SlideShare a Scribd company logo
1 of 19
Download to read offline
ครูยุพวรรณ ตรรตนวชชา  โรงเรียนกระแชงวทยา  yupawon@hotmail.com
                                                                                                                                                    คูมือโปรแกรมสื่อการเรียนการสอนวิชาฟิ สิกส์ 2 (ว30202) เรื่อง งานและพลังงาน
                                                                                                                                                      ่
                                                                                               ีั ์ิ
         คู่มือโปรแกรมสื่อการเรียนการสอนวิ ชาฟิ สิกส์ 2(ว30202)
                                            เรื่องงานและพลังงาน
                    โดยใชการจาลองสถานการณ์แบบมีปฏิสมพันธ์
                           ้ ํ                            ั
        (INTERACTIVE SIMULATIONS) และโปรแกรม SCILAB




                                                                                                                        ิ
           ในปจจุบันการเรียนการสอน จะเนนใหนักเรียนเปนศูนยกลาง
ในการศึกษาคนควาขอมูลดวยตนเอง ซึ่งอาจจะเรียนรูจากสื่อตางๆ เชน ซีดี
สื่อการเรียนการสอนผานโทรทัศนและเครือขายดาวเทียม สื่อการเรียนการสอน
ผานเครือขายอินเตอรเน็ต (E-leaning) เปนตน โดยโปรแกรมสื่อการเรียนการ
สอนวิชาฟสิกส 2 (ว30202) เรื่อง งานและพลังงาน โดยใชการจําลองสถานการณ
แบบมีปฏิสัมพันธ (Interactive Simulations) และโปรแกรม SCILAB นี้
เปนซอฟตแวรที่จัดทําขึ้นเพื่อชวยใหการเรียนรูทางฟสิกสใหเขาใจงายและ
ไมนาเบื่อ โดยกลุมเปาหมาย คือ มุงเนนใหนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
คือ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 – 6 ที่ตองเรียนฟสิกสทั้งในกลุมวิชาพื้นฐานและ
วิชาเพิ่มเติม ซึ่งโปรแกรมนี้มีลักษณะการโตตอบกับผูใชงาน (Interactiv) เพื่อให
ผูใชงานมีทักษะการคํานวณดวยโปรแกรม SCILAB อยางงาย และสามารถนํา
ความรูที่ไดไปใชในการแกปญหาทางฟสิกสตอไป
           โปรแกรมสื่อการเรียนการสอนนี้พัฒนาขึ้นโดยใช Interactive
Simulations การจําลองสถานการณแบบมีปฏิสัมพันธ เปนแบบที่ยอมใหผูเรียน
ไดควบคุมระบบและสังเกตการเปลี่ยนแปลงองคประกอบ ภายในที่มีผลตอการ
เปลี่ยนแปลงทั้งหมด ผูเรียนมีสวนรวมกับการจําลองสถานการณที่เปลี่ยนแปลง
นั้น จากเว็บไซด http://phet.colorado.edu ซึ่งพัฒนาโดยกลุมนักวิจัย
โครงการ PhET ของ University of Colorado ประเทศสหรัฐอเมริการ เปน
ซอฟแวรที่รันบน java และเปนซอฟแวรที่ใชฟรี ไมเสียเงินคาลิขสิทธิ์ของ
ซอฟแวร สวนโปรแกรม SCILAB เปนโปรแกรมภาษาขั้นสูงที่ถูกพัฒนาขึ้นโดย
ความรวมมือกันระหวางนักวิจัยจากสถาบัน Institut National De Recherche
En Informatique Et En Automatique (INRIA) และ École nationale des
ponts et chausses (ENPC) ประเทศฝรั่งเศส ตั้งแตป ค.ศ. 1990 โดยมี
จุดมุงหมายเพื่อใชในการคํานวณเชิงตัวเลขและแสดงผลกราฟที่ซับซอน
นอกจากนี้โปรแกรม SCILAB ยังเปนโปรแกรมที่ใหฟรี (ไมตองเสียเงินคาลิขสิทธิ์
2



ซอฟตแวร) ผูอานสามารถดาวนโหลดไดจาก http://www.scilab.org สําหรับสื่อการเรียนการสอน
ในคูมือโปรแกรมสื่อการเรียนการสอนวิชาฟสิกส 2 (ว30202) เรื่องงานและพลังงาน โดยใชการจําลอง
สถานการณแบบมีปฏิสัมพันธ (Interactive Simulations) และโปรแกรม SCILAB มีดังนี้
                     • พลังงานศักยยืดหยุน

                     • พลังงานศักยโนมถวง

                     • พลังงานจลน

                     • กฎการอนุรักษพลังงาน



ระบบที่แนะนํา
ฮารดแวร (Hardware)
          รายการ                                     คําอธิบาย
CPU                         Pentium 1.6 GHz ขึ้นไป
RAM                         512 MB ขึ้นไป
Hard Disk                   ตองมีพื้นที่เหลือมากกวา 1 GB
VGA                         64 MB ขึ้นไป
Operating System            Windows XP Service Pack 2


ซอฟแวร (Software)
         รายการ                                      คําอธิบาย
SCLLAB 5.4.0                เวอรชันนี้หรือสูงกวา
Sun Java 1.5.0_15           เวอรชันนี้หรือสูงกวา


วิธีการใฃสื่อการเรียนการสอนวิชาฟสิกส 2 (ว30202) เรื่อง งานและพลังงาน โดยใชการจําลอง
สถานการณแบบมีปฏิสัมพันธ (Interactive Simulations) และโปรแกรม SCILAB ดังนี้
    1. ขั้นตอนการติดตั้งโปรแกรมสื่อการเรียนการสอนวิชาฟสิกส 2 (ว30202) เรื่อง งานและ
พลังงาน ติดตั้งโปรแกรม Sun Java 1.5.0_15 โดยกอนการเริ่มติดตั้งควรปดโปรแกรมอื่นๆกอนแลว
คอยติดตั้ง
3



        1.1 ติดตั้ง Sun Java 1.5.0_15 โดยการดับเบิ้ลคลิกที่ j2re-1_3_1_18-windows-i586-
i.exe ดังภาพที่ 1


                           ภาพที่ 1 แสดงโปรแกรมติดตั้ง Sun Java 1.5.0_15


        1.2 โปรแกรมจะแสดงหนาตางการติดตั้ง ใหทําการคลิกปุม Accept เพื่อทําการติดตั้ง




                            ภาพที่ 2 แสดงหนาตางเริ่มตนการติดตั้งโปรแกรม


                    1.3 เมื่อติดตั้งตั้งโปรแกรมเรียบรอยจะเปนดังภาพที่ 3
4




             ภาพที่ 3 แสดงหนาตางการสิ้นสุดการติดตั้งโปรแกรม Sun Java 1.5.0_15

                1.4 เปดไฟล mass-spring-lab_en.jar เพื่อดู Interactive Simulations
(แบบจําลองสถานการณที่มีปฏิสัมพันธ) เกี่ยวกับพลังงานศักยยืดหยุนโดยจะรันบนเว็บบราวเซอรที่มี
ในเครื่องคอมพิวเตอรนั้น เชน IE (Internet Explorer) ดังภาพที่ 4




             ภาพที่ 4 แสดงหนาตาง Interactive Simulations เกี่ยวกับพลังงานศักย
5



         1.5 รายละเอียดเกี่ยวกับการใช Interactive Simulations มีดังนี้

                                                                                 5

                                                           3
                                                                        6


                                                                        7
                                                                                                         9
                                       2
               1
                                                                    8

                             4
                                                               10

13                                                                                                  11
                                                                            12

     ภาพที่ 5 แสดงรายละเอียดปุมปรับคาพารามิเตอร Interactive Simulations


           1       คือ   ไมบรรทัดสําหรับวัดระยะที่สปริงยืดได

           2       คือ   เสนอางอิง

           3       คือ   สปริงที่ใชสําหรับการทดลอง มี จํานวน 3 อัน

           4       คือ   ตุมน้ําหนักที่ทราบคา (มีเลขกํากับ) ตุมน้ําหนักที่ไมทราบคา (ที่มีสี)

           5       คือ   ปุมปรับแรงเสียดทาน

           6       คือ   ปุมปรับคานิจของสปริง

           7       คือ   ปุมแสดงคาพลังงาน

           8       คือ   ปุมเลือกชวงการหนวงของเวลา
6



                  9      คือ      ปุมเลือกคา g

                  10     คือ      ปุมแสดงเวลา

                  11     คือ      ปุมควบคุมการปด/เปดเสียง

                  12     คือ      แสดงวิธีการใช

                  13     คือ      แสดงผูพัฒนาโปรแกรม


      1.6 ทําการปรับเลื่อนปุมที่ 5 (friction) คาแรงเสียดทาน โดย none ไมมีแรงเสียดทาน lots
แรงเสียดทานมาก ดังภาพที่ 6




                                ภาพที่ 6 แสดงปุมคาแรงเสียดทาน


      1.7 ทําการปรับเลื่อนปุมที่ 6 (softness spring 3) ปุมปรับคานิจของสปริง โดย soft คานิจ
ของสปริงนอย hard คานิจของสปริงนอย ดังภาพที่ 7




                               ภาพที่ 7 แสดงปุมปรับคานิจของสปริง


      1.8 ทําการเลือกปุมแสดงกราฟพลังงาน               1 คือ สปริงตัวที่ 1 ,   2 คือ สปริงตัวที่ 2 ,
   3 คือ สปริงตัวที่ 3    No show คือไมแสดงกราฟ ดังภาพที่ 8
7




                           ภาพที่ 8 ปุมเลือกแสดงกราฟคาของพลังงาน


      1.9 เลือกปรับชวงเวลาในการแสดงผล โดย ปุม real time คือ เวลาจริง ¼ time คือ หนวง
เวลา ¼ เทาของเวลาจริง 1/16 time คือ หนวงเวลา 1/16 เทาของเวลาจริง pause คือ หยุดเวลา




                            ภาพที่ 9 ปุมเลือกชวงเวลาในการแสดงผล


      1.10 เลือกปรับคา g แรงโนมถวง โดยมีปุมใหเลือก ดังนี้ Jupiter คือ คา g บนดาวจูปเตอร
Moon คือ คา g บนดวงจันทร Earth คือ คา g บนโลก Planet X คือ คา g บนดาว X และปุม g = 0
ดังภาพที่ 10




                                 ภาพที่ 10 ปุมปรับคา g แรงโนมถวง


      1.11 เลือกแสดงนาฬิกาจับเวลา (Stopwatch) และเสียงประกอบในการจําลองสถานการณ
(Sound) โดยการคลิกที่ปุม ดังภาพที่ 11 คือ เลือกใหมีเสียงขณะทําการทดลอง



                            ภาพที่ 11 ปุมเลือกแสดงนาฬิกาและเสียง
8




      1.12 ปุมวิธีการใช (Show Help) เมื่อคลิกที่ปุมนี้แลวจะแสดงวิธีการใช ดังภาพที่ 13


                                    ภาพที่ 12 ปุม Show Help




                         ภาพที่ 13 แสดงวิธีการใชแบบจําลองสถานการณ


      1.13 ทําการทดลอง สังเกตสถานการณจําลอง แลวบันทึกผลการทดลอง สรุปและอภิปรายการ
ทดลองตอไป
      1.14 เปดไฟล energy-skate-park-basics_en.jar เพื่อดู Interactive Simulations
(แบบจําลองสถานการณที่มีปฏิสัมพันธ) เกี่ยวกับพลังงานศักยโนมถวง พลังงานจลย พลังงานความ
รอน และกฎการอนุรักษพลังงาน เครื่องคอมพิวเตอรจะทําการรันโปรแกรม ดังภาพที่ 14 เมื่อรัน
โปรแกรมเรียบรอยแลวจะได Interactive Simulations ดังภาพที่ 15
9




 ภาพที่ 14 แสดงการรันโปรแกรม ไฟล energy-skate-park-basics_en.jar




ภาพที่ 15 Interactive Simulations ไฟล energy-skate-park-basics_en.jar
10



         1.15 รายละเอียดเกี่ยวกับการใช Interactive Simulations มีดังนี้

                                     1

              2                                                                   4


                                             3




                                 5
                  ภาพที่ 16 แสดงรายละเอียดเกี่ยวกับการใช Interactive Simulations


             แถบเมนูบารมี 3 แถบ คือ
                       o Introduction คือ เมนูที่แสดงสถานการณจําลองการเลนสเก็ตบอรดบน
รางพื้นที่ไมมีแรงเสียดทาน
                      o Friction คือ เมนูที่แสดงสถานการณจําลองการเลนสเก็ตบอรดบนรางพื้นที่
มีแรงเสียดทาน
                      o Track Playground คือ เมนูที่แสดงสถานการณจําลองการเลนสเก็ตบอรด
บนรางพื้นที่ผูทําการทดลองกําหนดรางทดลองไดเอง
     2         รางพื้นสเก็ตบอรดมีใหเลือกจํานวน 3 ราง ดังภาพที่ 17


     3        พื้นที่ฉากหลัง


     4        เมนูในการเลือกแสดงผลมี 7 เมนูดวยกัน ดังภาพที่ 18 ดังนี้
                      o Bar Graph คือ การแสดงกราฟแทงคาของพลังงาน
                                                                      ภาพที่ 17 แสดงรางพื้นสเก็ตบอรด
11



                  o Pie Chat คือ การแสดงแผนภูมิวงกลมคาของพลังงาน
                  o Gird คือ การแสดงเสนตาราง
                  o Speed คือ การแสดงความเร็วในการเคลื่อนที่
                  o Skeater Mass คือ การปรับเลือกมวลของผูเลนสเก็ตบอรด ถาปรับเลื่อนมา
ทางขวามือ (Small) คือ มวลนอย ถาปรับไปทางซายมือ (Large) คือ มวลมาก
                  o Return Skater คือ การใหนักเลนสเก็ตบอรดเริ่มตนใหม
                  o Reset All คือ การเริ่มตน Interactive Simulations ใหม




                           ภาพที่ 18 แสดงเมนูในการเลือกแสดงผล
      5        เมนูในการแสดงผลการเคลื่อนที่ของนักสเก็ตบอรด ดังภาพที่ 19 ดังนี้
                  o Slow Motion คือ แสดงผลการเคลื่อนที่แบบชาๆ
                  o Normal คือ แสดงผลการเคลื่อนที่แบบปกติ
                  o          ปุมแสดงผลการทดลอง


                  o          ปุมหยุดการทดลอง


                  o          ปุมรีเพลยไปขางหนา
12




                   ภาพที่ 19 เมนูในการแสดงผลการเคลื่อนที่ของนักสเก็ตบอรด


      1.16 ตัวอยางการเลือกปรับปุม เมนูตางๆ เชน เลือกใหแสดงแผนภูมิกราฟแทง แผนภูมิวงกลม
แสดงเสนตาราง แสดงความเร็วในการเคลื่อนที่ และเลื่อนปรับใหนักสเก็ตบอรดมีมวลมากที่สุด จะได
ดังภาพที่ 20




                     ภาพที่ 20 แสดงผลลัพธการเลือกเมนูตางๆ ตามขอ 1.16


      1.17 ตัวอยางการเลือกปรับปุม เมนูตางๆ ในเมนูบารที่ 2 (Friction) กรณีรางพื้นมี
แรงเสียดทาน เชน เลือกรางพื้นแบบที่ 3 และเลือกใหแสดงแผนภูมิกราฟแทง แผนภูมิวงกลม
แสดงเสนตาราง แสดงความเร็วในการเคลื่อนที่ และเลื่อนปรับใหรางพื้นสเก็ตบอรดมีแรงเสียดทาน
เล็กนอย จะไดดังภาพที่ 21
13




                     ภาพที่ 21 แสดงผลลัพธการเลือกเมนูตางๆ ตามขอ 1.17


      1.18 ตัวอยางการเลือกปรับปุม เมนูตางๆ ในเมนูบารที่ 3 (Track Playground) กรณีกําหนด
รางพื้นเอง โดยการคลิกที่ Tracks แลวลากมายังบริเวณพื้นที่ฉากหลัง (3) แลวกําหนดรางพื้นที่การ
เลนสเก็ตบอรดตามที่ตองการ ปรับ/เลื่อนปุมตามที่ตองการ เชน เลือกใหแสดงแผนภูมิกราฟแทง
แผนภูมิวงกลม แสดงเสนตาราง แสดงความเร็วในการเคลื่อนที่ และเลื่อนปรับใหรางพื้นสเก็ตบอรด
ไมมีแรงเสียดทาน จะไดดังภาพที่ 22
14




                       ภาพที่ 22 แสดงผลลัพธการเลือกเมนูตางๆ ตามขอ 1.18


       1.19 ทําการทดลอง สังเกตสถานการณจําลอง แลวบันทึกผลการทดลอง สรุปและอภิปราย
การทดลองตอไป
    2. ขั้นตอนการติดตั้งโปรแกรมสื่อการเรียนการสอนวิชาฟสิกส 2 (ว30202) เรื่อง งานและ
พลังงาน ติดตั้งโปรแกรม SCLLAB 5.4.0 โดยกอนการเริ่มติดตั้งควรปดโปรแกรมอื่นๆกอนแลว
คอยติดตั้ง
         2.1 ดับเบิลคลิกที่                    เพื่อทําการติดตั้งโปรแกรม SCLLAB 5.4.0
         2.2 เลือกภาษาในการแสดงผล ในที่นี้ใหเลือก English แลวคลิกที่ปุม OK ดังภาพที่ 23




                               ภาพที่ 23 เลือกภาษาในการแสดงผล
15



     2.3 เมื่อโปรแกรมรันแลว จะมีเงื่อนไขของซอฟแวรปรากฏ ใหคลิกยอมรับเงื่อนไข (I aceept
 the agreement) แลวคลิกที่ปุม Next ดังภาพที่ 24




               ภาพที่ 24 แสดงการยอมรับเงื่อนไขในการรันโปรแกรม SCLLAB 5.4.0


     2.4 เครื่องจะทําการรันโปรแกรม ดังภาพที่ 25 และรันโปรแกรมเสร็จสมบูรณเรียบรอย
ดังภาพที่ 26
16




ภาพที่ 25 แสดงผลการรันโปรแกรม SCLLAB 5.4.0




  ภาพที่ 26 รันโปรแกรมเสร็จสมบูรณเรียบรอย
17



       2.5 เปดโปรแกรม SCLLAB 5.4.0




               ภาพที่ 27 แสดงหนาตางในการทํางานของโปรแกรม SCLLAB 5.4.0


    2.6 เขียนคําสั่งตามขอมูลที่ไดจากการทดลองกิจกรรมที่ 1 การทดลอง เรื่องความสัมพันธระหวาง
ขนาดของแรงที่ใชดึงสปริงกับระยะทางที่สปริงยืดออก จะไดผลลัพทดังภาพที่ 28
        -->x=0:1:7;
       -->k=0.95;
       -->y=k*x;
       -->plot(x,y);
       -->xset("font",5,4);
       -->xset("thickness",3);
       -->xtitle('LAB1','Distance(cm)','Force(N)')
18




                   ภาพที่ 28 แสดงผลลัพทที่ไดจากการกิจกรรมการทดลองที่ 1


       2.7 คํานวณหางานที่เกิดขึ้นและพลังงานศักยยืดหยุนในสปริงไดโดยการเขียนคําสั่งลงใน
โปรแกรม SCLLAB 5.4.0 จะไดงานที่เกิดขึ้นเทากับ 23.1 จูล และพลังงานศักยยืดหยุนในสปริงเทากับ
23.1 จูล ดังภาพที่ 29 และคําสั่งในการรันโปรแกรม คือ
        -->x=7;
       -->y=6.6;
       -->w=(1/2)*x*y
       w = 23.1
       -->E=w
        E = 23.1
19




        ภาพที่ 29 แสดงผลลัพทที่ไดจากการคํานวณหางานและพลังงานศักยยืดหยุน


    2.8 สามารถคํานวณหาปริมาณตางๆทางฟสิกสและคํานวณแกสมการคณิตศาสตรได
โดยศึกษาเพิ่มเติมไดที่ http://home.npru.ac.th/piya/webscilab/download.php (ปยะ โควิ
นททวีวัฒน. ผศ.ดร. มหาวิทยาลัยราชภัฎนครปฐม)

More Related Content

Similar to Interractive simulation

โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงานjuthawadee555
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงานjuthawadee555
 
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการโครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการkat55
 
โจทย์ปัญหา PBL 3 เรื่อง ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรม
โจทย์ปัญหา PBL 3 เรื่อง ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรม โจทย์ปัญหา PBL 3 เรื่อง ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรม
โจทย์ปัญหา PBL 3 เรื่อง ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรม nattapon Arsapanom
 
การเขียนผังงาน (Flowchart)
การเขียนผังงาน (Flowchart)การเขียนผังงาน (Flowchart)
การเขียนผังงาน (Flowchart)Fair Kung Nattaput
 
สื่อการสอน Microsoft Power point 2010
สื่อการสอน Microsoft Power point 2010สื่อการสอน Microsoft Power point 2010
สื่อการสอน Microsoft Power point 2010Krongkaew kumpet
 

Similar to Interractive simulation (20)

52 ตรีโกณมิติ สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องมุมบนวงกลมหนึ่งหน่วย
52 ตรีโกณมิติ สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องมุมบนวงกลมหนึ่งหน่วย52 ตรีโกณมิติ สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องมุมบนวงกลมหนึ่งหน่วย
52 ตรีโกณมิติ สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องมุมบนวงกลมหนึ่งหน่วย
 
11
1111
11
 
53 ตรีโกณมิติ สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องกราฟของฟังก์ชันตรีโกณมิติ
53 ตรีโกณมิติ สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องกราฟของฟังก์ชันตรีโกณมิติ53 ตรีโกณมิติ สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องกราฟของฟังก์ชันตรีโกณมิติ
53 ตรีโกณมิติ สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องกราฟของฟังก์ชันตรีโกณมิติ
 
24 จำนวนจริง สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องสมการและอสมการพหุนาม
24 จำนวนจริง สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องสมการและอสมการพหุนาม24 จำนวนจริง สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องสมการและอสมการพหุนาม
24 จำนวนจริง สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องสมการและอสมการพหุนาม
 
05 เซต สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องแผนภาพเวนน์-ออยเลอร์
05 เซต สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องแผนภาพเวนน์-ออยเลอร์05 เซต สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องแผนภาพเวนน์-ออยเลอร์
05 เซต สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องแผนภาพเวนน์-ออยเลอร์
 
23 จำนวนจริง สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องช่วงบนเส้นจำนวน
23 จำนวนจริง สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องช่วงบนเส้นจำนวน23 จำนวนจริง สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องช่วงบนเส้นจำนวน
23 จำนวนจริง สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องช่วงบนเส้นจำนวน
 
25 จำนวนจริง สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องกราฟค่าสัมบูรณ์
25 จำนวนจริง สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องกราฟค่าสัมบูรณ์25 จำนวนจริง สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องกราฟค่าสัมบูรณ์
25 จำนวนจริง สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องกราฟค่าสัมบูรณ์
 
40 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม ตอนที่3_ลอการิทึม
40 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม ตอนที่3_ลอการิทึม40 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม ตอนที่3_ลอการิทึม
40 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม ตอนที่3_ลอการิทึม
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการโครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
 
Add m2-1-chapter1
Add m2-1-chapter1Add m2-1-chapter1
Add m2-1-chapter1
 
Pbl 3
Pbl 3Pbl 3
Pbl 3
 
โจทย์ปัญหา PBL 3 เรื่อง ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรม
โจทย์ปัญหา PBL 3 เรื่อง ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรม โจทย์ปัญหา PBL 3 เรื่อง ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรม
โจทย์ปัญหา PBL 3 เรื่อง ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรม
 
Pbl 3
Pbl 3Pbl 3
Pbl 3
 
86 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่13_โปรแกรมการคำนวณทางสถิติ1
86 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่13_โปรแกรมการคำนวณทางสถิติ186 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่13_โปรแกรมการคำนวณทางสถิติ1
86 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่13_โปรแกรมการคำนวณทางสถิติ1
 
12 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องตารางค่าความจริง
12 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องตารางค่าความจริง12 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องตารางค่าความจริง
12 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องตารางค่าความจริง
 
การเขียนผังงาน (Flowchart)
การเขียนผังงาน (Flowchart)การเขียนผังงาน (Flowchart)
การเขียนผังงาน (Flowchart)
 
54 ตรีโกณมิติ สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องกฎของไซน์และโคไซน์
54 ตรีโกณมิติ สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องกฎของไซน์และโคไซน์54 ตรีโกณมิติ สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องกฎของไซน์และโคไซน์
54 ตรีโกณมิติ สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องกฎของไซน์และโคไซน์
 
สื่อการสอน Microsoft Power point 2010
สื่อการสอน Microsoft Power point 2010สื่อการสอน Microsoft Power point 2010
สื่อการสอน Microsoft Power point 2010
 

More from Miss.Yupawan Triratwitcha

สารสนเทศโรงเรียนกระแชงวิทยา ปีการศึกษา2558
สารสนเทศโรงเรียนกระแชงวิทยา ปีการศึกษา2558สารสนเทศโรงเรียนกระแชงวิทยา ปีการศึกษา2558
สารสนเทศโรงเรียนกระแชงวิทยา ปีการศึกษา2558Miss.Yupawan Triratwitcha
 
สารสนเทศปีการศึกษา2558
สารสนเทศปีการศึกษา2558สารสนเทศปีการศึกษา2558
สารสนเทศปีการศึกษา2558Miss.Yupawan Triratwitcha
 
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)Miss.Yupawan Triratwitcha
 
สรุปประเด็นสำคัญการปฏิรูปการศึกษารอบสอง
สรุปประเด็นสำคัญการปฏิรูปการศึกษารอบสองสรุปประเด็นสำคัญการปฏิรูปการศึกษารอบสอง
สรุปประเด็นสำคัญการปฏิรูปการศึกษารอบสองMiss.Yupawan Triratwitcha
 

More from Miss.Yupawan Triratwitcha (20)

หน้าปก
หน้าปกหน้าปก
หน้าปก
 
4 ตอน4 sar57
4 ตอน4 sar574 ตอน4 sar57
4 ตอน4 sar57
 
3 ตอน3 sar57
3 ตอน3 sar573 ตอน3 sar57
3 ตอน3 sar57
 
2 ตอน2 sar57
2 ตอน2 sar572 ตอน2 sar57
2 ตอน2 sar57
 
1 ตอน1 sar57
1 ตอน1 sar571 ตอน1 sar57
1 ตอน1 sar57
 
สารสนเทศโรงเรียนกระแชงวิทยา ปีการศึกษา2558
สารสนเทศโรงเรียนกระแชงวิทยา ปีการศึกษา2558สารสนเทศโรงเรียนกระแชงวิทยา ปีการศึกษา2558
สารสนเทศโรงเรียนกระแชงวิทยา ปีการศึกษา2558
 
สารสนเทศปีการศึกษา2558
สารสนเทศปีการศึกษา2558สารสนเทศปีการศึกษา2558
สารสนเทศปีการศึกษา2558
 
4 ตอน4 sar55
4 ตอน4 sar554 ตอน4 sar55
4 ตอน4 sar55
 
3 ตอน3 sar55
3 ตอน3 sar553 ตอน3 sar55
3 ตอน3 sar55
 
2 ตอน2 sar55
2 ตอน2 sar552 ตอน2 sar55
2 ตอน2 sar55
 
1 ตอน1 sar55
1 ตอน1 sar551 ตอน1 sar55
1 ตอน1 sar55
 
Book pp56legal
Book pp56legalBook pp56legal
Book pp56legal
 
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
 
Teacher
TeacherTeacher
Teacher
 
Twitter
TwitterTwitter
Twitter
 
W 2
W 2W 2
W 2
 
สรุปประเด็นสำคัญการปฏิรูปการศึกษารอบสอง
สรุปประเด็นสำคัญการปฏิรูปการศึกษารอบสองสรุปประเด็นสำคัญการปฏิรูปการศึกษารอบสอง
สรุปประเด็นสำคัญการปฏิรูปการศึกษารอบสอง
 
Phy1 m4 kruyu
Phy1 m4 kruyuPhy1 m4 kruyu
Phy1 m4 kruyu
 
Substance2
Substance2Substance2
Substance2
 
Substance classification
Substance classificationSubstance classification
Substance classification
 

Interractive simulation

  • 1. ครูยุพวรรณ ตรรตนวชชา  โรงเรียนกระแชงวทยา  yupawon@hotmail.com คูมือโปรแกรมสื่อการเรียนการสอนวิชาฟิ สิกส์ 2 (ว30202) เรื่อง งานและพลังงาน ่ ีั ์ิ คู่มือโปรแกรมสื่อการเรียนการสอนวิ ชาฟิ สิกส์ 2(ว30202) เรื่องงานและพลังงาน โดยใชการจาลองสถานการณ์แบบมีปฏิสมพันธ์ ้ ํ ั (INTERACTIVE SIMULATIONS) และโปรแกรม SCILAB ิ ในปจจุบันการเรียนการสอน จะเนนใหนักเรียนเปนศูนยกลาง ในการศึกษาคนควาขอมูลดวยตนเอง ซึ่งอาจจะเรียนรูจากสื่อตางๆ เชน ซีดี สื่อการเรียนการสอนผานโทรทัศนและเครือขายดาวเทียม สื่อการเรียนการสอน ผานเครือขายอินเตอรเน็ต (E-leaning) เปนตน โดยโปรแกรมสื่อการเรียนการ สอนวิชาฟสิกส 2 (ว30202) เรื่อง งานและพลังงาน โดยใชการจําลองสถานการณ แบบมีปฏิสัมพันธ (Interactive Simulations) และโปรแกรม SCILAB นี้ เปนซอฟตแวรที่จัดทําขึ้นเพื่อชวยใหการเรียนรูทางฟสิกสใหเขาใจงายและ ไมนาเบื่อ โดยกลุมเปาหมาย คือ มุงเนนใหนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย คือ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 – 6 ที่ตองเรียนฟสิกสทั้งในกลุมวิชาพื้นฐานและ วิชาเพิ่มเติม ซึ่งโปรแกรมนี้มีลักษณะการโตตอบกับผูใชงาน (Interactiv) เพื่อให ผูใชงานมีทักษะการคํานวณดวยโปรแกรม SCILAB อยางงาย และสามารถนํา ความรูที่ไดไปใชในการแกปญหาทางฟสิกสตอไป โปรแกรมสื่อการเรียนการสอนนี้พัฒนาขึ้นโดยใช Interactive Simulations การจําลองสถานการณแบบมีปฏิสัมพันธ เปนแบบที่ยอมใหผูเรียน ไดควบคุมระบบและสังเกตการเปลี่ยนแปลงองคประกอบ ภายในที่มีผลตอการ เปลี่ยนแปลงทั้งหมด ผูเรียนมีสวนรวมกับการจําลองสถานการณที่เปลี่ยนแปลง นั้น จากเว็บไซด http://phet.colorado.edu ซึ่งพัฒนาโดยกลุมนักวิจัย โครงการ PhET ของ University of Colorado ประเทศสหรัฐอเมริการ เปน ซอฟแวรที่รันบน java และเปนซอฟแวรที่ใชฟรี ไมเสียเงินคาลิขสิทธิ์ของ ซอฟแวร สวนโปรแกรม SCILAB เปนโปรแกรมภาษาขั้นสูงที่ถูกพัฒนาขึ้นโดย ความรวมมือกันระหวางนักวิจัยจากสถาบัน Institut National De Recherche En Informatique Et En Automatique (INRIA) และ École nationale des ponts et chausses (ENPC) ประเทศฝรั่งเศส ตั้งแตป ค.ศ. 1990 โดยมี จุดมุงหมายเพื่อใชในการคํานวณเชิงตัวเลขและแสดงผลกราฟที่ซับซอน นอกจากนี้โปรแกรม SCILAB ยังเปนโปรแกรมที่ใหฟรี (ไมตองเสียเงินคาลิขสิทธิ์
  • 2. 2 ซอฟตแวร) ผูอานสามารถดาวนโหลดไดจาก http://www.scilab.org สําหรับสื่อการเรียนการสอน ในคูมือโปรแกรมสื่อการเรียนการสอนวิชาฟสิกส 2 (ว30202) เรื่องงานและพลังงาน โดยใชการจําลอง สถานการณแบบมีปฏิสัมพันธ (Interactive Simulations) และโปรแกรม SCILAB มีดังนี้ • พลังงานศักยยืดหยุน • พลังงานศักยโนมถวง • พลังงานจลน • กฎการอนุรักษพลังงาน ระบบที่แนะนํา ฮารดแวร (Hardware) รายการ คําอธิบาย CPU Pentium 1.6 GHz ขึ้นไป RAM 512 MB ขึ้นไป Hard Disk ตองมีพื้นที่เหลือมากกวา 1 GB VGA 64 MB ขึ้นไป Operating System Windows XP Service Pack 2 ซอฟแวร (Software) รายการ คําอธิบาย SCLLAB 5.4.0 เวอรชันนี้หรือสูงกวา Sun Java 1.5.0_15 เวอรชันนี้หรือสูงกวา วิธีการใฃสื่อการเรียนการสอนวิชาฟสิกส 2 (ว30202) เรื่อง งานและพลังงาน โดยใชการจําลอง สถานการณแบบมีปฏิสัมพันธ (Interactive Simulations) และโปรแกรม SCILAB ดังนี้ 1. ขั้นตอนการติดตั้งโปรแกรมสื่อการเรียนการสอนวิชาฟสิกส 2 (ว30202) เรื่อง งานและ พลังงาน ติดตั้งโปรแกรม Sun Java 1.5.0_15 โดยกอนการเริ่มติดตั้งควรปดโปรแกรมอื่นๆกอนแลว คอยติดตั้ง
  • 3. 3 1.1 ติดตั้ง Sun Java 1.5.0_15 โดยการดับเบิ้ลคลิกที่ j2re-1_3_1_18-windows-i586- i.exe ดังภาพที่ 1 ภาพที่ 1 แสดงโปรแกรมติดตั้ง Sun Java 1.5.0_15 1.2 โปรแกรมจะแสดงหนาตางการติดตั้ง ใหทําการคลิกปุม Accept เพื่อทําการติดตั้ง ภาพที่ 2 แสดงหนาตางเริ่มตนการติดตั้งโปรแกรม 1.3 เมื่อติดตั้งตั้งโปรแกรมเรียบรอยจะเปนดังภาพที่ 3
  • 4. 4 ภาพที่ 3 แสดงหนาตางการสิ้นสุดการติดตั้งโปรแกรม Sun Java 1.5.0_15 1.4 เปดไฟล mass-spring-lab_en.jar เพื่อดู Interactive Simulations (แบบจําลองสถานการณที่มีปฏิสัมพันธ) เกี่ยวกับพลังงานศักยยืดหยุนโดยจะรันบนเว็บบราวเซอรที่มี ในเครื่องคอมพิวเตอรนั้น เชน IE (Internet Explorer) ดังภาพที่ 4 ภาพที่ 4 แสดงหนาตาง Interactive Simulations เกี่ยวกับพลังงานศักย
  • 5. 5 1.5 รายละเอียดเกี่ยวกับการใช Interactive Simulations มีดังนี้ 5 3 6 7 9 2 1 8 4 10 13 11 12 ภาพที่ 5 แสดงรายละเอียดปุมปรับคาพารามิเตอร Interactive Simulations 1 คือ ไมบรรทัดสําหรับวัดระยะที่สปริงยืดได 2 คือ เสนอางอิง 3 คือ สปริงที่ใชสําหรับการทดลอง มี จํานวน 3 อัน 4 คือ ตุมน้ําหนักที่ทราบคา (มีเลขกํากับ) ตุมน้ําหนักที่ไมทราบคา (ที่มีสี) 5 คือ ปุมปรับแรงเสียดทาน 6 คือ ปุมปรับคานิจของสปริง 7 คือ ปุมแสดงคาพลังงาน 8 คือ ปุมเลือกชวงการหนวงของเวลา
  • 6. 6 9 คือ ปุมเลือกคา g 10 คือ ปุมแสดงเวลา 11 คือ ปุมควบคุมการปด/เปดเสียง 12 คือ แสดงวิธีการใช 13 คือ แสดงผูพัฒนาโปรแกรม 1.6 ทําการปรับเลื่อนปุมที่ 5 (friction) คาแรงเสียดทาน โดย none ไมมีแรงเสียดทาน lots แรงเสียดทานมาก ดังภาพที่ 6 ภาพที่ 6 แสดงปุมคาแรงเสียดทาน 1.7 ทําการปรับเลื่อนปุมที่ 6 (softness spring 3) ปุมปรับคานิจของสปริง โดย soft คานิจ ของสปริงนอย hard คานิจของสปริงนอย ดังภาพที่ 7 ภาพที่ 7 แสดงปุมปรับคานิจของสปริง 1.8 ทําการเลือกปุมแสดงกราฟพลังงาน 1 คือ สปริงตัวที่ 1 , 2 คือ สปริงตัวที่ 2 , 3 คือ สปริงตัวที่ 3 No show คือไมแสดงกราฟ ดังภาพที่ 8
  • 7. 7 ภาพที่ 8 ปุมเลือกแสดงกราฟคาของพลังงาน 1.9 เลือกปรับชวงเวลาในการแสดงผล โดย ปุม real time คือ เวลาจริง ¼ time คือ หนวง เวลา ¼ เทาของเวลาจริง 1/16 time คือ หนวงเวลา 1/16 เทาของเวลาจริง pause คือ หยุดเวลา ภาพที่ 9 ปุมเลือกชวงเวลาในการแสดงผล 1.10 เลือกปรับคา g แรงโนมถวง โดยมีปุมใหเลือก ดังนี้ Jupiter คือ คา g บนดาวจูปเตอร Moon คือ คา g บนดวงจันทร Earth คือ คา g บนโลก Planet X คือ คา g บนดาว X และปุม g = 0 ดังภาพที่ 10 ภาพที่ 10 ปุมปรับคา g แรงโนมถวง 1.11 เลือกแสดงนาฬิกาจับเวลา (Stopwatch) และเสียงประกอบในการจําลองสถานการณ (Sound) โดยการคลิกที่ปุม ดังภาพที่ 11 คือ เลือกใหมีเสียงขณะทําการทดลอง ภาพที่ 11 ปุมเลือกแสดงนาฬิกาและเสียง
  • 8. 8 1.12 ปุมวิธีการใช (Show Help) เมื่อคลิกที่ปุมนี้แลวจะแสดงวิธีการใช ดังภาพที่ 13 ภาพที่ 12 ปุม Show Help ภาพที่ 13 แสดงวิธีการใชแบบจําลองสถานการณ 1.13 ทําการทดลอง สังเกตสถานการณจําลอง แลวบันทึกผลการทดลอง สรุปและอภิปรายการ ทดลองตอไป 1.14 เปดไฟล energy-skate-park-basics_en.jar เพื่อดู Interactive Simulations (แบบจําลองสถานการณที่มีปฏิสัมพันธ) เกี่ยวกับพลังงานศักยโนมถวง พลังงานจลย พลังงานความ รอน และกฎการอนุรักษพลังงาน เครื่องคอมพิวเตอรจะทําการรันโปรแกรม ดังภาพที่ 14 เมื่อรัน โปรแกรมเรียบรอยแลวจะได Interactive Simulations ดังภาพที่ 15
  • 9. 9 ภาพที่ 14 แสดงการรันโปรแกรม ไฟล energy-skate-park-basics_en.jar ภาพที่ 15 Interactive Simulations ไฟล energy-skate-park-basics_en.jar
  • 10. 10 1.15 รายละเอียดเกี่ยวกับการใช Interactive Simulations มีดังนี้ 1 2 4 3 5 ภาพที่ 16 แสดงรายละเอียดเกี่ยวกับการใช Interactive Simulations แถบเมนูบารมี 3 แถบ คือ o Introduction คือ เมนูที่แสดงสถานการณจําลองการเลนสเก็ตบอรดบน รางพื้นที่ไมมีแรงเสียดทาน o Friction คือ เมนูที่แสดงสถานการณจําลองการเลนสเก็ตบอรดบนรางพื้นที่ มีแรงเสียดทาน o Track Playground คือ เมนูที่แสดงสถานการณจําลองการเลนสเก็ตบอรด บนรางพื้นที่ผูทําการทดลองกําหนดรางทดลองไดเอง 2 รางพื้นสเก็ตบอรดมีใหเลือกจํานวน 3 ราง ดังภาพที่ 17 3 พื้นที่ฉากหลัง 4 เมนูในการเลือกแสดงผลมี 7 เมนูดวยกัน ดังภาพที่ 18 ดังนี้ o Bar Graph คือ การแสดงกราฟแทงคาของพลังงาน ภาพที่ 17 แสดงรางพื้นสเก็ตบอรด
  • 11. 11 o Pie Chat คือ การแสดงแผนภูมิวงกลมคาของพลังงาน o Gird คือ การแสดงเสนตาราง o Speed คือ การแสดงความเร็วในการเคลื่อนที่ o Skeater Mass คือ การปรับเลือกมวลของผูเลนสเก็ตบอรด ถาปรับเลื่อนมา ทางขวามือ (Small) คือ มวลนอย ถาปรับไปทางซายมือ (Large) คือ มวลมาก o Return Skater คือ การใหนักเลนสเก็ตบอรดเริ่มตนใหม o Reset All คือ การเริ่มตน Interactive Simulations ใหม ภาพที่ 18 แสดงเมนูในการเลือกแสดงผล 5 เมนูในการแสดงผลการเคลื่อนที่ของนักสเก็ตบอรด ดังภาพที่ 19 ดังนี้ o Slow Motion คือ แสดงผลการเคลื่อนที่แบบชาๆ o Normal คือ แสดงผลการเคลื่อนที่แบบปกติ o ปุมแสดงผลการทดลอง o ปุมหยุดการทดลอง o ปุมรีเพลยไปขางหนา
  • 12. 12 ภาพที่ 19 เมนูในการแสดงผลการเคลื่อนที่ของนักสเก็ตบอรด 1.16 ตัวอยางการเลือกปรับปุม เมนูตางๆ เชน เลือกใหแสดงแผนภูมิกราฟแทง แผนภูมิวงกลม แสดงเสนตาราง แสดงความเร็วในการเคลื่อนที่ และเลื่อนปรับใหนักสเก็ตบอรดมีมวลมากที่สุด จะได ดังภาพที่ 20 ภาพที่ 20 แสดงผลลัพธการเลือกเมนูตางๆ ตามขอ 1.16 1.17 ตัวอยางการเลือกปรับปุม เมนูตางๆ ในเมนูบารที่ 2 (Friction) กรณีรางพื้นมี แรงเสียดทาน เชน เลือกรางพื้นแบบที่ 3 และเลือกใหแสดงแผนภูมิกราฟแทง แผนภูมิวงกลม แสดงเสนตาราง แสดงความเร็วในการเคลื่อนที่ และเลื่อนปรับใหรางพื้นสเก็ตบอรดมีแรงเสียดทาน เล็กนอย จะไดดังภาพที่ 21
  • 13. 13 ภาพที่ 21 แสดงผลลัพธการเลือกเมนูตางๆ ตามขอ 1.17 1.18 ตัวอยางการเลือกปรับปุม เมนูตางๆ ในเมนูบารที่ 3 (Track Playground) กรณีกําหนด รางพื้นเอง โดยการคลิกที่ Tracks แลวลากมายังบริเวณพื้นที่ฉากหลัง (3) แลวกําหนดรางพื้นที่การ เลนสเก็ตบอรดตามที่ตองการ ปรับ/เลื่อนปุมตามที่ตองการ เชน เลือกใหแสดงแผนภูมิกราฟแทง แผนภูมิวงกลม แสดงเสนตาราง แสดงความเร็วในการเคลื่อนที่ และเลื่อนปรับใหรางพื้นสเก็ตบอรด ไมมีแรงเสียดทาน จะไดดังภาพที่ 22
  • 14. 14 ภาพที่ 22 แสดงผลลัพธการเลือกเมนูตางๆ ตามขอ 1.18 1.19 ทําการทดลอง สังเกตสถานการณจําลอง แลวบันทึกผลการทดลอง สรุปและอภิปราย การทดลองตอไป 2. ขั้นตอนการติดตั้งโปรแกรมสื่อการเรียนการสอนวิชาฟสิกส 2 (ว30202) เรื่อง งานและ พลังงาน ติดตั้งโปรแกรม SCLLAB 5.4.0 โดยกอนการเริ่มติดตั้งควรปดโปรแกรมอื่นๆกอนแลว คอยติดตั้ง 2.1 ดับเบิลคลิกที่ เพื่อทําการติดตั้งโปรแกรม SCLLAB 5.4.0 2.2 เลือกภาษาในการแสดงผล ในที่นี้ใหเลือก English แลวคลิกที่ปุม OK ดังภาพที่ 23 ภาพที่ 23 เลือกภาษาในการแสดงผล
  • 15. 15 2.3 เมื่อโปรแกรมรันแลว จะมีเงื่อนไขของซอฟแวรปรากฏ ใหคลิกยอมรับเงื่อนไข (I aceept the agreement) แลวคลิกที่ปุม Next ดังภาพที่ 24 ภาพที่ 24 แสดงการยอมรับเงื่อนไขในการรันโปรแกรม SCLLAB 5.4.0 2.4 เครื่องจะทําการรันโปรแกรม ดังภาพที่ 25 และรันโปรแกรมเสร็จสมบูรณเรียบรอย ดังภาพที่ 26
  • 16. 16 ภาพที่ 25 แสดงผลการรันโปรแกรม SCLLAB 5.4.0 ภาพที่ 26 รันโปรแกรมเสร็จสมบูรณเรียบรอย
  • 17. 17 2.5 เปดโปรแกรม SCLLAB 5.4.0 ภาพที่ 27 แสดงหนาตางในการทํางานของโปรแกรม SCLLAB 5.4.0 2.6 เขียนคําสั่งตามขอมูลที่ไดจากการทดลองกิจกรรมที่ 1 การทดลอง เรื่องความสัมพันธระหวาง ขนาดของแรงที่ใชดึงสปริงกับระยะทางที่สปริงยืดออก จะไดผลลัพทดังภาพที่ 28 -->x=0:1:7; -->k=0.95; -->y=k*x; -->plot(x,y); -->xset("font",5,4); -->xset("thickness",3); -->xtitle('LAB1','Distance(cm)','Force(N)')
  • 18. 18 ภาพที่ 28 แสดงผลลัพทที่ไดจากการกิจกรรมการทดลองที่ 1 2.7 คํานวณหางานที่เกิดขึ้นและพลังงานศักยยืดหยุนในสปริงไดโดยการเขียนคําสั่งลงใน โปรแกรม SCLLAB 5.4.0 จะไดงานที่เกิดขึ้นเทากับ 23.1 จูล และพลังงานศักยยืดหยุนในสปริงเทากับ 23.1 จูล ดังภาพที่ 29 และคําสั่งในการรันโปรแกรม คือ -->x=7; -->y=6.6; -->w=(1/2)*x*y w = 23.1 -->E=w E = 23.1
  • 19. 19 ภาพที่ 29 แสดงผลลัพทที่ไดจากการคํานวณหางานและพลังงานศักยยืดหยุน 2.8 สามารถคํานวณหาปริมาณตางๆทางฟสิกสและคํานวณแกสมการคณิตศาสตรได โดยศึกษาเพิ่มเติมไดที่ http://home.npru.ac.th/piya/webscilab/download.php (ปยะ โควิ นททวีวัฒน. ผศ.ดร. มหาวิทยาลัยราชภัฎนครปฐม)