SlideShare a Scribd company logo
1 of 16
เรือ ง
         ่
สารและสมบัต ิข องสาร
        ชันมัธยมปีที่ 1
          ้

               โดย
    ครู พิมพ์ชนก อินต๊ะวงศ์กา
             ครูผสอน
                 ู้
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
จุด ประสงค์ก ารเรีย นรู้/ผลการ
        เรีย นรู้ท ี่ค าดหวัง

1.สำารวจ ทดลอง วิเคราะห์ และอธิบายสมบัติทาง
  กายภาพของสาร
2.จำาแนกสารเป็นกลุ่มตามลักษณะของเนื้อสารและ
  ขนาดของอนุภาค
ความคิด รวบยอด


สารรอบตัวมีหลายชนิด ถ้าใช้เนื้อสาร
 เป็นเกณฑ์จะจำาแนกสารได้เป็นสาร
 เนือเดียวและสารเนือผสม
    ้              ้
1. สสาร (Matter)

สสาร (Matter) หมายถึง สิ่ง
ที่มมวล ต้องการที่อยู่และสัมผัส
    ี
ได้มี 3 สถานะ คือ ของแข็ง
ของเหลว และก๊าซ
สถานะของสสาร (Matter)
1.1) ของแข็ง หมายถึง สารที่มีรูป
ร่างขอบเขตที่แน่นอน โมเลกุลอยู่
ชิดกันมากที่สดุ
1.2) ของเหลว หมายถึง สารที่มีรูป
ร่างเปลี่ยนไปตามภาชนะที่บรรจุ
โมเลกุลอยู่ห่างกันมากกว่าของแข็ง
1.3) ก๊า ซ หมายถึง สารที่มีรูปร่าง
ไม่แน่นอน เนื่องจากแรงยึดเหนี่ยว
ระหว่างโมเลกุลน้อยมาก
2.สาร
(Substance)

สาร (Substance) หมายถึง สสาร
นั่นเอง สสารเป็นคำารวมๆ แต่ถ้า
พิจารณาวัตถุชนิดใดชนิดหนึงโดย
                           ่
เฉพาะเรียกว่าสาร เช่น กระป๋อง
เป็นสสาร แต่เนือกระป๋องเป็นโลหะ
               ้
จัดเป็นสาร
สารแบ่ง ตามลัก ษณะเนื้อ สารได้
         2 ชนิด ดัง นี้

    ‫ ﺾ‬สารเนื้อ เดีย ว
    ‫ ﺾ‬สารเนื้อ ผสม
สารเนื้อ
              เดีย ว
สารเนื้อ เดีย ว
      หมายถึง สารที่มีลักษณะเป็นเนื้อ
เดียวกันทุกส่วน มีสมบัติเหมือนกันไม่ว่า
จะพิจารณาส่วนใดของสาร จะมองด้วย
ตาเปล่า หรือแว่นขยายแล้วเห็นเป็นเนื้อ
เดียวกันโดยตลอดเนื้อสาร เช่น นำ้าหวาน
นำ้าเกลือ เป็นต้น
สารเนื้อ
       ผสม
สารเนื้อ ผสม
     หมายถึง สารที่เกิดจากการรวม
กันของสารตั้งแต่ 2 ชนิดขึ้นไป โดยไม่
ผสมกลมกลืนกัน แต่ละส่วนมีสมบัติ
ต่างกัน หรือคือสารที่มองด้วยตาเปล่า
แล้วเป็นเนื้อผสม เช่น พริกผสมเกลือ
เป็นต้น
3.สมบัต ิ
ของสาร
สมบัต ิข องสาร หมายถึง ลักษณะประจำา
ตัวของสาร เช่น สถานะ สี กลิ่น รส การ
ละลาย การนำาไฟฟ้า จุดเดือด และการเผา
ไหม้ เป็นต้น สารแต่ละชนิดมีสมบัติไม่
เหมือนกันทุกประการ สามารถนำามาจัด
จำาแนกสารเป็นหมวดหมู่ได้ สมบัติของสาร
ได้แก่ สี กลิ่น รส จุดเดือด จุดหลอมเหลว
การนำาไฟฟ้า การเป็นสนิม ความเป็นกรด-
เบส
สมบัต ิข องสารจำา แนกได้ 2
          ประเภท

   สมบัต ิท างกายภาพ
   สมบัต ิท างเคมี
สมบัต ิท างกายภาพ
• สมบัต ิท างกายภาพ หมายถึง สมบัติ
  เฉพาะตัวของสารที่สามารถสังเกตเห็นได้
  ง่ายจากลักษณะภายนอก หรือจากการ
  ทดลองง่ายๆ โดยไม่เกี่ยวข้องกับการเกิด
  ปฏิกิริยาเคมี ตัวอย่างทางกายภาพได้แก่
  สถานะ รูปร่าง สี กลิ่น รส การละลาย
  จุดเดือด จุดหลอมเหลว ความหนาแน่น
  การนำาความร้อน การนำาไฟฟ้า ความร้อน
  แฝง ความถ่วงจำาเพาะ เป็นต้น
สมบัต ิท างเคมี
• สมบัต ิท างเคมี หมายถึง สมบัติเฉพาะตัว
  ของสารที่เกี่ยวข้องกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
  เช่น การเกิดสารใหม่ การสลายตัวให้ได้
  สารใหม่ การเผาไหม้ การระเบิด และการ
  เกิดสนิมของโลหะ เป็นต้น
ในการศึกษาสมบัติของสารนั้น สมบัติบาง
ประการสามารถสังเกตได้จากลักษณะ
ภายนอก และบางประการต้องทดลองจึงจะ
สังเกตเห็นได้ เช่น กำามะถัน และ
อะลูมิเนียมซัลไฟด์มสมบัติหลายประการที่
                    ี
เหมือนกัน แต่ก็มีสมบัติหลายประการที่แตก
ต่างกันดังแสดงในตารางที่ 1.1
1.1 สมบัต ิบ างประการของสารที่ 25 องศาเซลเซีย ส 1 บรรย
                                        สมบัติของสาร
                   สถานะ       สี        การละลาย      ความเป็นกรด-
       สาร                                  ในนำ้า        เบสของ
                                                         สารละลาย
  อลูมิเนียม       ของแข็ง     ขาว        ไม่ละลาย          -
  กำามะถัน         ของแข็ง   เหลือง       ไม่ละลาย          -
  โซเดียมคลอไรด์   ของแข็ง     ขาว         ละลาย          กลาง
  อะลูมิเนียมซัล   ของแข็ง   เหลือง        ละลาย          กรด
     ไฟด์          ของแข็ง     ขาว        ไม่ละลาย          -
  อะลูมิเนียม      ของเหล     ไม่มีสี      ละลาย          กลาง
     ออกไซด์           ว      ไม่มีสี     ไม่ละลาย          -
  เอธานอล          ของเหล     ไม่มีสี          นำ้า       กรด
  คาร์บอนไดซัล         ว      ไม่มีสี      ละลาย          กรด
     ไฟด์          ของเหล     เขียว       ละลายได้        กรด
  กรดไฮโดรคลอ          ว        อ่อน        เล็กน้อย      กรด
     ริก            ก๊าซ      ไม่มีสี     ละลายได้
  คาร์บอนไดซ์       ก๊าซ                    เล็กน้อย
พอจะเข้าใจบ้างไหมคะ

More Related Content

What's hot

ใบความรู้ สสาร
ใบความรู้ สสารใบความรู้ สสาร
ใบความรู้ สสาร
Sumalee Panpeng
 
สมบัติของสารและการจำแนกสาร
สมบัติของสารและการจำแนกสารสมบัติของสารและการจำแนกสาร
สมบัติของสารและการจำแนกสาร
netzad
 
สมบัติของธาตุและสารประกอบตามหมู่และคาบ
สมบัติของธาตุและสารประกอบตามหมู่และคาบสมบัติของธาตุและสารประกอบตามหมู่และคาบ
สมบัติของธาตุและสารประกอบตามหมู่และคาบ
ชัยยันต์ ไม้กลาง
 
การแยกสารเนื้อเดียว
การแยกสารเนื้อเดียวการแยกสารเนื้อเดียว
การแยกสารเนื้อเดียว
medfai
 
สมบัติของธาตุและสารประกอบ2
สมบัติของธาตุและสารประกอบ2สมบัติของธาตุและสารประกอบ2
สมบัติของธาตุและสารประกอบ2
ครูแป้ง ครูตาว
 
11 สารเนื้อเดียว
11 สารเนื้อเดียว11 สารเนื้อเดียว
11 สารเนื้อเดียว
Dnavaroj Dnaka
 
สมบัติของสารและการจำแนกสาร
สมบัติของสารและการจำแนกสารสมบัติของสารและการจำแนกสาร
สมบัติของสารและการจำแนกสาร
081445300
 
สารและสมบัติของสาร
สารและสมบัติของสารสารและสมบัติของสาร
สารและสมบัติของสาร
Zee Gopgap
 
ธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบ
website22556
 
สสารและการเปลี่ยนแปลง2
สสารและการเปลี่ยนแปลง2สสารและการเปลี่ยนแปลง2
สสารและการเปลี่ยนแปลง2
ritvibool
 

What's hot (20)

ใบความรู้ สสาร
ใบความรู้ สสารใบความรู้ สสาร
ใบความรู้ สสาร
 
สมบัติของสารและการจำแนกสาร
สมบัติของสารและการจำแนกสารสมบัติของสารและการจำแนกสาร
สมบัติของสารและการจำแนกสาร
 
สมบัติของธาตุและสารประกอบตามหมู่และคาบ
สมบัติของธาตุและสารประกอบตามหมู่และคาบสมบัติของธาตุและสารประกอบตามหมู่และคาบ
สมบัติของธาตุและสารประกอบตามหมู่และคาบ
 
การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)
 
สารละลาย (Solution)
สารละลาย (Solution)สารละลาย (Solution)
สารละลาย (Solution)
 
4.เล่มที่ 2
4.เล่มที่ 24.เล่มที่ 2
4.เล่มที่ 2
 
บทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสารบทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสาร
 
โครมาโทกราฟี
โครมาโทกราฟีโครมาโทกราฟี
โครมาโทกราฟี
 
020 gas liquid-solid-3
020 gas liquid-solid-3020 gas liquid-solid-3
020 gas liquid-solid-3
 
การแยกสารเนื้อเดียว
การแยกสารเนื้อเดียวการแยกสารเนื้อเดียว
การแยกสารเนื้อเดียว
 
Matter
MatterMatter
Matter
 
สมบัติของธาตุและสารประกอบ2
สมบัติของธาตุและสารประกอบ2สมบัติของธาตุและสารประกอบ2
สมบัติของธาตุและสารประกอบ2
 
ของแข็ง ของเหลว ก๊าซ
ของแข็ง ของเหลว ก๊าซของแข็ง ของเหลว ก๊าซ
ของแข็ง ของเหลว ก๊าซ
 
บทที่ 5 ของแข็ง ของเหลว แก๊ส
บทที่ 5 ของแข็ง ของเหลว แก๊สบทที่ 5 ของแข็ง ของเหลว แก๊ส
บทที่ 5 ของแข็ง ของเหลว แก๊ส
 
11 สารเนื้อเดียว
11 สารเนื้อเดียว11 สารเนื้อเดียว
11 สารเนื้อเดียว
 
สมบัติของสารและการจำแนกสาร
สมบัติของสารและการจำแนกสารสมบัติของสารและการจำแนกสาร
สมบัติของสารและการจำแนกสาร
 
บทที่1จำแนกสารม 2
บทที่1จำแนกสารม 2บทที่1จำแนกสารม 2
บทที่1จำแนกสารม 2
 
สารและสมบัติของสาร
สารและสมบัติของสารสารและสมบัติของสาร
สารและสมบัติของสาร
 
ธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบ
 
สสารและการเปลี่ยนแปลง2
สสารและการเปลี่ยนแปลง2สสารและการเปลี่ยนแปลง2
สสารและการเปลี่ยนแปลง2
 

Similar to San

การจำแนกสาร
การจำแนกสารการจำแนกสาร
การจำแนกสาร
Saowanee Sondech
 
การจำแนกสาร
การจำแนกสารการจำแนกสาร
การจำแนกสาร
Saowanee Sondech
 
การจำแนกสาร
การจำแนกสารการจำแนกสาร
การจำแนกสาร
พัน พัน
 
บทที่ 3 สารละลาย
บทที่ 3 สารละลายบทที่ 3 สารละลาย
บทที่ 3 สารละลาย
Nang Ka Nangnarak
 
เบส
เบสเบส
เบส
kruruty
 
สารบริสุทธิ์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ปีการศึกษา 2566
สารบริสุทธิ์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ปีการศึกษา 2566สารบริสุทธิ์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ปีการศึกษา 2566
สารบริสุทธิ์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ปีการศึกษา 2566
PanuphongN
 

Similar to San (9)

การจำแนกสาร
การจำแนกสารการจำแนกสาร
การจำแนกสาร
 
การจำแนกสาร
การจำแนกสารการจำแนกสาร
การจำแนกสาร
 
การจำแนกสาร
การจำแนกสารการจำแนกสาร
การจำแนกสาร
 
บทที่ 3 สารละลาย
บทที่ 3 สารละลายบทที่ 3 สารละลาย
บทที่ 3 สารละลาย
 
ธาตุ
ธาตุธาตุ
ธาตุ
 
Substance classification
Substance classificationSubstance classification
Substance classification
 
สารละลายกรด เบส ครูเจริญ
สารละลายกรด เบส ครูเจริญสารละลายกรด เบส ครูเจริญ
สารละลายกรด เบส ครูเจริญ
 
เบส
เบสเบส
เบส
 
สารบริสุทธิ์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ปีการศึกษา 2566
สารบริสุทธิ์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ปีการศึกษา 2566สารบริสุทธิ์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ปีการศึกษา 2566
สารบริสุทธิ์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ปีการศึกษา 2566
 

San

  • 1. เรือ ง ่ สารและสมบัต ิข องสาร ชันมัธยมปีที่ 1 ้ โดย ครู พิมพ์ชนก อินต๊ะวงศ์กา ครูผสอน ู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
  • 2. จุด ประสงค์ก ารเรีย นรู้/ผลการ เรีย นรู้ท ี่ค าดหวัง 1.สำารวจ ทดลอง วิเคราะห์ และอธิบายสมบัติทาง กายภาพของสาร 2.จำาแนกสารเป็นกลุ่มตามลักษณะของเนื้อสารและ ขนาดของอนุภาค
  • 3. ความคิด รวบยอด สารรอบตัวมีหลายชนิด ถ้าใช้เนื้อสาร เป็นเกณฑ์จะจำาแนกสารได้เป็นสาร เนือเดียวและสารเนือผสม ้ ้
  • 4. 1. สสาร (Matter) สสาร (Matter) หมายถึง สิ่ง ที่มมวล ต้องการที่อยู่และสัมผัส ี ได้มี 3 สถานะ คือ ของแข็ง ของเหลว และก๊าซ
  • 5. สถานะของสสาร (Matter) 1.1) ของแข็ง หมายถึง สารที่มีรูป ร่างขอบเขตที่แน่นอน โมเลกุลอยู่ ชิดกันมากที่สดุ 1.2) ของเหลว หมายถึง สารที่มีรูป ร่างเปลี่ยนไปตามภาชนะที่บรรจุ โมเลกุลอยู่ห่างกันมากกว่าของแข็ง 1.3) ก๊า ซ หมายถึง สารที่มีรูปร่าง ไม่แน่นอน เนื่องจากแรงยึดเหนี่ยว ระหว่างโมเลกุลน้อยมาก
  • 6. 2.สาร (Substance) สาร (Substance) หมายถึง สสาร นั่นเอง สสารเป็นคำารวมๆ แต่ถ้า พิจารณาวัตถุชนิดใดชนิดหนึงโดย ่ เฉพาะเรียกว่าสาร เช่น กระป๋อง เป็นสสาร แต่เนือกระป๋องเป็นโลหะ ้ จัดเป็นสาร
  • 7. สารแบ่ง ตามลัก ษณะเนื้อ สารได้ 2 ชนิด ดัง นี้ ‫ ﺾ‬สารเนื้อ เดีย ว ‫ ﺾ‬สารเนื้อ ผสม
  • 8. สารเนื้อ เดีย ว สารเนื้อ เดีย ว หมายถึง สารที่มีลักษณะเป็นเนื้อ เดียวกันทุกส่วน มีสมบัติเหมือนกันไม่ว่า จะพิจารณาส่วนใดของสาร จะมองด้วย ตาเปล่า หรือแว่นขยายแล้วเห็นเป็นเนื้อ เดียวกันโดยตลอดเนื้อสาร เช่น นำ้าหวาน นำ้าเกลือ เป็นต้น
  • 9. สารเนื้อ ผสม สารเนื้อ ผสม หมายถึง สารที่เกิดจากการรวม กันของสารตั้งแต่ 2 ชนิดขึ้นไป โดยไม่ ผสมกลมกลืนกัน แต่ละส่วนมีสมบัติ ต่างกัน หรือคือสารที่มองด้วยตาเปล่า แล้วเป็นเนื้อผสม เช่น พริกผสมเกลือ เป็นต้น
  • 10. 3.สมบัต ิ ของสาร สมบัต ิข องสาร หมายถึง ลักษณะประจำา ตัวของสาร เช่น สถานะ สี กลิ่น รส การ ละลาย การนำาไฟฟ้า จุดเดือด และการเผา ไหม้ เป็นต้น สารแต่ละชนิดมีสมบัติไม่ เหมือนกันทุกประการ สามารถนำามาจัด จำาแนกสารเป็นหมวดหมู่ได้ สมบัติของสาร ได้แก่ สี กลิ่น รส จุดเดือด จุดหลอมเหลว การนำาไฟฟ้า การเป็นสนิม ความเป็นกรด- เบส
  • 11. สมบัต ิข องสารจำา แนกได้ 2 ประเภท สมบัต ิท างกายภาพ สมบัต ิท างเคมี
  • 12. สมบัต ิท างกายภาพ • สมบัต ิท างกายภาพ หมายถึง สมบัติ เฉพาะตัวของสารที่สามารถสังเกตเห็นได้ ง่ายจากลักษณะภายนอก หรือจากการ ทดลองง่ายๆ โดยไม่เกี่ยวข้องกับการเกิด ปฏิกิริยาเคมี ตัวอย่างทางกายภาพได้แก่ สถานะ รูปร่าง สี กลิ่น รส การละลาย จุดเดือด จุดหลอมเหลว ความหนาแน่น การนำาความร้อน การนำาไฟฟ้า ความร้อน แฝง ความถ่วงจำาเพาะ เป็นต้น
  • 13. สมบัต ิท างเคมี • สมบัต ิท างเคมี หมายถึง สมบัติเฉพาะตัว ของสารที่เกี่ยวข้องกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี เช่น การเกิดสารใหม่ การสลายตัวให้ได้ สารใหม่ การเผาไหม้ การระเบิด และการ เกิดสนิมของโลหะ เป็นต้น
  • 14. ในการศึกษาสมบัติของสารนั้น สมบัติบาง ประการสามารถสังเกตได้จากลักษณะ ภายนอก และบางประการต้องทดลองจึงจะ สังเกตเห็นได้ เช่น กำามะถัน และ อะลูมิเนียมซัลไฟด์มสมบัติหลายประการที่ ี เหมือนกัน แต่ก็มีสมบัติหลายประการที่แตก ต่างกันดังแสดงในตารางที่ 1.1
  • 15. 1.1 สมบัต ิบ างประการของสารที่ 25 องศาเซลเซีย ส 1 บรรย สมบัติของสาร สถานะ สี การละลาย ความเป็นกรด- สาร ในนำ้า เบสของ สารละลาย อลูมิเนียม ของแข็ง ขาว ไม่ละลาย - กำามะถัน ของแข็ง เหลือง ไม่ละลาย - โซเดียมคลอไรด์ ของแข็ง ขาว ละลาย กลาง อะลูมิเนียมซัล ของแข็ง เหลือง ละลาย กรด ไฟด์ ของแข็ง ขาว ไม่ละลาย - อะลูมิเนียม ของเหล ไม่มีสี ละลาย กลาง ออกไซด์ ว ไม่มีสี ไม่ละลาย - เอธานอล ของเหล ไม่มีสี นำ้า กรด คาร์บอนไดซัล ว ไม่มีสี ละลาย กรด ไฟด์ ของเหล เขียว ละลายได้ กรด กรดไฮโดรคลอ ว อ่อน เล็กน้อย กรด ริก ก๊าซ ไม่มีสี ละลายได้ คาร์บอนไดซ์ ก๊าซ เล็กน้อย