SlideShare a Scribd company logo
1 of 27
รายงานการศึกษา
เรื่อง อารยธรรมโรมัน
จัดทาโดย
นางสาวพศิกา ชูเชื้อ
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5.10 เลขที่ 20
เสนอ
คุณครูเตือนใจ ไชยศิลป์
รายงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชาประวัติศาสตร์
โรงเรียนสามัคคีวิทยาคม สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 36
อารยธรรมโรมัน
Roman Civilization
I ความเป็นมา
อารยโรมันก่อตัวมาจากการรับความเจริญของกลุ่มชนที่มีอานาจในคาบสมุทรอิตาลีก่อนชาวโรมัน กลุ่มที่สาคัญ
ได้แก่ ชาวกรีกและอีทรัสกัน
ประมาณศตวรรษที่ 8 ก่อนคริสตร์ศักราช ชาวกรีกเข้ามาตั้งอาณานิคมในบริเวณอ่าวทางใต้ และทางตะวันตก
เฉียงใต้ของคาบสมุทรอิตาลี ชาวกรีกได้นาความเจริญเข้ามาเผยแพร่หลายอย่าง
ชาวอีทรัสกัน นักประวัติศาสตร์สันนิษฐานว่าเป็นกลุ่มชนที่อพยพมาจากเอเชียไมเนอร์ ด้วยความสามารถในการ
รบทาให้ชาวอีทรัสกันมีอานาจเหนือกลุ่มต่างๆ รวมถึงชาวโรมันด้วย
การที่ชาวโรมันเคยตกอยู่ใต้อานาจของชาวอีทรัสกัน จึงได้เรียนรู้อารยธรรมของกรีกและอีทรัสกัน
ประมาณปี 510 ก่อนคริสต์ศักราช ชาวโรมันประสบความสาเร็จในการโค่นล้มกษัตริย์อีทรัสกัน และขยายอานาจ
ครอบครองดินแดนตะวันตกของทะเลเมดิเตอร์เรเนียน และอาณาบริเวณโดยของทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ได้รับสมญาว่าเป็น
“เจ้าแห่งทะเลเมดิเตอร์เรเนียน” และเมื่อรบชนะแดนใดก็จะสร้างถนนเชื่อมต่อกับกรุงโรม
II การเมือง สังคม เศรษฐกิจ
2.1 การเมือง
แบ่งออกเป็น 2 ระยะ
1) ระบอบสาธารณรัฐโรมัน เริ่มตั้งแต่ปี 509 ก่อน ค.ศ. คือเมื่อโรมสามารถขจัดกษัตริย์ต่างชาติองค์
สุดท้ายที่ปกครองตนได้สาเร็จ และสิ้นสุดเมือปี 27 ก่อน ค.ศ. ซึ่งมีความแตกต่างจากระบอบกษัตริย์ โดย
อานาจการปกครองอยู่ในมือประชาชน แต่ในสมัยต้นๆ นั้น แท้จริงแล้วอานาขส่วนใหญ่กับสภาเซเนท ต่อมา
ภายหลังก็มีการขยายสิทธิพลเมืองกว้างขึ้น
องค์กรทางการปกครองมีดังนี้
(1) กงสุล เป็นประมุขทางการบริหาร มี 2 คน
(2) สภาเซเนท มีสมาชิก 300 คน เรียกสมาขิกว่า เซเนเตอร์ ควบคุมเกี่ยวกับการคลัง การต่างประเทศ การประกาศสงคราม
ตัดสินคดี และมีสิทธิยับยั้งมติของสภาราษฎร
(3) สภาราษฎร ประกอบด้วยราษฎรพวกแพทริเชียนและเพลเบียน เรียกว่า โคมิตาคิวริเอตา มีหน้าที่แต่งตั้งกงสุล ตัดสินข้อ
พิพาทสาคัญๆ
นอกจาก 3 องค์กรนี้ก็มีเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานต่างๆ รองจากกงสุล ในฐานะบริหาร คือ
(1) เพรเตอร์ ทางานแทนกงสุลเมื่อกงสุลมีธุรกิจนอกเมืองหรือต้องเดินทางออกจากโรม
(2) เซนเซอร์ เป็นผู้สารวจสามะโนประชากร
(3) เกสเตอร์ เจ้าการคลัง
(4) อิไดล์ เจ้าหน้าที่ดูแลถนนและการตลาด
การปกครองโดยวิธีดังกล่าวสร้างความไม่พอใจแก่พวกแพทริเชียน เพราะถูกกีดกันจากการสมัครเป็นกงสุลและสภาเซเนท จึง
มีการเขียนกฎหมายที่ระบุถึงสิทธิและหน้าที่ของพวกแพทริเชียนและเพลเบียน คือ กฎหมายสิบสองโต๊ะ (Law of the Twelve
Tables) โดยพวกแพทริ-เชียน มีสภาเป็นของตนเองเรียกว่า ไทรเบิล มีหน้าที่ออกกฎหมาย และทรีบูล คือ ผู้แทนในการรักษาและ
ดูแลสิทธิของพวกแพทริเชียน
2) ระบบจักรวรรดิ
ระบอบจักรวรรดิโรมันเริ่มอย่างเป็นทางการในสมัยของ ออกุสตุส ซีซาร์ ในปี 27 ก่อน ค.ศ. เมื่อออกุสตุส สถาปนาตนเองขึ้น
เป็นจักรพรรดิองค์แรก ระบอบสาธารณรัฐโรมันจึงค่อยๆ สลายตัวเป็นระบอบกษัตริย์ ในการบริหารการปกครองได้ใช่วิธี
อะลุ้มอล่วย โดยปกครองให้เข้ากับความจาเป็นและขนบธรรมเนียมของท้องถิ่นนั้นๆ แต่ดินแดนส่วนใหญ่ของจักรวรรดิโดยเฉพาะ
อย่างยิ่งในภาคตะวันตกและในบริเวณทะเลเอเจียนรวมกับเป็นลักษณะสหพันธรัฐ โดยมีความสามารถในการปกครองตนเองเป็น
อิสระพอสมควร รัฐเล่านี้ต้องยอมเสียภาษี จัดหากาลังบารุงกองทัพและจัดพิธีบูชาจักรพรรดิให้ถูกต้อง
ก. กฎหมาย
กฎหมายโรมันเป็นมรดกทางการปกครองสาคัญที่ชาวโรมันทิ้งไว้ให้แก่คนรุ่นหลัง โดยกฎหมายฉบับแรกคือ กฎหมายสิบสอง
โต๊ะ แต่เมื่อโรมันขยายตัวเป็นจักรวรรดิ ชาวโรมันได้รวบรวมกฎหมายที่ได้พบเห็นมาปรับปรุงให้เหมาะสมกับการปกครองแบบ
จักรวรรดิ เรียกกฎหมายนี้ว่า จุส เจนติอุม (กฎหมายของชนทั้งหลาย)
กฎหมายโรมันยังได้รับอิทธิพลจากปรัชญาสานักสโตอิคทาให้กฎหมายส่วนใหญ่อยู่บนพื้นฐานของกฎธรรมชาติ ถือว่า
กฎหมายคือสิ่งที่พระเจ้าทรงสร้างขึ้น
ข. ความเสื่อมของจักรวรรดิโรมัน
ความกว้างใหญ่ของจักรวรรดิโรมันทาให้ต้องมีกองทัพขนาดใหญ่เพื่อรักษาและขยายดินแดน จานวนประชากรที่เป็นชาวโรมันก็มี
ไม่พอทาให้ต้องเกณฑ์ทหารจากชาติอื่นๆ ผลเสียที่ตามมาก็คือ คนเหล่านี้มาจากดินแดนที่ห่างไกลและยังมีวัฒนธรรมแตกต่างจาก
ชาวโรมัน จึงไม่มีความจงรักภักดีต่อโรม
ระบบการสืบอานาจมีปัญหามากขึ้น เกิดการแย่งชิงอานาจบ่อยๆ ทาให้ระบบการบริหารอ่อนตัวลง จักรพรรดิไดโอคลีเชียนทรง
แก้ไขปัญหาโดยแยกโรมมันเป็น 2 ภาค คือ พระองค์ทรงปกครองโรมันตะวันออก และทรงแต่งตั้งจักรพรรดิผู้ช่วย (ออกุสตุส) ดูแล
โรมตะวันตก
ค.ศ. 313 จักรพรรดิคอนแสตนตินทรงรวบรวมจักรวรรดิเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันอีกครั้ง แต่เมื่อสิ้นรัชกาลของพระองค์ก็ไม่
สามารถรักษาความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน ทาให้แยกเป็น 2 ภาคอีกครั้ง และต้องเผชิญหน้ากับการรุกรานจากชนเผ่าเยอรมัน ทาให้
ดินแดนต่างๆ เริ่มแยกตัวเป็นอิสระ จน ค.ศ. 476 จักรวรรดิโรมันตะวันตกล่มสลายลงเมื่อโอโดเอเชอร์ แม่ทัพของเผ่าเยอรมันเข้ายึด
กรุงโรมและปลดจักรพรรดิ ดิโรมิลลุส ออกุสตุส ออกจากตาแหน่ง
2.2 สังคม
โครงสร้างของสังคมโรมันสืบทอดมาจากโครงสร้างของสังคมสมัยเมื่ออยู่ใต้การปกครองของอีทรัสกัน คือ พลเมืองแบ่ง
ออกเป็น 2 กลุ่ม
1) พวกแพทริเชียน (Patricians) ได้แก่กลุ่มผู้ดี มีความมั่งคั่ง ร่ารวย มีสิทธิในการปกครองสาธารณรัฐ
2) พวกเพลเบียน (Plebeians) หรือสามัญชน คือ ประชาชนส่วนใหญ่ได้แก่ ชาวนา พ่อค้าช่างฝีมือ ฯลฯ ช่วงปี 264-
146 ก่อน ค.ศ. การค้าเจริญเติบโตมากขึ้น ทาให้พ่อค้าและผู้รับเหมาก่อสร้างร่ารวยมากขึ้น ดังจะเห็นได้ว่าพวกเพลเบียนที่
ร่ารวยได้รับการอนุญาตให้เข้าเป็นสมาชิกสภาเซเนทได้
2.3 เศรษฐกิจ
การค้าภายในของโรมันเอกชนเป็นคนดาเนินการ รัฐเรียกเก็บภาษีจากพ่อค้า และเก็บค่าเช้าจากเจ้าของที่ดิน
การค้าทั่วไปใช้เหรียญเงินเป็นสื่อกลาง โรมันเด่นในด้านทหาร และเมื่อตีชนะดินแดนใดก็ให้ชาวโรมันบริหาร
ครอบครองที่ดินส่งผลผลิตสู่กรุงโรม
III ปัญญาความคิด
3.1 ความเชื่อในเทพเจ้า
ได้รับอิทธิพลจากความเชื่อในเทพเจ้ากรีก โดยมีการเปลี่ยนชื่อของเทพเจ้า
การประกอบพิธีทางศาสนาเป็นหน้าที่ของพระซึ่งเป็นประมุขได้แก่ กงสุลในสมัยสาธารณรัฐ และ
จักรพรรดิในสมัยจักรวรรดิ
3.2 คริสต์ศาสนา
คริสต์ศาสนาเผยแพร่เข้ามาในช่วงปลายจักรวรรดิโรมัน ชั้นแรกผู้ที่นับถือเป็นพวกคนยากจน อย่างไรก็ตาม ผู้ปกครอง
โรมันต่อต้านศาสนาคริสต์โดยตลอดเพราะคาสอนบางประการปฏิเสธอานาจของรัฐ
ในสมัยจักรพรรดิคอนสแตนตินทรงเปลี่ยนนโยบายมาสนับสนุนศาสนาคริสต์และทรงเปลี่ยนมานับถือศาสนาคริสต์ เมื่อ
สิ้นศตวรรษที่ 4 ชาวโรมันส่วนใหญ่ต่างก็เข้าเป็นคริสต์ศาสนิกชน
3.3 ความคิดทางปรัชญา
ความคิดทางปรัชญาของโรมันได้รับมาจากกรีกโดยตรง คือรับความคิดทั้งของพวกเอปิคิวเรียน ซินิค และสโตอิค
ก. กลุ่ม scipionic circle กับแนวความคิดเรื่องความเท่าเทียมกันของมนุษย์
กลุ่มนี้เสนอแนวคิดเรื่องความเท่าเทียมกันของมนุษย์และความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกับของเชื้อชาติ ความเท่าเทียมกันทา
ให้เกิดความยุติธรรมในรัฐ
ข. อิทธิพลของสโตอิคต่อกฎหมายโรมัม
ในระยะต้นกฎหมายเป็นกฎหมายนครรัฐ ซึ่งใช้กับพลเมืองจานวนจากัด แต่เมื่อโรมมีอานาจและร่ารวยมากขึ้น จานวนคน
มากขึ้น กฎหมายก็ต้องเปลี่ยนไป
กฎหมายต้องปรับให้เกิดความเท่าเทียมกัน เน้นความยุติธรรมเพื่อให้เกิดผลประโยชน์ส่วนรวมซึ่งปฏิบัติต่อทุกคนเหมือนกัน
แนวความคิดที่สนับสนุนความเท่าเทียมกันนี้เป็นหลักของพวกสโตอิค ความคิดเรื่องความเป็นพี่น้องกันทั้งโลกทาให้สามารถใช้
หลักการเดียวกันกับคนได้ทั้งหมดไม่เลือกเชื้อชาติ
ค. นักกฎหมายโรมัน
นักกฎหมายโรมันถือว่าธรรมชาติกาหนดปทัฏฐาน ซึ่งกฎหมายบ้านเมืองจะต้องกาหนดให้ใกล้เคียงให้มากที่สุด นักกฎหมาย
กลุ่มธรรมชาติถือว่ากฎธรรมชาติเป็นหลักการสูงสุดของกฎ การตีความกฎธรรมชาติออกมาเป็นการปฏิบัติเช่น การใช้กฎหมายอย่าง
เท่าเทียมกัน การยึดถือสัญญาโดยถือสัตย์ การปฏิบัติอย่างเท่าเทียมกัน การถือเจตนาสาคัญกว่าคาพูด การคุ้มครองผู้ที่อยู่ในความ
ดูแล ความสัมพันธ์ทางสายเลือด เหล่านี้เป็นลักษณะเด่นของกฎหมายโรมัน
3.4 วิทยาศาสตร์ละเทคโนโลยี
ก. วิทยาศาสตร์
นักศึกษาชาวโรมันได้รับเอาอิทธิพลปรัชญาเฮเลนิค ความคิดแบบสโตอิคซึ่งโรมันรับมาจากพวกเฮเลนิสติคทาให้ไม่สนใน
ความรู้ที่ไม่ได้นามาใช้ เพราะพวกสโตอิคเน้นความประพฤติและหน้าที่มากกว่าการเสวงหาความรู้ใหม่ๆ ดังนั้นแม้ว่าจะได้รับความคิด
ทางวิทยาศาสตร์แบบอเล็กซานเดรียชาวโรมันก็ไม่ค่อยพัฒนาอะไรมากไปกว่านั้น
ข. ภูมิศาสตร์กับการขยายจักรวรรดิ
ความรู้ทางภูมิศาสตร์ของอเล็กซานเดรียและโรมีนเกิดจากโพลีบิอุส เดิมอยู่ที่อเล็กซานเดรีย ต่อมาย้ายไปรับราชการในกองทัพ
โรมันทางานอยู่กับสกิปิโอ ได้เดินทางสารวจฝั่งแอฟริกาไปยังแคว้นโกล และสเปน
ในช่วงศตวรรษที่ 2-1 ก่อน ค.ศ. มีการทาแผนที่เกี่ยวกับทะเลแดง ทะเลดา และทะเลเมดิเตอร์เรเนียนอย่างระเอียด
ในสมัยของออกุสตุส ซีซาร์ วิปซานิอุส อกริปป ได้เดินทางสารวจจักวรรดิเพื่อประโยชน์ทางการปกครองและการค้าถึง 30 ปี
สารวจถนนและปักหลักเขตบอกระยะทาง
เมลา อธิบายเรื่องทวีปทั้ง 3 คือ ยุโรป เอเชีย แอฟริกา โดยมีทะเลยเมดิเตอร์เรเนียนอยู่ตรงกลาง ซึ่งเรียกว่า “ทะเลของเรา”
เขากาหนด แม่น้าตานิส ทะเลสาบแมโอติส และทะเลดา เป็นพรมแดนกั้นระหว่างยุโรปกับเอเชีย และแม่น้าไนล์ เป็นเส้นแบ่งเขต
เอเชียกับแอฟริกา
ตาซิตุส เล่าว่าอกริโคลาได้นาเรือโรมันแล่นรอบเกาะอังกฤษเพื่อพิสูจน์ว่าอังกฤษมีลักษณะเป็นเกาะ และเชื่อว่าสเปนอยู่ทางทิศ
ตะวันตกของอังกฤษ และเห็นด้วยกับสตราโบที่ว่าเทือกเขาพีเรนีสอยู่ในแนวทิศเหนือ ทิศใต้ นอกจากนี้ชาวโรมันยังพยายามอธิบาย
เรื่องพระอาทิตย์เที่ยงคืนตามความเชื่อโลกแบนอีกด้วย
ค. การปกครองจักรวรรดิกับการแพทย์และสุขาภิบาล
จุดเริ่มต้นเชื่อว่าโรคภัยไข้เจ็บเป็นเทพธิดา มีโบสถ์ของเทพเจ้าดังกล่าวอยู่ในโรม 3 แห่ง นอกจากนี้ก็มีเทพธิดาแห่งสุขภาพ
ผู้ดูแลรักษาสุขภาพของผู้คน
การศึกษาทางการแพทย์เป็นการถ่ายทอดระหว่างครูกับลูกศิษย์ ครูคนแรกเป็นชาวกรีกชื่อ แอสคลีปิอาเดสแห่งบิธิเนีย ถือ
หลักของฮิปโปคราเตสซึ่งเน้นอานาจเยียวยาของธรรมชาติ เขาได้ตั้งโรงเรียนอีกด้วย ซึ่งในระยะแรกๆ รงเรียนเป็ยเพียงสถานที่ครู
สอนกับลูกศิษย์ซึ่งเป็นผู้ช่วยหรือเด็กฝึกงาน ต่อมาก็กลายเป็นที่นัดพบของบุคคลที่สนใจทางการแพทย์และในที่สุดจักรพรรดิออกุส
ตุสก็ได้สร้างโรงเรียนสอนวิชาแพทย์ โดยโรมเป็นศูนย์กลางการสอนวิชาแพทย์
ด้านสาธารณสุข นั้นก้าวหรือกว่าการแพทย์มากนัก วิทรูวิอุส สถาปนิกคนหนึ่งเน้นระบบการระบายน้าเสียจากอาคาร การ
สุขาภิบาลและการสาธารณสุขเป็นเรื่องที่ผู้นาโรมันสนใจ โดยเฉพาะโกลอาเซหรือท่อระบายน้าเสีย ซึ่งฝังไว้ใต้ดินที่ยังสามารถยังใช้
งานได้ถึงปัจจุบัน และการส่งน้าดีไปตามบ้าน อะควีดัคหรือทางส่งน้า
IV การแสดงออกทางศิลปะ
4.1 ทัศนศิลป์
โรมันได้รับอิทธิพลและรูปแบบของกรีกมาเกือบทั้งหมด โดยเฉพาะด้านประติมากรรมและสถาปัตยกรรม ดังนั้น
นักปราชญ์ชาวโรมัน ชื่อ ฮอรัซ ได้กล่าวไว้ในทานองว่า ชาวกรีกถึงแม้จะพ่ายแพ้ต่อโรมัน ก็กลับชนะด้วยการนา
ศิลปวัฒนธรรมที่เจริญกว่ามาสู่โรมัน
ก. ศิลปกรรมสมัยสาธารณรัฐ
ลักษณะผสมผสานระหว่างศิลปกรรมของอีทรัสกันและกรีกสมัยเฮเลนิสติค
(1) ประติมากรรม
นิยมนาประติมากรรมของกรีกมาติดตั้งตามสถานที่ต่างๆ และทาการลอกเลียนแบบผลงานชิ้นเด่นๆ ของกรีกไว้
(2) สถาปัตยกรรม
การก่อสร้างของอีทรัสกันและผสมผสานกับของกรีก โดยพัฒนาให้มีประโยชน์ใช้สอยมากขึ้น การนาเอาวิธีก่อสร้างแบบโค้ง
(Arch) มาพัฒนาให้ก้าวหน้าขึ้นอีก การนาหินลาวาใช้เป็นวัสดุก่อสร้างให้แข็งแรงมากขึ้น เช่น วิหารฟอร์จูนา ไวริลลิสหรือโบสถ์ที่
ปัจจุบันถูกดัดแปลงเป็น๕ริสต์ศาสนา ชื่อ สตา มารีอา เดลโซล
(3) จิตรกรรม
รูปแบบและวิธีการสร้างจิตรกรรมฝาผนังจะแสดงให้เห็นถึงอิทธิพลของกรีก สันนิษฐานว่ามีจิตรกรชาวกรีกเดินทางเข้ามาทางาน
ในโรม เรียกจิตรกรรมโรมันสมัยสาธารณรัฐและตอนต้นสมัยจักรวรรดิว่า ปอมเปเอียน สไตล์
จิตรกรรมฝาผนัง Scenes of a Dionysiac Mystery Cult
ข. ศิลปกรรมสมัยจักรวรรดิ
(1) สถาปัตยกรรม สิ่งก่อสร้างมีหลายประเภท
- โฟรัม (Forum) เป็นสถานที่ชุมนุมชนและสถานที่ราชการมักจะมีทุกๆ เมือง โดยนาความคิดมาจาอกอราของกรีก
โฟรัมของทราจัน
- บาซิลิกา (Basilica) เป็นอาคารขนาดใหญ่ ใช้เป็นสถานที่ประกอบพิธีการที่สาคัญ เป็นศูนย์การค้า ศาล และห้องสมุด
บาซิลิกาซานตามาเรียโนเวลลา ในฟลอเรนซ์
- โคลอสเซียม (Colosseum) นาความคิดดัดแปลงมาจากโรงละครลางแจ้งของกรีกขยายมาเป็นสนามกีฬาและการต่อสู้
ระบบก่อสร้างส่วนใหญ่ใช้ประตูโค้ง มีเสาประดับ ลักษณะแตกต่างกันไปทั้งแบบดอริค ไอโอนิค และโครินเธียน วัสดุที่นามาใช้คือ
หินลาวา
โคลอสเซียม (Colosseum)
- ประตูชัย (Triumphal Arch) เป็นสถาปัตยกรรมของโรมันโดยแท้ สร้างขึ้นเพื่อเฉลิมฉลองชัยชนะจากสงคราม
ประตูชัยจักรพรรดิติตุส
- ท่อส่งน้า (Aqueduct) ท่อส่งน้านี้สร้างเพื่อลาเลียงน้าจากแม่น้าไปสู้ตัวเมืองและสถานที่ต่างๆ ระบบการก่อสร้างเป็น
แบบประตูโค้ง ส่วนใหญ่ยังใช้การได้ดีจนถึงปัจจุบัน
ท่อส่งน้าปองต์ ดู การ์ด
(2) ประติมากรรม
ประติมากรรมส่วนใหญ่ได้รัยอิทธิผลมาจากกรีก นิยมสร้างเป็นแบบรูปปั้นคนครึ่งตัวแบบประดับอาคารและอนุสาวรีย์
4.2 วรรณคดี
การที่ชาวโรมันใช้ภาษากรีกเป็นระยะเวลานานเป็นสาเหตุสาคัญข้อหนึ่งที่ทาให้วรรณคดีกรีกมีอิทธิพลต่อวรรณคดีละติน
อย่างเห็นได้ชัด ชาวโรมันไดถือวรรณคดีกรีกเป็นแบบอย่าง ไม่ว่าจะเป็นการแต่งมหากาพย์ บทละคร หรือกวีนิพนธ์ลิริก หาก
พิจารณาเปรียบเทียบวรรณคดีกรีกและวรรณคดีละตินแล้วจะเห็นได้ว่า วรรณคดีละตินมีลักษณะเด่นในด้สนการสั่งสอน เน้น
ศีลธรรมจรรยามากกว่าวรรณคดีกรีก
4.3 ละคร
ลักษณะละครทั่วไปได้รับการถ่ายทอดมาจากกรีกเกือบทุกอย่าง แต่การแสดงละครของโรมันเป็นสิ่งที่ถูกดูหมิ่น เนื่องจาก
สถานภาพของนักแสดงต่า ประกอบไปด้วยทาสหรือโสเภณี และในศตวรรษที่ 6 จักรพรรดิจัสติเนียนแห่งจักรวรรดิโรมัน
ตะวันออกได้ประกาศห้ามการแสดงในโรงละครอีกเลย
4.4 ดนตรี
ในสมัยแรก ชาวโรมันได้ให้ความสาคัญกับดนตรีเป็นอย่างมาก แต่ในสมัยหลังๆ การดนตรีได้เสื่อมลง การจัดแสดง
ดนตรีมโหฬารก็ไม่เป็นที่สบอารมณ์หมู่นักปราชญ์ทางดนตรีอนุรักษ์นิยมเท่าใดนัก เมื่อออกุสตุสได้ขึ้นครองราชย์ ก็ได้แต่งตั้ง
สมาคมสาหรับดนตรีบรรเลงเพลงประกอบพิธีการศาสนา และสาหรับราชการด้วย นักแต่งเพลงผู้มีฝีมือก็ได้รับอุปถัมภ์จาก
จักรพรรดิอีกด้วย
บรรณานุกรม
คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. อารยธรรมสมัยโบราณ - สมัยกลาง. พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2535.

More Related Content

What's hot

เมโสโปเตเมีย
เมโสโปเตเมียเมโสโปเตเมีย
เมโสโปเตเมีย
bew lertwassana
 
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2
Phonlawat Wichaya
 
สหประชาชาติ
สหประชาชาติสหประชาชาติ
สหประชาชาติ
thnaporn999
 
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
Gob_duangkamon
 
ใบความรู้ที่ 3 เรื่อง พัฒนาการทางเศรษฐกิจสมัยอยุธยา
ใบความรู้ที่ 3 เรื่อง พัฒนาการทางเศรษฐกิจสมัยอยุธยาใบความรู้ที่ 3 เรื่อง พัฒนาการทางเศรษฐกิจสมัยอยุธยา
ใบความรู้ที่ 3 เรื่อง พัฒนาการทางเศรษฐกิจสมัยอยุธยา
Princess Chulabhon's College Chonburi
 

What's hot (20)

ลัทธิจักรวรรดินิยม Imperialism
ลัทธิจักรวรรดินิยม Imperialismลัทธิจักรวรรดินิยม Imperialism
ลัทธิจักรวรรดินิยม Imperialism
 
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย4
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย4ภูมิศาสตร์ประเทศไทย4
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย4
 
ทวีปยุโรป สังคมศึกษา ม.2
ทวีปยุโรป สังคมศึกษา ม.2 ทวีปยุโรป สังคมศึกษา ม.2
ทวีปยุโรป สังคมศึกษา ม.2
 
เมโสโปเตเมีย
เมโสโปเตเมียเมโสโปเตเมีย
เมโสโปเตเมีย
 
การออมและการลงทุน ม.2
การออมและการลงทุน ม.2การออมและการลงทุน ม.2
การออมและการลงทุน ม.2
 
สมัยจักรวรรดินิยม
สมัยจักรวรรดินิยมสมัยจักรวรรดินิยม
สมัยจักรวรรดินิยม
 
หัวข้อที่ ๕ ประวัติศาสตร์ไทยก่อนสมัยสุโขทัย
หัวข้อที่ ๕  ประวัติศาสตร์ไทยก่อนสมัยสุโขทัยหัวข้อที่ ๕  ประวัติศาสตร์ไทยก่อนสมัยสุโขทัย
หัวข้อที่ ๕ ประวัติศาสตร์ไทยก่อนสมัยสุโขทัย
 
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
 
Microsoft power point presentation ใหม่
Microsoft power point presentation ใหม่Microsoft power point presentation ใหม่
Microsoft power point presentation ใหม่
 
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2
 
ทวีปอเมริกาเหนือ และอเมริกากลาง
ทวีปอเมริกาเหนือ  และอเมริกากลางทวีปอเมริกาเหนือ  และอเมริกากลาง
ทวีปอเมริกาเหนือ และอเมริกากลาง
 
สหประชาชาติ
สหประชาชาติสหประชาชาติ
สหประชาชาติ
 
กำเนิดรัฐชาติ
กำเนิดรัฐชาติกำเนิดรัฐชาติ
กำเนิดรัฐชาติ
 
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
 
อารยธรรมอียิปต์
อารยธรรมอียิปต์ อารยธรรมอียิปต์
อารยธรรมอียิปต์
 
ใบงาน2
ใบงาน2ใบงาน2
ใบงาน2
 
ประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัยประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัย
 
เหตุการณ์ปฏิวัติ
เหตุการณ์ปฏิวัติเหตุการณ์ปฏิวัติ
เหตุการณ์ปฏิวัติ
 
ใบความรู้ที่ 3 เรื่อง พัฒนาการทางเศรษฐกิจสมัยอยุธยา
ใบความรู้ที่ 3 เรื่อง พัฒนาการทางเศรษฐกิจสมัยอยุธยาใบความรู้ที่ 3 เรื่อง พัฒนาการทางเศรษฐกิจสมัยอยุธยา
ใบความรู้ที่ 3 เรื่อง พัฒนาการทางเศรษฐกิจสมัยอยุธยา
 
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก (จีน เกาหลี ญี่ปุ่น)
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก (จีน เกาหลี ญี่ปุ่น)ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก (จีน เกาหลี ญี่ปุ่น)
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก (จีน เกาหลี ญี่ปุ่น)
 

Similar to อารยธรรมโรมัน

4.1 4.2 อิทธิพล-การเมือง เศรษฐกิจ
4.1 4.2 อิทธิพล-การเมือง เศรษฐกิจ4.1 4.2 อิทธิพล-การเมือง เศรษฐกิจ
4.1 4.2 อิทธิพล-การเมือง เศรษฐกิจ
Jitjaree Lertwilaiwittaya
 

Similar to อารยธรรมโรมัน (11)

อารยธรรมโรมัน
อารยธรรมโรมันอารยธรรมโรมัน
อารยธรรมโรมัน
 
ประวัติศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ประวัติศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือประวัติศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ประวัติศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
 
อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง ม.6.1
อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง ม.6.1อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง ม.6.1
อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง ม.6.1
 
เหตุการณ์สำคัญทางประวัติศาสตร์สากล
เหตุการณ์สำคัญทางประวัติศาสตร์สากลเหตุการณ์สำคัญทางประวัติศาสตร์สากล
เหตุการณ์สำคัญทางประวัติศาสตร์สากล
 
อารยธรรมจีน
อารยธรรมจีนอารยธรรมจีน
อารยธรรมจีน
 
ประวัติศาสตร์เศรษฐกิจไทย
ประวัติศาสตร์เศรษฐกิจไทยประวัติศาสตร์เศรษฐกิจไทย
ประวัติศาสตร์เศรษฐกิจไทย
 
Greek roman
Greek romanGreek roman
Greek roman
 
บทที่ 2 อารยธรรมของโลกตะวันตกในยุคโบราณ
บทที่ 2 อารยธรรมของโลกตะวันตกในยุคโบราณบทที่ 2 อารยธรรมของโลกตะวันตกในยุคโบราณ
บทที่ 2 อารยธรรมของโลกตะวันตกในยุคโบราณ
 
อารยธรรมโรมัน.ppt
อารยธรรมโรมัน.pptอารยธรรมโรมัน.ppt
อารยธรรมโรมัน.ppt
 
4.1 4.2 อิทธิพล-การเมือง เศรษฐกิจ
4.1 4.2 อิทธิพล-การเมือง เศรษฐกิจ4.1 4.2 อิทธิพล-การเมือง เศรษฐกิจ
4.1 4.2 อิทธิพล-การเมือง เศรษฐกิจ
 
พัฒนาการอาณาจักรอยุธยา
พัฒนาการอาณาจักรอยุธยาพัฒนาการอาณาจักรอยุธยา
พัฒนาการอาณาจักรอยุธยา
 

อารยธรรมโรมัน

  • 1. รายงานการศึกษา เรื่อง อารยธรรมโรมัน จัดทาโดย นางสาวพศิกา ชูเชื้อ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5.10 เลขที่ 20 เสนอ คุณครูเตือนใจ ไชยศิลป์ รายงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชาประวัติศาสตร์ โรงเรียนสามัคคีวิทยาคม สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 36
  • 3. I ความเป็นมา อารยโรมันก่อตัวมาจากการรับความเจริญของกลุ่มชนที่มีอานาจในคาบสมุทรอิตาลีก่อนชาวโรมัน กลุ่มที่สาคัญ ได้แก่ ชาวกรีกและอีทรัสกัน ประมาณศตวรรษที่ 8 ก่อนคริสตร์ศักราช ชาวกรีกเข้ามาตั้งอาณานิคมในบริเวณอ่าวทางใต้ และทางตะวันตก เฉียงใต้ของคาบสมุทรอิตาลี ชาวกรีกได้นาความเจริญเข้ามาเผยแพร่หลายอย่าง ชาวอีทรัสกัน นักประวัติศาสตร์สันนิษฐานว่าเป็นกลุ่มชนที่อพยพมาจากเอเชียไมเนอร์ ด้วยความสามารถในการ รบทาให้ชาวอีทรัสกันมีอานาจเหนือกลุ่มต่างๆ รวมถึงชาวโรมันด้วย การที่ชาวโรมันเคยตกอยู่ใต้อานาจของชาวอีทรัสกัน จึงได้เรียนรู้อารยธรรมของกรีกและอีทรัสกัน ประมาณปี 510 ก่อนคริสต์ศักราช ชาวโรมันประสบความสาเร็จในการโค่นล้มกษัตริย์อีทรัสกัน และขยายอานาจ ครอบครองดินแดนตะวันตกของทะเลเมดิเตอร์เรเนียน และอาณาบริเวณโดยของทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ได้รับสมญาว่าเป็น “เจ้าแห่งทะเลเมดิเตอร์เรเนียน” และเมื่อรบชนะแดนใดก็จะสร้างถนนเชื่อมต่อกับกรุงโรม
  • 4.
  • 5. II การเมือง สังคม เศรษฐกิจ 2.1 การเมือง แบ่งออกเป็น 2 ระยะ 1) ระบอบสาธารณรัฐโรมัน เริ่มตั้งแต่ปี 509 ก่อน ค.ศ. คือเมื่อโรมสามารถขจัดกษัตริย์ต่างชาติองค์ สุดท้ายที่ปกครองตนได้สาเร็จ และสิ้นสุดเมือปี 27 ก่อน ค.ศ. ซึ่งมีความแตกต่างจากระบอบกษัตริย์ โดย อานาจการปกครองอยู่ในมือประชาชน แต่ในสมัยต้นๆ นั้น แท้จริงแล้วอานาขส่วนใหญ่กับสภาเซเนท ต่อมา ภายหลังก็มีการขยายสิทธิพลเมืองกว้างขึ้น
  • 6. องค์กรทางการปกครองมีดังนี้ (1) กงสุล เป็นประมุขทางการบริหาร มี 2 คน (2) สภาเซเนท มีสมาชิก 300 คน เรียกสมาขิกว่า เซเนเตอร์ ควบคุมเกี่ยวกับการคลัง การต่างประเทศ การประกาศสงคราม ตัดสินคดี และมีสิทธิยับยั้งมติของสภาราษฎร (3) สภาราษฎร ประกอบด้วยราษฎรพวกแพทริเชียนและเพลเบียน เรียกว่า โคมิตาคิวริเอตา มีหน้าที่แต่งตั้งกงสุล ตัดสินข้อ พิพาทสาคัญๆ นอกจาก 3 องค์กรนี้ก็มีเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานต่างๆ รองจากกงสุล ในฐานะบริหาร คือ (1) เพรเตอร์ ทางานแทนกงสุลเมื่อกงสุลมีธุรกิจนอกเมืองหรือต้องเดินทางออกจากโรม (2) เซนเซอร์ เป็นผู้สารวจสามะโนประชากร (3) เกสเตอร์ เจ้าการคลัง (4) อิไดล์ เจ้าหน้าที่ดูแลถนนและการตลาด การปกครองโดยวิธีดังกล่าวสร้างความไม่พอใจแก่พวกแพทริเชียน เพราะถูกกีดกันจากการสมัครเป็นกงสุลและสภาเซเนท จึง มีการเขียนกฎหมายที่ระบุถึงสิทธิและหน้าที่ของพวกแพทริเชียนและเพลเบียน คือ กฎหมายสิบสองโต๊ะ (Law of the Twelve Tables) โดยพวกแพทริ-เชียน มีสภาเป็นของตนเองเรียกว่า ไทรเบิล มีหน้าที่ออกกฎหมาย และทรีบูล คือ ผู้แทนในการรักษาและ ดูแลสิทธิของพวกแพทริเชียน
  • 7. 2) ระบบจักรวรรดิ ระบอบจักรวรรดิโรมันเริ่มอย่างเป็นทางการในสมัยของ ออกุสตุส ซีซาร์ ในปี 27 ก่อน ค.ศ. เมื่อออกุสตุส สถาปนาตนเองขึ้น เป็นจักรพรรดิองค์แรก ระบอบสาธารณรัฐโรมันจึงค่อยๆ สลายตัวเป็นระบอบกษัตริย์ ในการบริหารการปกครองได้ใช่วิธี อะลุ้มอล่วย โดยปกครองให้เข้ากับความจาเป็นและขนบธรรมเนียมของท้องถิ่นนั้นๆ แต่ดินแดนส่วนใหญ่ของจักรวรรดิโดยเฉพาะ อย่างยิ่งในภาคตะวันตกและในบริเวณทะเลเอเจียนรวมกับเป็นลักษณะสหพันธรัฐ โดยมีความสามารถในการปกครองตนเองเป็น อิสระพอสมควร รัฐเล่านี้ต้องยอมเสียภาษี จัดหากาลังบารุงกองทัพและจัดพิธีบูชาจักรพรรดิให้ถูกต้อง ก. กฎหมาย กฎหมายโรมันเป็นมรดกทางการปกครองสาคัญที่ชาวโรมันทิ้งไว้ให้แก่คนรุ่นหลัง โดยกฎหมายฉบับแรกคือ กฎหมายสิบสอง โต๊ะ แต่เมื่อโรมันขยายตัวเป็นจักรวรรดิ ชาวโรมันได้รวบรวมกฎหมายที่ได้พบเห็นมาปรับปรุงให้เหมาะสมกับการปกครองแบบ จักรวรรดิ เรียกกฎหมายนี้ว่า จุส เจนติอุม (กฎหมายของชนทั้งหลาย) กฎหมายโรมันยังได้รับอิทธิพลจากปรัชญาสานักสโตอิคทาให้กฎหมายส่วนใหญ่อยู่บนพื้นฐานของกฎธรรมชาติ ถือว่า กฎหมายคือสิ่งที่พระเจ้าทรงสร้างขึ้น
  • 8. ข. ความเสื่อมของจักรวรรดิโรมัน ความกว้างใหญ่ของจักรวรรดิโรมันทาให้ต้องมีกองทัพขนาดใหญ่เพื่อรักษาและขยายดินแดน จานวนประชากรที่เป็นชาวโรมันก็มี ไม่พอทาให้ต้องเกณฑ์ทหารจากชาติอื่นๆ ผลเสียที่ตามมาก็คือ คนเหล่านี้มาจากดินแดนที่ห่างไกลและยังมีวัฒนธรรมแตกต่างจาก ชาวโรมัน จึงไม่มีความจงรักภักดีต่อโรม ระบบการสืบอานาจมีปัญหามากขึ้น เกิดการแย่งชิงอานาจบ่อยๆ ทาให้ระบบการบริหารอ่อนตัวลง จักรพรรดิไดโอคลีเชียนทรง แก้ไขปัญหาโดยแยกโรมมันเป็น 2 ภาค คือ พระองค์ทรงปกครองโรมันตะวันออก และทรงแต่งตั้งจักรพรรดิผู้ช่วย (ออกุสตุส) ดูแล โรมตะวันตก ค.ศ. 313 จักรพรรดิคอนแสตนตินทรงรวบรวมจักรวรรดิเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันอีกครั้ง แต่เมื่อสิ้นรัชกาลของพระองค์ก็ไม่ สามารถรักษาความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน ทาให้แยกเป็น 2 ภาคอีกครั้ง และต้องเผชิญหน้ากับการรุกรานจากชนเผ่าเยอรมัน ทาให้ ดินแดนต่างๆ เริ่มแยกตัวเป็นอิสระ จน ค.ศ. 476 จักรวรรดิโรมันตะวันตกล่มสลายลงเมื่อโอโดเอเชอร์ แม่ทัพของเผ่าเยอรมันเข้ายึด กรุงโรมและปลดจักรพรรดิ ดิโรมิลลุส ออกุสตุส ออกจากตาแหน่ง
  • 9. 2.2 สังคม โครงสร้างของสังคมโรมันสืบทอดมาจากโครงสร้างของสังคมสมัยเมื่ออยู่ใต้การปกครองของอีทรัสกัน คือ พลเมืองแบ่ง ออกเป็น 2 กลุ่ม 1) พวกแพทริเชียน (Patricians) ได้แก่กลุ่มผู้ดี มีความมั่งคั่ง ร่ารวย มีสิทธิในการปกครองสาธารณรัฐ 2) พวกเพลเบียน (Plebeians) หรือสามัญชน คือ ประชาชนส่วนใหญ่ได้แก่ ชาวนา พ่อค้าช่างฝีมือ ฯลฯ ช่วงปี 264- 146 ก่อน ค.ศ. การค้าเจริญเติบโตมากขึ้น ทาให้พ่อค้าและผู้รับเหมาก่อสร้างร่ารวยมากขึ้น ดังจะเห็นได้ว่าพวกเพลเบียนที่ ร่ารวยได้รับการอนุญาตให้เข้าเป็นสมาชิกสภาเซเนทได้ 2.3 เศรษฐกิจ การค้าภายในของโรมันเอกชนเป็นคนดาเนินการ รัฐเรียกเก็บภาษีจากพ่อค้า และเก็บค่าเช้าจากเจ้าของที่ดิน การค้าทั่วไปใช้เหรียญเงินเป็นสื่อกลาง โรมันเด่นในด้านทหาร และเมื่อตีชนะดินแดนใดก็ให้ชาวโรมันบริหาร ครอบครองที่ดินส่งผลผลิตสู่กรุงโรม
  • 10. III ปัญญาความคิด 3.1 ความเชื่อในเทพเจ้า ได้รับอิทธิพลจากความเชื่อในเทพเจ้ากรีก โดยมีการเปลี่ยนชื่อของเทพเจ้า การประกอบพิธีทางศาสนาเป็นหน้าที่ของพระซึ่งเป็นประมุขได้แก่ กงสุลในสมัยสาธารณรัฐ และ จักรพรรดิในสมัยจักรวรรดิ
  • 11. 3.2 คริสต์ศาสนา คริสต์ศาสนาเผยแพร่เข้ามาในช่วงปลายจักรวรรดิโรมัน ชั้นแรกผู้ที่นับถือเป็นพวกคนยากจน อย่างไรก็ตาม ผู้ปกครอง โรมันต่อต้านศาสนาคริสต์โดยตลอดเพราะคาสอนบางประการปฏิเสธอานาจของรัฐ ในสมัยจักรพรรดิคอนสแตนตินทรงเปลี่ยนนโยบายมาสนับสนุนศาสนาคริสต์และทรงเปลี่ยนมานับถือศาสนาคริสต์ เมื่อ สิ้นศตวรรษที่ 4 ชาวโรมันส่วนใหญ่ต่างก็เข้าเป็นคริสต์ศาสนิกชน 3.3 ความคิดทางปรัชญา ความคิดทางปรัชญาของโรมันได้รับมาจากกรีกโดยตรง คือรับความคิดทั้งของพวกเอปิคิวเรียน ซินิค และสโตอิค ก. กลุ่ม scipionic circle กับแนวความคิดเรื่องความเท่าเทียมกันของมนุษย์ กลุ่มนี้เสนอแนวคิดเรื่องความเท่าเทียมกันของมนุษย์และความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกับของเชื้อชาติ ความเท่าเทียมกันทา ให้เกิดความยุติธรรมในรัฐ ข. อิทธิพลของสโตอิคต่อกฎหมายโรมัม ในระยะต้นกฎหมายเป็นกฎหมายนครรัฐ ซึ่งใช้กับพลเมืองจานวนจากัด แต่เมื่อโรมมีอานาจและร่ารวยมากขึ้น จานวนคน มากขึ้น กฎหมายก็ต้องเปลี่ยนไป
  • 12. กฎหมายต้องปรับให้เกิดความเท่าเทียมกัน เน้นความยุติธรรมเพื่อให้เกิดผลประโยชน์ส่วนรวมซึ่งปฏิบัติต่อทุกคนเหมือนกัน แนวความคิดที่สนับสนุนความเท่าเทียมกันนี้เป็นหลักของพวกสโตอิค ความคิดเรื่องความเป็นพี่น้องกันทั้งโลกทาให้สามารถใช้ หลักการเดียวกันกับคนได้ทั้งหมดไม่เลือกเชื้อชาติ ค. นักกฎหมายโรมัน นักกฎหมายโรมันถือว่าธรรมชาติกาหนดปทัฏฐาน ซึ่งกฎหมายบ้านเมืองจะต้องกาหนดให้ใกล้เคียงให้มากที่สุด นักกฎหมาย กลุ่มธรรมชาติถือว่ากฎธรรมชาติเป็นหลักการสูงสุดของกฎ การตีความกฎธรรมชาติออกมาเป็นการปฏิบัติเช่น การใช้กฎหมายอย่าง เท่าเทียมกัน การยึดถือสัญญาโดยถือสัตย์ การปฏิบัติอย่างเท่าเทียมกัน การถือเจตนาสาคัญกว่าคาพูด การคุ้มครองผู้ที่อยู่ในความ ดูแล ความสัมพันธ์ทางสายเลือด เหล่านี้เป็นลักษณะเด่นของกฎหมายโรมัน
  • 13. 3.4 วิทยาศาสตร์ละเทคโนโลยี ก. วิทยาศาสตร์ นักศึกษาชาวโรมันได้รับเอาอิทธิพลปรัชญาเฮเลนิค ความคิดแบบสโตอิคซึ่งโรมันรับมาจากพวกเฮเลนิสติคทาให้ไม่สนใน ความรู้ที่ไม่ได้นามาใช้ เพราะพวกสโตอิคเน้นความประพฤติและหน้าที่มากกว่าการเสวงหาความรู้ใหม่ๆ ดังนั้นแม้ว่าจะได้รับความคิด ทางวิทยาศาสตร์แบบอเล็กซานเดรียชาวโรมันก็ไม่ค่อยพัฒนาอะไรมากไปกว่านั้น ข. ภูมิศาสตร์กับการขยายจักรวรรดิ ความรู้ทางภูมิศาสตร์ของอเล็กซานเดรียและโรมีนเกิดจากโพลีบิอุส เดิมอยู่ที่อเล็กซานเดรีย ต่อมาย้ายไปรับราชการในกองทัพ โรมันทางานอยู่กับสกิปิโอ ได้เดินทางสารวจฝั่งแอฟริกาไปยังแคว้นโกล และสเปน ในช่วงศตวรรษที่ 2-1 ก่อน ค.ศ. มีการทาแผนที่เกี่ยวกับทะเลแดง ทะเลดา และทะเลเมดิเตอร์เรเนียนอย่างระเอียด ในสมัยของออกุสตุส ซีซาร์ วิปซานิอุส อกริปป ได้เดินทางสารวจจักวรรดิเพื่อประโยชน์ทางการปกครองและการค้าถึง 30 ปี สารวจถนนและปักหลักเขตบอกระยะทาง เมลา อธิบายเรื่องทวีปทั้ง 3 คือ ยุโรป เอเชีย แอฟริกา โดยมีทะเลยเมดิเตอร์เรเนียนอยู่ตรงกลาง ซึ่งเรียกว่า “ทะเลของเรา” เขากาหนด แม่น้าตานิส ทะเลสาบแมโอติส และทะเลดา เป็นพรมแดนกั้นระหว่างยุโรปกับเอเชีย และแม่น้าไนล์ เป็นเส้นแบ่งเขต เอเชียกับแอฟริกา
  • 14. ตาซิตุส เล่าว่าอกริโคลาได้นาเรือโรมันแล่นรอบเกาะอังกฤษเพื่อพิสูจน์ว่าอังกฤษมีลักษณะเป็นเกาะ และเชื่อว่าสเปนอยู่ทางทิศ ตะวันตกของอังกฤษ และเห็นด้วยกับสตราโบที่ว่าเทือกเขาพีเรนีสอยู่ในแนวทิศเหนือ ทิศใต้ นอกจากนี้ชาวโรมันยังพยายามอธิบาย เรื่องพระอาทิตย์เที่ยงคืนตามความเชื่อโลกแบนอีกด้วย ค. การปกครองจักรวรรดิกับการแพทย์และสุขาภิบาล จุดเริ่มต้นเชื่อว่าโรคภัยไข้เจ็บเป็นเทพธิดา มีโบสถ์ของเทพเจ้าดังกล่าวอยู่ในโรม 3 แห่ง นอกจากนี้ก็มีเทพธิดาแห่งสุขภาพ ผู้ดูแลรักษาสุขภาพของผู้คน การศึกษาทางการแพทย์เป็นการถ่ายทอดระหว่างครูกับลูกศิษย์ ครูคนแรกเป็นชาวกรีกชื่อ แอสคลีปิอาเดสแห่งบิธิเนีย ถือ หลักของฮิปโปคราเตสซึ่งเน้นอานาจเยียวยาของธรรมชาติ เขาได้ตั้งโรงเรียนอีกด้วย ซึ่งในระยะแรกๆ รงเรียนเป็ยเพียงสถานที่ครู สอนกับลูกศิษย์ซึ่งเป็นผู้ช่วยหรือเด็กฝึกงาน ต่อมาก็กลายเป็นที่นัดพบของบุคคลที่สนใจทางการแพทย์และในที่สุดจักรพรรดิออกุส ตุสก็ได้สร้างโรงเรียนสอนวิชาแพทย์ โดยโรมเป็นศูนย์กลางการสอนวิชาแพทย์ ด้านสาธารณสุข นั้นก้าวหรือกว่าการแพทย์มากนัก วิทรูวิอุส สถาปนิกคนหนึ่งเน้นระบบการระบายน้าเสียจากอาคาร การ สุขาภิบาลและการสาธารณสุขเป็นเรื่องที่ผู้นาโรมันสนใจ โดยเฉพาะโกลอาเซหรือท่อระบายน้าเสีย ซึ่งฝังไว้ใต้ดินที่ยังสามารถยังใช้ งานได้ถึงปัจจุบัน และการส่งน้าดีไปตามบ้าน อะควีดัคหรือทางส่งน้า
  • 15.
  • 16. IV การแสดงออกทางศิลปะ 4.1 ทัศนศิลป์ โรมันได้รับอิทธิพลและรูปแบบของกรีกมาเกือบทั้งหมด โดยเฉพาะด้านประติมากรรมและสถาปัตยกรรม ดังนั้น นักปราชญ์ชาวโรมัน ชื่อ ฮอรัซ ได้กล่าวไว้ในทานองว่า ชาวกรีกถึงแม้จะพ่ายแพ้ต่อโรมัน ก็กลับชนะด้วยการนา ศิลปวัฒนธรรมที่เจริญกว่ามาสู่โรมัน
  • 17. ก. ศิลปกรรมสมัยสาธารณรัฐ ลักษณะผสมผสานระหว่างศิลปกรรมของอีทรัสกันและกรีกสมัยเฮเลนิสติค (1) ประติมากรรม นิยมนาประติมากรรมของกรีกมาติดตั้งตามสถานที่ต่างๆ และทาการลอกเลียนแบบผลงานชิ้นเด่นๆ ของกรีกไว้ (2) สถาปัตยกรรม การก่อสร้างของอีทรัสกันและผสมผสานกับของกรีก โดยพัฒนาให้มีประโยชน์ใช้สอยมากขึ้น การนาเอาวิธีก่อสร้างแบบโค้ง (Arch) มาพัฒนาให้ก้าวหน้าขึ้นอีก การนาหินลาวาใช้เป็นวัสดุก่อสร้างให้แข็งแรงมากขึ้น เช่น วิหารฟอร์จูนา ไวริลลิสหรือโบสถ์ที่ ปัจจุบันถูกดัดแปลงเป็น๕ริสต์ศาสนา ชื่อ สตา มารีอา เดลโซล (3) จิตรกรรม รูปแบบและวิธีการสร้างจิตรกรรมฝาผนังจะแสดงให้เห็นถึงอิทธิพลของกรีก สันนิษฐานว่ามีจิตรกรชาวกรีกเดินทางเข้ามาทางาน ในโรม เรียกจิตรกรรมโรมันสมัยสาธารณรัฐและตอนต้นสมัยจักรวรรดิว่า ปอมเปเอียน สไตล์
  • 19. ข. ศิลปกรรมสมัยจักรวรรดิ (1) สถาปัตยกรรม สิ่งก่อสร้างมีหลายประเภท - โฟรัม (Forum) เป็นสถานที่ชุมนุมชนและสถานที่ราชการมักจะมีทุกๆ เมือง โดยนาความคิดมาจาอกอราของกรีก โฟรัมของทราจัน
  • 20. - บาซิลิกา (Basilica) เป็นอาคารขนาดใหญ่ ใช้เป็นสถานที่ประกอบพิธีการที่สาคัญ เป็นศูนย์การค้า ศาล และห้องสมุด บาซิลิกาซานตามาเรียโนเวลลา ในฟลอเรนซ์
  • 21. - โคลอสเซียม (Colosseum) นาความคิดดัดแปลงมาจากโรงละครลางแจ้งของกรีกขยายมาเป็นสนามกีฬาและการต่อสู้ ระบบก่อสร้างส่วนใหญ่ใช้ประตูโค้ง มีเสาประดับ ลักษณะแตกต่างกันไปทั้งแบบดอริค ไอโอนิค และโครินเธียน วัสดุที่นามาใช้คือ หินลาวา โคลอสเซียม (Colosseum)
  • 22. - ประตูชัย (Triumphal Arch) เป็นสถาปัตยกรรมของโรมันโดยแท้ สร้างขึ้นเพื่อเฉลิมฉลองชัยชนะจากสงคราม ประตูชัยจักรพรรดิติตุส
  • 23. - ท่อส่งน้า (Aqueduct) ท่อส่งน้านี้สร้างเพื่อลาเลียงน้าจากแม่น้าไปสู้ตัวเมืองและสถานที่ต่างๆ ระบบการก่อสร้างเป็น แบบประตูโค้ง ส่วนใหญ่ยังใช้การได้ดีจนถึงปัจจุบัน ท่อส่งน้าปองต์ ดู การ์ด
  • 25. 4.2 วรรณคดี การที่ชาวโรมันใช้ภาษากรีกเป็นระยะเวลานานเป็นสาเหตุสาคัญข้อหนึ่งที่ทาให้วรรณคดีกรีกมีอิทธิพลต่อวรรณคดีละติน อย่างเห็นได้ชัด ชาวโรมันไดถือวรรณคดีกรีกเป็นแบบอย่าง ไม่ว่าจะเป็นการแต่งมหากาพย์ บทละคร หรือกวีนิพนธ์ลิริก หาก พิจารณาเปรียบเทียบวรรณคดีกรีกและวรรณคดีละตินแล้วจะเห็นได้ว่า วรรณคดีละตินมีลักษณะเด่นในด้สนการสั่งสอน เน้น ศีลธรรมจรรยามากกว่าวรรณคดีกรีก 4.3 ละคร ลักษณะละครทั่วไปได้รับการถ่ายทอดมาจากกรีกเกือบทุกอย่าง แต่การแสดงละครของโรมันเป็นสิ่งที่ถูกดูหมิ่น เนื่องจาก สถานภาพของนักแสดงต่า ประกอบไปด้วยทาสหรือโสเภณี และในศตวรรษที่ 6 จักรพรรดิจัสติเนียนแห่งจักรวรรดิโรมัน ตะวันออกได้ประกาศห้ามการแสดงในโรงละครอีกเลย
  • 26. 4.4 ดนตรี ในสมัยแรก ชาวโรมันได้ให้ความสาคัญกับดนตรีเป็นอย่างมาก แต่ในสมัยหลังๆ การดนตรีได้เสื่อมลง การจัดแสดง ดนตรีมโหฬารก็ไม่เป็นที่สบอารมณ์หมู่นักปราชญ์ทางดนตรีอนุรักษ์นิยมเท่าใดนัก เมื่อออกุสตุสได้ขึ้นครองราชย์ ก็ได้แต่งตั้ง สมาคมสาหรับดนตรีบรรเลงเพลงประกอบพิธีการศาสนา และสาหรับราชการด้วย นักแต่งเพลงผู้มีฝีมือก็ได้รับอุปถัมภ์จาก จักรพรรดิอีกด้วย
  • 27. บรรณานุกรม คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. อารยธรรมสมัยโบราณ - สมัยกลาง. พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2535.