SlideShare a Scribd company logo
1 of 2
Download to read offline
ชื่อเรื่อง      การพัฒนาความสามารถในการใช้เทคโนโลยีโดยใช้บทเรียนออนไลน์ (e-Learning)
                ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
ผู้วิจัย        นางดนุภัค เชาว์ศรีกุล ตาแหน่ง ครู อันดับ คศ.2 (http://danupak.yst1.net)
ชื่อสถาบัน โรงเรียนสมเด็จพระญาณสังวร อาเภอคาเขื่อนแก้ว จังหวัดยโสธร
                สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 28 จังหวัดศรีสะเกษและยโสธร
ปีที่พิมพ์ 2553
                                                  บทคัดย่อ
           บทเรียนออนไลน์ (e-Learning) เป็นรูปแบบการเรียนที่ส่งเสริมการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็น
ศูนย์กลาง การเรียนรู้ร่วมกัน การเสริมแรงในการเรียนรู้เนื้อหา พัฒนาทักษะการคิด และการสืบค้น
ของผู้เรียน การวิจัยครั้งนี้จึงมีความมุ่งหมายเพื่อ (1) ใช้กระบวนการวิจัยเชิงปฏิบัติการพัฒนาความ
สามารถในการใช้เทคโนโลยีโดยใช้บทเรียนออนไลน์ (e-Learning) ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
(2) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของคะแนนก่อนเรียนและหลังเรียนด้วยการสอนโดยใช้
บทเรียนออนไลน์ (e-Learning) ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 (3) ศึกษาความพึงพอใจของ
นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ต่อการเรียนโดยใช้บทเรียนออนไลน์ (e-Learning) กลุ่มผู้ร่วมวิจัยได้แก่
(1) นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 จานวน 28 คน โรงเรียนสมเด็จพระญาณสังวร อาเภอคาเขื่อนแก้ว
จังหวัดยโสธร (2) ครูผู้สอนวิชาคอมพิวเตอร์ (3) คณะกรรมการนิเทศภายในโรงเรียน เทคนิคที่ใช้
ในการเก็บรวบรวมข้อมูลได้แก่ การสังเกตแบบไม่มีโครงสร้าง การสังเกตโดยผู้ร่วมวิจัย การสนทนา
และการเขียนอนุทิน ซึงวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพโดยใช้เทคนิคสามเส้าและวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ
                        ่
โดยใช้สถิติพื้นฐานคือ ค่าเฉลี่ย ค่าร้อยละ และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ส่วนสถิติที่ใช้ในการทดสอบ
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคือ ลาดับพิสัย Wilcoxon Signed Ranks ผลการวิจัยปรากฏ ดังนี้
                วงจรที่ 1 ผู้วิจัยให้นักเรียนทากิจกรรมในบทเรียนออนไลน์ด้วยการให้ศึกษาสื่อที่นาเสนอ
เนื้อหาด้วยตนเอง ผู้วิจัยใช้คาถามนาเพื่อช่วยให้นักเรียนสรุปเนื้อหา พบว่า นักเรียนกลุ่มปานกลางและ
อ่อนยังไม่สามารถตอบคาถามได้ ผู้วิจัยจึงแก้ปัญหาด้วยการถามซ้าด้วยคาถามเดิมและให้เวลาค้นหา
คาตอบ ทาให้นักเรียนมีความมั่นใจสามารถตอบคาถามได้ตรงประเด็นมากขึ้น ส่วนการทาใบงาน
นักเรียนเข้าไปทากิจกรรมในบทเรียนออนไลน์บนอินเทอร์เน็ตไม่ได้ ผู้วิจัยจึงแก้ปัญหาด้วยการใช้
เครื่องคอมพิวเตอร์ของครูติดตั้งโปรแกรม Windows Saver 2003 R2 และโปรแกรม ISA 2006
เพื่อเป็นเครื่องแม่ข่ายกาหนดค่าติดตั้ง (confic) ให้เครื่องแม่ข่ายทางานแบบ Proxy เครื่องลูกข่ายที่ใช้
อินเทอร์เน็ตต้องเข้าสู่ระบบด้วยการตั้งค่า Proxy ซึ่งทาให้นักเรียนสามารถเข้าไปทากิจกรรมในบทเรียน
ออนไลน์ได้รวดเร็วกว่าเดิม อย่างไรก็ตามผู้วิจัยไม่ได้ยกตัวอย่างการทาใบงาน ทาให้นักเรียนไม่เข้าใจ
และได้คะแนนน้อย จึงแก้ปัญหาด้วยการอธิบาย ยกตัวอย่างก่อนทาใบงาน ซึ่งช่วยให้นักเรียนเข้าใจ
ทาใบงานได้คะแนนเพิ่มขึ้น ส่วนปัญหาที่พบในวงจรที่ 1 คือ นักเรียนไม่ศึกษาเนื้อหาก่อนทาใบงาน
ผลการประเมินความสามารถในการใช้เทคโนโลยีอยู่ในระดับดี คิดเป็นร้อยละ 77.50
                วงจรที่ 2 ผู้วิจัยให้นักเรียนทากิจกรรมในบทเรียนออนไลน์ด้วยการให้ศึกษาสื่อที่นาเสนอ
เนื้อหาด้วยตนเอง ผู้วิจัยใช้คาถามนาเพื่อช่วยให้นักเรียนสรุปเนื้อหา พบว่า นักเรียนกล้าแสดงออก
ตอบคาถามเสียงดังชัดเจนด้วยความมั่นใจ ส่วนการทาใบงานผู้วิจัยได้แก้ปัญหาด้วยการให้นักเรียนที่ทา
ใบงานได้คะแนนมากที่สุดออกมาเล่าวิธีการทางานหน้าชั้นเรียน ซึ่งช่วยให้นักเรียนตั้งใจทางานมากยิ่งขึ้น
อย่างไรก็ตามเครื่องคอมพิวเตอร์ของนักเรียนชารุดใช้งานไม่ได้ ผู้วิจัยจึงแก้ปัญหาด้วยการให้นักเรียนรอ
ใช้เครื่องคอมพิวเตอร์จากเพื่อนทางาน ส่วนปัญหาที่พบในวงจรที่ 2 คือ นักเรียนทางานช้าเสร็จไม่ทัน
ตามเวลาที่กาหนด ผลการประเมินความสามารถในการใช้เทคโนโลยีอยู่ในระดับดีมาก คิดเป็นร้อยละ
95.71
              วงจรที่ 3 ผู้วิจัยให้นักเรียนจับคูสร้างชิ้นงานแผนที่ความคิดโดยใช้โปรแกรม Free Mind
                                                ่
ส่งงานโดยการอัพโหลดไฟล์ไปยังบทเรียนออนไลน์ ซึ่งก่อนที่จะให้นักเรียนทางานผู้วิจัยได้แก้ปัญหา
นักเรียนทางานช้าเสร็จไม่ทันตามเวลาที่กาหนด ด้วยการเพิ่มเวลาให้นักเรียนทางาน พบว่า นักเรียน
ทางานเสร็จทันตามเวลาที่กาหนดมากขึ้น แต่นักเรียนจาขั้นตอนการสร้างแผนที่ความคิดไม่ได้ ผู้วิจัยจึง
แก้ปัญหาด้วยการอธิบายยกตัวอย่างประกอบการสาธิต ซึ่งช่วยให้นักเรียนเข้าใจทาผลงานออกมาได้
ถูกต้องและสวยงาม อย่างไรก็ตามนักเรียนกลุ่มปานกลางและอ่อนยังไม่กล้าแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับ
ผลงานของเพื่อนมากนัก ผู้วิจัยจึงแก้ปัญหาด้วยการอธิบายให้นักเรียนเข้าใจ ทาให้นักเรียนกล้าพูด
วิจารณ์ผลงานของเพื่อนเสียงดังชัดเจน ส่วนปัญหาที่พบในวงจรที่ 3 คือ นักเรียนยังไม่เข้าใจการ
เขียนสรุปเนื้อหาลงในแผนที่ความคิด ผลการประเมินความสามารถในการใช้เทคโนโลยีอยู่ในระดับ
ดีมาก คิดเป็นร้อยละ 89.29
              โดยสรุป การพัฒนาความสามารถในการใช้เทคโนโลยีโดยใช้บทเรียนออนไลน์
(e-Learning) ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 พบว่า นักเรียนมีความสุขและสนุกกับการเรียนรู้
ด้วยตนเอง เข้าใจเนื้อหาที่เรียน มีความรับผิดชอบ ได้ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน มีความเชื่อมั่นกล้าคิด
กล้าแสดงออก ส่งผลให้นักเรียนมีความพึงพอใจต่อการเรียนมากทาให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น

More Related Content

Viewers also liked (15)

Manual de shine system
Manual de shine systemManual de shine system
Manual de shine system
 
全能搜索简介
全能搜索简介全能搜索简介
全能搜索简介
 
Mood board
Mood boardMood board
Mood board
 
International cooks power point
International cooks power pointInternational cooks power point
International cooks power point
 
U04507118124
U04507118124U04507118124
U04507118124
 
About verticalmove
About verticalmoveAbout verticalmove
About verticalmove
 
Lecture 3 (1)
Lecture 3 (1)Lecture 3 (1)
Lecture 3 (1)
 
Liceul Gurahont
Liceul GurahontLiceul Gurahont
Liceul Gurahont
 
Green Vote Red Vote
Green Vote   Red VoteGreen Vote   Red Vote
Green Vote Red Vote
 
Seppo Rytilä: Tapaturmaiset ylialtistumiset RF-säteilylle
Seppo Rytilä: Tapaturmaiset ylialtistumiset RF-säteilylleSeppo Rytilä: Tapaturmaiset ylialtistumiset RF-säteilylle
Seppo Rytilä: Tapaturmaiset ylialtistumiset RF-säteilylle
 
Samyak Vaidyak Dr. Shriniwas Kashalikar
Samyak Vaidyak Dr. Shriniwas KashalikarSamyak Vaidyak Dr. Shriniwas Kashalikar
Samyak Vaidyak Dr. Shriniwas Kashalikar
 
BestEmailsin2006
BestEmailsin2006BestEmailsin2006
BestEmailsin2006
 
Ttwiki
TtwikiTtwiki
Ttwiki
 
19264
1926419264
19264
 
Calentamiento global. eet nº 1 (liliana boiza)
Calentamiento global. eet nº 1 (liliana boiza)Calentamiento global. eet nº 1 (liliana boiza)
Calentamiento global. eet nº 1 (liliana boiza)
 

Similar to Title

แผนการเรียนรู้การใช้งานโปรแกรม Microsoft Office Excel
แผนการเรียนรู้การใช้งานโปรแกรม Microsoft Office Excelแผนการเรียนรู้การใช้งานโปรแกรม Microsoft Office Excel
แผนการเรียนรู้การใช้งานโปรแกรม Microsoft Office ExcelKhon Kaen University
 
รายงานการใช้สื่อCaiแบบง่าย
รายงานการใช้สื่อCaiแบบง่ายรายงานการใช้สื่อCaiแบบง่าย
รายงานการใช้สื่อCaiแบบง่ายJiraporn Chaimongkol
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Supaluck
 
โครงงานคอมพ วเตอร
โครงงานคอมพ วเตอร โครงงานคอมพ วเตอร
โครงงานคอมพ วเตอร I'am Jimmy
 
โครงงานคอมพ วเตอร
โครงงานคอมพ วเตอร โครงงานคอมพ วเตอร
โครงงานคอมพ วเตอร I'am Jimmy
 
บทที่3 (เสร็จ)
บทที่3 (เสร็จ)บทที่3 (เสร็จ)
บทที่3 (เสร็จ)Annop Phetchakhong
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Thanyaret Kongraj
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ ใบงานที่ 2-8
โครงงานคอมพิวเตอร์ ใบงานที่ 2-8โครงงานคอมพิวเตอร์ ใบงานที่ 2-8
โครงงานคอมพิวเตอร์ ใบงานที่ 2-8Giftfy Snw
 
ใบงานที่ 2 8
ใบงานที่ 2 8ใบงานที่ 2 8
ใบงานที่ 2 8Nitikan2539
 
2 8edit-140916022926-phpapp02
2 8edit-140916022926-phpapp022 8edit-140916022926-phpapp02
2 8edit-140916022926-phpapp02Sarawut Fuekhat
 
งานวิจัยในชั้นเรียน 57
งานวิจัยในชั้นเรียน 57งานวิจัยในชั้นเรียน 57
งานวิจัยในชั้นเรียน 57Khemjira Plongsawai
 
9789740329176
97897403291769789740329176
9789740329176CUPress
 
แผนการจัดการเรียนรู้ย่อยที่ 4
แผนการจัดการเรียนรู้ย่อยที่ 4แผนการจัดการเรียนรู้ย่อยที่ 4
แผนการจัดการเรียนรู้ย่อยที่ 4dechathon
 
ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงานความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงานFreshsica Chunyanuch
 
โครงงานคอมพิวเตอร์606
โครงงานคอมพิวเตอร์606โครงงานคอมพิวเตอร์606
โครงงานคอมพิวเตอร์606Ploy Purr
 
รายงานวิจัยในชั้นเรียน
รายงานวิจัยในชั้นเรียนรายงานวิจัยในชั้นเรียน
รายงานวิจัยในชั้นเรียนKhemjira_P
 

Similar to Title (20)

แผนการเรียนรู้การใช้งานโปรแกรม Microsoft Office Excel
แผนการเรียนรู้การใช้งานโปรแกรม Microsoft Office Excelแผนการเรียนรู้การใช้งานโปรแกรม Microsoft Office Excel
แผนการเรียนรู้การใช้งานโปรแกรม Microsoft Office Excel
 
รายงานการใช้สื่อCaiแบบง่าย
รายงานการใช้สื่อCaiแบบง่ายรายงานการใช้สื่อCaiแบบง่าย
รายงานการใช้สื่อCaiแบบง่าย
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอมพ วเตอร
โครงงานคอมพ วเตอร โครงงานคอมพ วเตอร
โครงงานคอมพ วเตอร
 
โครงงานคอมพ วเตอร
โครงงานคอมพ วเตอร โครงงานคอมพ วเตอร
โครงงานคอมพ วเตอร
 
บทที่3 (เสร็จ)
บทที่3 (เสร็จ)บทที่3 (เสร็จ)
บทที่3 (เสร็จ)
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ ใบงานที่ 2-8
โครงงานคอมพิวเตอร์ ใบงานที่ 2-8โครงงานคอมพิวเตอร์ ใบงานที่ 2-8
โครงงานคอมพิวเตอร์ ใบงานที่ 2-8
 
ใบงานที่ 2 8
ใบงานที่ 2 8ใบงานที่ 2 8
ใบงานที่ 2 8
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
2 8edit-140916022926-phpapp02
2 8edit-140916022926-phpapp022 8edit-140916022926-phpapp02
2 8edit-140916022926-phpapp02
 
งานวิจัยในชั้นเรียน 57
งานวิจัยในชั้นเรียน 57งานวิจัยในชั้นเรียน 57
งานวิจัยในชั้นเรียน 57
 
7บทที่3
7บทที่3 7บทที่3
7บทที่3
 
9789740329176
97897403291769789740329176
9789740329176
 
แผนการจัดการเรียนรู้ย่อยที่ 4
แผนการจัดการเรียนรู้ย่อยที่ 4แผนการจัดการเรียนรู้ย่อยที่ 4
แผนการจัดการเรียนรู้ย่อยที่ 4
 
ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงานความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
 
ใยงาน2 8edit
ใยงาน2 8editใยงาน2 8edit
ใยงาน2 8edit
 
โครงงานคอมพิวเตอร์606
โครงงานคอมพิวเตอร์606โครงงานคอมพิวเตอร์606
โครงงานคอมพิวเตอร์606
 
รายงานวิจัยในชั้นเรียน
รายงานวิจัยในชั้นเรียนรายงานวิจัยในชั้นเรียน
รายงานวิจัยในชั้นเรียน
 
Pp social
Pp socialPp social
Pp social
 

Title

  • 1. ชื่อเรื่อง การพัฒนาความสามารถในการใช้เทคโนโลยีโดยใช้บทเรียนออนไลน์ (e-Learning) ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ผู้วิจัย นางดนุภัค เชาว์ศรีกุล ตาแหน่ง ครู อันดับ คศ.2 (http://danupak.yst1.net) ชื่อสถาบัน โรงเรียนสมเด็จพระญาณสังวร อาเภอคาเขื่อนแก้ว จังหวัดยโสธร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 28 จังหวัดศรีสะเกษและยโสธร ปีที่พิมพ์ 2553 บทคัดย่อ บทเรียนออนไลน์ (e-Learning) เป็นรูปแบบการเรียนที่ส่งเสริมการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็น ศูนย์กลาง การเรียนรู้ร่วมกัน การเสริมแรงในการเรียนรู้เนื้อหา พัฒนาทักษะการคิด และการสืบค้น ของผู้เรียน การวิจัยครั้งนี้จึงมีความมุ่งหมายเพื่อ (1) ใช้กระบวนการวิจัยเชิงปฏิบัติการพัฒนาความ สามารถในการใช้เทคโนโลยีโดยใช้บทเรียนออนไลน์ (e-Learning) ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 (2) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของคะแนนก่อนเรียนและหลังเรียนด้วยการสอนโดยใช้ บทเรียนออนไลน์ (e-Learning) ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 (3) ศึกษาความพึงพอใจของ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ต่อการเรียนโดยใช้บทเรียนออนไลน์ (e-Learning) กลุ่มผู้ร่วมวิจัยได้แก่ (1) นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 จานวน 28 คน โรงเรียนสมเด็จพระญาณสังวร อาเภอคาเขื่อนแก้ว จังหวัดยโสธร (2) ครูผู้สอนวิชาคอมพิวเตอร์ (3) คณะกรรมการนิเทศภายในโรงเรียน เทคนิคที่ใช้ ในการเก็บรวบรวมข้อมูลได้แก่ การสังเกตแบบไม่มีโครงสร้าง การสังเกตโดยผู้ร่วมวิจัย การสนทนา และการเขียนอนุทิน ซึงวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพโดยใช้เทคนิคสามเส้าและวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ ่ โดยใช้สถิติพื้นฐานคือ ค่าเฉลี่ย ค่าร้อยละ และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ส่วนสถิติที่ใช้ในการทดสอบ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคือ ลาดับพิสัย Wilcoxon Signed Ranks ผลการวิจัยปรากฏ ดังนี้ วงจรที่ 1 ผู้วิจัยให้นักเรียนทากิจกรรมในบทเรียนออนไลน์ด้วยการให้ศึกษาสื่อที่นาเสนอ เนื้อหาด้วยตนเอง ผู้วิจัยใช้คาถามนาเพื่อช่วยให้นักเรียนสรุปเนื้อหา พบว่า นักเรียนกลุ่มปานกลางและ อ่อนยังไม่สามารถตอบคาถามได้ ผู้วิจัยจึงแก้ปัญหาด้วยการถามซ้าด้วยคาถามเดิมและให้เวลาค้นหา คาตอบ ทาให้นักเรียนมีความมั่นใจสามารถตอบคาถามได้ตรงประเด็นมากขึ้น ส่วนการทาใบงาน นักเรียนเข้าไปทากิจกรรมในบทเรียนออนไลน์บนอินเทอร์เน็ตไม่ได้ ผู้วิจัยจึงแก้ปัญหาด้วยการใช้ เครื่องคอมพิวเตอร์ของครูติดตั้งโปรแกรม Windows Saver 2003 R2 และโปรแกรม ISA 2006 เพื่อเป็นเครื่องแม่ข่ายกาหนดค่าติดตั้ง (confic) ให้เครื่องแม่ข่ายทางานแบบ Proxy เครื่องลูกข่ายที่ใช้ อินเทอร์เน็ตต้องเข้าสู่ระบบด้วยการตั้งค่า Proxy ซึ่งทาให้นักเรียนสามารถเข้าไปทากิจกรรมในบทเรียน ออนไลน์ได้รวดเร็วกว่าเดิม อย่างไรก็ตามผู้วิจัยไม่ได้ยกตัวอย่างการทาใบงาน ทาให้นักเรียนไม่เข้าใจ และได้คะแนนน้อย จึงแก้ปัญหาด้วยการอธิบาย ยกตัวอย่างก่อนทาใบงาน ซึ่งช่วยให้นักเรียนเข้าใจ ทาใบงานได้คะแนนเพิ่มขึ้น ส่วนปัญหาที่พบในวงจรที่ 1 คือ นักเรียนไม่ศึกษาเนื้อหาก่อนทาใบงาน ผลการประเมินความสามารถในการใช้เทคโนโลยีอยู่ในระดับดี คิดเป็นร้อยละ 77.50 วงจรที่ 2 ผู้วิจัยให้นักเรียนทากิจกรรมในบทเรียนออนไลน์ด้วยการให้ศึกษาสื่อที่นาเสนอ เนื้อหาด้วยตนเอง ผู้วิจัยใช้คาถามนาเพื่อช่วยให้นักเรียนสรุปเนื้อหา พบว่า นักเรียนกล้าแสดงออก ตอบคาถามเสียงดังชัดเจนด้วยความมั่นใจ ส่วนการทาใบงานผู้วิจัยได้แก้ปัญหาด้วยการให้นักเรียนที่ทา ใบงานได้คะแนนมากที่สุดออกมาเล่าวิธีการทางานหน้าชั้นเรียน ซึ่งช่วยให้นักเรียนตั้งใจทางานมากยิ่งขึ้น อย่างไรก็ตามเครื่องคอมพิวเตอร์ของนักเรียนชารุดใช้งานไม่ได้ ผู้วิจัยจึงแก้ปัญหาด้วยการให้นักเรียนรอ
  • 2. ใช้เครื่องคอมพิวเตอร์จากเพื่อนทางาน ส่วนปัญหาที่พบในวงจรที่ 2 คือ นักเรียนทางานช้าเสร็จไม่ทัน ตามเวลาที่กาหนด ผลการประเมินความสามารถในการใช้เทคโนโลยีอยู่ในระดับดีมาก คิดเป็นร้อยละ 95.71 วงจรที่ 3 ผู้วิจัยให้นักเรียนจับคูสร้างชิ้นงานแผนที่ความคิดโดยใช้โปรแกรม Free Mind ่ ส่งงานโดยการอัพโหลดไฟล์ไปยังบทเรียนออนไลน์ ซึ่งก่อนที่จะให้นักเรียนทางานผู้วิจัยได้แก้ปัญหา นักเรียนทางานช้าเสร็จไม่ทันตามเวลาที่กาหนด ด้วยการเพิ่มเวลาให้นักเรียนทางาน พบว่า นักเรียน ทางานเสร็จทันตามเวลาที่กาหนดมากขึ้น แต่นักเรียนจาขั้นตอนการสร้างแผนที่ความคิดไม่ได้ ผู้วิจัยจึง แก้ปัญหาด้วยการอธิบายยกตัวอย่างประกอบการสาธิต ซึ่งช่วยให้นักเรียนเข้าใจทาผลงานออกมาได้ ถูกต้องและสวยงาม อย่างไรก็ตามนักเรียนกลุ่มปานกลางและอ่อนยังไม่กล้าแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับ ผลงานของเพื่อนมากนัก ผู้วิจัยจึงแก้ปัญหาด้วยการอธิบายให้นักเรียนเข้าใจ ทาให้นักเรียนกล้าพูด วิจารณ์ผลงานของเพื่อนเสียงดังชัดเจน ส่วนปัญหาที่พบในวงจรที่ 3 คือ นักเรียนยังไม่เข้าใจการ เขียนสรุปเนื้อหาลงในแผนที่ความคิด ผลการประเมินความสามารถในการใช้เทคโนโลยีอยู่ในระดับ ดีมาก คิดเป็นร้อยละ 89.29 โดยสรุป การพัฒนาความสามารถในการใช้เทคโนโลยีโดยใช้บทเรียนออนไลน์ (e-Learning) ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 พบว่า นักเรียนมีความสุขและสนุกกับการเรียนรู้ ด้วยตนเอง เข้าใจเนื้อหาที่เรียน มีความรับผิดชอบ ได้ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน มีความเชื่อมั่นกล้าคิด กล้าแสดงออก ส่งผลให้นักเรียนมีความพึงพอใจต่อการเรียนมากทาให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น