SlideShare a Scribd company logo
1 of 51
Download to read offline
บทที่ 1
เคมี-ความรูเบื้องตน
เรามักไดยินหรือไดพบคําวา
        สารเคมี
           บอยๆ

สารเคมี คืออะไร ...
สารเคมี (Chemical Substance)

สารเคมี หมายถึง ...

     สารบริสุทธิ์ (A chemical substance is any pure,
     unmixed material substance with a definite
     chemical composition)
                                         ตองการคําอธิบายเพิ่มเติม


      ในทางเคมี สารบริสุทธิ์ ไดแกธาตุหรือ
      สารประกอบ
1. โลกทัศนของสสาร

             สสาร หมายถึงสิงที่มีมวล ตองการที่อยู
                           ่

         แตทําไมสสารตางชนิดกัน จึงมีสมบัติตางกัน ?
                                      สมบั

สมบัติทางกายภาพ             สมบัติทางเคมี
สี กลิ่น ความนําไฟฟา ...   ปฏิกิริยาเคมี เชน การเปนสนิม การติดไฟ ...
1. โลกทัศนของสสาร


โลกทัศนของสสาร มองได 2 แบบ
        ของสสาร
     1.1 จากขนาดใหญไปยังระดับอนุภาค
     1.2 จากระดับอนุภาคไปหาขนาดใหญ
2. การจําแนกสสารจากขนาดใหญไปหาอนุภาค

สสาร แบงออกไดเปน

       1. ของผสม
       2. สารบริสุทธิ์
          - ธาตุ
          - สารประกอบ
2. การจําแนกสสารจากขนาดใหญไปหาอนุภาค

นักวิทยาศาสตรเริ่มจําแนกสารจากการมองเห็นดวยตาเปลากอน เบื้องตน
เริ่มดูวา เปนสารเนื้อเดียวหรือเนื้อผสม
2. การจําแนกสสารจากขนาดใหญไปหาอนุภาค




นิสิตคิดวา เปนสารเนื้อเดียวหรือเนื้อผสม?
2. การจําแนกสสารจากขนาดใหญไปหาอนุภาค

คําถามคือสารเนื้อเดียวแยกทางกายภาพไปเปนสารเนื้อเดียวอื่นๆไดอีก
หรือไม?

                                        การแยกทางกายภาพ
                                         การกรอง
                                         การกลั่น
                                         การตกผลึก
  น้ําตาลทราย + น้า
                  ํ                      โครมาโตกราฟ
2. การจําแนกสสารจากขนาดใหญไปหาอนุภาค




เกลือสินเธาวมีดินปนอยู นิสิตมีวิธีแยกเกลือ
ออกจากดินอยางไร?
2. การจําแนกสสารจากขนาดใหญไปหาอนุภาค
                                  สสาร

      สารเนื้อผสม                              สารเนื้อเดียว
         หินแกรนิต                        แกรไฟต            น้ําเชื่อม




แยกทางกายภาพตอไดสารเนื้อเดียว          แยกทางกายภาพตอไดสารเนื้อเดียว
       มากกวา 1 ชนิด                           มากกวา 1 ชนิด
2. การจําแนกสสารจากขนาดใหญไปหาอนุภาค

สารเนื้อผสมและสารเนื้อเดียวที่แยกตอทาง
กายภาพได เรียกวาของผสม (mixture)


ของผสม มีสวนผสมที่ไมแนนอน
2. การจําแนกสสารจากขนาดใหญไปหาอนุภาค


                                       น้ําเชื่อม
                                     สัดสวนไมคงที่ Variable composition

                                    แยกตอ

          น้ําตาล                                    น้ํา

        สารเนื้อเดียว                           สารเนื้อเดียว
สัดสวนคงที่ constant composition      สัดสวนคงที่ constant composition
2. การจําแนกสสารจากขนาดใหญไปหาอนุภาค
น้ําตาลทราย (sucrose) บริสุทธิ์ เมื่อนําไปวิเตราะหทางเคมี
จะประกอบดวยคารบอน 42.1 % โดยน้ําหนัก ไฮโดรเจน
6.4 % โดยน้ําหนัก ออกซิเจน 51.5 % โดยน้ําหนัก
น้ํา บริสุทธิ์ เมื่อนําไปวิเตราะหทางเคมี จะประกอบดวย
ไฮโดรเจน 11.1 % โดยน้ําหนัก ออกซิเจน 88.9 % โดย
น้ําหนัก
ของเหลวคลายน้ํา เมื่อนําไปวิเตราะหทางเคมี จะประกอบดวยไฮโดรเจน 5.9 %
โดยน้ําหนัก ออกซิเจน 94.1 % โดยน้ําหนัก ของเหลวนี้ใชน้ําหรือไม
2. การจําแนกสสารจากขนาดใหญไปหาอนุภาค



สารบริสุทธิ์ (substance) เปนสสารที่มีสมบัติทางกายภาพและ
ทางเคมีเฉพาะตัวและมีสัดสวนคงที่ (definite composition)

ของผสม (mixture) เกิดจากการผสมสารบริสุทธิ์ทาง
กายภาพ มีสวนผสมที่ไมแนนอน
2. การจําแนกสสารจากขนาดใหญไปหาอนุภาค



สารบริสุทธิ์ อาจเปน ธาตุ (element) หรือสารประกอบ
(compound)
2. การจําแนกสสารจากขนาดใหญไปหาอนุภาค


             H2O    น้ํา            สารประกอบ

                           แยกทางเคมี




H2   แกสไฮโดรเจน                       แกสออกซิเจน   O2

      ธาตุ                                ธาตุ
2. การจําแนกสสารจากขนาดใหญไปหาอนุภาค
สรุป
                        สสาร

        สารเนื้อผสม                            สารเนื้อเดียว
                            สัดสวนไมคงที่

                       แยกโดยวิธีทางกายภาพ
       ของผสม                                  สารบริสุทธิ์
Variable composition                          Constant composition



                สารประกอบ                                      ธาตุ
ของผสม (mixture)

จงจําแนกสสารตอไปนี้ เปน สารเนื้อเดียว หรือ สารเนือผสม
                                                   ้
         1.   น้ําทะเล
         2.   น้ําอัดลม
         3.   นมเปรี้ยว
         4.   น้ําพริกกะป
         5.   อากาศ
         6.   คอนกรีต
         7.   พริกเกลือ
ของผสม (mixture)

จงจําแนกสสารตอไปนี้ เปน สารบริสุทธิ์ หรือ ของผสม

        1.   น้ําอัดลม
        2.   อากาศ
        3.   น้ําบอที่กรองผาขาวแลว
        4.   สรอยคอทองคํา
        5.   ทอพีวีซี
2. การจําแนกสสารจากขนาดใหญไปหาอนุภาค

  ธาตุ ประกอบดวย อะตอมชนิดเดียวกัน      H2



            อะตอม      เปนชิ้นที่มขนาดเล็กที่สุดของธาตุ
                                   ี

สารประกอบ ประกอบดวย อะตอมตางชนิดกัน มากกวา 1 ชนิด
                          H2O
3. การจําแนกสสารจากอนุภาคไปหาขนาดใหญ

สวนประกอบพินฐานของสสารไดแก อะตอม
            ้

แบบจําลองอะตอมเปนทรงกลม ขนาดและมีมวล
3. การจําแนกสสารจากอนุภาคไปหาขนาดใหญ

อะตอม เล็กขนาดไหน?



  คารบอน 12 กรัม ประกอบจากอะตอมคารบอน
ทองแดง 6.02 x 1023 อะตอม
  รัศมีอะตอม 0.77 x 10-10 เมตร
3. การจําแนกสสารจากอนุภาคไปหาขนาดใหญ


 ธาตุ เปนสารบริสุทธิ์ที่เกิดจากอะตอมชนิดเดียวกัน


สารประกอบ เปนสารบริสุทธิ์ที่เกิดจากอะตอมตางชนิดกัน
3. การจําแนกสสารจากอนุภาคไปหาขนาดใหญ

น้ํา 18 กรัม
                                    ออกซิเจน 16 กรัม

                 แยกสลายดวยไฟฟา
                                           ธาตุ


สารประกอบ                            ไฮโดรเจน 2 กรัม
3. การจําแนกสสารจากอนุภาคไปหาขนาดใหญ

การจําแนกธาตุ-สารประกอบจะงายขึ้นถาใช
                   สูตรเคมี

  สูตรเคมีเปนกลุมของสัญลักษณธาตุ

 สัญลักษณธาตุ ดูไดจากตารางธาตุ (periodic table)
ตารางธาตุ (Periodic Table)



โลหะ   กึ่งโลหะ



                               อโลหะ
3. การจําแนกสสารจากอนุภาคไปหาขนาดใหญ

    ธาตุ

H = ไฮโดรเจน (hydrogen) H2 = ไฮโดรเจน (hydrogen)

O = ออกซิเจน (oxygen)    O2 = ออกซิเจน (oxygen)
3. การจําแนกสสารจากอนุภาคไปหาขนาดใหญ

สารประกอบ

  C12H22O11 =      น้ําตาลทราย (sucrose)
  H2SO4       =    กรดซัลฟูริก
  Ca(OH)2     =    ปูนขาว
  CO          =    คารบอนมอนอกไซด
สรุป                                               ทฤษฎีอะตอม (1808)

ธาตุ ประกอบดวยอนุภาคที่เล็กมากเรียกวาอะตอม
         อะตอมของธาตุหนึ่งๆมีลักษณะเหมือนกันทุกประการ
         คือมีขนาดเทากัน มวลเทากัน สมบัติทางเคมีเหมือนกัน

สารประกอบ ประกอบดวยอะตอมของธาตุมากกวา 1 ธาตุ
         ในสารประกอบใดๆอัตราสวนจํานวนอะตอมของธาตุสองธาตุ
         ใดๆจะเปนเลขจํานวนเต็มหรือเศษสวนอยางงาย

 ปฏิกิริยาเคมี เกี่ยวของกับการจัดอะตอมใหมเทานั้น ไมมีการสรางหรือทําลาย
        อะตอม
ทดสอบ

จงจําแนกสสารตอไปนี้ เปน ธาตุ หรือ สารประกอบ

 1.   Mg(OH)2 (ใชในยาลดกรดในกระเพาะ)
 2.   C2H5OH (เอทานอล)
 3.   TiO2 (ไทเทเนียมไดออกไซด)
 4.   Pt (ทองคําขาว)
 5.   O3 (โอโซน)
 6.   S8 (กํามะถัน)
ทดสอบ

     จงหาสัญลักษณ ธาตุ ตอไปนี้
1.   เหล็ก
2.   ทองแดง
3.   ทองคํา
4.   อะลูมิเนียม
5.   โคบอลต 60 (ใชฉายรังสี)
6.    ดีบุก (ใชผสมทําพิวเตอร)
7.   ตะกั่ว (ใชผสมดีบุกทําตะกั่วบัดกรี)   พิวเตอร: ดีบุก + ทองแดง +
                                           ตะกั่ว (ดีบุก 88-99%)
สูตรเคมีของสารประกอบ
                        ของสารประกอบ

สารประกอบ แบงงายๆ เปน

   สารประกอบไอออนิก
   สารประกอบโคเวเลนต
สูตรเคมีของสารประกอบไอออนิก

สารประกอบไอออนิก ประกอบดวย ไอออนบวก และ ไอออนลบ
   โลหะ เมือเปนไอออน จะไดไอออนที่มีประจุบวก
           ่
         หมู 1 ไดประจุ +1               Na+

         หมู 2 ไดประจุ +2               Ca2+


  อโลหะ เมื่อเปนไอออน จะไดไอออนที่มีประจุลบ
        หมู 6 ไดประจุ (6-8) = -2        O2-

        หมู 7 ไดประจุ (7-8) = -1        Cl -
ตารางธาตุ (Periodic Table)
        โลหะ   โลหะ          อโลหะ
1   2                                6   7   8
สูตรเคมีของสารประกอบไอออนิก

สารประกอบไอออนิก จะตองเปนกลางทางไฟฟา
       Na+    +   Cl -            NaCl

   2   Na+    +   O2-             Na2O

       Ca2+   +   O2-             CaO

       Ca2+   + 2 Cl -            CaCl2
สูตรเคมีของสารประกอบโคเวเลนต

สารประกอบโคเวเลนต ประกอบดวย อโลหะ กับ อโลหะ
      H            +     H               H2

      Cl           +     Cl              Cl2

    6C         +    12H   +   6O         C6H12O6

  12C      +       22H    +   11O        C12H22O11
สารเคมี (Chemical Substance)


ทําไมนักวิทยาศาสตรสนใจศึกษาเรื่องสารเคมี ?

กรณีศึกษา: เพชร
กรณีศึกษา 1 - การสังเคราะหเพชร
กรณีศึกษา 1 - การสังเคราะหเพชร




DIAMOND         GRAPHITE
กรณีศึกษา 1 - การสังเคราะหเพชร



Could slippery, soft graphite be transformed
into diamond - the hardest and most brilliant
material on earth?
กรณีศึกษา 1 - การสังเคราะหเพชร

How nature makes diamond ?

• diamonds are found inside extinct
volcanoes, embedded in a mineral called
kimberlite
• geologists believed they were formed in
the molten ooze of the earth's mantle -       T = 1100 - 1600 o C
more than 100 miles below the surface.        P > 1,000,000 psi
• But how long did it take nature to make a
diamond?
                   1,000,000,000 years ?
กรณีศึกษา 1 - การสังเคราะหเพชร

            1951     GE started project Superpressure to make diamonds

            1955
                               GE spent millions on diamond
                               presses capable of focusing huge
                               pressures and temperatures on
                               the graphite capsule, but still the
                               graphite wouldn't turn to diamond


                               Many presses were spent. No
                               diamonds is formed Project was in
                               trouble. The team had to find a
                               new way or the project would be
                               cancelled

http://www.pbs.org/wgbh/nova/transcripts/2703diamond.html
กรณีศึกษา 1 - การสังเคราะหเพชร

       Some hints:
1955   1. Why ice is crytalline why water
          is not?
       2. Why tiny crystal of diamond
          found in meteorites is
           surrounded by troilite?

        Troillite was added to graphite. After
        heating to about 4600 oC and 1 million
        psi small crystal of diamond was formed


       Today, 90% of all diamonds used in
       Industry are manufactured
Sciences and Business



1970   Can gem-quality diamond be
       produced by this method?


       GE was able to grow larger
       diamonds
       but they cost more to produce
       than the price of natural
       diamonds.
Sciences and Business

How De Beers keeps the market value of diamond business




                                                  Control the
 Sale 4,000 million
                                                   release
 dollars worth of
 rough diamond



 4,000 million                 From diamond
                               mines               1 rough gem
 dollars worth of
 rough diamond                 Africa, Siberia,
 reserve                                          250 tons of rock
                               Canada
Sciences and Business




What would be happen to the business
if scientists can produce perfect gem-
quality synthetic diamonds?
กรณีศึกษา 1 - การสังเคราะหเพชร

              1995             Synthetic diamond was not perfect
                               1. metal inclusion
                               2. yellow color

                              1.    A process of crystallization must
                                    be controlled: the press must be
                                    redesigned.
                              2.    Aluminium was put in a growing
                                    cell.


                                Could sciences compete with nature ?

Find more at
http://www.pbs.org/wgbh/nova/transcripts/2703diamond.html
สรุป

- โดยการจําแนกชิ้นที่เล็กที่สุดของสสาร
- ทําความเขาใจถึงวาชิ้นสวนเล็กๆนันตอกัน
                                    ้
อยางไร
-นักวิทยาศาสตรสามารถสังเคราะหสารเคมีขึ้นมาใน
หองทดลอง ได
ทั้งสารที่มีอยูแลวในธรรมชาติ แตไมเพียงพอตอความ
ตองการของมนุษย
หรือสารที่ไมมีธรรมชาติ แตมีประโยชนตอมนุษย
                                          
Its your turn
สารเคมี (Chemical Substance)




Its your turn

More Related Content

What's hot

บทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลกบทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลกTa Lattapol
 
ธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบwebsite22556
 
ระบบย่อยอาหารของสัตว์
ระบบย่อยอาหารของสัตว์ระบบย่อยอาหารของสัตว์
ระบบย่อยอาหารของสัตว์Anissa Aromsawa
 
เซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิต
เซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิตเซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิต
เซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิตPopeye Kotchakorn
 
บทที่ 3 สารละลาย
บทที่ 3 สารละลายบทที่ 3 สารละลาย
บทที่ 3 สารละลายNang Ka Nangnarak
 
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อนเอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อนKobwit Piriyawat
 
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศSupaluk Juntap
 
ไฟฟ้าเคมี1 ppt
ไฟฟ้าเคมี1 pptไฟฟ้าเคมี1 ppt
ไฟฟ้าเคมี1 ppt10846
 
บทที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
บทที่ 1 ธาตุและสารประกอบบทที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
บทที่ 1 ธาตุและสารประกอบJariya Jaiyot
 
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system kasidid20309
 
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102พัน พัน
 
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีบทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีJariya Jaiyot
 

What's hot (20)

บทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลกบทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก
 
ธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบ
 
คลื่น
คลื่นคลื่น
คลื่น
 
ระบบย่อยอาหารของสัตว์
ระบบย่อยอาหารของสัตว์ระบบย่อยอาหารของสัตว์
ระบบย่อยอาหารของสัตว์
 
เซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิต
เซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิตเซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิต
เซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิต
 
บทที่ 3 สารละลาย
บทที่ 3 สารละลายบทที่ 3 สารละลาย
บทที่ 3 สารละลาย
 
2.แบบฝึกหัดการเคลื่อนที่แนวตรง
2.แบบฝึกหัดการเคลื่อนที่แนวตรง2.แบบฝึกหัดการเคลื่อนที่แนวตรง
2.แบบฝึกหัดการเคลื่อนที่แนวตรง
 
อัตราเร็ว (Speed)
อัตราเร็ว (Speed)อัตราเร็ว (Speed)
อัตราเร็ว (Speed)
 
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อนเอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
 
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
 
ไฟฟ้าเคมี1 ppt
ไฟฟ้าเคมี1 pptไฟฟ้าเคมี1 ppt
ไฟฟ้าเคมี1 ppt
 
บทที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
บทที่ 1 ธาตุและสารประกอบบทที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
บทที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
 
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์
 
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
 
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
 
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system
 
แรง (Force)
แรง (Force)แรง (Force)
แรง (Force)
 
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
 
ใบความรู้สนามแม่เหล็ก
ใบความรู้สนามแม่เหล็กใบความรู้สนามแม่เหล็ก
ใบความรู้สนามแม่เหล็ก
 
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีบทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
 

Similar to สาร

สสารและการเปลี่ยนแปลง2
สสารและการเปลี่ยนแปลง2สสารและการเปลี่ยนแปลง2
สสารและการเปลี่ยนแปลง2ritvibool
 
แนวข้อสอบโควตา
แนวข้อสอบโควตาแนวข้อสอบโควตา
แนวข้อสอบโควตาnam_supanida
 
ข้อสอบโควต้ามช เคมี
ข้อสอบโควต้ามช เคมีข้อสอบโควต้ามช เคมี
ข้อสอบโควต้ามช เคมีPorna Saow
 
ข้อสอบโควต้ามช เคมี
ข้อสอบโควต้ามช เคมีข้อสอบโควต้ามช เคมี
ข้อสอบโควต้ามช เคมีPorna Saow
 
ข้อสอบเอ็นทรานซ์ เคมี มีนาคม 2546
ข้อสอบเอ็นทรานซ์ เคมี มีนาคม 2546ข้อสอบเอ็นทรานซ์ เคมี มีนาคม 2546
ข้อสอบเอ็นทรานซ์ เคมี มีนาคม 2546Trd Wichai
 
บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์oraneehussem
 
ปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติ
ปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติ
ปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติPhakawat Owat
 
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2Tanchanok Pps
 
แผนการจัดการเรียนรู้และแผนการประเมินผลการเรียนรู้ฉบับย่อ11
แผนการจัดการเรียนรู้และแผนการประเมินผลการเรียนรู้ฉบับย่อ11แผนการจัดการเรียนรู้และแผนการประเมินผลการเรียนรู้ฉบับย่อ11
แผนการจัดการเรียนรู้และแผนการประเมินผลการเรียนรู้ฉบับย่อ11Maruko Supertinger
 
แผนการจัดการเรียนรู้และแผนการประเมินผลการเรียนรู้ฉบับย่อ11
แผนการจัดการเรียนรู้และแผนการประเมินผลการเรียนรู้ฉบับย่อ11แผนการจัดการเรียนรู้และแผนการประเมินผลการเรียนรู้ฉบับย่อ11
แผนการจัดการเรียนรู้และแผนการประเมินผลการเรียนรู้ฉบับย่อ11kruaoipcccr
 
Onet m6 52 sci
Onet m6 52  sciOnet m6 52  sci
Onet m6 52 sciMiso Pim
 

Similar to สาร (20)

Substance2
Substance2Substance2
Substance2
 
Knowledge chem bobby tutor
Knowledge chem bobby tutorKnowledge chem bobby tutor
Knowledge chem bobby tutor
 
สสารและการเปลี่ยนแปลง2
สสารและการเปลี่ยนแปลง2สสารและการเปลี่ยนแปลง2
สสารและการเปลี่ยนแปลง2
 
Equilibrium mahidol
Equilibrium mahidolEquilibrium mahidol
Equilibrium mahidol
 
Substance classification
Substance classificationSubstance classification
Substance classification
 
แนวข้อสอบโควตา
แนวข้อสอบโควตาแนวข้อสอบโควตา
แนวข้อสอบโควตา
 
ข้อสอบโควต้ามช เคมี
ข้อสอบโควต้ามช เคมีข้อสอบโควต้ามช เคมี
ข้อสอบโควต้ามช เคมี
 
ข้อสอบโควต้ามช เคมี
ข้อสอบโควต้ามช เคมีข้อสอบโควต้ามช เคมี
ข้อสอบโควต้ามช เคมี
 
การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)
 
Solid liquid-gas
Solid liquid-gasSolid liquid-gas
Solid liquid-gas
 
ข้อสอบเอ็นทรานซ์ เคมี มีนาคม 2546
ข้อสอบเอ็นทรานซ์ เคมี มีนาคม 2546ข้อสอบเอ็นทรานซ์ เคมี มีนาคม 2546
ข้อสอบเอ็นทรานซ์ เคมี มีนาคม 2546
 
Subst 1
Subst 1Subst 1
Subst 1
 
Subst 1
Subst 1Subst 1
Subst 1
 
บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
 
ปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติ
ปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติ
ปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติ
 
Minboi
MinboiMinboi
Minboi
 
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2
 
แผนการจัดการเรียนรู้และแผนการประเมินผลการเรียนรู้ฉบับย่อ11
แผนการจัดการเรียนรู้และแผนการประเมินผลการเรียนรู้ฉบับย่อ11แผนการจัดการเรียนรู้และแผนการประเมินผลการเรียนรู้ฉบับย่อ11
แผนการจัดการเรียนรู้และแผนการประเมินผลการเรียนรู้ฉบับย่อ11
 
แผนการจัดการเรียนรู้และแผนการประเมินผลการเรียนรู้ฉบับย่อ11
แผนการจัดการเรียนรู้และแผนการประเมินผลการเรียนรู้ฉบับย่อ11แผนการจัดการเรียนรู้และแผนการประเมินผลการเรียนรู้ฉบับย่อ11
แผนการจัดการเรียนรู้และแผนการประเมินผลการเรียนรู้ฉบับย่อ11
 
Onet m6 52 sci
Onet m6 52  sciOnet m6 52  sci
Onet m6 52 sci
 

สาร