SlideShare a Scribd company logo
1 of 9
Download to read offline
1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5- 6
ปีการศึกษา 2561
ชื่อโครงงาน รถติดยาวที่เชียงใหม่
ชื่อผู้ทาโครงงาน
นางสาวณัทญาทิพย์ รินยานะสันต์ เลขที่ 44 ชั้น ม.6 ห้อง 10
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2561
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
2
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
สมาชิกในกลุ่ม
นางสาวณัทญาทิพย์ รินยานะสันต์ ชั้น ม.6/10 เลขที่ 44
คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)
รถติดยาวที่เชียงใหม่
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)
Traffic jam in chiang mai
ประเภทโครงงาน เพื่อการศึกษา
ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาวณัทญาทิพย์ รินยานะสันต์ เลขที่ 44 ชั้น ม.6 ห้อง 10
ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่1
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน)
เนื่องจากในปัจจุบันประเทศไทยมีปัญหาด้านการจราจรติดขัดเป็นอย่างมากแต่ในหลายๆจังหวัดก็
ติดมากด้วยเช่นกัน เช่นเชียงใหม่ ซึ่งเป็นจังหวัดที่ดิฉันได้อาศัยอยู่ จึงได้เห็นปัญหาด้านการจราจรติดขัดเป็นอย่างมาก
ได้อย่าชัดเจน ซึ่งสาเหตุส่วนมากก็มาจากมีการใช้รถส่วนตัวกันมากกว่าการขนส่งสาธารณะ ซึ่งบางจังหวัดใหญ่ๆ เขา
ไม่ค่อยทากัน แม้แต่เมืองที่ประชาชนจะมีฐานะความเป็นอยู่ที่ดีกว่า ซึ่งสามารถซื้อรถยนต์ได้มากกว่าคนเชียงใหม่ แต่
จังหวัดเหล่านั้นกลับเลือกใช้การขนส่งสาธารณะเป็นหลัก ใช้รถส่วนตัวเฉพาะบางกรณีเท่านั้น การใช้รถส่วนตัวมาก
ทาให้เปลืองพื้นที่ถนนมาก มีการจราจรที่คับคั่งจนเกินไป เมื่อเทียบกับการขนส่งสาธารณะ เช่น รถใต้ดิน รถไฟ
รถเมล์ ที่ใช้พื้นที่ต่อคนน้อยกว่ารถส่วนตัวมากมายหลายเท่า ดิฉันจึงคิดทาโครงงานนี้ขึ้นมาเพื่อแก้ปัญหาปัญหา
การจราจรติดขัด โดยการสร้างรถไฟฟ้าไว้รอบเมือง เพื่อป้องกันจราจรติดขัดในตัวเมือง และช่วยประหยัดค่าใช้จ่าย
น้ามันให้ประชาชนอีกทั้งเมื่อจราจรไม่ติดขัดก็ยังช่วยป้องกันอันตรายจากการใช้ถนนและการได้รับมลพิษทางอากาศ
อีกด้วย
3
วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ)
1.เพื่อศึกษาปัญหาการใช้จราจรบนท้องถนนของจังหวัดเชียงใหม่
2.เพื่อแก้ปัญหาการจราจรติดขัดบนท้องถนนของจังหวัดเชียงใหม่
3.เพื่อต้องการลดการเสียเวลาในการใช้รถบนท้องถนน
4.เพื่อลดมลพิษทางอากาศในจังหวัดเชียงใหม่
ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน)
-ประชากรที่ใช้รถ ใช้ถนนใน อ.เมือง จ.เชียงใหม่
หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน)
สาเหตุสาคัญที่สุดของปัญหาการจราจรติดขัด คือ มีการใช้รถส่วนตัวกันมากกว่าการขนส่งสาธารณะ ซึ่งไม่มีเมือง
ใหญ่ ๆ ที่ไหนในโลกเขาทากัน แม้แต่เมืองที่ประชาชนจะมีฐานะความเป็นอยู่ที่ดีกว่า ซึ่งสามารถซื้อรถยนต์ได้มากกว่า
คนไทย แต่ประเทศเหล่านั้นกลับเลือกใช้การขนส่งสาธารณะเป็นหลัก ใช้รถส่วนตัวเฉพาะบางกรณีเท่านั้น การใช้รถ
ส่วนตัวมาก ทาให้เปลืองพื้นที่ถนนมาก มีการจราจรที่คับคั่งจนเกินไป เมื่อเทียบกับการขนส่งสาธารณะ เช่น รถใต้ดิน
รถไฟ รถเมล์ ที่ใช้พื้นที่ต่อคนน้อยกว่ารถส่วนตัวมากมายหลายเท่า สาเหตุที่คนกรุงเทพ ฯ และ คนเมืองใหญ่ใช้รถ
ส่วนตัวกันมากเป็นทั้งเรื่องค่านิยม และ เนื่องมาจากไม่มีบริการขนส่งสาธารณะที่ดีพอ
พูดได้เลยว่า ปัญหาการจราจรคับคั่งในกรุงเทพฯ สะท้อนให้เห็นว่าความเจริญทางเศรษฐกิจรวมศูนย์ที่
กรุงเทพฯ และ ปริมณฑลมากไป คนชั้นกลางชั้นสูงใช้รถส่วนตัวกันมาก การจะแก้ปัญหาจราจรในกรุงเทพฯและ
ปริมณฑล ต้องเชื่อมโยงกับการแก้ไขนโยบายพัฒนาประเทศให้มุ่งกระจายการพัฒนาสู่ต่างจังหวัด และ พัฒนาเพื่อคน
จนมากขึ้น ไม่ใช่แค่แก้ ปัญหาจราจร เท่านั้น ซึ่งนอกจากจะแก้ไม่ได้ผลแล้ว ยังต้องใช้งบประมาณสิ้นเปลืองมากขึ้น
ทาให้มีงบประมาณเหลือไปช่วยต่างจังหวัดลดลงไปอีก กลายเป็นปัญหางูกินหางไม่รู้จบสิ้น
ปัญหาด้านความต้องการการเดินทาง (Demand) เป็นปัญหาที่เกิดจากความต้องการในการเดินทางที่มีมาก
เกินกว่าความจุ ในการรองรับปริมาณการจราจรของถนนที่มีปัจจุบัน ซึ่งมีเหตุปัจจัยที่เกี่ยวข้อง ดังนี้
ปัจจัยเกี่ยวกับผังเมือง การขยายตัวของเมือง และการใช้ที่ดินไม่เป็นระเบียบ
การขยายตัวทางเศรษฐกิจของกรุงเทพมหานครและพื้นที่ปริมณฑล โดยเฉพาะกรุงเทพมหานคร มีผลผลิต
อุตสาหกรรม ถึง 3ใน 4 ของผลผลิตประเทศ เป็นผลมาจากการปรับปรุงก่อสร้างถนนสายหลัก การพัฒนาด้านธุรกิจ
พาณิชยกรรม ในพื้นที่ชั้นใน ซึ่งผลจากการก่อสร้างทางหลวงสายหลัก สายรอง รวมทั้งการขยายเส้นทางการเดินทาง
ให้ไกลออกจากศูนย์กลางของเมือง ทาให้การขยายตัวของเมืองเป็นไปตามแนวราบ ตามถนนสายประธานต่างๆ เช่น
ถนนพหลโยธิน ถนนสุขุมวิท และถนนเพชรเกษม แต่ในขณะเดียวกัน รัฐบาลได้ละเลยพัฒนาการก่อสร้างถนนสายรอง
และถนนสายย่อย เพื่อเชื่อมโยงถนนหลักอย่างเป็นระบบ จึงทาให้ไม่มีเกิดการพัฒนาในพื้นที่ว่างเปล่า ที่อยู่ระหว่าง
ถนนสายประธาน ถนนสายหลักต่างๆ ทาให้ใช้เวลาในการเดินทาง และสิ้นเปลืองค่าใช้จ่ายมากขึ้น ดังนั้นในช่วง 10 ปี
4
ที่ผ่านมา จึงได้เริ่มมีการปรับปรุงพื้นที่ว่างเปล่าในเขตชั้นใน เขตชานเมือง โดยเฉพาะพื้นที่บริเวณด้านเหนือ ด้าน
ตะวันออกเฉียงเหนือ และด้านตะวันออก และการจัดสร้างสิ่งสาธารณูปโภค สาธารณูปการต่างๆ แต่อย่างไรก็ตามการ
ลงทุนก่อสร้างถนน ยังดาเนินการได้อย่างจากัด เนื่องจากปัญหาการเวนคืนที่ดิน ปัญหาด้านงบประมาณ ปัญหาการ
การขาดประสิทธิภาพในการดาเนินงาน ซึ่งการขยายตัวของเมืองในลักษณะนี้ ส่งผลต่อความหนาแน่นของประชากร
จะลดลงตามลาดับ ตามระยะทางที่ห่างจากพื้นที่ศูนย์กลางเมือง เนื่องจากกรุงเทพมหานครยังไม่มีการจัดรูปแบบและ
ข้อบังคับของเมืองที่ชัดเจน ไม่มีการบังคับใช้ผังเมืองรวมที่เข้มข้น ซึ่งเป็นปัจจัยสาคัญที่ก่อให้เกิดปัญหาการจราจร
ติดขัดอย่างมากในปัจจุบัน
ปัจจัยการขาดแคลนระบบขนส่งสาธารณะที่เหมาะสม
ระบบขนส่งสาธารณะที่เหมาะสมยังมีไม่เพียงพอที่จะบริการประชากรในเขตกรุงเทพมหานครและพื้นที่
ปริมณฑล ปัจจุบันองค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ (ขสมก.) เป็นองค์การเดียวที่รับผิดชอบรถโดยสารประจาทาง ที่
ครอบคลุมเขตกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล ซึ่งประสบปัญหา การขาดทุนมาโดยตลอด เนื่องจาก ปัญหารถอยู่ใน
สภาพเก่าและทรุดโทรม ค่าบารุงรักษาค่อนข้างสูงปัญหาจานวนรถไม่เพียงพอกับความต้องการของผู้โดยสาร ปัญหา
การจราจรติดขัด ทาให้สิ้นเปลืองค่าใช้จ่าย และจานวนเที่ยวของการเดินทางในแต่ละวันน้อยลง และอัตราค่าโดยสาร
มีอัตราต่าเกินไป ซึ่งปัญหาดังกล่าว ก็จะทวีความรุนแรงขึ้น แม้รัฐบาลจะมีนโยบายจัดช่องทางเดินรถประจาทาง
เฉพาะ ทั้งชนิดสวนทางจราจร และตามกระแสการจราจรอีกจานวนมาก รวมระยะทางกว่า 100 กิโลเมตรก็ตาม แต่ก็
ไม่สามารถช่วยให้ การเดินทางโดยรถโดยสารประจาทางเกิดความรวดเร็ว และเป็นที่นิยมของประชาชนมากขึ้น
เนื่องจากการขาดการกวดขัด การใช้ช่องเดินรถประจาทางอย่างต่อเนื่อง และจริงจัง
ปัญหาด้านกายภาพของถนน (Physical) ปัญหานี้ เป็นผลมาจากลักษณะทางกายภาพของถนนที่ไม่เหมาะสมกับการ
ใช้งาน ซึ่งสรุปลักษณะของปัญหาได้ดังนี้
1.ปัญหาตาแหน่งจุดกลับรถที่ไม่เหมาะสม
2. ปัญหาความยาวและช่องรอเลี้ยวบริเวณทางแยก
3. ปัญหาการจัดทาเกาะและช่องเลี้ยวบริเวณทางแยก (Channelization)
4. ปัญหาตาแหน่งกลับรถบรรทุกที่วงเลี้ยวไม่เพียงพอ
5. ปัญหาการกาหนดช่องจราจรร่วม (Share Lane) สาหรับรถทางตรงและรถที่ต้องการเลี้ยว
6. ปัญหาระยะทางในการเปลี่ยนช่องจราจร (Weaving Length) ไม่เพียงพอ
7. ปัญหาจุกคอขวด (Bottleneck) โดยทั่วไปมักพบบริเวณสะพานที่มีช่องจราจรน้อยกว่าช่องจราจรปกติ
5
ปัจจัยระบบโครงข่ายถนน ระบบถนน และปริมาณการจราจร
1. ปัญหาของระบบโครงข่ายถนน จากปัญหาผังเมือง การขยายตัวของเมืองที่เป็นไปตามแนวราบ ตามถนนสายหลัก
ที่แยกออกจากใจกลางเมือง และการละเลยการพัฒนา ถนนสายรอง และถนนสายย่อย เชื่อมต่อกับถนนสายหลัก
นอกจากนี้ลักษณะโครงข่ายถนนในบริเวณใจกลางเมือง เป็นแบบเก่ามีแนวทาง และขนาดของถนนไม่สม่าเสมอ ไม่ได้
มาตรฐาน ส่วนบริเวณรอบนอก ซึ่งถนนมีผิวจราจรกว้าง และได้มาตรฐานแต่ถนนแต่ละแนวก็มีระยะห่างกันมาก
2. ระบบถนนและปริมาณการจราจร ปัจจุบันถนนในกรุงเทพมหานคร ยังไม่มีการจาแนกประเภทของถนนไว้อย่าง
ชัดเจน เช่น ประเภทถนนทางด่วน ถนนสายหลัก ถนนสายรอง หรือถนนสายย่อย ทาให้การควบคุมการใช้พื้นที่สอง
ข้างถนน หรือควบคุมการเชื่อมต่อ ไม่สามารถกระทาได้ให้สมวัตถุประสงค์ของการก่อสร้างถนนที่แท้จริง เช่น ระบบ
ทางด่วน ซึ่งปัจจุบันได้มีผู้ขับขี่ใช้เพื่อการเลี่ยงปัญหาการจราจรบนถนนปกติในระยะทางสั้นๆ ก่อให้เกิดปัญหา
การจราจรติดขัดบนทางด่วน เนื่องจากติดขัดบนถนนปกติ ทาให้รถบนทางด่วนไม่สามารถลงสู่ถนนระดับพื้นดินได้
อย่างสะดวก นอกจากนี้ ถนนสายหลักต่างๆ การที่มีซอยมาเชื่อมกับถนนสายหลักมากเกินไป มีจุดกลับรถจานวนมาก
บนถนนสายหลัก สิ่งต่างๆ เหล่านี้ทาให้ไม่สามารถใช้ถนนเพื่อการเดินทางในระยะไกลๆ ได้อย่างสะดวก นอกจากนี้บน
ถนนสายหลักต่างๆ ก็มีปริมาณการจราจรใกล้เคียง หรือสูงกว่าความสามารถของถนนที่สามารถรองรับปริมาณ
การจราจร
ปัญหาด้านการจัดการ (Management) ปัญหานี้เกิดขึ้นจาก ความไม่เหมาะสมของการจัดการจราจรกับสภาพปัจจุบัน
ได้แก่
1. ปัญหาการจัดจังหวะสัญญาณไฟจราจรที่ไม่เหมาะสมกับปริมาณจราจร ทั้งในแง่ของระยะเวลาไฟสัญญาณและ
จังหวะสัญญาณ (phasing) ซึ่งโดยทั่วไปมักจะปล่อยจราจรในแต่ละทิศทางเป็นจังหวะ ทาให้ลดประสิทธิภาพในการ
ระบายจราจรที่ทางแยก
2. ปัญหาการกาหนดช่องทางพิเศษขนส่งมวลชน (High-Occupancy-Vehicles Lanes) ในบางกรณีพบว่า อัตราการ
ใช้ต่า เนื่องจากรถยนต์ส่วนใหญ่มีคนนั่งน้อยกว่า 2 คน
6
3. ปัญหาการกาหนดตาแหน่งปูายหยุดรถโดยสารประจาทางที่ไม่เหมาะสม อาทิ ตาแหน่งที่อยู่ใกล้ทางแยกหรือกีด
ขวางจราจร เป็นต้น
4. ปัญหาการจอดรถยนต์ข้างทาง กีดขวางการจราจร
5. ปัญหาการใช้พื้นที่ข้างทางและทางเท้า ซึ่งพบในบางพื้นที่ที่มีการใช้ทางเท้าเพื่อค้าขายทาให้คนเดินเท้าต้องเลี่ยงลง
มาเดินบนถนน ซึ่งนอกจากจะอันตรายแล้วยังทาให้จราจรติดขัดอีกด้วย
6. ปัญหาการข้ามถนนของคนเดินเท้าในตาแหน่งที่ไม่เหมาะสม หรือขาดอุปกรณ์อานวยความปลอดภัย อาทิ
สะพานลอยคนเดินข้าม หรือ ทางม้าลายและปุุมกด เป็นต้น
7. ปัญหาการจัดช่องจราจรที่ไม่เหมาะสม
ปัจจัยเกี่ยวกับความรู้ความเข้าใจและระเบียบวินัยในการใช้รถใช้ถนน
1. ระเบียบวินัยในการใช้รถใช้ถนน จากปัญหาจราจรคับคั่งในเขตกรุงเทพมหานคร ส่วนหนึ่งมาจากกรณีที่ผู้ขับขี่
กระทาขึ้น เนื่องจากความรีบเร่งในการเดินทางในเวลาเร่งด่วน ความเห็นแก่ตัวเพื่อความสะดวกของตนเอง การติด
นิสัยเจ้าขุนมูลนาย พวกที่ไม่รู้กฎจราจร หรือไม่ศึกษาเส้นทางก่อนการเดินทาง ผู้ขับขี่ยานพาหนะไม่มีความชานาญ
จึงกล่าวได้ว่า ผู้ขับขี่ส่วนใหญ่ในกรุงเทพมหานคร ยังขาดวินัยในการใช้รถใช้ถนนอยู่อย่างมาก
2. การรณรงค์ และการให้การศึกษาอบรม จากสภาพรวมของปัญหาการจราจร ปัจจุบัน ผู้ขับขี่ และคนเดินเท้าใน
กรุงเทพมหานคร ยังไม่ค่อยจะมีวินัยในการใช้รถใช้ถนน มีความเห็นแก่ตัว การละเลยไม่ปฏิบัติตามกฎจราจร และการ
ขาดงบประมาณ ในการดาเนินการแต่ปัจจุบันก็ได้รับการสนับสนุนจากภาคเอกชนในการรณรงค์ ให้การศึกษา
ทางอ้อมมากขึ้น
ผลกระทบ
1.รถติด รถยนต์ต้องใช้น้ามัน ทาให้สิ้นเปลืองพลังงานโดยใช่เหตุ สร้างมลพิษมากยิ่งขึ้น
2. คนอยู่ชานเมืองนั่งรถเมลล์ไปทางาน ต้องสูดเอาควันพิษจากท่อไอเสีย เป็นผลต่อสุขภาพ
3. คนทางานต้องเสียเวลาอยู่บนท้องถนน นานกว่า 2 ชั่วโมง ไป-กลับ 4 ชั่วโมง
1 คน เสียเวลาไป 4 ชั่วโมง แล้ว คนนับหมื่นนับแสนคน เสียเวลาไปเท่าไหร่ ซึ่งส่งผลทางด้านเศรษฐกิจไม่น้อย
นอกจากนั้นการเดินทาง ในสภาวะที่มีแต่มลพิษ ประสิทธิภาพในการทางานย่อมลดน้อยลง
4. เพื่อหลีกเลี่ยงการผจญต่อมลพิษโดยตรง ทุกคนพยายามหาทางออกให้ตัวเอง
ด้วยการมีรถยนต์เป็นของตัวเอง ซึ่งอาจจะสร้างภาระหนี้สินเพิ่มขึ้นอีก
7
แนวทางแก้ไข
1. สร้างระบบการคมนาคมให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ไม่ว่าจะเป็นรถไฟฟ้า รถใต้ดิน รถเมลล์ รถแท็กซี่ รถตู้ ที่วิ่ง
และจอดกันไม่เป็นระเบียบ ไม่ปาดหน้าปาดซ้ายปาดขวาไปเรื่อย
2. จากัดปริมาณรถยนต์ในกรุงเทพเพื่อลดการใช้รถและลดปริมาณมลพิษ อาทิ การเพิ่มภาษีรถยนต์เพื่อนาภาษีไป
พัฒนาและสร้างรถไฟฟ้า และช่วยสนับสนุนเพื่อให้ค่าบริการลดลง
3. ส่งเสริมวัฒนธรรมอันดีงามความเป็นไทย เช่น ช่วยเหลือผู้ที่อ่อนแอกว่า ให้โอกาสผู้ที่อ่อนแอกว่า ไม่ใช้โอกาส
ตาแหน่ง อานาจ หน้าที่ หรือฐานะ เอาเปรียบผู้ที่ด้อยหรืออ่อนแอกว่า
4. เมื่อปริมาณรถยนต์ลดลง มลพิษย่อมลดลง ความปลอดภัยมีมากขึ้น การสร้างไบค์เลนเป็นอีกแนวทางหนึ่งที่จะช่วย
ประหยัดการใช้พลังงานเชื้อเพลิงได้มากขึ้น และทาให้คนได้ออกกาลังกายไปในตัว
วิธีดาเนินงาน
แนวทางการดาเนินงาน
- คิดหัวข้อโครงงาน
- ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล
- จัดทาโครงร่าง
- ปฎิบัติการสร้างโครงงาน
- ปรับปรุงทดสอบ
- การทาเอกสารรายงาน
- ประเมินผลงาน
- นาเสนอโครงงาน
-
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
- คอมพิวเตอร์
- เครื่องใช้เทคโนโลยีสาหรับการสร้างรถไฟฟ้า
งบประมาณ
- 1.95 แสนล้านบาท
8
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
ลาดับ
ที่
ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ
1 2 3 4 5 6 7 8 9
1
0
1
1
12
1
3
1
4
1
5
16 17
1 คิดหัวข้อโครงงาน / ณัทญาทิพย์
2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล / / ณัทญาทิพย์
3 จัดทาโครงร่างงาน / / ณัทญาทิพย์
4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน / / / ณัทญาทิพย์
5 ปรับปรุงทดสอบ / / ณัทญาทิพย์
6 การทาเอกสารรายงาน / / / ณัทญาทิพย์
7 ประเมินผลงาน / / ณัทญาทิพย์
8 นาเสนอโครงงาน / / ณัทญาทิพย์
ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน)
1.ได้ทราบถึงปัญหาการใช้จราจรบนท้องถนนของจังหวัดเชียงใหม่
2.ได้แก้ไขปัญหาการจราจรติดขัดบนท้องถนนของจังหวัดเชียงใหม่
3.ได้ลดการเสียเวลาในการใช้รถบนท้องถนน
4.ได้ลดมลพิษทางอากาศในจังหวัดเชียงใหม่
สถานที่ดาเนินการ
-ห้อมคอมพิวเตอร์ โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย
-ท้องถนนอาเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
-การงานอาชีพและเทคโนโลยี
-คณิตศาสตร์
-วิทยาศาสตร์
9
แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน)
1.http://dparktraffic.com/traffic (วันที่สืบค้น 19 กันยายน 2561)
2.https://crisisoftraffic.blogspot.com/ (วันที่สืบค้น 19 กันยายน 2561)
3.https://www.thairath.co.th/content/944553 (วันที่สืบค้น 19 กันยายน 2561)
4.https://www.chiangmainews.co.th/page/archives/496018 (วันที่สืบค้น 19 กันยายน 2561)

More Related Content

What's hot

โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
Jeejii Believe
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ (คู่)
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ (คู่)แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ (คู่)
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ (คู่)
pimvipada
 
มหัศจรรย์อาเซียน
มหัศจรรย์อาเซียนมหัศจรรย์อาเซียน
มหัศจรรย์อาเซียน
Ja Palm
 
โครงร่างงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างงานคอมพิวเตอร์โครงร่างงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างงานคอมพิวเตอร์
Manatchariyaa Thongmuangsak
 
แบบเสนอโครงร่างโรงงานคอมพิวเตอร์ต๊อก
แบบเสนอโครงร่างโรงงานคอมพิวเตอร์ต๊อกแบบเสนอโครงร่างโรงงานคอมพิวเตอร์ต๊อก
แบบเสนอโครงร่างโรงงานคอมพิวเตอร์ต๊อก
Sendai' Toktak
 

What's hot (20)

Com!!!
Com!!!Com!!!
Com!!!
 
Get rich by social
Get rich by socialGet rich by social
Get rich by social
 
604 35 project
604 35 project604 35 project
604 35 project
 
2560 project แฟรงเซฟ
2560 project แฟรงเซฟ2560 project แฟรงเซฟ
2560 project แฟรงเซฟ
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
 
Project1 604
Project1 604Project1 604
Project1 604
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ (คู่)
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ (คู่)แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ (คู่)
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ (คู่)
 
มหัศจรรย์อาเซียน
มหัศจรรย์อาเซียนมหัศจรรย์อาเซียน
มหัศจรรย์อาเซียน
 
โครงร่างงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างงานคอมพิวเตอร์โครงร่างงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างงานคอมพิวเตอร์
 
2559 project -1
2559 project -12559 project -1
2559 project -1
 
ใบงานที่ 6 โครงร่างโครงงาน
ใบงานที่ 6 โครงร่างโครงงานใบงานที่ 6 โครงร่างโครงงาน
ใบงานที่ 6 โครงร่างโครงงาน
 
แบบเสนอโครงร่างงานคอม
แบบเสนอโครงร่างงานคอมแบบเสนอโครงร่างงานคอม
แบบเสนอโครงร่างงานคอม
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
แบบเสนอโครงร่างโรงงานคอมพิวเตอร์ต๊อก
แบบเสนอโครงร่างโรงงานคอมพิวเตอร์ต๊อกแบบเสนอโครงร่างโรงงานคอมพิวเตอร์ต๊อก
แบบเสนอโครงร่างโรงงานคอมพิวเตอร์ต๊อก
 
ใบงานที่ 6 โครงร่างโครงงาน
ใบงานที่ 6 โครงร่างโครงงานใบงานที่ 6 โครงร่างโครงงาน
ใบงานที่ 6 โครงร่างโครงงาน
 
การขับขี่อย่างปลอดภัย1
การขับขี่อย่างปลอดภัย1การขับขี่อย่างปลอดภัย1
การขับขี่อย่างปลอดภัย1
 
2559 project
2559 project 2559 project
2559 project
 
Lin
LinLin
Lin
 
คอมแพท
คอมแพทคอมแพท
คอมแพท
 

Similar to Natthayathip

ใบงานที่ 5 แบบเสนอโครงร่างโครงงาน
ใบงานที่ 5 แบบเสนอโครงร่างโครงงานใบงานที่ 5 แบบเสนอโครงร่างโครงงาน
ใบงานที่ 5 แบบเสนอโครงร่างโครงงาน
Sirawich Kamla
 

Similar to Natthayathip (20)

604 18 perfect final1
604 18 perfect final1604 18 perfect final1
604 18 perfect final1
 
604 18 perfect final
604 18 perfect final604 18 perfect final
604 18 perfect final
 
2560 project แอพพลิเคชัน Smart CHIANGMAI
2560 project แอพพลิเคชัน Smart CHIANGMAI2560 project แอพพลิเคชัน Smart CHIANGMAI
2560 project แอพพลิเคชัน Smart CHIANGMAI
 
Water problem
Water problemWater problem
Water problem
 
หลักสูตรที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการบริหาร
หลักสูตรที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการบริหารหลักสูตรที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการบริหาร
หลักสูตรที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการบริหาร
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
2561 project (15)
2561 project  (15)2561 project  (15)
2561 project (15)
 
2561 project
2561 project 2561 project
2561 project
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
Tanapol 09
Tanapol 09Tanapol 09
Tanapol 09
 
Champ 09
Champ 09Champ 09
Champ 09
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
ใบงานที่ 5 แบบเสนอโครงร่างโครงงาน
ใบงานที่ 5 แบบเสนอโครงร่างโครงงานใบงานที่ 5 แบบเสนอโครงร่างโครงงาน
ใบงานที่ 5 แบบเสนอโครงร่างโครงงาน
 
2560 project แอพพลิเคชัน Smart CHIANGMAI
2560 project แอพพลิเคชัน Smart CHIANGMAI 2560 project แอพพลิเคชัน Smart CHIANGMAI
2560 project แอพพลิเคชัน Smart CHIANGMAI
 
Final project
Final projectFinal project
Final project
 
2560 project 222
2560 project 2222560 project 222
2560 project 222
 
2561 project -3
2561 project -32561 project -3
2561 project -3
 
Chon;acahrt monta sarong
Chon;acahrt  monta sarongChon;acahrt  monta sarong
Chon;acahrt monta sarong
 
2561 project-chaiyapat
2561 project-chaiyapat2561 project-chaiyapat
2561 project-chaiyapat
 
โครงงานคอมหมูยอ
โครงงานคอมหมูยอโครงงานคอมหมูยอ
โครงงานคอมหมูยอ
 

Natthayathip

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5- 6 ปีการศึกษา 2561 ชื่อโครงงาน รถติดยาวที่เชียงใหม่ ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาวณัทญาทิพย์ รินยานะสันต์ เลขที่ 44 ชั้น ม.6 ห้อง 10 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2561 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. 2 ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ สมาชิกในกลุ่ม นางสาวณัทญาทิพย์ รินยานะสันต์ ชั้น ม.6/10 เลขที่ 44 คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) รถติดยาวที่เชียงใหม่ ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) Traffic jam in chiang mai ประเภทโครงงาน เพื่อการศึกษา ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาวณัทญาทิพย์ รินยานะสันต์ เลขที่ 44 ชั้น ม.6 ห้อง 10 ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่1 ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน) เนื่องจากในปัจจุบันประเทศไทยมีปัญหาด้านการจราจรติดขัดเป็นอย่างมากแต่ในหลายๆจังหวัดก็ ติดมากด้วยเช่นกัน เช่นเชียงใหม่ ซึ่งเป็นจังหวัดที่ดิฉันได้อาศัยอยู่ จึงได้เห็นปัญหาด้านการจราจรติดขัดเป็นอย่างมาก ได้อย่าชัดเจน ซึ่งสาเหตุส่วนมากก็มาจากมีการใช้รถส่วนตัวกันมากกว่าการขนส่งสาธารณะ ซึ่งบางจังหวัดใหญ่ๆ เขา ไม่ค่อยทากัน แม้แต่เมืองที่ประชาชนจะมีฐานะความเป็นอยู่ที่ดีกว่า ซึ่งสามารถซื้อรถยนต์ได้มากกว่าคนเชียงใหม่ แต่ จังหวัดเหล่านั้นกลับเลือกใช้การขนส่งสาธารณะเป็นหลัก ใช้รถส่วนตัวเฉพาะบางกรณีเท่านั้น การใช้รถส่วนตัวมาก ทาให้เปลืองพื้นที่ถนนมาก มีการจราจรที่คับคั่งจนเกินไป เมื่อเทียบกับการขนส่งสาธารณะ เช่น รถใต้ดิน รถไฟ รถเมล์ ที่ใช้พื้นที่ต่อคนน้อยกว่ารถส่วนตัวมากมายหลายเท่า ดิฉันจึงคิดทาโครงงานนี้ขึ้นมาเพื่อแก้ปัญหาปัญหา การจราจรติดขัด โดยการสร้างรถไฟฟ้าไว้รอบเมือง เพื่อป้องกันจราจรติดขัดในตัวเมือง และช่วยประหยัดค่าใช้จ่าย น้ามันให้ประชาชนอีกทั้งเมื่อจราจรไม่ติดขัดก็ยังช่วยป้องกันอันตรายจากการใช้ถนนและการได้รับมลพิษทางอากาศ อีกด้วย
  • 3. 3 วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ) 1.เพื่อศึกษาปัญหาการใช้จราจรบนท้องถนนของจังหวัดเชียงใหม่ 2.เพื่อแก้ปัญหาการจราจรติดขัดบนท้องถนนของจังหวัดเชียงใหม่ 3.เพื่อต้องการลดการเสียเวลาในการใช้รถบนท้องถนน 4.เพื่อลดมลพิษทางอากาศในจังหวัดเชียงใหม่ ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน) -ประชากรที่ใช้รถ ใช้ถนนใน อ.เมือง จ.เชียงใหม่ หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน) สาเหตุสาคัญที่สุดของปัญหาการจราจรติดขัด คือ มีการใช้รถส่วนตัวกันมากกว่าการขนส่งสาธารณะ ซึ่งไม่มีเมือง ใหญ่ ๆ ที่ไหนในโลกเขาทากัน แม้แต่เมืองที่ประชาชนจะมีฐานะความเป็นอยู่ที่ดีกว่า ซึ่งสามารถซื้อรถยนต์ได้มากกว่า คนไทย แต่ประเทศเหล่านั้นกลับเลือกใช้การขนส่งสาธารณะเป็นหลัก ใช้รถส่วนตัวเฉพาะบางกรณีเท่านั้น การใช้รถ ส่วนตัวมาก ทาให้เปลืองพื้นที่ถนนมาก มีการจราจรที่คับคั่งจนเกินไป เมื่อเทียบกับการขนส่งสาธารณะ เช่น รถใต้ดิน รถไฟ รถเมล์ ที่ใช้พื้นที่ต่อคนน้อยกว่ารถส่วนตัวมากมายหลายเท่า สาเหตุที่คนกรุงเทพ ฯ และ คนเมืองใหญ่ใช้รถ ส่วนตัวกันมากเป็นทั้งเรื่องค่านิยม และ เนื่องมาจากไม่มีบริการขนส่งสาธารณะที่ดีพอ พูดได้เลยว่า ปัญหาการจราจรคับคั่งในกรุงเทพฯ สะท้อนให้เห็นว่าความเจริญทางเศรษฐกิจรวมศูนย์ที่ กรุงเทพฯ และ ปริมณฑลมากไป คนชั้นกลางชั้นสูงใช้รถส่วนตัวกันมาก การจะแก้ปัญหาจราจรในกรุงเทพฯและ ปริมณฑล ต้องเชื่อมโยงกับการแก้ไขนโยบายพัฒนาประเทศให้มุ่งกระจายการพัฒนาสู่ต่างจังหวัด และ พัฒนาเพื่อคน จนมากขึ้น ไม่ใช่แค่แก้ ปัญหาจราจร เท่านั้น ซึ่งนอกจากจะแก้ไม่ได้ผลแล้ว ยังต้องใช้งบประมาณสิ้นเปลืองมากขึ้น ทาให้มีงบประมาณเหลือไปช่วยต่างจังหวัดลดลงไปอีก กลายเป็นปัญหางูกินหางไม่รู้จบสิ้น ปัญหาด้านความต้องการการเดินทาง (Demand) เป็นปัญหาที่เกิดจากความต้องการในการเดินทางที่มีมาก เกินกว่าความจุ ในการรองรับปริมาณการจราจรของถนนที่มีปัจจุบัน ซึ่งมีเหตุปัจจัยที่เกี่ยวข้อง ดังนี้ ปัจจัยเกี่ยวกับผังเมือง การขยายตัวของเมือง และการใช้ที่ดินไม่เป็นระเบียบ การขยายตัวทางเศรษฐกิจของกรุงเทพมหานครและพื้นที่ปริมณฑล โดยเฉพาะกรุงเทพมหานคร มีผลผลิต อุตสาหกรรม ถึง 3ใน 4 ของผลผลิตประเทศ เป็นผลมาจากการปรับปรุงก่อสร้างถนนสายหลัก การพัฒนาด้านธุรกิจ พาณิชยกรรม ในพื้นที่ชั้นใน ซึ่งผลจากการก่อสร้างทางหลวงสายหลัก สายรอง รวมทั้งการขยายเส้นทางการเดินทาง ให้ไกลออกจากศูนย์กลางของเมือง ทาให้การขยายตัวของเมืองเป็นไปตามแนวราบ ตามถนนสายประธานต่างๆ เช่น ถนนพหลโยธิน ถนนสุขุมวิท และถนนเพชรเกษม แต่ในขณะเดียวกัน รัฐบาลได้ละเลยพัฒนาการก่อสร้างถนนสายรอง และถนนสายย่อย เพื่อเชื่อมโยงถนนหลักอย่างเป็นระบบ จึงทาให้ไม่มีเกิดการพัฒนาในพื้นที่ว่างเปล่า ที่อยู่ระหว่าง ถนนสายประธาน ถนนสายหลักต่างๆ ทาให้ใช้เวลาในการเดินทาง และสิ้นเปลืองค่าใช้จ่ายมากขึ้น ดังนั้นในช่วง 10 ปี
  • 4. 4 ที่ผ่านมา จึงได้เริ่มมีการปรับปรุงพื้นที่ว่างเปล่าในเขตชั้นใน เขตชานเมือง โดยเฉพาะพื้นที่บริเวณด้านเหนือ ด้าน ตะวันออกเฉียงเหนือ และด้านตะวันออก และการจัดสร้างสิ่งสาธารณูปโภค สาธารณูปการต่างๆ แต่อย่างไรก็ตามการ ลงทุนก่อสร้างถนน ยังดาเนินการได้อย่างจากัด เนื่องจากปัญหาการเวนคืนที่ดิน ปัญหาด้านงบประมาณ ปัญหาการ การขาดประสิทธิภาพในการดาเนินงาน ซึ่งการขยายตัวของเมืองในลักษณะนี้ ส่งผลต่อความหนาแน่นของประชากร จะลดลงตามลาดับ ตามระยะทางที่ห่างจากพื้นที่ศูนย์กลางเมือง เนื่องจากกรุงเทพมหานครยังไม่มีการจัดรูปแบบและ ข้อบังคับของเมืองที่ชัดเจน ไม่มีการบังคับใช้ผังเมืองรวมที่เข้มข้น ซึ่งเป็นปัจจัยสาคัญที่ก่อให้เกิดปัญหาการจราจร ติดขัดอย่างมากในปัจจุบัน ปัจจัยการขาดแคลนระบบขนส่งสาธารณะที่เหมาะสม ระบบขนส่งสาธารณะที่เหมาะสมยังมีไม่เพียงพอที่จะบริการประชากรในเขตกรุงเทพมหานครและพื้นที่ ปริมณฑล ปัจจุบันองค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ (ขสมก.) เป็นองค์การเดียวที่รับผิดชอบรถโดยสารประจาทาง ที่ ครอบคลุมเขตกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล ซึ่งประสบปัญหา การขาดทุนมาโดยตลอด เนื่องจาก ปัญหารถอยู่ใน สภาพเก่าและทรุดโทรม ค่าบารุงรักษาค่อนข้างสูงปัญหาจานวนรถไม่เพียงพอกับความต้องการของผู้โดยสาร ปัญหา การจราจรติดขัด ทาให้สิ้นเปลืองค่าใช้จ่าย และจานวนเที่ยวของการเดินทางในแต่ละวันน้อยลง และอัตราค่าโดยสาร มีอัตราต่าเกินไป ซึ่งปัญหาดังกล่าว ก็จะทวีความรุนแรงขึ้น แม้รัฐบาลจะมีนโยบายจัดช่องทางเดินรถประจาทาง เฉพาะ ทั้งชนิดสวนทางจราจร และตามกระแสการจราจรอีกจานวนมาก รวมระยะทางกว่า 100 กิโลเมตรก็ตาม แต่ก็ ไม่สามารถช่วยให้ การเดินทางโดยรถโดยสารประจาทางเกิดความรวดเร็ว และเป็นที่นิยมของประชาชนมากขึ้น เนื่องจากการขาดการกวดขัด การใช้ช่องเดินรถประจาทางอย่างต่อเนื่อง และจริงจัง ปัญหาด้านกายภาพของถนน (Physical) ปัญหานี้ เป็นผลมาจากลักษณะทางกายภาพของถนนที่ไม่เหมาะสมกับการ ใช้งาน ซึ่งสรุปลักษณะของปัญหาได้ดังนี้ 1.ปัญหาตาแหน่งจุดกลับรถที่ไม่เหมาะสม 2. ปัญหาความยาวและช่องรอเลี้ยวบริเวณทางแยก 3. ปัญหาการจัดทาเกาะและช่องเลี้ยวบริเวณทางแยก (Channelization) 4. ปัญหาตาแหน่งกลับรถบรรทุกที่วงเลี้ยวไม่เพียงพอ 5. ปัญหาการกาหนดช่องจราจรร่วม (Share Lane) สาหรับรถทางตรงและรถที่ต้องการเลี้ยว 6. ปัญหาระยะทางในการเปลี่ยนช่องจราจร (Weaving Length) ไม่เพียงพอ 7. ปัญหาจุกคอขวด (Bottleneck) โดยทั่วไปมักพบบริเวณสะพานที่มีช่องจราจรน้อยกว่าช่องจราจรปกติ
  • 5. 5 ปัจจัยระบบโครงข่ายถนน ระบบถนน และปริมาณการจราจร 1. ปัญหาของระบบโครงข่ายถนน จากปัญหาผังเมือง การขยายตัวของเมืองที่เป็นไปตามแนวราบ ตามถนนสายหลัก ที่แยกออกจากใจกลางเมือง และการละเลยการพัฒนา ถนนสายรอง และถนนสายย่อย เชื่อมต่อกับถนนสายหลัก นอกจากนี้ลักษณะโครงข่ายถนนในบริเวณใจกลางเมือง เป็นแบบเก่ามีแนวทาง และขนาดของถนนไม่สม่าเสมอ ไม่ได้ มาตรฐาน ส่วนบริเวณรอบนอก ซึ่งถนนมีผิวจราจรกว้าง และได้มาตรฐานแต่ถนนแต่ละแนวก็มีระยะห่างกันมาก 2. ระบบถนนและปริมาณการจราจร ปัจจุบันถนนในกรุงเทพมหานคร ยังไม่มีการจาแนกประเภทของถนนไว้อย่าง ชัดเจน เช่น ประเภทถนนทางด่วน ถนนสายหลัก ถนนสายรอง หรือถนนสายย่อย ทาให้การควบคุมการใช้พื้นที่สอง ข้างถนน หรือควบคุมการเชื่อมต่อ ไม่สามารถกระทาได้ให้สมวัตถุประสงค์ของการก่อสร้างถนนที่แท้จริง เช่น ระบบ ทางด่วน ซึ่งปัจจุบันได้มีผู้ขับขี่ใช้เพื่อการเลี่ยงปัญหาการจราจรบนถนนปกติในระยะทางสั้นๆ ก่อให้เกิดปัญหา การจราจรติดขัดบนทางด่วน เนื่องจากติดขัดบนถนนปกติ ทาให้รถบนทางด่วนไม่สามารถลงสู่ถนนระดับพื้นดินได้ อย่างสะดวก นอกจากนี้ ถนนสายหลักต่างๆ การที่มีซอยมาเชื่อมกับถนนสายหลักมากเกินไป มีจุดกลับรถจานวนมาก บนถนนสายหลัก สิ่งต่างๆ เหล่านี้ทาให้ไม่สามารถใช้ถนนเพื่อการเดินทางในระยะไกลๆ ได้อย่างสะดวก นอกจากนี้บน ถนนสายหลักต่างๆ ก็มีปริมาณการจราจรใกล้เคียง หรือสูงกว่าความสามารถของถนนที่สามารถรองรับปริมาณ การจราจร ปัญหาด้านการจัดการ (Management) ปัญหานี้เกิดขึ้นจาก ความไม่เหมาะสมของการจัดการจราจรกับสภาพปัจจุบัน ได้แก่ 1. ปัญหาการจัดจังหวะสัญญาณไฟจราจรที่ไม่เหมาะสมกับปริมาณจราจร ทั้งในแง่ของระยะเวลาไฟสัญญาณและ จังหวะสัญญาณ (phasing) ซึ่งโดยทั่วไปมักจะปล่อยจราจรในแต่ละทิศทางเป็นจังหวะ ทาให้ลดประสิทธิภาพในการ ระบายจราจรที่ทางแยก 2. ปัญหาการกาหนดช่องทางพิเศษขนส่งมวลชน (High-Occupancy-Vehicles Lanes) ในบางกรณีพบว่า อัตราการ ใช้ต่า เนื่องจากรถยนต์ส่วนใหญ่มีคนนั่งน้อยกว่า 2 คน
  • 6. 6 3. ปัญหาการกาหนดตาแหน่งปูายหยุดรถโดยสารประจาทางที่ไม่เหมาะสม อาทิ ตาแหน่งที่อยู่ใกล้ทางแยกหรือกีด ขวางจราจร เป็นต้น 4. ปัญหาการจอดรถยนต์ข้างทาง กีดขวางการจราจร 5. ปัญหาการใช้พื้นที่ข้างทางและทางเท้า ซึ่งพบในบางพื้นที่ที่มีการใช้ทางเท้าเพื่อค้าขายทาให้คนเดินเท้าต้องเลี่ยงลง มาเดินบนถนน ซึ่งนอกจากจะอันตรายแล้วยังทาให้จราจรติดขัดอีกด้วย 6. ปัญหาการข้ามถนนของคนเดินเท้าในตาแหน่งที่ไม่เหมาะสม หรือขาดอุปกรณ์อานวยความปลอดภัย อาทิ สะพานลอยคนเดินข้าม หรือ ทางม้าลายและปุุมกด เป็นต้น 7. ปัญหาการจัดช่องจราจรที่ไม่เหมาะสม ปัจจัยเกี่ยวกับความรู้ความเข้าใจและระเบียบวินัยในการใช้รถใช้ถนน 1. ระเบียบวินัยในการใช้รถใช้ถนน จากปัญหาจราจรคับคั่งในเขตกรุงเทพมหานคร ส่วนหนึ่งมาจากกรณีที่ผู้ขับขี่ กระทาขึ้น เนื่องจากความรีบเร่งในการเดินทางในเวลาเร่งด่วน ความเห็นแก่ตัวเพื่อความสะดวกของตนเอง การติด นิสัยเจ้าขุนมูลนาย พวกที่ไม่รู้กฎจราจร หรือไม่ศึกษาเส้นทางก่อนการเดินทาง ผู้ขับขี่ยานพาหนะไม่มีความชานาญ จึงกล่าวได้ว่า ผู้ขับขี่ส่วนใหญ่ในกรุงเทพมหานคร ยังขาดวินัยในการใช้รถใช้ถนนอยู่อย่างมาก 2. การรณรงค์ และการให้การศึกษาอบรม จากสภาพรวมของปัญหาการจราจร ปัจจุบัน ผู้ขับขี่ และคนเดินเท้าใน กรุงเทพมหานคร ยังไม่ค่อยจะมีวินัยในการใช้รถใช้ถนน มีความเห็นแก่ตัว การละเลยไม่ปฏิบัติตามกฎจราจร และการ ขาดงบประมาณ ในการดาเนินการแต่ปัจจุบันก็ได้รับการสนับสนุนจากภาคเอกชนในการรณรงค์ ให้การศึกษา ทางอ้อมมากขึ้น ผลกระทบ 1.รถติด รถยนต์ต้องใช้น้ามัน ทาให้สิ้นเปลืองพลังงานโดยใช่เหตุ สร้างมลพิษมากยิ่งขึ้น 2. คนอยู่ชานเมืองนั่งรถเมลล์ไปทางาน ต้องสูดเอาควันพิษจากท่อไอเสีย เป็นผลต่อสุขภาพ 3. คนทางานต้องเสียเวลาอยู่บนท้องถนน นานกว่า 2 ชั่วโมง ไป-กลับ 4 ชั่วโมง 1 คน เสียเวลาไป 4 ชั่วโมง แล้ว คนนับหมื่นนับแสนคน เสียเวลาไปเท่าไหร่ ซึ่งส่งผลทางด้านเศรษฐกิจไม่น้อย นอกจากนั้นการเดินทาง ในสภาวะที่มีแต่มลพิษ ประสิทธิภาพในการทางานย่อมลดน้อยลง 4. เพื่อหลีกเลี่ยงการผจญต่อมลพิษโดยตรง ทุกคนพยายามหาทางออกให้ตัวเอง ด้วยการมีรถยนต์เป็นของตัวเอง ซึ่งอาจจะสร้างภาระหนี้สินเพิ่มขึ้นอีก
  • 7. 7 แนวทางแก้ไข 1. สร้างระบบการคมนาคมให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ไม่ว่าจะเป็นรถไฟฟ้า รถใต้ดิน รถเมลล์ รถแท็กซี่ รถตู้ ที่วิ่ง และจอดกันไม่เป็นระเบียบ ไม่ปาดหน้าปาดซ้ายปาดขวาไปเรื่อย 2. จากัดปริมาณรถยนต์ในกรุงเทพเพื่อลดการใช้รถและลดปริมาณมลพิษ อาทิ การเพิ่มภาษีรถยนต์เพื่อนาภาษีไป พัฒนาและสร้างรถไฟฟ้า และช่วยสนับสนุนเพื่อให้ค่าบริการลดลง 3. ส่งเสริมวัฒนธรรมอันดีงามความเป็นไทย เช่น ช่วยเหลือผู้ที่อ่อนแอกว่า ให้โอกาสผู้ที่อ่อนแอกว่า ไม่ใช้โอกาส ตาแหน่ง อานาจ หน้าที่ หรือฐานะ เอาเปรียบผู้ที่ด้อยหรืออ่อนแอกว่า 4. เมื่อปริมาณรถยนต์ลดลง มลพิษย่อมลดลง ความปลอดภัยมีมากขึ้น การสร้างไบค์เลนเป็นอีกแนวทางหนึ่งที่จะช่วย ประหยัดการใช้พลังงานเชื้อเพลิงได้มากขึ้น และทาให้คนได้ออกกาลังกายไปในตัว วิธีดาเนินงาน แนวทางการดาเนินงาน - คิดหัวข้อโครงงาน - ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล - จัดทาโครงร่าง - ปฎิบัติการสร้างโครงงาน - ปรับปรุงทดสอบ - การทาเอกสารรายงาน - ประเมินผลงาน - นาเสนอโครงงาน - เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ - คอมพิวเตอร์ - เครื่องใช้เทคโนโลยีสาหรับการสร้างรถไฟฟ้า งบประมาณ - 1.95 แสนล้านบาท
  • 8. 8 ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ลาดับ ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 0 1 1 12 1 3 1 4 1 5 16 17 1 คิดหัวข้อโครงงาน / ณัทญาทิพย์ 2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล / / ณัทญาทิพย์ 3 จัดทาโครงร่างงาน / / ณัทญาทิพย์ 4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน / / / ณัทญาทิพย์ 5 ปรับปรุงทดสอบ / / ณัทญาทิพย์ 6 การทาเอกสารรายงาน / / / ณัทญาทิพย์ 7 ประเมินผลงาน / / ณัทญาทิพย์ 8 นาเสนอโครงงาน / / ณัทญาทิพย์ ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน) 1.ได้ทราบถึงปัญหาการใช้จราจรบนท้องถนนของจังหวัดเชียงใหม่ 2.ได้แก้ไขปัญหาการจราจรติดขัดบนท้องถนนของจังหวัดเชียงใหม่ 3.ได้ลดการเสียเวลาในการใช้รถบนท้องถนน 4.ได้ลดมลพิษทางอากาศในจังหวัดเชียงใหม่ สถานที่ดาเนินการ -ห้อมคอมพิวเตอร์ โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย -ท้องถนนอาเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง -การงานอาชีพและเทคโนโลยี -คณิตศาสตร์ -วิทยาศาสตร์
  • 9. 9 แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน) 1.http://dparktraffic.com/traffic (วันที่สืบค้น 19 กันยายน 2561) 2.https://crisisoftraffic.blogspot.com/ (วันที่สืบค้น 19 กันยายน 2561) 3.https://www.thairath.co.th/content/944553 (วันที่สืบค้น 19 กันยายน 2561) 4.https://www.chiangmainews.co.th/page/archives/496018 (วันที่สืบค้น 19 กันยายน 2561)