SlideShare a Scribd company logo
1 of 58
วิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน ว21101
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
สมบัติของสาร
งสาร หมายถึง ลักษณะประจำาตัวของสาร
ซึ่งแตกต่างไปจากสารอื่น ๆ
แดง นำาไฟฟ้าได้
าไฟฟ้าไม่ได้
สายชูมีรสเปรี้ยว นำ้าเชื่อมมีรสหวาน
สมบัติของสารแบ่งออก
เป็น 2 ประเภท
1.สมบัติทางกายภาพ
2.สมบัติทางเคมี
1.สมบัติทาง
กายภาพ
สมบัติของสารที่สามารถสังเกต
เห็นได้ง่ายจากรูปร่างลักษณะ
ภายนอกเช่น สถานะ สี กลิ่น รส
รูปร่าง ปริมาตร หนาแน่นสัมพัทธ์
จุดเดือด จุดหลอมเหลว การ
ละลาย เป็นต้น
เช่น นำ้า เป็นของเหลว ไม่มีสี ไม่มี
1. มีการเปลี่ยนแปลงรูปร่าง
ภายนอกเช่น การเปลี่ยน
สถานะ การเกิดสารละลาย การ
เปลี่ยนอุณหภูมิ
การสึกกร่อน เป็นต้น
2. ไม่มีการเปลี่ยนแปลงองค์
ประกอบภายในเปลี่ยน
เฉพาะรูปร่างภายนอก
การเปลี่ยนแปลงสมบัติทางกายภาพ
2.สมบัติทางเคมี
สมบัติที่เกี่ยวข้องกับองค์
ประกอบภายในของสาร และการ
เกิดปฏิกิริยาเคมี เช่น การเผาไหม้
การเกิดสนิม การผุพัง การระเบิด
เป็นต้น เช่น เหล็กเป็นของแข็งสี
เทา เมื่อทิ้งไว้จะเกิดสนิมมีสี
นำ้าตาลแดง
การเกิดปฏิกิริยาเคมี
1. จะต้องมีสารใหม่เกิดขึ้นเสมอ
2. มีการเปลี่ยนแปลงองค์ประกอบ
ภายใน และมีผลทำาให้มี
การเปลี่ยนแปลงสมบัติทาง
กายภาพของสารด้วย
3. ทำาให้สารใหม่ที่เกิดขึ้น มีสมบัติ
แตกต่างไปจากสารเดิม
เช่น การเกิดสนิมเหล็ก การเผา
ไหม้ของเชื้อเพลิง
นแปลงต่อไปนี้เป็นการเปลี่ยนแปลงทางกา
การระเหยของนำ้า
การต้มนำ้า
ข้าวสารเปลี่ยนเป็นข้าวสุก
กลือละลายนำ้า
ผลไม้ดิบเปลี่ยนเป็นผลไม้สุก
การจุดเทียนไข
นื้อดิบเป็นเนื้อสุก
กายภาพ
กายภาพ
เคมี
กายภาพ
เคมี
กายภาพ
เคมี
เคมี
ให้นักเรียนยกตัวอย่างการ
เปลี่ยนแปลงของสาร
ทั้งทางกายภาพ และทางเคมี
จงจัดหมวดหมู่ของสารต่อไปนี้
พร้อมทั้งบอกเกณฑ์ในการจัด
หมวดหมู่ด้วย
นำ้าตาลทราย นำ้าเชื่อม เกลือแกง
นำ้าส้มสายชู ลูกเหม็น นำ้ากลั่น
นำ้าแข็ง เหล็ก ทองแดง กระดาษ
ปากกา
นำ้าหมึก สีนำ้า อากาศ แก๊สหุงต้ม
ของแของแ
ข็งข็ง
ของเ
หลว
แ
ก๊
ส
นำ้าตาลทราย นำ้าเชื่อม เกลือแกง
นำ้าส้มสายชู ลูกเหม็น นำ้ากลั่น
นำ้าแข็ง เหล็ก ทองแดง กระดาษ
ปากกา
นำ้าหมึก สีนำ้า อากาศ แก๊สหุงต้ม
นำ้าตาล
ทราย
นำ้า
เชื่อ
ม
เกลือแกง
นำ้าส้ม
สายชู
ลูก
เหม็น นำ้ากลั่น
นำ้าแข็ง
เห
ทอง
แดงกระดาษ
ปากกา นำ้าหมึก
สีนำ้า
อากาศ
แก๊สหุงต้ม
การจัดกลุ่มสารตามลักษณะเนื้อสาร
1. สารเนื้อเดียว (Homogeneous
substance)
2. สารเนื้อผสม (Heterogeneous
substance)
สาร
สารเนื้อเดียวสารเนื้อผสม
การจัดกลุ่มสารตามลักษณะเนื้อสา
สารเนื้อเดียว
สารบริสุทธิ์สารละลาย
สารที่มีลักษณะเนื้อของสาร
และสมบัติเหมือนกันตลอด
ทั้งส่วนของสารนั้น เช่น นำ้า
เกลือ นำ้ากลั่น ทองแดง ลูก
เหม็น นำ้าตาลทราย
แอลกอฮอล์ เป็นต้น
1.สารเนื้อเดียว (Homogeneous
substance)
สารเนื้อเดียวที่มีองค์ประกอบทาง
กายภาพเพียงอย่างเดียว
ไม่สามารถแยกองค์ประกอบด้วย
วิธีทางกายภาพได้อีก
เรียกว่า สารบริสุทธิ์ (Pure
substance)
สารเนื้อเดียวที่มีองค์ประกอบ
มากกว่า 1 อย่างและสามารถแยก
องค์ประกอบออกจากกันด้วยวิธีทาง
กายภาพได้ เรียกว่า สารละลาย
(Solution) เช่น
นำ้าเกลือ นำ้า+ เกลือ
นำ้าส้มสายชู นำ้า+ กรดแอซิติก
สาร
สารเนื้อเดียวสารเนื้อผสม
สารบริสุทธิ์สารละลาย
2.สารเนื้อผสม (Heterogeneous substance
ึง สารที่มีลักษณะเนื้อของสารและสมบัติ
อนกันตลอดทุกส่วนของสารนั้น
ถเห็นองค์ประกอบที่แตกต่างกันได้ เช่น ด
บเกลือ นำ้าโคลน นำ้าแป้งดิบ คอนกรีต เป็น
สารเนื้อผสมเป็นของผสมที่ได้
จากการนำาสารตั้งแต่สองชนิดขึ้น
ไปมารวมกัน แล้วสารเหล่านั้นไม่
รวมเป็นเนื้อเดียวกัน หรือแยกชั้น
จากกัน สามารถมองเห็นและระบุ
ชนิดขององค์ประกอบได้ เช่น
พริกกับเกลือ พริก + เกลือ
สาร
สารเนื้อเดียวสารเนื้อผสม
สารบริสุทธิ์สารละลาย
ธาตุ สารประกอบ
โลหะ กึ่งโลหะ อโลหะ
นลองยกตัวอย่างสารเนื้อเดียวและสา
๕ ชนิด
สารเนื้อเดียว นำ้าเกลือ นำ้าอัดลม
ทองคำา ตะปู เหล็ก
แผ่นดีบุก ผงถ่าน แนพทา
ลีน เกลือแกง
เนื้อเทียนไข แอลกอฮอล์
นำ้ามัน
กรดไฮโดรคลอริก
อผสม เกลือแกงกับทราย นำ้ากับนำ้ามัน คอ
ส้มตำา แกงส้ม แกงจืด พริกกับเกลือ
นำ้าโคลน นำ้าแป้งดิบ นำ้าพริก ฯลฯ
รจัดกลุ่มสารตามขนาดอนุภาคของสา
๑. สารแขวนลอย
Suspension
๒. คอลลอยด์
(Colloid)
๓. สารละลาย
(Solution)
รจัดกลุ่มสารตามขนาดอนุภาคของสา
สาร
สารแขวนลอยคอลลอยด์สารละลาย
๑. สารแขวนลอย Suspensionของผสมที่ประกอบด้วยอนุภาค
ของสารที่มีขนาดเส้นผ่าน
ศูนย์กลางมากกว่า 10-4
cm 1
cm
10,000
ลักษณะของสารแขวนลอย
1.ขุ่น
2.เมื่อตั้งทิ้งไว้จะตกตะกอน
3.สามารถแยกอนุภาคของสาร
แขวนลอยได้โดยใช้
- กระดาษกรองจะยอมให้
อนุภาคที่มีเส้นผ่าน
ศูนย์กลางน้อยกว่าหรือเท่ากับ
10-4
cm เท่านั้นจึง
 จะผ่านไปได้
กระดาษเซลโลเฟน(คล้าย
กระดาษแก้ว) จะยอมให้
อนุภาคที่มีเส้นผ่านศูนย์กลาง
น้อยกว่า 10-7
cm เท่านั้นจึงจะ
ผ่านไปได้
ได้แก่ นำ้าแป้งดิบ นำ้าคลอง นำ้า
แกงส้ม ยาลดกรด
ยาแก้ไอนำ้าดำา ยาธาตุนำ้าแดง
ฯลฯ
2. คอลลอยด์ (Colloid)
เป็นสารเนื้อผสมที่มีอนุภาคของสาร
ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง
ระหว่าง 10-7
ถึง 10-4
cm กระจายอยู่
ในสารอีกชนิดหนึ่งซึ่งเป็นตัวกลาง
มีลักษณะขุ่นขาว เช่น นมสด วุ้น
เยลลี่ ฟองนำ้า สบู่ นำ้าสลัด นำ้าแป้ง
สุก หมอก ควันไฟ
ตัวประสาน ( Emulsifier)
องค์ประกอบของคอลลอยด์บาง
ชนิดจะไม่รวมเป็นเนื้อเดียวกันจะ
แยกชั้นออกจากกัน จึงต้องมีตัว
ประสานให้สาร ๒ ชนิดรวมตัวกัน
ได้ สารที่เป็นตัวประสาร เรียกว่า
อิมัลซิไฟเออร์ เช่น
นำ้าสบู่ เป็นตัวประสานระหว่าง นำ้า
กับนำ้ามัน
นำ้า+นำ้าสบู่+นำ้ามัน เรียก
คอลลอยด์ที่เกิดขึ้นนี้ว่า อิมัลชั่น
ลัด นำ้ามันพืช + ไข่แดง+นำ้าส้มสายช
นในนำ้าดี ไขมัน+นำ้าดี+เอนไซม์ไลเปส
ม ไขมัน +โปรตีนเคซีน +นำ้า
างจาน ไขมัน + นำ้ายาล้างจาน+นำ้า
าบนำ้า ไขมัน + สบู่+นำ้า
ชัน เป็นของเหลวที่ได้จากการรวมตัวของ
2 ชนิดที่ไม่รวมกัน แยกชั้น แต่เมื่อเติม
อิมัลซิไฟเออร์ ของเหลวจะรวมกันได้
ชนิดของ
คอลลอยด์
สถาน
ะ
ของ
อนุภา
ค
สถานะ
ของ
ตัวกลาง
ตัวอย่าง
ซอล
ของ
แข็
ง
ของเห
ลว
แป้งในนำ้า
สีทาบ้าน
อิมัลชั่น
ของเ
หล
ว
ของเห
ลว
นำ้านม นำ้า
สลัด
ของ
แข็ ของเห วุ้น เยลลี่
คอลลอยด์สามารถลอดผ่านรูของกระดา
ารถลอดผ่านรู ของกระดาษเซลโลเฟนได
ล็กกว่ารูพรุนในกระดาษกรอง แต่ใหญ่กว
ษเซลโลเฟน)
สมบัติของคอลลอยด์
หญ่มีลักษณะขุ่น
สงเดินทางผ่านคอลลอยด์ จะมองเห็นเป็น
ปรากฏการณ์นี้ว่า ปรากฏการณ์ทินดอลล์
l effect)
มารถกรองอนุภาคคอลลอยด์ออกจากตัวก
ช้กระดาษกรอง ต้องใช้กระดาษเซลโลเฟ
ตะกอน
ปรากฏการณ์
ทินดอลล์
คอลลอยด์
สารล
ะลาย
าวคลื่นของแสงขาวหรือแสงจากไฟฉายท
ยาวคลื่นประมาณ 308-720 nm (นาโนเมตร)
x 10-7
m) เมื่อฉายแสงผ่านไปในของเหลว
ขนาดอนุภาคใหญ่พอปนอยู่ (เส้นผ่านศูนย
งกับความยาวคลื่นแสง) แสงจะตกกระทบ
เกิดการสะท้อนได้ และเมื่อสะท้อนทุก ๆท
เกิดการกระเจิง (scattering)
แสงสีแดง ความยาวคลื่น 6.3 – 6.8 x10 -7
m
ความยาวคลื่น คือระยะทาง
ระหว่างยอดคลื่นหนึ่งถึงอีกยอด
คลื่นหนึ่ง มีหน่วยเป็น lambda
(λ)
ภทใดไม่สามารถผ่านกระดาษกรองได้
ภทใดผ่านกระดาษกรองได้แต่ผ่านแผ่นเซ
ารณ์ที่เราสามารถมองเห็นลำาแสงผ่านสาร
แบบฝึกหัดทบทวน
4. จาก ข้อ 3 เป็นปรากฏการณ์ที่เกิด
กับสารประเภทใด
     
5. อิมัลซิฟายเออร์ ระหว่าง ไขมันกับ
นำ้าย่อยคือสารใด
       
6. อิมัลซิฟายเออร์ระหว่าง นำ้ามันพืช
กับนำ้า คือสารใด
7. อิมัลซิฟายเออร์ ใน นำ้าสลัด คือ
เป็นของผสมเนื้อเดียวที่ประกอบ
ด้วยสารบริสุทธิ์ตั้งแต่สองชนิดขึ้น
ไปละลายรวมเป็น เนื้อเดียวกัน มี
สัดส่วนขององค์ประกอบเหมือนกัน
ตลอดทั้งสารละลายนั้น
3. สารละลาย (Solution)
องค์ประกอบของ
สารละลาย
ตัวทำาละลาย (Solvent) + ตัวถูก
ละลาย (Solute)
( ตัวละลาย)
โดยมีเกณฑ์ในการกำาหนด ดังนี้
1. สารละลายมีสถานะเหมือน
สารใด ให้สารนั้นเป็นตัวทำา
ละลาย เช่น สารละลาย
โซเดียมคลอไรด์
นำ้า + โซเดียมคลอไรด์
(เกลือแกง)
สารละลายมีสถานะเป็น
ของเหลวเหมือนนำ้า ดังนั้น
นำ้า ตัวทำาละลาย
โซเดียมคลอไรด์ ตัวถูก
ารที่มารวมกันเป็นสารละลาย มีสถานะเดีย
ที่มีปริมาณมาก ตัวทำาละลาย
ที่มีปริมาณน้อย ตัวถูกละลาย (ตัวล
เช่น แอลกอฮอล์ที่ใช้ฆ่าเชื้อโรค
ประกอบด้วย
เอทานอล 70 % และนำ้า 30 %
เอทานอล เป็นตัวทำาละลาย นำ้า
เป็นตัวละลาย
ฟฟ้า ประกอบด้วย บิสมัส ประมาณ 50 %
ตะกั่วประมาณ 25 % ดีบุก 25%
มัสเป็นตัวทำาละลาย ตะกั่วและดีบุกเป็นต
แก๊สหุงต้ม ประกอบด้วยแก๊สโพร
เพน ประมาณ 70 %
แก๊สบิวเทนประมาณ 30 %
แก๊สโพรเพนเป็นตัวทำา
ละลาย
แก๊สบิวเทนเป็นตัวละลาย
ประกอบด้วย ทองแดงประมาณ 60 %
ทองคำาประมาณ 35 % และ เงินประมาณ 5%
ทองแดง......................................
ทองคำาและเงิน.............................
สมบัติของ
สาร/ชนิด
ของสาร
สารละลาย คอลลอยด์
สาร
แขวนลอย
เนื้อสาร
เป็นสาร
เนื้อ
เดียวกัน
เป็นสาร
เนื้อผสม
ที่
กลมกลืน
กัน
เป็นสาร
เนื้อผสม
ที่ไม่
กลมกลืน
กัน
เส้นผ่าน
ศูนย์กลา
งของ
อนุภาค
น้อยกว่า
10-7
อยู่
ระหว่าง
10-7
- 10-4
มากกว่า
10-4
สมบัติของ
สาร/ชนิดของ
สาร
สารละลาย คอลลอยด์
สาร
แขวนลอย
การผ่าน
กระดาษ
เซลโลเฟน
ผ่านได้
ผ่านไม่
ได้
ไม่ผ่าน
การตก
ตะกอน
ไม่ตก
ตะกอน
ไม่ตก
ตะกอน
ตก
ตะกอน
การกระ
เจิงแสง
ไม่
กระเจิง
แสง
(ทะลุ
กระเจิง
แสง
ไม่
กระเจิง
แสง
การจำแนกสาร

More Related Content

What's hot

งานโลหะแผ่น1 4
งานโลหะแผ่น1 4งานโลหะแผ่น1 4
งานโลหะแผ่น1 4
Pannathat Champakul
 
3.เปลี่ยนแปลงสารgs เปลี่ยนแข็งกับเปลี่ยนเหลว
3.เปลี่ยนแปลงสารgs เปลี่ยนแข็งกับเปลี่ยนเหลว3.เปลี่ยนแปลงสารgs เปลี่ยนแข็งกับเปลี่ยนเหลว
3.เปลี่ยนแปลงสารgs เปลี่ยนแข็งกับเปลี่ยนเหลว
Wichai Likitponrak
 
สารละลาย
สารละลายสารละลาย
สารละลาย
Jariya Jaiyot
 
บทที่ 3 สารละลาย
บทที่ 3 สารละลายบทที่ 3 สารละลาย
บทที่ 3 สารละลาย
Nang Ka Nangnarak
 
สมบัติของสารและการจำแนก
สมบัติของสารและการจำแนกสมบัติของสารและการจำแนก
สมบัติของสารและการจำแนก
Supaluk Juntap
 

What's hot (10)

การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)
 
สาร
สารสาร
สาร
 
โครมาโทกราฟี
โครมาโทกราฟีโครมาโทกราฟี
โครมาโทกราฟี
 
สารละลาย (Solution)
สารละลาย (Solution)สารละลาย (Solution)
สารละลาย (Solution)
 
ความรู้พื้นฐานทางเคมี
 ความรู้พื้นฐานทางเคมี ความรู้พื้นฐานทางเคมี
ความรู้พื้นฐานทางเคมี
 
งานโลหะแผ่น1 4
งานโลหะแผ่น1 4งานโลหะแผ่น1 4
งานโลหะแผ่น1 4
 
3.เปลี่ยนแปลงสารgs เปลี่ยนแข็งกับเปลี่ยนเหลว
3.เปลี่ยนแปลงสารgs เปลี่ยนแข็งกับเปลี่ยนเหลว3.เปลี่ยนแปลงสารgs เปลี่ยนแข็งกับเปลี่ยนเหลว
3.เปลี่ยนแปลงสารgs เปลี่ยนแข็งกับเปลี่ยนเหลว
 
สารละลาย
สารละลายสารละลาย
สารละลาย
 
บทที่ 3 สารละลาย
บทที่ 3 สารละลายบทที่ 3 สารละลาย
บทที่ 3 สารละลาย
 
สมบัติของสารและการจำแนก
สมบัติของสารและการจำแนกสมบัติของสารและการจำแนก
สมบัติของสารและการจำแนก
 

การจำแนกสาร