SlideShare a Scribd company logo
1 of 4
Download to read offline
ใบความรูวิชาวิทยาศาสตร
        หนวยการเรียนรูที่ 2 แผนการสอนที่ 2 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1
                      เรื่อง สารเนื้อเดียวและสารเนื้อผสม

       1. สารเนื้อเดียว หมายถึง สารที่มองเห็นเปนเนื้อเดียว และมีสมบัติเดียวกัน ซึ่งไมวาจะ 
สังเกตดวยวิธีการใดก็ตาม เชน น้ําบริสุทธิ์ เงิน ทองแดง นาก อากาศ ทองคํา น้าเกลือ น้ําเชื่อม
                                                                           ํ
เปนตน สารเนื้อเดียวจําแนกได 2 ประเภท ดังนี้
      1.1 สารบริสุทธิ์ คือสารที่มีองคประกอบเพียงอยางเดียวโดยตลอด มีสมบัติเฉพาะตัว
เหมือนกันทั้งกอนสาร เชน ทองแดง ทองคํา ปรอท เปนตน จําแนกได 2 ประเภท คือ
- ธาตุ คือสารสารบริสุทธิ์ที่ประกอบดวยอะตอมชนิดเดียวกันทั้งหมดหรือโมเลกุลที่ประกอบดวย
อะตอมของธาตุชนิดเดียวกันทั้งหมด เชน ทองแดง ปรอท เหล็ก เปนตน นักวิทยาศาสตรไดจาแนก
                                                                                   ํ
ธาตุออกเปน 3 ประเภท คือ ธาตุโลหะ ธาตุอโลหะ ธาตุกึ่งโลหะ
- สารประกอบ คือสารเนื้อเดีียวประเภทสารบริิสุทธิิ์ที่มีธาตุตงแต 2 ชนิิดขึ้นไป ปน
      ป          ื      ื      ป                           ั้              ึ ไปเป
องคประกอบเชน น้ํา เกลือแกง กรดแอซีตก น้ําตาลทราย เปนตน
                                       ิ
       1.2 สารละลาย คือสารไมบริสุทธิ์มีสารองคประกอบตั้งแต 2 ชนิดขึ้นไปมาผสมกันแต
สารละลายจะมองเห็นเปนเนื้อเดียวกันโดยตลอด และองคประกอบของสารละลายจะแสดงสมบัติ
ตางกัน เชนจุดเดือดไมคงที่ การละลาย จุดหลอมเหลวไมคงที่ เปนตน
สารละลาย ประกอบดวยสารองคประกอบที่ทําหนาที่เปนตัวทําละลายและตัวถูกละลาย เชน
น้ําอัดลม น้ําเชื่อม น้าเกลือ อากาศ เปนตน สารละลายมีทั้ง 3 สถานะ ตัวทําละลายและตัวถูก
                       ํ
ละลายอาจมีสถานะเหมือนกันหรือตางกันก็ได
          2.สารเนื้อผสม คือสารที่มีองคประกอบตั้งแต 2 ชนิดขึ้นไป มาผสมกันมองเห็นไมเปน
เนื้อเดียวกัน สารประเภทนี้อาจมีองคประกอบเหมือนกันหรือตางสถานะกันก็ได เชน น้ําโคลน
น้ํานม น้าสลัด เปนตน
          ํ
       2.1 คอลลอยด คือของผสม(ของเหลว) ที่มีลักษณะขุนคลายกาวประกอบดวยอนุภาคที่
กระจายเปนตัวกลางมีอนุภาคใหญกวาสารละลายแตเล็กกวาสารแขวนลอย ไดแก น้านม น้ําสลัด
                                                                        ํ
น้ําแปง ฯลฯ
      2 2 สารแขวนลอย คืือ ของผสมที่ีประกอบดวยอนุภาคของแข็็งอยูในตัวกลางทีี่เปน
      2.2                                                            ั
อนุภาคของเหลว สามารถมองเห็นไดชัดเจนเนื่องอนุภาคของสารแขวนลอยมีขนาดใหญ เชน น้ํา
โคลน แปงน้ํา น้ํามันพืชในน้ํา ฯลฯ
ใบความรูวิชาวิทยาศาสตร
            หนวยการเรียนรูที่ 2 แผนการสอนที่ 2 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1
                         เรื่อง สารเนื้อเดียวและสารเนื้อผสม

สมบัตของสารละลาย
     ิ
       สารละลาย หมายถึง สารเนื้อเดียวที่เกิดจากสารบริสุทธิ์ตั้งแต 2 ชนิดขึ้นไปมารวมตัวกัน
โดยไมเกิดปฏิกิริยาเคมีแตจะเกิดการละลาย องคประกอบของสารละลายมีอยูู 2 สวน คือ ตัวทํา
           ฏ
ละลายและตัวถูกละลาย
หลักการในการพิจารณาวาสารใดเปนตัวทําละลาย และสารใดเปนตัวทําละลายนั้นมีเกณฑ ดังนี้
       1. ใชสถานะขององคประกอบเปนเกณฑ คือ องคประกอบใดของสารละลายที่มีสถานะ
เดียวกับสารละลายจะเปนตัวทําละลาย สวนองคประกอบใด มีสถานะตางจากสารละลายจะเปนตัว
ถกละลาย เชน สารละลายโซเดียมคลอไรด โซเดยมคลอไรด (เกลอแกง)เปนของแขงและนาเปน
ถูกละลาย เชน สารละลายโซเดยมคลอไรด โซเดียมคลอไรด (เกลือแกง)เปนของแข็งและน้ําเปน
ของเหลวเมื่อละลายรวมกัน น้า มีสถานะเดียวกับสารละลาย น้ําจึงเปนตัวทําละลาย เกลือแกง
                           ํ
เปนตัวถูกละลาย
     2. ใชปริมาณขององคประกอบเปนเกณฑ ถาองคประกอบของสารละลายมีสถานะเดียวกับ
สารละลายทั้งหมด เชน น้ําสมสายชู สารละลายในอากาศ สารละลายแอลกอฮอล เปนตน โดยให
ถอวาสารใดทมปรมาณมากกวาสารนนเปนตวทาละลาย เชน อากาศมี กาซไนโตรเจน กาซ
ถือวาสารใดที่มีปริมาณมากกวาสารนั้นเปนตัวทําละลาย เชน อากาศม กาซไนโตรเจน กาซ
ออกซิเจน กาซคารบอนไดออกไซด กาซซัลเฟอรไดออกไซด และกาซอื่น ๆ เปนองคประกอบ
ซึ่งมี    กาซไนโตรเจนมีปริมาณมากที่สุด ดังนั้นกาซไนโตรเจนจึงเปนตัวทําละลาย
          ปจจัยที่มีผลตอการละลายของสาร
- ชนิดของสาร สารแตละชนิดมีความสามารถในการละลายตางกัน เชน เกลือแกง น้าตาล  ํ
ทราย ดางทับทิม
      ดางทบทม
- ปริมาณของสาร มีความสําคัญตอการละลายของสารมาก ซึงปริมาณของสารจะเกี่ยวของกับ
                                                          ่
อัตราสวนระหวางตัวทําละลายและตัวถูกละลาย ถาใชปริมาณตัวทําละลายนอยก็จะละลายตังถูก
ละลาย ไดนอย
- อุณหภูมิ การละลายของสารจะเพิ่มขึ้นเมื่ออุณหภูมิสูงขึ้น ยกเวนกาซจะละลายลดลง
- ความดันอากาศ ถาสารละลายมีกาซเปนตัวถูกละลาย และมีน้ําเปนตัวทําละลายเมื่อเพิ่มความ
                                          ู
ดันใหสงขึ้นกาซจะละลายไดดขึ้น
        ู                     ี
ใบกิจกรรมวิชาวิทยาศาสตร
               หนวยการเรียนรูที่ 2 แผนการสอนที่ 2 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1
                            เรื่อง สารเนื้อเดียวและสารเนื้อผสม

      กิจกรรม สมบัติบางประการของคอลลอยด
      จุดประสงคการทดลอง
             1. ั
             1 นกเรีียนสามารถอธบายสมบตบางประการคอลลอยดได
                               ิ     ั ิ ป            ไ
      วิธีการทดลอง
            1. ใสสารละลายคอปเปอร(II) ซัลเฟต และน้ํานม ปริมาตร 50 ลูกบาศกก
      เซนติเมตร ลงในบีกเกอรอยางละใบ
             2 ฉายแสงจากกลองกําเนิดแสงผานไปยังบีกเกอรในขอ 1 ดังรูป
             2.                     ิ      ไป ี          
             3. สังเกตแสงที่ผานของเหลว โดยมองจากดานบน
             4. เปลี่ยนสารที่ทําการทดลองเปนน้ําแปงและสารละลายโซเดียมคลอไรด

                     หมอแปลงไฟฟาโวลต่ํา


                                                                            กลองกําเนิดแสง

                  สารที่ใชในการทดลอง

        ตารางบันทึกผลการทดลอง
             สาร                              ลักษณะของแสงที่สังเกตเห็น
1.สารละลายคอปเปอร
(II)ซัลเฟต
2.น้้ํานม
3.น้ําแปง
4.สารละลายโซเดียมคลอไรด
ใบงานที…...วิชาวิทยาศาสตร
                                     ่
              หนวยการเรียนรูที่ 2 แผนการสอนที่ 2 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1
                           เรอง สารเนอเดยวและสารเนอผสม
                           เรื่อง สารเนื้อเดียวและสารเนื้อผสม
ผลการเรียนรูที่คาดหวัง
     1. อธิบายความแตกตางระหวางสมบัติ ลักษณะของเนื้อสารของสารเนื้อเดียว สารเนื้อ
ผสม ขนาดอนุภาคของสารแขวนลอย คอลลอย สารละลาย
คาสง จงเตมคาหรอขอความในชองวางตอไปนใหถูกตอง
คําสัง จงเติมคําหรือขอความในชองวางตอไปนี้ใหถกตอง
     ่
1. สารเนื้อเดียวที่สังเกตเห็นมีสารหลายชนิดปนกันอยูไดหรือไม.……………………………..
                                                  
2. ถาผสมน้ําเกลือกับน้ําสมสายชูเขาดวยกัน จะเรียกวาเปนสารเนื้อเดียวหรือสารเนื้อผสม….
……………………………………………………………………………………………….
3. ใหนกเรยนยกตวอยางสารละลายทเปนของแขงละลายในของเหลวมอะไรบาง……………
3 ใหนักเรียนยกตัวอยางสารละลายที่เปนของแข็งละลายในของเหลวมีอะไรบาง
……………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………
4. จงแยกองคประกอบของสารละลายตอไปนีวาสารใดเปนตัวทําละลาย สารใดเปนตัวถูก
                                      ้
ละลาย4.1 น้ําเชื่อม ตัวทําละลาย……………………..ตัวถูก
ละลาย………………………………….. 4 2 อากาศ ตัวทําละลาย……………………..ตัวถูก
                                  4.2        ั ํ                           ั
ละลาย………………………………….. 4.3 นาก ตัวทําละลาย……………………..ตัวถูก
ละลาย…………………………………..                 4.4 แอลกอฮอลลางแผล ตัวทํา
ละลาย……………………..ตัวถูกละลาย………………………. 4.5 น้ําโซดา ตัวทํา
ละลาย……..……………………..ตัวถูกละลาย…...………………………...
5 จงบอกขอ แตกตางระหวาง สารแขวนลอยกับสารคอยลอยด…………………………………
5.                                                 
……………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………...
6. จงบอกหลักการในการพิจารณาวาสารใดเปนตัวทําละลาย สารใดเปนตัวถูกละลาย………….
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………...
     ชื่อ………………………..นามสกุล………………………………เลขที่ …………..

More Related Content

What's hot

บทที่1จำแนกสารม 2
บทที่1จำแนกสารม 2บทที่1จำแนกสารม 2
บทที่1จำแนกสารม 2Wichai Likitponrak
 
สารละลาย
สารละลายสารละลาย
สารละลายnn ning
 
ความรู้พื้นฐานทางเคมี
 ความรู้พื้นฐานทางเคมี ความรู้พื้นฐานทางเคมี
ความรู้พื้นฐานทางเคมีnn ning
 
ข้อสอบเอ็นทรานซ์ เคมี มีนาคม 2546
ข้อสอบเอ็นทรานซ์ เคมี มีนาคม 2546ข้อสอบเอ็นทรานซ์ เคมี มีนาคม 2546
ข้อสอบเอ็นทรานซ์ เคมี มีนาคม 2546Trd Wichai
 
6 solution (2)
6 solution (2)6 solution (2)
6 solution (2)Saisard
 
สมบัติของสารและการจำแนกสาร
สมบัติของสารและการจำแนกสารสมบัติของสารและการจำแนกสาร
สมบัติของสารและการจำแนกสารnetzad
 
บทที่ 3 สารละลาย
บทที่ 3 สารละลายบทที่ 3 สารละลาย
บทที่ 3 สารละลายNang Ka Nangnarak
 
การจำแนกสาร
การจำแนกสารการจำแนกสาร
การจำแนกสารSaowanee Sondech
 
การจำแนกสาร
การจำแนกสารการจำแนกสาร
การจำแนกสารSaowanee Sondech
 
สสารและการเปลี่ยนแปลง2
สสารและการเปลี่ยนแปลง2สสารและการเปลี่ยนแปลง2
สสารและการเปลี่ยนแปลง2ritvibool
 
สารละลาย
สารละลายสารละลาย
สารละลายJariya Jaiyot
 
ใบความรู้ที่ 9
ใบความรู้ที่ 9ใบความรู้ที่ 9
ใบความรู้ที่ 9Sumarin Sanguanwong
 
ใบความรู้ สสาร
ใบความรู้ สสารใบความรู้ สสาร
ใบความรู้ สสารSumalee Panpeng
 

What's hot (19)

บทที่1จำแนกสารม 2
บทที่1จำแนกสารม 2บทที่1จำแนกสารม 2
บทที่1จำแนกสารม 2
 
สารละลาย
สารละลายสารละลาย
สารละลาย
 
ความรู้พื้นฐานทางเคมี
 ความรู้พื้นฐานทางเคมี ความรู้พื้นฐานทางเคมี
ความรู้พื้นฐานทางเคมี
 
San
SanSan
San
 
ข้อสอบเอ็นทรานซ์ เคมี มีนาคม 2546
ข้อสอบเอ็นทรานซ์ เคมี มีนาคม 2546ข้อสอบเอ็นทรานซ์ เคมี มีนาคม 2546
ข้อสอบเอ็นทรานซ์ เคมี มีนาคม 2546
 
6 solution (2)
6 solution (2)6 solution (2)
6 solution (2)
 
San
SanSan
San
 
สมบัติของสารและการจำแนกสาร
สมบัติของสารและการจำแนกสารสมบัติของสารและการจำแนกสาร
สมบัติของสารและการจำแนกสาร
 
บทที่ 3 สารละลาย
บทที่ 3 สารละลายบทที่ 3 สารละลาย
บทที่ 3 สารละลาย
 
การจำแนกสาร
การจำแนกสารการจำแนกสาร
การจำแนกสาร
 
การจำแนกสาร
การจำแนกสารการจำแนกสาร
การจำแนกสาร
 
Knowledge chem bobby tutor
Knowledge chem bobby tutorKnowledge chem bobby tutor
Knowledge chem bobby tutor
 
สสารและการเปลี่ยนแปลง2
สสารและการเปลี่ยนแปลง2สสารและการเปลี่ยนแปลง2
สสารและการเปลี่ยนแปลง2
 
การกลั่นอย่างง่าย
การกลั่นอย่างง่ายการกลั่นอย่างง่าย
การกลั่นอย่างง่าย
 
Equilibrium mahidol
Equilibrium mahidolEquilibrium mahidol
Equilibrium mahidol
 
สารละลาย
สารละลายสารละลาย
สารละลาย
 
Matter
MatterMatter
Matter
 
ใบความรู้ที่ 9
ใบความรู้ที่ 9ใบความรู้ที่ 9
ใบความรู้ที่ 9
 
ใบความรู้ สสาร
ใบความรู้ สสารใบความรู้ สสาร
ใบความรู้ สสาร
 

Viewers also liked

แผนการสอนงานและพลังงาน
แผนการสอนงานและพลังงานแผนการสอนงานและพลังงาน
แผนการสอนงานและพลังงานWeerachat Martluplao
 
แผนการสอน โมเมนตั้มและการชน หลักสูตร 2551
แผนการสอน โมเมนตั้มและการชน หลักสูตร 2551แผนการสอน โมเมนตั้มและการชน หลักสูตร 2551
แผนการสอน โมเมนตั้มและการชน หลักสูตร 2551Weerachat Martluplao
 
Financing ECEC Services
Financing ECEC ServicesFinancing ECEC Services
Financing ECEC ServicesEduSkills OECD
 
Presentazione Cigar Club Foligno
Presentazione Cigar Club FolignoPresentazione Cigar Club Foligno
Presentazione Cigar Club Folignocigarclubfoligno
 
Smallcaps.us Audio Interview with Craig Harting, COO of Global Green Solution...
Smallcaps.us Audio Interview with Craig Harting, COO of Global Green Solution...Smallcaps.us Audio Interview with Craig Harting, COO of Global Green Solution...
Smallcaps.us Audio Interview with Craig Harting, COO of Global Green Solution...Smallcaps.us
 
02.kebijakan akuntansi-beban-&-belanja
02.kebijakan akuntansi-beban-&-belanja02.kebijakan akuntansi-beban-&-belanja
02.kebijakan akuntansi-beban-&-belanjaAli Mashduqi
 
งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2chirapa
 
God Character Education Chinese
God Character Education ChineseGod Character Education Chinese
God Character Education ChineseTimothy Shih
 
ตอบคำถามก่อนเรียน
ตอบคำถามก่อนเรียนตอบคำถามก่อนเรียน
ตอบคำถามก่อนเรียนKoonsombat Narinruk
 
2010 buku-modeling-with-uml-semester-genap-0910
2010 buku-modeling-with-uml-semester-genap-09102010 buku-modeling-with-uml-semester-genap-0910
2010 buku-modeling-with-uml-semester-genap-0910Global School
 
Child Development and Quality in ECEC
Child Development and Quality in ECECChild Development and Quality in ECEC
Child Development and Quality in ECECEduSkills OECD
 
คำศัพท์ในบทเรียน
คำศัพท์ในบทเรียนคำศัพท์ในบทเรียน
คำศัพท์ในบทเรียนKoonsombat Narinruk
 
знакамитыя земляки
знакамитыя землякизнакамитыя земляки
знакамитыя землякиkotovniio
 
Izzy's Openings
Izzy's OpeningsIzzy's Openings
Izzy's OpeningsJim Covalt
 
Direct mail anno 2010
Direct mail anno 2010Direct mail anno 2010
Direct mail anno 2010Drukverband
 

Viewers also liked (20)

2 ตอน2 sar57
2 ตอน2 sar572 ตอน2 sar57
2 ตอน2 sar57
 
แผนการสอนงานและพลังงาน
แผนการสอนงานและพลังงานแผนการสอนงานและพลังงาน
แผนการสอนงานและพลังงาน
 
แผนการสอน โมเมนตั้มและการชน หลักสูตร 2551
แผนการสอน โมเมนตั้มและการชน หลักสูตร 2551แผนการสอน โมเมนตั้มและการชน หลักสูตร 2551
แผนการสอน โมเมนตั้มและการชน หลักสูตร 2551
 
Financing ECEC Services
Financing ECEC ServicesFinancing ECEC Services
Financing ECEC Services
 
Presentazione Cigar Club Foligno
Presentazione Cigar Club FolignoPresentazione Cigar Club Foligno
Presentazione Cigar Club Foligno
 
Smallcaps.us Audio Interview with Craig Harting, COO of Global Green Solution...
Smallcaps.us Audio Interview with Craig Harting, COO of Global Green Solution...Smallcaps.us Audio Interview with Craig Harting, COO of Global Green Solution...
Smallcaps.us Audio Interview with Craig Harting, COO of Global Green Solution...
 
02.kebijakan akuntansi-beban-&-belanja
02.kebijakan akuntansi-beban-&-belanja02.kebijakan akuntansi-beban-&-belanja
02.kebijakan akuntansi-beban-&-belanja
 
งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2
 
God Character Education Chinese
God Character Education ChineseGod Character Education Chinese
God Character Education Chinese
 
ตอบคำถามก่อนเรียน
ตอบคำถามก่อนเรียนตอบคำถามก่อนเรียน
ตอบคำถามก่อนเรียน
 
1
11
1
 
2010 buku-modeling-with-uml-semester-genap-0910
2010 buku-modeling-with-uml-semester-genap-09102010 buku-modeling-with-uml-semester-genap-0910
2010 buku-modeling-with-uml-semester-genap-0910
 
Child Development and Quality in ECEC
Child Development and Quality in ECECChild Development and Quality in ECEC
Child Development and Quality in ECEC
 
คำศัพท์ในบทเรียน
คำศัพท์ในบทเรียนคำศัพท์ในบทเรียน
คำศัพท์ในบทเรียน
 
Rob Minto
Rob MintoRob Minto
Rob Minto
 
знакамитыя земляки
знакамитыя землякизнакамитыя земляки
знакамитыя земляки
 
Flashdrives usb 3
Flashdrives usb 3Flashdrives usb 3
Flashdrives usb 3
 
Izzy's Openings
Izzy's OpeningsIzzy's Openings
Izzy's Openings
 
Direct mail anno 2010
Direct mail anno 2010Direct mail anno 2010
Direct mail anno 2010
 
Evidentiality & Security Literacy
Evidentiality & Security LiteracyEvidentiality & Security Literacy
Evidentiality & Security Literacy
 

Similar to Substance2

4แบบฝึกขนาดอนุภาคเผยแพร่
4แบบฝึกขนาดอนุภาคเผยแพร่4แบบฝึกขนาดอนุภาคเผยแพร่
4แบบฝึกขนาดอนุภาคเผยแพร่npapak74
 
การจำแนกสาร
การจำแนกสารการจำแนกสาร
การจำแนกสารSaowanee Sondech
 
โครงงานเครื่องกรองน้ำทิ้งในโรงอาหาร
โครงงานเครื่องกรองน้ำทิ้งในโรงอาหารโครงงานเครื่องกรองน้ำทิ้งในโรงอาหาร
โครงงานเครื่องกรองน้ำทิ้งในโรงอาหารkrupornpana55
 
การจำแนกสาร
การจำแนกสารการจำแนกสาร
การจำแนกสารSaowanee Sondech
 
Onet m6 52 sci
Onet m6 52  sciOnet m6 52  sci
Onet m6 52 sciMiso Pim
 
แนวข้อสอบวิชาวิทยาศาสตร์
แนวข้อสอบวิชาวิทยาศาสตร์แนวข้อสอบวิชาวิทยาศาสตร์
แนวข้อสอบวิชาวิทยาศาสตร์iamaomkitt
 
วิทย์
วิทย์วิทย์
วิทย์paytine
 
M6science2552
M6science2552M6science2552
M6science2552peetty
 
O netวิทยาศาสตร์ปี52
O netวิทยาศาสตร์ปี52O netวิทยาศาสตร์ปี52
O netวิทยาศาสตร์ปี52floweruri
 
ข้อสอบ O-NET วิชา วิทยาศาสตร์
ข้อสอบ O-NET วิชา วิทยาศาสตร์ข้อสอบ O-NET วิชา วิทยาศาสตร์
ข้อสอบ O-NET วิชา วิทยาศาสตร์Harun Fight
 
วิทย์
วิทย์วิทย์
วิทย์Biobiome
 
02ca74a77252a41d5905194b2213fd74
02ca74a77252a41d5905194b2213fd7402ca74a77252a41d5905194b2213fd74
02ca74a77252a41d5905194b2213fd74anewz
 

Similar to Substance2 (20)

Subst 1
Subst 1Subst 1
Subst 1
 
Subst 1
Subst 1Subst 1
Subst 1
 
4แบบฝึกขนาดอนุภาคเผยแพร่
4แบบฝึกขนาดอนุภาคเผยแพร่4แบบฝึกขนาดอนุภาคเผยแพร่
4แบบฝึกขนาดอนุภาคเผยแพร่
 
Photosynthesis process
Photosynthesis processPhotosynthesis process
Photosynthesis process
 
การจำแนกสาร
การจำแนกสารการจำแนกสาร
การจำแนกสาร
 
โครงงานเครื่องกรองน้ำทิ้งในโรงอาหาร
โครงงานเครื่องกรองน้ำทิ้งในโรงอาหารโครงงานเครื่องกรองน้ำทิ้งในโรงอาหาร
โครงงานเครื่องกรองน้ำทิ้งในโรงอาหาร
 
การจำแนกสาร
การจำแนกสารการจำแนกสาร
การจำแนกสาร
 
Onet m6 52 sci
Onet m6 52  sciOnet m6 52  sci
Onet m6 52 sci
 
แนวข้อสอบวิชาวิทยาศาสตร์
แนวข้อสอบวิชาวิทยาศาสตร์แนวข้อสอบวิชาวิทยาศาสตร์
แนวข้อสอบวิชาวิทยาศาสตร์
 
วิทย์
วิทย์วิทย์
วิทย์
 
Sci
SciSci
Sci
 
M6science2552
M6science2552M6science2552
M6science2552
 
M6science2552
M6science2552M6science2552
M6science2552
 
ปี53
ปี53ปี53
ปี53
 
วิทย์
วิทย์วิทย์
วิทย์
 
O netวิทยาศาสตร์ปี52
O netวิทยาศาสตร์ปี52O netวิทยาศาสตร์ปี52
O netวิทยาศาสตร์ปี52
 
ข้อสอบ O-NET วิชา วิทยาศาสตร์
ข้อสอบ O-NET วิชา วิทยาศาสตร์ข้อสอบ O-NET วิชา วิทยาศาสตร์
ข้อสอบ O-NET วิชา วิทยาศาสตร์
 
Onet sci '53
Onet sci '53Onet sci '53
Onet sci '53
 
วิทย์
วิทย์วิทย์
วิทย์
 
02ca74a77252a41d5905194b2213fd74
02ca74a77252a41d5905194b2213fd7402ca74a77252a41d5905194b2213fd74
02ca74a77252a41d5905194b2213fd74
 

More from Miss.Yupawan Triratwitcha

สารสนเทศโรงเรียนกระแชงวิทยา ปีการศึกษา2558
สารสนเทศโรงเรียนกระแชงวิทยา ปีการศึกษา2558สารสนเทศโรงเรียนกระแชงวิทยา ปีการศึกษา2558
สารสนเทศโรงเรียนกระแชงวิทยา ปีการศึกษา2558Miss.Yupawan Triratwitcha
 
สารสนเทศปีการศึกษา2558
สารสนเทศปีการศึกษา2558สารสนเทศปีการศึกษา2558
สารสนเทศปีการศึกษา2558Miss.Yupawan Triratwitcha
 
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)Miss.Yupawan Triratwitcha
 
สรุปประเด็นสำคัญการปฏิรูปการศึกษารอบสอง
สรุปประเด็นสำคัญการปฏิรูปการศึกษารอบสองสรุปประเด็นสำคัญการปฏิรูปการศึกษารอบสอง
สรุปประเด็นสำคัญการปฏิรูปการศึกษารอบสองMiss.Yupawan Triratwitcha
 

More from Miss.Yupawan Triratwitcha (20)

หน้าปก
หน้าปกหน้าปก
หน้าปก
 
4 ตอน4 sar57
4 ตอน4 sar574 ตอน4 sar57
4 ตอน4 sar57
 
3 ตอน3 sar57
3 ตอน3 sar573 ตอน3 sar57
3 ตอน3 sar57
 
1 ตอน1 sar57
1 ตอน1 sar571 ตอน1 sar57
1 ตอน1 sar57
 
สารสนเทศโรงเรียนกระแชงวิทยา ปีการศึกษา2558
สารสนเทศโรงเรียนกระแชงวิทยา ปีการศึกษา2558สารสนเทศโรงเรียนกระแชงวิทยา ปีการศึกษา2558
สารสนเทศโรงเรียนกระแชงวิทยา ปีการศึกษา2558
 
สารสนเทศปีการศึกษา2558
สารสนเทศปีการศึกษา2558สารสนเทศปีการศึกษา2558
สารสนเทศปีการศึกษา2558
 
4 ตอน4 sar55
4 ตอน4 sar554 ตอน4 sar55
4 ตอน4 sar55
 
3 ตอน3 sar55
3 ตอน3 sar553 ตอน3 sar55
3 ตอน3 sar55
 
2 ตอน2 sar55
2 ตอน2 sar552 ตอน2 sar55
2 ตอน2 sar55
 
1 ตอน1 sar55
1 ตอน1 sar551 ตอน1 sar55
1 ตอน1 sar55
 
Book pp56legal
Book pp56legalBook pp56legal
Book pp56legal
 
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
 
Interractive simulation
Interractive simulationInterractive simulation
Interractive simulation
 
Teacher
TeacherTeacher
Teacher
 
Twitter
TwitterTwitter
Twitter
 
W 2
W 2W 2
W 2
 
สรุปประเด็นสำคัญการปฏิรูปการศึกษารอบสอง
สรุปประเด็นสำคัญการปฏิรูปการศึกษารอบสองสรุปประเด็นสำคัญการปฏิรูปการศึกษารอบสอง
สรุปประเด็นสำคัญการปฏิรูปการศึกษารอบสอง
 
Phy1 m4 kruyu
Phy1 m4 kruyuPhy1 m4 kruyu
Phy1 m4 kruyu
 
Response to stimuli in plants
Response to stimuli in plantsResponse to stimuli in plants
Response to stimuli in plants
 
Microscope
MicroscopeMicroscope
Microscope
 

Substance2

  • 1. ใบความรูวิชาวิทยาศาสตร หนวยการเรียนรูที่ 2 แผนการสอนที่ 2 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 เรื่อง สารเนื้อเดียวและสารเนื้อผสม 1. สารเนื้อเดียว หมายถึง สารที่มองเห็นเปนเนื้อเดียว และมีสมบัติเดียวกัน ซึ่งไมวาจะ  สังเกตดวยวิธีการใดก็ตาม เชน น้ําบริสุทธิ์ เงิน ทองแดง นาก อากาศ ทองคํา น้าเกลือ น้ําเชื่อม ํ เปนตน สารเนื้อเดียวจําแนกได 2 ประเภท ดังนี้ 1.1 สารบริสุทธิ์ คือสารที่มีองคประกอบเพียงอยางเดียวโดยตลอด มีสมบัติเฉพาะตัว เหมือนกันทั้งกอนสาร เชน ทองแดง ทองคํา ปรอท เปนตน จําแนกได 2 ประเภท คือ - ธาตุ คือสารสารบริสุทธิ์ที่ประกอบดวยอะตอมชนิดเดียวกันทั้งหมดหรือโมเลกุลที่ประกอบดวย อะตอมของธาตุชนิดเดียวกันทั้งหมด เชน ทองแดง ปรอท เหล็ก เปนตน นักวิทยาศาสตรไดจาแนก ํ ธาตุออกเปน 3 ประเภท คือ ธาตุโลหะ ธาตุอโลหะ ธาตุกึ่งโลหะ - สารประกอบ คือสารเนื้อเดีียวประเภทสารบริิสุทธิิ์ที่มีธาตุตงแต 2 ชนิิดขึ้นไป ปน ป ื ื ป ั้ ึ ไปเป องคประกอบเชน น้ํา เกลือแกง กรดแอซีตก น้ําตาลทราย เปนตน ิ 1.2 สารละลาย คือสารไมบริสุทธิ์มีสารองคประกอบตั้งแต 2 ชนิดขึ้นไปมาผสมกันแต สารละลายจะมองเห็นเปนเนื้อเดียวกันโดยตลอด และองคประกอบของสารละลายจะแสดงสมบัติ ตางกัน เชนจุดเดือดไมคงที่ การละลาย จุดหลอมเหลวไมคงที่ เปนตน สารละลาย ประกอบดวยสารองคประกอบที่ทําหนาที่เปนตัวทําละลายและตัวถูกละลาย เชน น้ําอัดลม น้ําเชื่อม น้าเกลือ อากาศ เปนตน สารละลายมีทั้ง 3 สถานะ ตัวทําละลายและตัวถูก ํ ละลายอาจมีสถานะเหมือนกันหรือตางกันก็ได 2.สารเนื้อผสม คือสารที่มีองคประกอบตั้งแต 2 ชนิดขึ้นไป มาผสมกันมองเห็นไมเปน เนื้อเดียวกัน สารประเภทนี้อาจมีองคประกอบเหมือนกันหรือตางสถานะกันก็ได เชน น้ําโคลน น้ํานม น้าสลัด เปนตน ํ 2.1 คอลลอยด คือของผสม(ของเหลว) ที่มีลักษณะขุนคลายกาวประกอบดวยอนุภาคที่ กระจายเปนตัวกลางมีอนุภาคใหญกวาสารละลายแตเล็กกวาสารแขวนลอย ไดแก น้านม น้ําสลัด ํ น้ําแปง ฯลฯ 2 2 สารแขวนลอย คืือ ของผสมที่ีประกอบดวยอนุภาคของแข็็งอยูในตัวกลางทีี่เปน 2.2 ั อนุภาคของเหลว สามารถมองเห็นไดชัดเจนเนื่องอนุภาคของสารแขวนลอยมีขนาดใหญ เชน น้ํา โคลน แปงน้ํา น้ํามันพืชในน้ํา ฯลฯ
  • 2. ใบความรูวิชาวิทยาศาสตร หนวยการเรียนรูที่ 2 แผนการสอนที่ 2 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 เรื่อง สารเนื้อเดียวและสารเนื้อผสม สมบัตของสารละลาย ิ สารละลาย หมายถึง สารเนื้อเดียวที่เกิดจากสารบริสุทธิ์ตั้งแต 2 ชนิดขึ้นไปมารวมตัวกัน โดยไมเกิดปฏิกิริยาเคมีแตจะเกิดการละลาย องคประกอบของสารละลายมีอยูู 2 สวน คือ ตัวทํา ฏ ละลายและตัวถูกละลาย หลักการในการพิจารณาวาสารใดเปนตัวทําละลาย และสารใดเปนตัวทําละลายนั้นมีเกณฑ ดังนี้ 1. ใชสถานะขององคประกอบเปนเกณฑ คือ องคประกอบใดของสารละลายที่มีสถานะ เดียวกับสารละลายจะเปนตัวทําละลาย สวนองคประกอบใด มีสถานะตางจากสารละลายจะเปนตัว ถกละลาย เชน สารละลายโซเดียมคลอไรด โซเดยมคลอไรด (เกลอแกง)เปนของแขงและนาเปน ถูกละลาย เชน สารละลายโซเดยมคลอไรด โซเดียมคลอไรด (เกลือแกง)เปนของแข็งและน้ําเปน ของเหลวเมื่อละลายรวมกัน น้า มีสถานะเดียวกับสารละลาย น้ําจึงเปนตัวทําละลาย เกลือแกง ํ เปนตัวถูกละลาย 2. ใชปริมาณขององคประกอบเปนเกณฑ ถาองคประกอบของสารละลายมีสถานะเดียวกับ สารละลายทั้งหมด เชน น้ําสมสายชู สารละลายในอากาศ สารละลายแอลกอฮอล เปนตน โดยให ถอวาสารใดทมปรมาณมากกวาสารนนเปนตวทาละลาย เชน อากาศมี กาซไนโตรเจน กาซ ถือวาสารใดที่มีปริมาณมากกวาสารนั้นเปนตัวทําละลาย เชน อากาศม กาซไนโตรเจน กาซ ออกซิเจน กาซคารบอนไดออกไซด กาซซัลเฟอรไดออกไซด และกาซอื่น ๆ เปนองคประกอบ ซึ่งมี กาซไนโตรเจนมีปริมาณมากที่สุด ดังนั้นกาซไนโตรเจนจึงเปนตัวทําละลาย ปจจัยที่มีผลตอการละลายของสาร - ชนิดของสาร สารแตละชนิดมีความสามารถในการละลายตางกัน เชน เกลือแกง น้าตาล ํ ทราย ดางทับทิม ดางทบทม - ปริมาณของสาร มีความสําคัญตอการละลายของสารมาก ซึงปริมาณของสารจะเกี่ยวของกับ ่ อัตราสวนระหวางตัวทําละลายและตัวถูกละลาย ถาใชปริมาณตัวทําละลายนอยก็จะละลายตังถูก ละลาย ไดนอย - อุณหภูมิ การละลายของสารจะเพิ่มขึ้นเมื่ออุณหภูมิสูงขึ้น ยกเวนกาซจะละลายลดลง - ความดันอากาศ ถาสารละลายมีกาซเปนตัวถูกละลาย และมีน้ําเปนตัวทําละลายเมื่อเพิ่มความ ู ดันใหสงขึ้นกาซจะละลายไดดขึ้น ู ี
  • 3. ใบกิจกรรมวิชาวิทยาศาสตร หนวยการเรียนรูที่ 2 แผนการสอนที่ 2 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 เรื่อง สารเนื้อเดียวและสารเนื้อผสม กิจกรรม สมบัติบางประการของคอลลอยด จุดประสงคการทดลอง 1. ั 1 นกเรีียนสามารถอธบายสมบตบางประการคอลลอยดได ิ ั ิ ป ไ วิธีการทดลอง 1. ใสสารละลายคอปเปอร(II) ซัลเฟต และน้ํานม ปริมาตร 50 ลูกบาศกก เซนติเมตร ลงในบีกเกอรอยางละใบ 2 ฉายแสงจากกลองกําเนิดแสงผานไปยังบีกเกอรในขอ 1 ดังรูป 2. ิ  ไป ี   3. สังเกตแสงที่ผานของเหลว โดยมองจากดานบน 4. เปลี่ยนสารที่ทําการทดลองเปนน้ําแปงและสารละลายโซเดียมคลอไรด หมอแปลงไฟฟาโวลต่ํา กลองกําเนิดแสง สารที่ใชในการทดลอง ตารางบันทึกผลการทดลอง สาร ลักษณะของแสงที่สังเกตเห็น 1.สารละลายคอปเปอร (II)ซัลเฟต 2.น้้ํานม 3.น้ําแปง 4.สารละลายโซเดียมคลอไรด
  • 4. ใบงานที…...วิชาวิทยาศาสตร ่ หนวยการเรียนรูที่ 2 แผนการสอนที่ 2 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 เรอง สารเนอเดยวและสารเนอผสม เรื่อง สารเนื้อเดียวและสารเนื้อผสม ผลการเรียนรูที่คาดหวัง 1. อธิบายความแตกตางระหวางสมบัติ ลักษณะของเนื้อสารของสารเนื้อเดียว สารเนื้อ ผสม ขนาดอนุภาคของสารแขวนลอย คอลลอย สารละลาย คาสง จงเตมคาหรอขอความในชองวางตอไปนใหถูกตอง คําสัง จงเติมคําหรือขอความในชองวางตอไปนี้ใหถกตอง ่ 1. สารเนื้อเดียวที่สังเกตเห็นมีสารหลายชนิดปนกันอยูไดหรือไม.……………………………..  2. ถาผสมน้ําเกลือกับน้ําสมสายชูเขาดวยกัน จะเรียกวาเปนสารเนื้อเดียวหรือสารเนื้อผสม…. ………………………………………………………………………………………………. 3. ใหนกเรยนยกตวอยางสารละลายทเปนของแขงละลายในของเหลวมอะไรบาง…………… 3 ใหนักเรียนยกตัวอยางสารละลายที่เปนของแข็งละลายในของเหลวมีอะไรบาง …………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………… 4. จงแยกองคประกอบของสารละลายตอไปนีวาสารใดเปนตัวทําละลาย สารใดเปนตัวถูก ้ ละลาย4.1 น้ําเชื่อม ตัวทําละลาย……………………..ตัวถูก ละลาย………………………………….. 4 2 อากาศ ตัวทําละลาย……………………..ตัวถูก 4.2 ั ํ ั ละลาย………………………………….. 4.3 นาก ตัวทําละลาย……………………..ตัวถูก ละลาย………………………………….. 4.4 แอลกอฮอลลางแผล ตัวทํา ละลาย……………………..ตัวถูกละลาย………………………. 4.5 น้ําโซดา ตัวทํา ละลาย……..……………………..ตัวถูกละลาย…...………………………... 5 จงบอกขอ แตกตางระหวาง สารแขวนลอยกับสารคอยลอยด………………………………… 5.  …………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………... 6. จงบอกหลักการในการพิจารณาวาสารใดเปนตัวทําละลาย สารใดเปนตัวถูกละลาย…………. …………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………... ชื่อ………………………..นามสกุล………………………………เลขที่ …………..