมณ์ เป็นต้นนอกจากนี้ยังนับถือผู้ที่ตนเคารพเช่นบิดามารดาบรรพบุรุษ
  • 5. พระมหากษัตริย์และวีรบุรุษฯลฯว่าเมื่อตายไปแล้วก็จะกลายเป็นเทพเจ้าสิงสถิตอยู่ในที่ทั่วไปเช่นบ้านเรือนเป็นต้น ที่เรียกกันว่าเจ้าที่เจ้าทางหรือผีบ้านผีเรือน เทวนิยม ในสมัยต่อมามนุษย์บางพวกเกิดความคิดว่าเทพเจ้าต่างๆน่าจะมีฐานะสูงต่าลดหลั่นอย่างมนุษย์ ทั้งน่าจะมีเทพเจ้าสูงสุดเหนือกว่าเทพเจ้าทั้งหลายดุจพระราชาเป็นใหญ่กว่าปวงประชาพระองค์ทรงมีอานาจสูงสุดเช่น ทรงสร้างโลกและสรรพสิ่งตลอดทั้งกาหนดชะตากรรมของมนุษย์ดูแลความเป็นไปของโลกพวกที่มีความเชื่อดังกล่าว ยังมีความคิดแตกต่างกันไปอีกบางคนมีความเห็นว่าเทพเจ้าสูงสุดมีหลายองค์เช่นศาสนาพราหมณ์ ก็เรียกว่าพหุเทวนิยม บางคนมีความเห็นว่าเทพเจ้าสูงสุดมี2องค์ คอยทัดทานอานาจกันฝ่ ายหนึ่งสร้างแต่สิ่งที่ดีแต่อีกฝ่ ายหนึ่งสร้างแต่สิ่งไม่ดี ดังที่มีสิ่งคู่กันอยู่ในโลกเช่นศาสนาโซโรอัสเตอร์ ก็เรียกว่าทวิเทวนิยมและบางคนมีความเห็นว่า เทพเจ้าสูงสุดหรือพระเจ้ามีเพียงองค์เดียวเท่านั้นเช่นพระเจ้าในศาสนาคริสต์และศาสนาอิสลามก็เรียกว่าเอกเทวนิยม อเทวนิยม กาลต่อมามนุษย์บางคนมีความเห็นว่าพระเจ้าสูงสุดดังที่เชื่อกันนั้นไม่มีเป็นเพียงมนุษย์คิดกันขึ้นมาเอง เห็นได้จากการที่คุณลักษณะต่างๆของเทพเจ้าเปลี่ยนแปลงไปเรื่อยๆและเพิ่มมากขึ้นทุกทีทั้งนี้ก็เพราะมนุษย์เป็นต้นเหตุ แล้วก็หลงเคารพนับถือในสิ่งที่ตนสร้างขึ้นมาความจริงทุกสิ่งทุกอย่างเป็นไปตามเหตุปัจจัย จะเกิดขึ้นได้ก็เพราะเหตุปัจจัยหลายอย่างประกอบกันขึ้นมาดารงอยู่ไม่ได้ด้วยตัวเองสาหรับมนุษย์แล้ว กรรมหรือการกระทาของมนุษย์ต่างหากที่สาคัญที่สุดสามารถดลบันดาลชีวิตให้เป็นไปอย่างไรก็ได้ ความเชื่ออย่างนี้เรียกว่า อเทวนิยม 1.5 มูลเหตุการเกิดของศาสนา มูลเหตุที่ทาให้เกิดศาสนานั้นมีมากมายหลายอย่างแล้วแต่สภาพแวดล้อมของแต่ละกลุ่มชนและยุคสมัย ซึ่งนักการศาสนาได้ตั้งข้อสันนิษฐานเกี่ยวกับมูลเหตุที่ทาให้เกิดศาสนาดังนี้ 1. เกิดจากอวิชชาอวิชชาในที่นี้หมายถึงความไม่รู้หรือความเข้าใจไม่แจ่มแจ้งเช่น ไม่เข้าใจในปรากฏการณ์ธรรมชาติรอบตัวว่าเหตุใดจึงเกิดฟ้ าแลบฟ้ าร้องฟ้ าผ่าหรือฝนตกเมื่อไม่รู้ ไม่เข้าใจ จึงหาคาตอบออกมาในลักษณะต่างๆเช่นเข้าใจว่าฟ้ าแลบเนื่องจากนางมณีเมขลาเอาแก้วมาล่อรามสูร และฟ้ าผ่าเพราะรามสูรขว้างขวานไปถูกแก้วแตกเป็นต้นและเมื่อไม่ทราบสาเหตุที่แท้จริงของปรากฏการณ์ธรรมชาติ จึงพากันคิดว่าจะต้องมีสิ่งเหนือธรรมชาติซึ่งอาจเป็นเทพยดาหรือสิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่มีอานาจเหนือมนุษย์ จึงมีการบูชาบวงสรวงอ้อนวอนให้เมตตาปรานีความคิดเช่นนี้เป็นมูลเหตุทาให้เกิดศาสนาขึ้น ศาสนาของคนโบราณจึงมีมูลเหตุมาจากอวิชชาหรือความไม่รู้ 2. เกิดจากความกลัวความกลัวเป็นมูลเหตุที่ต่อเนื่องจากอวิชชาเมื่อเกิดความไม่รู้ หรือไม่เข้าใจแจ่มแจ้งขึ้น สิ่งที่ตามมาก็คือความกลัวกลัวในสิ่งที่ตนไม่รู้ไม่เข้าใจจึงคิดหาทางเอาอกเอาใจในสิ่งนั้นในรูปของการเคารพกราบไหว้ เซ่นสรวงบูชาตลอดจนบนบานศาลกล่าวเพื่อไม่ให้บันดาลภัยพิบัติแก่ตนแต่ให้บันดาลความสุขสวัสดีมาให้ เป็นต้น 3. เกิดจากความภักดีความภักดีในทางศาสนาหมายถึงความเชื่อและความเลื่อมใส ด้วยมั่นใจว่าสิ่งที่ตนเชื่อและเลื่อมใสนั้นเป็นสิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่สามารถอานวยประโยชน์แก่ตนได้ ศาสนาที่มีมูลเหตุเกิดจากความภักดีได้แก่ศาสนาประเภทเทวนิยมเช่นศาสนายิวศาสนาคริสต์ศาสนาอิสลามเป็นต้น 4. เกิดจากความต้องการความรู้แจ้งความจริงของชีวิต ความต้องการความรู้แจ้งเป็นมูลเหตุให้เกิดศาสนา โดยเฉพาะพระพุทธศาสนาที่เน้นความรู้ประจักษ์แจ้งความจริงเป็นสาคัญ 5. เกิดจากความต้องการความสงบสุขของสังคม
  • 6. กฎหมายระเบียบข้อบังคับ และกติกายังไม่เพียงพอที่จะทาให้สังคมสงบสุขได้ จาเป็นต้องมีคาสอนของศาสนาช่วยขัดเกลาอบรมจิตใจของคนในสังคมให้มีความละอายต่อการทาชั่วกลัวต่อการทาผิด เมื่อใช้กฎหมายควบคู่กับคาสอนทางศาสนาแล้วย่อมทาให้สังคมมีความสงบสุขยิ่งขึ้น 1.6 ประเภทของศาสนา เนื่องจากมนุษย์มีความแตกต่างทางภูมิศาสตร์ สิ่งแวดล้อมและความเชื่อถือจึงทาให้เกิดศาสนาหลายรูปแบบขึ้น เพื่อความสะดวกในการศึกษาจาเป็นจะต้องมีการแบ่งศาสนาออกเป็นประเภทต่างๆ ตามลักษณะและสภาพการณ์จริงในปัจจุบันของศาสนาเหล่านั้นดังนี้ 1.6.1 แบ่งตามลักษณะของศาสนาแบ่งออกเป็น4ประเภท 1. เอกเทวนิยม(Monotheism) เชื่อในพระเจ้าองค์เดียวเช่นศาสนายิวศาสนาคริสต์และศาสนาอิสลามเป็นต้น 2. พหุเทวนิยม(Polytheism) เชื่อในพระเจ้าหลายองค์เช่นศาสนาพราหมณ์-ฮินดูและศาสนากรีกโบราณเป็นต้น 3. สัพพัตถเทวนิยม(Pantheism)เชื่อว่าพระผู้เป็นเจ้าสถิตอยู่ในทุกคนทุกแห่งเช่นศาสนาพราหมณ์-ฮินดู(บางลัทธิ) ถือว่าพระพรหมสถิตอยู่ทุกหนทุกแห่ง 4. อเทวนิยม(Atheism) ไม่เชื่อว่าพระเจ้าเป็นผู้สร้างได้แก่ ศาสนาพุทธศาสนาเชน ทั้ง 4 ประเภทนี้อาจย่อลงเป็น 2 คือ - เทวนิยม(Theism) เป็นศาสนาที่เชื่อว่าพระเจ้าสร้างโลกได้แก่ ศาสนาพราหมณ์-ฮินดูศาสนายิว(ยูดาย)ศาสนาคริสต์ ศาสนาอิสลามฯลฯ - อเทวนิยม(Atheism) เป็นศาสนาที่ปฏิเสธเรื่องพระเจ้าสร้างโลกได้แก่ ศาสนาพุทธศาสนาเชน 1.6.2 แบ่งตามสภาพการณ์จริงในปัจจุบันแบ่งออกเป็น 2 ประเภทคือ 1. ศาสนาที่ตายแล้ว(Dead Religions) หมายถึงศาสนาที่เคยมีผู้นับถือในอดีตกาลแต่ปัจจุบันไม่มีผู้นับถือแล้ว คงเหลือแต่ชื่อในประวัติศาสตร์เท่านั้นมี12 ศาสนาได้แก่1.1ในทวีปแอฟริกา1 ศาสนาคือศาสนาของอียิปต์โบราณ 1.2 ในทวีปอเมริกา มี 2 ศาสนา คือ (1) ศาสนาของพวกเปรูโบราณ (2) ศาสนาของพวกเม็กซิกันโบราณ 1.3 ในทวีปเอเชียมี 5 ศาสนา คือ (1) ศาสนามิถรา(Mithraism) ได้แก่ ศาสนาที่นับถือพระอาทิตย์ของพวกเปอร์เซีย (2) ศาสนามนีกี (Manichaeism) มีผู้นับถือระหว่างคริสต์ศตวรรษที่3-5ชื่อศาสนาตั้งขึ้นตามชื่อผู้ตั้งศาสนานี้เรียกทั่วไปว่ามนี ศาสนานี้ถือว่าพระเจ้ากับซาตานหรือพญามารเป็นของคู่กันชั่วนิรันดร (3) ศาสนาของพวกบาบิโลเนีย (4) ศาสนาของพวกฟีนิเซีย (5) ศาสนาของพวกฮิตไตต์(Hittites)ชนพวกนี้เป็นชนชาติโบราณที่ตั้งภูมิลาเนาอยู่ในเอเชียไมเนอร์ 1.4 ในทวีปยุโรป มี 4 ศาสนา คือ (1) ศาสนาของพวกกรีกโบราณ (2) ศาสนาของพวกโรมันโบราณ (3) ศาสนาของพวกติวตันยุคแรก(4)ศาสนาของพวกที่อยู่ณแหลมสแกนดิเนเวีย(สวีเดนนอร์เวย์และเดนมาร์ก) 2. ศาสนาที่ยังมีชีวิตอยู่ (Living Religion) หมายถึงศาสนาที่ยังมีผู้นับถืออยู่ในปัจจุบันมี 12 ศาสนาดังนี้ 2.1 ศาสนาที่เกิดในเอเชียตะวันออก 1.1 ศาสนาเต๋า 1.2 ศาสนาขงจื๊อ
  • 7. 1.3 ศาสนาชินโต 2.2 ศาสนาที่เกิดในเอเชียใต้ 2.1 ศาสนาพราหมณ์-ฮินดู 2.2 ศาสนาเชน 2.3 ศาสนาพุทธ 2.4 ศาสนาซิกข์ 2.3 ศาสนาที่เกิดในเอเชียตะวันตก 3.1 ศาสนาโซโรอัสเตอร์ 3.2 ศาสนายูดายหรือยิว 3.3 ศาสนาคริสต์ 3.4 ศาสนาอิสลาม 3.5 ศาสนาบาไฮ 1.6.3 แบ่งตามลาดับแห่งวิวัฒนาการของศาสนาแบ่งออกได้ 2 ประเภทคือ 1. ศาสนาธรรมชาติ(Natural Religion) คือศาสนาที่นับถือธรรมชาติมีความรู้สึกว่าในธรรมชาติเช่นแม่น้า ภูเขา ป่าไม้ ฯลฯ มีวิญญาณสิงอยู่จึงแสดงความเคารพนับถือโดยการเซ่นสรวงสังเวยเป็นต้น การที่มนุษย์เห็นปรากฏการณ์ต่างๆทางธรรมชาติแล้วใช้ความรู้สึกสามัญของมนุษย์ตัดสิน กระทั่งทาให้เกิดความเชื่อว่าทุกอย่างต้องมีผู้สร้างธรรมชาตินั้นมีสิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่อยู่เหนือธรรมชาติคอยควบคุมอยู่ ซึ่งเป็นการแสดงออกของศาสนาดั้งเดิมและเป็นขั้นแรกที่มนุษย์แสดงออกเกี่ยวกับสิ่งเหนือธรรมชาติ 2. ศาสนาองค์กร(Organized Religion) ศาสนาประเภทนี้มีวิวัฒนาการมาโดยลาดับมีการจัดรูปแบบมีการควบคุมเป็นระบบ จนถึงกับก่อตั้งในรูปสถาบันขึ้นอาจเรียกว่าศาสนาทางสังคม(AssociativeReligion) ซึ่งมีการจัดระบบความเชื่อตอบสนองสังคมโดยคานึงถึงความเหมาะสมแก่สภาวะของแต่ละสังคมเป็นหลัก และก่อรูปเป็นสถาบันทางศาสนาขึ้นเป็นเหตุให้ศาสนาประเภทนี้มีระบบและรูปแบบของตัวเอง มีความมั่นคงถาวรในสังคมสืบมาเช่นศาสนายิวศาสนาคริสต์ศาสนาอิสลามศาสนาพราหมณ์-ฮินดูและศาสนาพุทธ เป็นต้น 1.6.4 แบ่งตามประเภทของผู้นับถือศาสนาแบ่งออกได้ 3 ประเภทคือ 1. ศาสนาเผ่า(Tribal Religion) คือศาสนาของคนในเผ่าใดเผ่าหนึ่งเป็นความเชื่อของกลุ่มชนในเผ่า เช่นศาสนาของคนโบราณเผ่าต่างๆซึ่งได้พัฒนาการขึ้นเป็นศาสนาชาติเช่นศาสนาเชนและศาสนาพราหมณ์-ฮินดู นับถือกันเฉพาะในประเทศอินเดียเป็นส่วนใหญ่ ศาสนาโซโรอัสเตอร์ นับถือเฉพาะในหมู่ชนเผ่าเปอร์เซีย ศาสนายูดายหรือศาสนายิวนับถือกันเฉพาะในประเทศอิสราเอลหรือหมู่ชาวยิวศาสนาชินโตนับถือเฉพาะในหมู่ชาวญี่ปุ่น และศาสนาขงจื๊อก็นับถือเฉพาะในหมู่ชาวจีน 2. ศาสนาโลก(World Religion) คือศาสนาที่มีผู้นับถือกระจายอยู่ทั่วโลกไม่จากัดอยู่เฉพาะกลุ่มบุคคลกลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง และที่ใดที่หนึ่ง เช่นศาสนาพุทธศาสนาคริสต์และศาสนาอิสลามซึ่งเรียกอีกอย่างว่าศาสนาสากล 3. ศาสนานิกาย(Segmental Religion) คือศาสนาที่เกิดจากศาสนาใหญ่ หรือนิกายย่อยของศาสนาสากล ซึ่งเกิดขึ้นจากสาเหตุความกดดันทางสังคมเช่นการเหยียดสีผิวสิทธิทางกฎหมายความไม่เท่าเทียมกันฯลฯ กลุ่มบุคคลที่เสียเปรียบทางสังคมจึงหาทางแก้ไขปัญหาเหล่านี้และธารงไว้ซึ่งวัฒนธรรมของตน จึงฟื้นฟูลัทธิศาสนาและระบบทางสังคมให้เป็นของตัวเองขึ้นมาใหม่ โดยรวบรวมผู้คนที่เห็นด้วยทาการเผยแผ่ศาสนาและวัฒนธรรมของตนในต่างแดนเช่นกลุ่มชาวพุทธในอินโดนีเซีย กลุ่มมุสลิมดาในอเมริกากลุ่มโซโรอัสเตอร์ในอินเดียกลุ่มฮินดูในแอฟริกาใต้ เป็นต้นโดยอาศัยศาสนาเป็นพลังชี้นา
  • 8. 1.7 ความสาคัญของศาสนา ศาสนานั้นเป็นสิ่งที่สาคัญมากไม่ว่าศาสนาใดๆก็ตามล้วนแต่มีลักษณะร่วมสาคัญคือสอนคนให้เป็นคนดี มีศีลธรรมประจาใจอยู่ในสังคมได้อย่างสันติสุขอีกทั้งยังเป็นที่ยึดเหนี่ยวทางจิตใจ และมีหลักในการดาเนินชีวิตที่ถูกต้องและปลอดภัยดังนั้นศาสนาจึงเป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับชีวิตของมนุษย์ทุกรูปทุกนาม ไม่ว่ามนุษย์จะเจริญหรือล้าหลังก็ตามก็ย่อมมีศาสนาประจาบ้านเมืองประจาหมู่คณะ หรืออย่างน้อยก็ประจาตระกูลหรือครอบครัวความสาคัญของศาสนานอกจากที่กล่าวมาแล้วนั้นยังมีอีกนานัปการได้แก่ 1. ศาสนาเป็นเครื่องสั่งสอนให้มนุษย์ประพฤติปฏิบัติในทางที่ถูกต้องดีงามเป็นประโยชน์ต่อตนเองสังคมและประเทศชาติ 2. ศาสนาเป็นบ่อเกิดแห่งศีลธรรมจรรยาและขนบธรรมเนียมประเพณีที่ชอบ อันเป็นเครื่องประกอบให้เกิดความสมัครสมานสามัคคีมีเอกลักษณ์อารยธรรมและวัฒนธรรมอันดีงามเป็นของตนเอง 3. ศาสนาเป็นเครื่องบาบัดทุกข์และบารุงสุขให้แก่มนุษย์ทั้งทางด้านร่างกายและจิตใจ 4. ศาสนาเปรียบเสมือนดวงประทีปโคมไฟที่ให้ความสว่างไสวแก่เส้นทางการดาเนินชีวิตของมนุษย์ผู้อาศัยอยู่ในโลก 5. ศาสนาช่วยทาให้ชีวิตครอบครัวอบอุ่นเป็นแหล่งผลิตทรัพยากรมนุษย์ที่มีคุณค่าให้แก่สังคม 6. ศาสนาเป็นพลังใจให้มนุษย์สามารถเผชิญชีวิตด้วยความกล้าหาญไม่หวั่นไหวต่อโลกธรรม ทาให้มีความสงบสุขและผาสุกในชีวิต 7. ศาสนาช่วยยกระดับจิตใจทาให้เป็นผู้ควรแก่การเคารพนับถือ อีกทั้งยังช่วยสร้างจิตสานึกในคุณค่าของความเป็นมนุษย์ให้กับคนในสังคมอีกด้วย 8. ศาสนาช่วยสร้างมนุษยสัมพันธ์อันดีต่อกันช่วยขจัดช่องว่างทางสังคมสร้างความไว้วางใจซึ่งกันและกันให้เกิดขึ้น เป็นรากฐานแห่งความสามัคคีการร่วมแรงร่วมใจกันพัฒนาชุมชนและสร้างความสงบสุขความมั่นคงให้แก่ชุมชน 9. ศาสนาช่วยให้มนุษย์ได้ประสบความสุขสงบและสันติสุขขั้นสูงจนกระทั่งบรรลุถึงเป้ าหมายสูงสุดของชีวิตคือ หมดทุกข์โดยสิ้นเชิงได้ 10. ศาสนาเป็นมรดกล้าค่าแห่งมนุษยชาติเป็นความหวังและวิถีทางสุดท้ายแห่งความอยู่รอดของมวลมนุษยชาติ 1.8 คุณค่าของศาสนา ศาสนามีคุณค่านานัปการคุณค่าของศาสนาที่มีต่อมนุษย์เป็นคุณค่าทางจิตใจอันถือว่าสูงกว่าคุณค่าทางวัตถุ คุณค่าของศาสนาที่พอประมวลได้ เช่น 1. เป็นที่ยึดเหนี่ยวจิตใจของมนุษย์คือเป็นที่พึ่งทางใจทาให้ไม่รู้สึกอ้างว้างว้าเหว่จนเกินไป 2. เป็นบ่อเกิดแห่งความสามัคคีของหมู่คณะรวมถึงความสามัคคีในหมู่มวลมนุษยชาติ 3. เป็นบ่อเกิดแห่งการศึกษาทั้งในด้านพุทธิศึกษาจริยศึกษาและศีลธรรมจรรยา 4. เป็นบ่อเกิดแห่งจริยธรรมศีลธรรมและคุณธรรม 5. เป็นบ่อเกิดแห่งขนบธรรมเนียมประเพณีอันดีงามทั้งหลาย 6. เป็นเครื่องดับความเร่าร้อนทางใจทาให้ใจสงบเย็น 7. เป็นดวงประทีปส่องโลกที่มืดมิด 8. เป็นสิ่งที่แยกมนุษย์ออกจากสัตว์เพราะสัตว์ไม่มีศาสนา 1.9 ประโยชน์ของศาสนา เมื่อมนุษย์ได้นาหลักศาสนาไปประพฤติปฏิบัติในวิถีชีวิตของตนอย่างสม่าเสมอแล้ว ย่อมก่อให้เกิดประโยชน์อย่างอเนกอนันต์ต่อตนเองอย่างแน่นอนประโยชน์ของศาสนาโดยภาพรวมมีดังนี้ 1. ศาสนาช่วยทาให้คนมีจิตใจสูงและประเสริฐกว่าสัตว์ 2. ศาสนาช่วยทาให้คนมีวินัยในตัวเองสูง
  • 9. 3. ศาสนาช่วยทาให้คนในสังคมอยู่กันได้อย่างสงบสุข 4. ศาสนาช่วยส่งเสริมและสร้างสรรค์ผลงานอันมีคุณค่าทางด้านศิลปะและวัฒนธรรมแก่สังคม 5. ศาสนาช่วยให้คนมีความอดทนไม่หวั่นไหวในโลกธรรมไม่ดีใจจนเกินเหตุเมื่อประสบกับอารมณ์ดี และไม่เสียใจจนเสียคนเมื่อเผชิญกับเหตุร้าย 6. ศาสนาช่วยประสานรอยร้าวในสังคมมนุษย์ทาให้สังคมมีเอกภาพในการทาการพูดและการคิด 7. ศาสนาทาให้มนุษย์ปกครองตนเองได้ในทุกสถานและทุกเวลา 8. ศาสนาสอนให้มนุษย์มีจิตใจสะอาดไม่กล้าทาความชั่วทั้งในที่ลับและที่แจ้ง 9. ศาสนาทาให้มนุษย์ผู้ประพฤติตามพ้นจากความทุกข์ความเดือดร้อน และช่วยให้ประสบความสงบสุขทางจิตใจอย่างเป็นลาดับขั้นตอนจนบรรลุเป้ าประสงค์สูงสุดของชีวิต 10. ศาสนาช่วยให้มนุษย์มีความสามัคคีช่วยเหลือเกื้อกูลกันทาให้อยู่ร่วมกันเป็นหมู่คณะได้อย่างมีความสุข 11. ศาสนาช่วยให้มีหลักในการดาเนินชีวิตให้ชีวิตมีความหมายและความหวัง และช่วยให้เกิดเสถียรภาพและความสงบสุขในสังคม พัฒนาการของพระพุทธศาสนา ก่อนที่จะกล่าวถึงพระพุทธศาสนาในประเทศต่างๆในปัจจุบันเป็นเรื่องที่สมควรอย่างยิ่งที่จะสืบค้นเพื่อเรียนรู้เรื่องราวในอดีต เพราะโดยทั่วไปอดีตกับปัจจุบันมักจะมีรอยต่อที่แยกกันไม่ออกเสมออย่างน้อยก็จะ ช่วยให้เราทราบว่าเหตุใดพระพุทธศาสนาจึงสามารถแพร่หลายออกนอกเขตอินเดียซึ่งเป็นแผ่นดินเกิดได้ และ เมื่อพระพุทธศาสนาอยู่ในประเทศของเราแล้วเราควรจะมีส่วนในการทานุบารุงส่งเสริมพระพุทธศาสนาให้ ถูกต้องเหมาะสมได้อย่างไร พระพุทธศาสนาได้ถือกาเนิดขึ้นในโลกมายาวนานกว่าสามพันปี และเคย เจริญรุ่งเรืองถึงขีดสุดในประเทศอินเดียหรือดินแดนชมพูทวีปของสมัยอดีต ตลอดระยะเวลา ๔๕พรรษาที่ พระพุทธเจ้ายังทรงพระชนม์อยู่หลังจากที่พระพุทธองค์เสด็จดับขันธ์แล้วได้มีการสังคายนากล่าวคือการ รวบรวมและชาระสะสางพระธรรมวินัยขึ้นหลายครั้งการสังคายนาครั้งที่สาคัญที่มีผลต่อความเจริญรุ่งเรืองของ พระพุทธศาสนามากที่สุดมีด้วยกัน ๕ครั้งโดยจัดขึ้นที่ประเทศอินเดีย ๓ครั้งและที่ประเทศศรีลังกา ๒ครั้งการ สังคายนาที่ส่งผลให้พระพุทธศาสนาได้แพร่หลายสู่ต่างประเทศเป็นครั้งแรกคือการสังคายนาครั้งที่ ๓ต่อมา พระพุทธศาสนาได้แยกเป็นสองนิกายหลักคือนิกายหีนยานและนิกายมหายานซึ่งได้เจริญรุ่งเรืองเคียงคู่กันมาจนถึงปัจจุบัน ตามประวัติศาสตร์พระพุทธศาสนา ยังไม่เคยเกิดความขัดแย้งในรูปแบบใดๆ ระหว่าง๒นิกายแต่ตรงกันข้าม ทั้งสองนิกายได้ร่วมกันทาหน้าที่นาส่งหลักพุทธธรรมสู่ประชาคมโลกอย่างเข้มแข็งและทั่วถึงจนกระทั่งมี การเปรียบเปรยว่าพระพุทธศาสนาทั้ง ๒นิกายเปรียบเหมือนดวงตาทั้ง ๒ของโลก โดยนิกายหีนยานหรือที่นิยม เรียกกันว่าเถรวาทนั้นได้แพร่หลายในแถบทวีปเอเชียเป็นส่วนใหญ่ส่วนนิกายมหายานได้แพร่หลายทั้งแถบทวีปเอเชีย ทวีปยุโรปและทวีปอเมริกา เอกลักษณ์เฉพาะที่โดดเด่นอย่างหนึ่งของพระพุทธศาสนาก็คือ มีการปรับตัว เข้ากับสภาพแวดล้อมของประเทศนั้นๆ ได้เป็นอย่างดี จนกลายเป็นลักษณะเฉพาะของพระพุทธศาสนาใน ประเทศนั้นๆ ซึ่งสังเกตได้อย่างชัดเจนจากคาเรียกพระพุทธศาสนาโดยเพิ่มชื่อประเทศนั้นๆต่อท้ายเช่น พระพุทธศาสนาแบบสยามวงศ์ พระพุทธศาสนาแบบลังกาวงศ์ มหายานแบบจีน มหายานแบบญี่ปุ่น มหายาน แบบเกาหลี มหายานแบบเวียดนาม เป็นต้นและที่สาคัญแม้แต่ในประเทศเดียวกัน พระพุทธศาสนาก็ยังมี รูปแบบคาสอน และศาสนพิธีที่เป็นเอกลักษณ์เฉพาะของแต่ละท้องถิ่นจึงเป็นเรื่องที่สมควรอย่างยิ่งที่พวกเรา ชาวพุทธจะได้ศึกษาเรียนรู้ให้ทราบถึงพัฒนาการของรูปแบบคาสอนและศาสนพิธีของพระพุทธศาสนาในโลก ปัจจุบัน
  • 10. เพื่อเป็นการสร้างความเข้าใจอันดีระหว่างประเทศที่นับถือพระพุทธศาสนาด้วยกันและเพื่อเป็นการ รวมกันพิทักษ์พระพุทธศาสนาให้คงอยู่คู่มวลมนุษยชาติตลอดไป ท่าทีพระพุทธเจ้าต่อการประกาศพระศาสนา เป็นที่ทราบกันดีว่าพระพุทธเจ้าได้เสด็จอุบัติขึ้นในโลกเพื่อประโยชน์สุขของมวลมนุษยชาติทั้งหลาย1 ซึ่งไม่ได้ถูกจากัดด้วยขอบเขตพื้นดินเพศผิวพรรณหรือเส้นแบ่งใดๆขอเพียงเป็นมนุษย์ก็ย่อมมีสิทธิและมี สวนแห่งธรรมโอสถของพระพุทธองค์ทั้งสิ้นบทพระพุทธคุณที่ว่าสตฺถาเทวมนุสฺสนานซึ่งแปลว่าพระองค์ ทรงเป็นศาสดาของเหล่าเทวดาและมวลมนุษย์ทั้งหลายคือหลักฐานยืนยันพันธกิจข้อนี้ของพระพุทธองค์ได้เป็น อย่างดี หลังจากตรัสรู้เสร็จสมบูรณ์ พระองค์ทรงตกลงพระทัยที่จะเผยแผ่หลักธรรมเพื่อให้โอกาสมวลมนุษย์ ได้รับประโยชน์จากธรรมโอสถของพระองค์ตามสมควรแก่อุปนิสัยของตนๆนี่คือเครื่องยืนยันว่าพระพุทธองค์ ทรงประสงค์ให้หลักพุทธธรรมแพร่หลายกว้างขวางตั้งแต่ต้นหลังจากตรัสรู้แล้วพระพุทธองค์ทรงใช้เวลา ทังหมดไปกับการประกาศคาสอนเพื่อให้มวลมนุษยชาติรู้จักละความชั่วรู้จักทาความดีและรู้จักวิธีทาใจให้ สะอาดบริสุทธิ์สุขสงบ พระองค์เสด็จไปทั่วอินเดียโดยไม่เคยมีประวัติว่าทรงเดินทางด้วยยานพาหนะใดๆเลยจะหยุดพักเพียงช่วงระยะเวลาสั้นๆ เฉพาะช่วงเข้าพรรษาเท่านั้นพระองค์จึงได้รับการยกย่องว่าเป็นMissonary พระองค์แรกของโลกอย่างแท้จริง2 พระองค์ทรงบาเพ็ญพุทธกิจเผยแผ่พุทธธรรมอย่างต่อเนื่องตลอดระยะเวลา๔๕พรรษาจนกระทั่งวาระสุดท้ายแห่งพระชนมายุ ทรงประกาศคาสอนแม้กระทั่งขณะบรรทมบนเตียง ปรินิพพานกลุ่มผู้ฟังธรรมครั้งแรกมีเพียง๕ท่านและจากนั้นก็เพิ่มมากขึ้นตามลาดับเมื่อครบจานวน๖๐ท่าน พระพุทธองค์ได้ทรงมอบหมายภารกิจประกาศธรรมให้กับเหล่าพระสาวกช่วยกันดาเนินการโดยทรงประทาน พระพุทโธวาทแก่พระธรรมทูตรุ่นแรกว่า "จรถ ภิกฺขเวจาริกพหุชนหิตาย พหุชนสุขายโลกานุกมฺปายภิกษุ ทังหลาย เธอทังหลายจงเที่ยวจาริกไปเพื่ออนุเคราะห์ประโยชน์สุขแก่ชาวโลก"ซึ่งเป็นลักษณะของหลักการที่ว่า รู้แล้วต้องบอกต่อ การที่หลักพุทธธรรมแพร่หลายจนถึงปัจจุบันได้ ก็ด้วยผลงานการเผยแผ่อันยิงใหญ่ของเหล่าพระสาวกที่สานต่อกันมา ท่านนารทมหาเถระได้ให้ข้อสังเกตในการเผยแผ่พระพุทธศาสนา ไว้ว่ามนุษย์ไม่ได้เกิดมาเพื่อพระพุทธศาสนาแต่พระพุทธศาสนาเกิดมาเพื่อมนุษย์นี่คือหลักการที่นักเผยแผ่ทุก ศาสนาควรจะยึดถือประจาใจเพื่อไม่ให้เกิดความขัดแย้งกันในการดูแลมนุษย์ก็คือมนุษย์ไม่ได้เกิดมาเพื่อศาสนา แต่ศาสนาเกิดมาเพื่อมนุษย์สาเหตุแห่งความขัดแย้งของศาสนาต่างๆส่วนใหญ่เกิดจากการแก่งแย่งหาคนเข้าศาสนา โดยวิธีการบังคับนานาชนิด โดยไม่ส่งเสริมให้คนมีโอกาสเลือกด้วยพลังสติปัญญาของเขาเลย การสังคายนา พระพุทธศาสนามีลักษณะเด่นที่สุดอย่างหนึ่งก็คือ พระพุทธเจ้าไม่ได้ทรงมอบหมายตาแหน่งการ ปกครองสงฆ์ให้กับพระสาวกองค์ใดเลยก่อนที่พระพุทธเจ้าจะเสด็จดับขันธ์นั้นไม่ได้ทรงแต่งตั้งใครเป็น ผู้ปกครองคณะสงฆ์แทนพระองค์ แต่ได้ตรัสสอนให้คณะสงฆ์รวมทั้งพุทธบริษัทอื่นๆ ปฏิบัติตามพระธรรม วินัยที่ได้ทรงพร่าสอนและบัญญัติไว้แล้วในฐานะเป็นพระศาสดาแทนพระองค์5ซึ่งมีความหมายว่าทรงยก ฐานะคาสั่งสอนของพระองค์ให้เทียบเท่าฐานะของพระองค์เองซึ่งยืนยันได้อย่างชัดเจนว่าพระพุทธศาสนา ยังคงมีพระศาสดาอยู่ตลอดไปตราบเท่าที่พระธรรมวินัยยังคงอยู่โดยทั่วไปแล้ว คาว่าพระธรรมวินัยหมายถึงคาสั่งสอนทั้งหมดของพระพุทธเจ้าซึ่งในสมัยพุทธกาลนั้น พระองค์ได้ตรัสสอนต่างกรรมต่างวาระกันโดยมีกลุ่มผู้ฟังทั้งที่เป็นบรรพชิตและฆราวาสคาสั่งสอนบางเรื่องทรงแสดงซาๆ ให้แก่ผู้ฟังทั้งที่เป็นรายบุคคลและกลุ่มบุคคลคาสั่งสอนบางเรื่องทรงแสดงเพียงครั้งเดียวคาสั่ง สอนแบบแรกจะมีชื่อเรียกเป็นสากล เช่น อนุปุพพิกถา อริยสัจ๔อริยมรรคมีองค์ ๘เป็นต้นสาหรับคาสั่งสอน แบบที่สอง
  • 11. ส่วนใหญ่จะมีชื่อเรื่องแบบเฉพาะที่ระบุชัดเจนถึงผู้ฟังหรือกลุ่มผู้ฟังเช่นกูฏทันตสูตรกาลามสูตร เป็นต้น คาสั่งสอนจึงมีลักษณะกระจัดกระจาย เพราะยังไม่ได้รวบรวมเป็นระบบอย่างชัดเจน ในสมัยที่พระบรม ศาสดายังทรงพระชนม์อยู่ พระอัครสาวกเบื้องขวาคือท่านพระสารีบุตร ได้พยายามจัดหมวดหมู่พระธรรมวินัย หรือที่เรียกว่าการสังคายนา ซึ่งรู้จักกันดีในชื่อว่าสังคีติสูตรและกลายเป็นต้นแบบของการสังคายนาในยุคต่อๆ มา ในยุคที่ยังไม่มีการบันทึกเป็นลายลักษณ์อักษร ศาสนาต่างๆนิยมใช้วิธีท่องจาหรือที่เรียกกันว่า มุขปาฐะ เพื่อ รักษาและถ่ายทอดคาสอนของตนจากรุ่นสู่รุ่นพระพุทธศาสนาก็ใช้วิธีเดียวกันและเพื่อให้คาสอนที่แต่ละท่าน ได้รับฟังและจดจามามีความสอดคล้องตรงกันและเพื่อจัดหมวดหมู่คาสอนให้เป็นระบบให้ง่ายต่อการจดจานาไปปฏิบัติ ให้ง่ายต่อการตรวจสอบความถูกต้องและที่สาคัญเพื่อชาระสะสางความเข้าใจผิดอันก่อให้เกิดการ ปฏิบัติผิด ซึ่งส่งผลโดยตรงต่อความเจริญรุ่งเรืองหรือความเสื่อมโทรมของพระพุทธศาสนา คณะพระเถระ ผู้ใหญ่จึงจัดให้มีการทาสังคายนาติดต่อกันมาหลายครั้งซึ่งแต่ละครั้งจะมีองค์ประกอบสาคัญอย่างน้อย ๓ประการคือ ๑. เหตุการณ์ที่ส่งผลเสียต่อพระธรรมวินัย ๒.ผู้อุปถัมภ์ในการทาสังคายนา ๓. ผู้นาฝ่ ายบรรพชิตใน การทาสังคายนา หลังจากการทาสังคายนาแต่ละครั้งจะมีการประกาศผลให้เหล่าพุทธบริษัทรับทราบอย่างทั่วถึง จึงทาให้การทาสังคายนาแต่ละครั้งเป็นที่รู้จักของพุทธบริษัททุกหมู่เหล่าตลอดมา7 พระคัมภีร์จุลวรรคแห่งพระวินัยปิฎกบันทึกตัวอย่างเหตุการณ์ที่ก่อให้เกิดอันตรายต่อพระพุทธศาสนาครั้งแรกไว้ว่า เมื่อข่าวการเสด็จดับขันธ์ของพระพุทธองค์แพร่กระจายไปเหล่าพุทธบริษัทที่ยังเป็นปุถุชนต่างก็ เศร้าโศกเสียใจร่าไห้ราพันอาลัยอาวรณ์ เหล่าพระอรหันตสาวกต่างก็เกิดธรรมสังเวชสลดใจแต่มีพระหลวงตา นามว่าสุภัททะซึ่งเป็นลูกศิษย์ของพระมหาเถระนามว่ามหากัสสปะได้แสดงอาการและความรู้สึกที่ตรงกันข้ามกับทุกคน ด้วยการพูดว่าพวกท่านจะมัวเศร้าโศกเสียใจร้องไห้เสียน้ําตาไปทาไมการที่พระพุทธเจ้าเสด็จดับขันธ์ มิใช่เป็นเรื่องที่ดีหรอกหรือลองคิดดูขณะที่พระองค์ยังทรงพระชนม์อยู่นันพระองค์ทรงเข้มงวดกวดขันกับพวกเรายิ่งนัก ทรงห้ามโน่นห้ามนี่แทบกระดิกตัวมิได้เลยตอนนี้พระองค์ก็ไม่อยู่แล้วพวกเราอยากทาอะไรก็ สามารถทาได้ตามใจชอบ8เหตุการณ์ครั้งนี้ เป็นจุดเริ่มต้นให้ท่านพระมหากัสสปะจัดประชุมคณะสงฆ์เพื่อทา สังคายนาเป็นครั้งแรกและเป็นหนึ่งในจานวนสังคายนาที่สาคัญทั้งห้าครั้งซึ่งนักปราชญ์ทางพระพุทธศาสนาต่าง ให้การยอมรับ รายละเอียดโดยย่อของแต่ละครั้งมีดังต่อไปนี้ การสังคายนาครั้งที่ ๑ เมื่อปีพุทธศักราชที่ ๑หลังจากเสร็จสิ้นพระราชพิธีพระราชทานเพลิงพระสรีระพระพุทธองค์ ท่านพระมหากัสสปะ ได้ประกาศให้พุทธบริษัทรับทราบถึงความจาเป็นในการทาสังคายนา โดยปรารภความเห็นที่เป็น โทษต่อพระพุทธศาสนาของพระหลวงตาสุภัททะตามที่กล่าวมาข้างต้น ซึ่งท่านพระมหากัสสปะพิจารณาเห็น อย่างแจ่มแจ้งว่า หากไม่รีบชาระสะสางทาความเข้าใจให้ถูกต้องอาจก่อให้เกิดความวุ่นวายสับสนและเป็น ผลเสียต่อเหล่าพุทธบริษัทที่ยังมีความรู้น้อยและยังมีศรัทธาไม่มั่นคงในการนี้ท่านพระมหาเถระได้ประชุมพระ อริยสงฆ์จานวนทังสิน ๕๐๐ องค์ ซึ่งทังหมดล้วนแต่เป็นพระอรหันตสาวก โดยจัดขึ้นที่ถ้ําสัตตบรรณคูหา บน ภูเขาเวภารบรรพตเขตเมืองราชคฤภายใต้พระบรมราชูปถัมภ์ของพระเจ้าอชาตศัตรู ใช้เวลาดาเนินการทั้งสิ้น ๗เดือน ในการทาสังคายนาครั้งที่๑นี้พระมหาเถระที่มีบทบาทสาคัญในการรวบรวมและจัดหมวดหมู่พระธรรมวินัยมีด้วยกัน๓องค์ คือ๑.ท่านพระมหากัสสปะ ทาหน้าที่เป็นประธานคณะสงฆ์และทาหน้าที่เป็นผู้ ซักถามเกี่ยวกับพระธรรมวินัยว่า พระพุทธองค์ทรงแสดงแก่ใคร ที่ไหน เมื่อไหร่ รายละเอียดเป็นอย่างไร เป็นต้น๒.ท่านพระอานนท์ ซึ่งมีฐานะเป็นพระอนุชาและเป็นพระอุปฐากประจาองค์พระบรมศาสดา ทาหน้าที่ รับผิดชอบตอบคาถามเกี่ยวกับเรื่องราวของพระธรรมหรือที่นิยมเรียกว่าพระสุตตันตปิฎกที่พระพุทธเจ้าทรง แสดงไว้ในวาระต่างๆ กัน๓. ท่านพระอุบาลี รับหน้าที่ตอบคาถามเกี่ยวกับเรื่องราวของพระวินัยหรือที่นิยม
  • 12. เรียกว่าพระวินัยปิฎกทังส่วนที่เป็นวินัยของภิกษุและภิกษุณเมื่อเสร็จสินการซักถามและได้รับคาตอบชัดเจน ทุกประเด็นแล้ว ท่านพระมหากัสสปะได้ขอให้คณะพระอริยสงฆ์ทัง ๕๐๐ องค์สวดทบทวนทุกประเด็นอย่าง พร้อมเพรียงกันจนจดจาขึนใจ การสวดพร้อมกันนีคือความหมายที่แท้จริงของคาว่า สังคายนา หลังจากเสร็จสินการทาสังคายนาแล้ว คณะพระอริยสงฆ์ได้นาผลการทาสังคายนาไปประกาศบอกต่อให้เหล่าพุทธบริษัท รับทราบโดยทั่วกัน ซึ่งมีผลให้เหล่าพุทธบริษัทได้รับทราบคาสอนอย่างเป็นระบบเป็นครั้งแรกจุดเด่นอีกอย่าง หนึ่งของการสังคายนาครั้งที่๑คือ การมีมติเป็นเอกฉันท์ที่จะคงพระธรรมวินัยไว้ตามเดิมไม่ได้ถอดถอนสิกขาบทใดๆ การสังคายนาครั้งที่ ๒ ในปีพุทธศักราชที่๑๐๐คณะสงฆ์ได้ทาการสังคายนาเป็นครั้งที่๒โดยจัดขึ้นที่วาฬุการามเขตเมืองเวสาลี ภายใต้พระบรมราชูปถัมภ์ของพระเจ้ากาฬาโศกมีพระอริยสงฆ์เข้าร่วมจานวน๗๐๐องค์ ซึ่งเป็นพระอรหันตสาวกทั้งหมด ประธานการทาสังคายนาคือพระสัพพกามีสาเหตุของการสังคายนาครั้งนี้ก็เพื่อแก้ปัญหาการปฏิบัติผิดพระวินัย ซึ่งเกิดจากการตีความหมายพระวินัยคลาดเคลื่อน๑๐เรื่อง(กถาวัตถุ๑๐)ซึ่งเหล่าภิกษุ ชาวเมืองวัชชีได้ก่อขึ้น ใช้เวลาดาเนินการยาวนานถึง๑๐เดือนจึงแล้วเสร็จผลจากการสังคายนาครั้งนี้เป็นเหตุให้พระพุทธศาสนาแยกเป็น ๒ นิกายคือนิกายสถวีรวาทหรือเถรวาท(ยึดถือตามมติพระมหาเถระผู้ทาการสังคายนา) และนิกายมหาสังฆิกะ(ยึดถือตามฝ่ ายเสียงข้างมากซึ่งตรงกันข้ามกับมติจากการสังคายนา)ซึ่งได้ ชวยวางรากฐานให้นิกายมหายานในเวลาต่อมาถือได้ว่าสังคายนาครั้งนี้คือวิวัฒนาการของนิกายใหม่อย่างไม่ ต้องสังสัย การสังคายนาครั้งที่ ๓ ในปีพุทธศักราชที่๒๑๗คณะสงฆ์ได้ทาการสังคายนาครั้งที่๓ภายใต้พระบรมราชูปถัมภ์ของพระเจ้าอโศกมหาราช15 โดยมีคณะสงฆ์ซึ่งล้วนแต่เป็นพระอรหันต์เข้าร่วมจานวน ๑,๐๐๐องค์ ประธานการทาสังคายนาคือ ท่านพระโมคคัลลีบุตรติสสเถระจัดทาขึ้นณวัดอโศการามเมืองปาฏลีบุตร(ปัจจุบันคือเมือง ปัฏณะ)ใช้เวลา๙ เดือนจึงแล้วเสร็จสาเหตุที่ต้องสังคายนาก็เนื่องจากว่าในสมัยนั้นพระพุทธศาสนาเจริญรุ่งเรื่องมาก เพราะได้รับการถวายพระอุปถัมภ์จากพระเจ้าอโศกมหาราชทาให้ลาภสักการะอุดมสมบูรณ์ในขณะที่ศาสนาอื่นๆ กลับซบเซา ประชาชนเสื่อมศรัทธาลาภสักการะร่อยหรอเลี้ยงชีวิตด้วยความยากลาบากทาให้ นักบวชในศาสนาอื่นๆ เป็นจานวนมากหันมาปลอมปนบวชเป็นพระภิกษุชาวพุทธเพื่ออาศัยเลี้ยงชีพโดยไม่มี ความรู้เรื่องหลักธรรมวินัยของพระพุทธศาสนาเลยอาศัยรูปแบบการนุ่งห่มของพระภิกษุชาวพุทธแต่ยังมีวิถีชิวิต เหมือนศาสนาเดิมของตนเป็นเหตุให้เกิดความวุ่นวายสับสนในวงการคณะสงฆ์เป็นอย่างมากเกิดการทะเลาะ วิวาทเรื่องพระธรรมวินัยระหว่างพระสงฆ์ที่แท้จริงกับพระสงฆ์ที่ปลอมบวชส่งผลให้ชาวบ้านเกิดความสับสน สงสัยติฉินนินทาเป็นวงกว้างคณะสงฆ์จึงต้องขอความร่วมมือจากทางการเพื่อทาสังคายนาเพื่อชาระสะสางพระ ธรรมวินัยให้ถูกต้องขจัดความมัวหมองของพระพุทธศาสนาอานิสงส์ของการทาสังคายนาครั้งที่๓นี้มีหลายประการเป็นต้นว่า การลงโทษคนปลอมบวชการเผยแผ่ความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องเรื่องพระธรรมวินัยให้กับพุทธบริษัทและที่สาคัญที่สุดก็คือ ได้มีการส่งพระสมณทูตจานวน๙สายไปประกาศพระพุทธศาสนานอกเขตประเทศอินเดียเป็นครั้งแรก ซึ่งเป็นจุดเริ่มต้นให้พระพุทธศาสนาได้แพร่หลายออกสู่ต่างประเทศเป็นครั้งแรกด้วยคงไม่เกินจริงนักหากจะบอกว่า ที่ประชาคมโลกรู้จักพระพุทธศาสนาในปัจจุบันนี้ก็เพราะผลของการ สังคายนาครั้งที่๓นี่เอง การสังคายนาครั้งที่ ๔ ผลจากการสังคายนาครั้งที่๓ซึ่งมีการส่งพระสมณทูตไปประกาศพระพุทธศาสนาในต่างประเทศ เป็นครั้งแรก ทาให้ประเทศต่างๆได้เรียนรู้และน้อมนาคาสั่งสอนของพระพุทธศาสนาไปประพฤติปฏิบัติอย่างแพรหลาย