SlideShare a Scribd company logo
1 of 31
Download to read offline
Information and Communication Technology for Education.
เกรียงไกร พละสนธิ.
Monday, September 14, 15
หัวข้อการนำเสนอ การกำหนดกลุ่มประชากร การกำหนดกลุ่มตัวอย่าง แบบแผนของการวิจัย
Information and Communication Technology for Education.
ประชากร
POPULATION
Monday, September 14, 15
ประชากร
POPULATION
Information and Communication Technology for Education.
ประชากร หมายถึง
ในทางการวิจัย ประชากร
หมายถึง กลุ่มสมาชิกทั้งหมด
ที่ต้องการ หรือสนใจศึกษา
อาจจะเป็นสิ่งมีชีวิตหรือไม่มี
ชีวิต ไม่ว่าจะเป็น บุคคล กลุ่ม
บุคคล องค์กรต่างๆ สัตว์
สิ่งของ หรือเวลา...
(เอมอร,2556)
โดยใช้สัญลักษณ์
Monday, September 14, 15
เชนถาสนใจ ความคิดเห็นของคนไทยที่มีตอการใช facebook ประชากร คือคนไทยทุกคน หรือถาสนใจอายุการใชงานของเครื่องคอมพิวเตอรยี่หอหนึ่ง ประชากรคือเครื่องคอมพิวเตอร
ยี่หอนั้นทุกเครื่อง 
Information and Communication Technology for Education.
การกำหนด
ขอบเขตของ
ประชากร(เอมอร,2556)
Monday, September 14, 15
การกําหนดขอบเขตของประชากร
-การกําหนดขอบเขตประชากรโดยอาศัยขอบเขตทางภูมิศาสตร์ เช่นยึดเอาแนวถนน หรือแม่น้ํา เทือกเขา เป็นตัวกําหนดประชากร
-การกําหนดขอบเขตประชากรโดยอาศัยขอบเขตการปกครอง เช่น ยึดตามเขต หมู่บ้าน ตําบล อําเภอ จังหวัด ภาค หรือ ประเทศเป็นตัวกําหนดประชากร
-การกําหนดขอบเขตประชากรโดยยึดเอาช่วงเวลาเป็นเกณฑ์ เช่น ระหว่าง ปี พ.ศ. 2501 ถึง 2530 หรือ ผู้ที่มีอายุระหว่าง 15 ถึง 45 ปี บริบูรณ์ เป็นต้น
-การกําหนดขอบเขตประชากร โดยยึดเอาลักษณะอื่นๆ เป็นเกณฑ์ เช่น รายได้ , การศึกษา , เพศ , อาชีพ , ลักษณะความเจ็บป่วย หรือพิการ
Information and Communication Technology for Education.
เสียเวลา
ค่าใช้จ่ายสูง
Monday, September 14, 15
ในการวิจัยถา เก็บขอมูลกับประชากรทุกหนวย อาจทำใหเสียเวลาและคาใชจายที่สูงมาก และบางครั้งเปนเรื่องที่ตองตัดสินใจภายในเวลาจำกัด  การเลือกศึกษาเฉพาะบางสวนของ
ประชากรจึงเปนเรื่องที่มีความจำเปน เรียกวากลุมตัวอยาง
Information and Communication Technology for Education.
กลุ่มตัวอย่าง
SAMPLE
Monday, September 14, 15
Information and Communication Technology for Education.
กลุ่มตัวอย่าง หมายถึง
ส่วนหนึ่งของประชากร
ที่นำมาศึกษาซึ่งเป็นตัวแทน
ของประชากร หรือกลุ่ม
สมาชิกที่ถูกเลือกมาจาก
ประชากรด้วยวิธีการใดวิธี
การหนึ่งเพื่อเป็นตัวแทนใน
การศึกษาและเก็บข้อมูล
(เอมอร,2556)
โดยใช้สัญลักษณ์
Monday, September 14, 15
เช่น ต้องการหาอายุเฉลี่ยของคนไทย ตัวอย่างคือคนไทยบางคนที่ถูกเลือกเป็นตัวอย่าง หรือสนใจอายุการใช้งานเฉลี่ยของเครื่องคอมพิวเตอร์ห้อ B ประชากร
คือ เครื่องคอมพิวเตอร์ยี่ห้อ B ทุกเครื่อง ตัวอย่างคือ เครื่องคอมพิวเตอร์ยี่ห้อ B บางเครื่องที่ถูกเลือกเป็นตัวอย่าง เป็นต้น
Information and Communication Technology for Education.
การเลือกกลุ่มตัวอย่าง
- การเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบไม่เป็นไปตามโอกาส
ทางสถิติ (Non probability sample)
- การเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบที่เป็นไปตามโอกาส
ทางสถิติ (Probability Sample)
(เอมอร,2556)
Monday, September 14, 15
Information and Communication Technology for Education.
การเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบไม่เป็นไปตามโอกาสทางสถิติ
(Non probability sample)
- กลุ่มตัวอย่างตามสะดวก (Convenience Sample)
- กลุ่มตัวอย่างแบบโควต้า (Quota Sample)
- กลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง
(Purposive Sample)
(เอมอร,2556)
Monday, September 14, 15
กลุมตัวอยางตามสะดวก (Convenience Sample)
หมายถึงการเก็บตัวอย่างไม่ยุงยากซับซ้อนหรือเสียค่าใช้จ่ายมากนัก เช่นโทรศัพท์ถามความเห็น การออกจดหมายส่งแบบสอบถาม เป็นต้น
กลุมตัวอยางแบบโควตา (Quota Sample)
เปนการไดกลุมตัวอยางมา โดยนำเอาสัดสวนของประชากรมาพิจารณาดวย เช่น การศึกษาความคิดเห็นของนักศึกษาต่อหลักสูตรใหม่ ซึ่งในมหาวิยาลัยที่จะศึกษาประกอบด้วย 4 คณะวิชา การเก็บกลุ่มตัวอย่างจำเป็นต้องพิจารณา
สัดส่วนของนักศึกษาในแต่ละคณะด้วย เพื่อให้กลุ่มตัวอย่างได้กระจายไปในทุกคณะอย่างทั่วถึง
กลุมตัวอยางแบบเจาะจง (Purposive Sample)
เปนการใชกับกลุมตัวอยางที่มีลักษณะเฉพาะ เพื่อใหเปนไปตามวัตถุประสงคของการวิจัย เช่น การสำรวจภาวะตลาดการค้า อาจจะต้องเลือกเอาช่วงเวลาที่ภาวะการค้าเป็นไปแบบกลางๆ คือไม่สูง หรือต่ำจนเกินไป หรือการทดสอบการ
ใช้หลักสูตร ซึ่งจะต้องใช้นักเรียนทั้งที่เรียนดี ปานกลาง และต่ำ จึงจำเป็นต้องใช้วิธีการแบบเจาะจงเพื่อให้ได้คนทั้งสามกลุ่มแน่นอน
Information and Communication Technology for Education.
การสุ่มตัวอย่างแบบง่าย
(Simple Random Sampling)
การสุ่มตัวอย่างแบบมีระบบ
(Systematic Sampling)
การสุ่มตัวอย่างแบบชั้นภูมิ (Stratified Sampling)
การสุ่มตัวอย่างแบบกลุ่ม (Cluster Sampling)
การสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้น
(Multi-stage Sampling)
การเลือกกลุ่ม
ตัวอย่างแบบที่
เป็นไปตาม
โอกาสทาง
สถิติ
(Probability
Sample)
(เอมอร,2556)
Monday, September 14, 15
คือการสุ่มเลือกหน่วยตัวอย่างจากประชากรทั้งหมด โดยให้แต่ละตัวอย่าง มีโอกาสเลือกเท่ากันโดย-วิธีจับสลาก (สําหรับประชากรที่ไม่ใหญ่มากนัก) -ตาราง
เลขสุ่ม (สําหรับประชากรขนาดใหญ่)
การสุ่มตัวอย่างแบบมีระบบ (Systematic Sampling)
-เป็นวิธีการสุ่มที่ใช้กับหน่วยตัวอย่างที่ได้มีการเรียงลําดับอย่างเป็นระบบอย่างใดอย่างหนึ่ง เช่น ลําดับเลขของหนังสือในห้องสมุด
การสุ่มตัวอย่างแบบชั้นภูมิ (Stratified Sampling)
วิธีการสุ่มสําหรับหน่วยตัวอย่างที่มีลักษณะแตกต่างกัน การสุ่มต้องแบ่งประชากรออกเป็นส่วนย่อยแต่ละส่วน (เป็นชั้นภูมิ) แล้วเลือกตัวอย่างจากแต่ละชั้นภูมิ
เพราะมีความเชื่อว่าประชากรมีความแตกต่างกันมากตามตัวแปรคุณลักษณะ เช่น เพศ ระดับชั้นเรียน ระดับการศึกษา ศาสนา ฯลฯ
การสุ่มตัวอย่างแบบกลุ่ม (Cluster Sampling)
เป็นวิธีการสุ่มตัวอย่างที่มีการรวมหน่วยตัวอย่างเข้าไว้เป็นกลุ่ม จํานวน N กลุ่ม แล้วทําการสุ่มเลือกกลุ่มของหน่วยตัวอย่างมา n กลุ่ม
การสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้น (Multi-stage Sampling)
การสุ่มตัวอย่างที่ทําเป็นขั้นๆ หลายขั้นตอน ซึ่งแต่ละขั้นจะใช้แผนการสุ่มแบบใดก็ได้ ข้อมูลจะถูกเก็บจากหน่วยตัวอย่างย่อยที่สุ่มเลือกมาได้ในขั้นสุดท้าย
Information and Communication Technology for Education.
ทำไมต้องใช้กลุ่มตัวอย่าง
ประหยัดเวลา แรงงาน
ประหยัดงบประมาณ ค่าใช้จ่าย
เพิ่มประสิทธิภาพในการทำงาน (วิจัย)
สามารถตรวจสอบเพื่อป้องกันข้อผิดพลาดได้ดีกว่า
(เอมอร,2556)
Monday, September 14, 15
Information and Communication Technology for Education.
ลักษณะของกลุ่มตัวอย่างที่ดี
- ทุกหน่วยประชากรจะต้องมีโอกาสได้รับเลือกอย่าง
เท่าเทียมกัน
- สามารถให้ความมั่นใจในการสรุปอ้างถึงประชากร
ที่ศึกษาได้ หรือ สามารถเป็นตัวแทนของประชากร
ที่ศึกษาได้
(เอมอร,2556)
Monday, September 14, 15
Information and Communication Technology for Education.
ขนาดของกลุ่มตัวอย่าง
พิจารณาจากลักษณะของประชากร กล่าวคือ ถ้าประชากรที่จะศึกษามีลักษณะที่
คล้ายคลึงกัน (Homogeneity) กลุ่มตัวอย่างอาจจะมีขนาดเล็กได้ ในทางตรงกันข้าม ถ้า
ประชากรมีลักษณะแตกต่างกันมาก (Heterogeneity) กลุ่มตัวอย่างอาจจะต้องมีขนาดใหญ่ขึ้น
พิจารณาจากจำนวนตัวแปรที่จะศึกษา หากตัวแปรมีจำนวนมาก การใช้กลุ่ม
ตัวอย่างอาจจะต้องมีขนาดใหญ่เพียงพอต่อการศึกษาวิเคราะห์ตัวแปรต่างๆเหล่านั้น โดยเฉพาะ
อย่างยิ่ง หากมีการใช้สถิติในการวิเคราะห์ การใช้กลุ่มตัวอย่างเล็กเกินไป อาจจะพบปัญหาว่าไม่
สามารถใช้สถิติในการวิเคราะห์ข้อมูลได้
(เอมอร,2556)
Monday, September 14, 15
ขนาด ของกลุมตัวอยางมีความสำคัญอยางมากในการวิจัยเมื่อกลุมตัวอยางมีความ เหมาะสมขอมูลที่ไดจากกลุมตัวอยางมีมากพอก็จะทำใหผลงานวิจัยนั้นมี คุณคา  ขนาดของกลุม
ตัวอยางเทาไรจึงจะเหมาะสมกับการวิจัยขึ้นอยูกับการวิจัยวาจะยอมใหเกิดความคลาดเคลื่อนมากนอยเพียงใด จึงจะยอมรับได
Information and Communication Technology for Education.
ตัวอย่าง
Monday, September 14, 15
Information and Communication Technology for Education.
แบบแผนการวิจัย
Research design
Monday, September 14, 15
ใน การเขียนโครงการวิจัย เมื่อไดปญหา วัตถุประสงค และเอกสารที่เกี่ยวของกับการวิจัยแลว สิ่งที่ตองใหความสำคัญตามมา คือ แบบแผนการวิจัย ซึ่งเปรียบเสมือนพิมพเขียวที่บอก
ใหทราบวานักวิจัยจะตองทำอะไร เพื่อใหไดแผนการดำเนินการวิจัยที่เหมาะสมกับปญหา โดยเฉพาะในการวิจัยเชิงปริมาณที่มีการหลักการวางแผนที่เปนระบบ มีขั้นตอนที่ชัดเจน ใน
ขณะที่การวิจัยเชิงคุณภาพมีการวางแผนที่ยืดหยุนกวาและสามารถปรับเปลี่ยน แผนไดตลอดเวลาที่เก็บขอมูลเมื่อเห็นวาสิ่งที่วางแผนไมเหมาะสม
Information and Communication Technology for Education.
ความหมายของแบบแผนการวิจัย
แบบแผนการวิจัย หรือเรียกเป็นภาษาอังกฤษว่า
research design เป็นการวางแผนการดำเนินการ
วิจัย ที่ผสมผสานทฤษฎี แนวคิด ข้อมูล และแนวทาง
ดำเนินงานวิจัย เพื่อให้ได้คำตอบมาตอบประเด็นปัญหา
และวัตถุประสงค์การวิจัยอย่างมีประสิทธิภาพ   ดังนั้น
แบบแผนการวิจัยจึงแสดงให้เห็นถึงโครงสร้างปัญหาการ
วิจัยและ การวางแผนตรวจสอบโดยใช้ข้อมูลเชิงประจักษ์
เพื่อเชื่อมโยงสู่ปัญหาการวิจัย (Kerlinger,2000)
(เอมอร,2556)
Monday, September 14, 15
Information and Communication Technology for Education.
จากความหมายของแบบแผนการวิจัยดังกล่าว จะเห็นได้ว่า
แบบแผนการวิจัยเป็นเรื่องของการวางแผนวิธีการทำวิจัย โดย
เป็นการวางแผนเกี่ยวกับ
1.         การกำหนดตัวแปรและการสร้างเครื่องมือ (ตัวแปรที่
ต้องการเก็บข้อมูล, เครื่องมือ การตรวจสอบคุณภาพเครื่อง
มือ)
2.      วางแผนการเก็บรวบรวมข้อมูล (เก็บข้อมูลจากใครบ้าง
จำนวนเท่าไร เก็บอย่างไร)
3.      วางแผนการวิเคราะห์ข้อมูลหลังจากที่เก็บข้อมูลได้แล้ว
(วิเคราะห์อย่างไรให้ตรงวัตถุประสงค์และสมมติฐานการวิจัย
ใช้สถิติอะไร แปลความหมายอย่างไร นำเสนอผลการวิเคราะห์
อย่างไร)
(เอมอร,2556)
Monday, September 14, 15
Information and Communication Technology for Education.
จุดมุ่งหมายของแบบแผนการวิจัย
1)   เพื่อให้ได้แนวทางในการตอบปัญหาการวิจัยที่มี
ประสิทธิภาพ กล่าวคือ มีความตรงทั้งความตรงภายใน
และความตรงภายนอก ที่ประหยัดทรัพยากร
2)  เพื่อควบคุมความแปรปรวนที่เกิดขึ้นในการวิจัย
(variance control)ได้แก่ (นงลักษณ์ วิรัชชัย,2543)
(เอมอร,2556)
Monday, September 14, 15
Information and Communication Technology for Education.
ขั้นตอนของแบบแผนการวิจัย
การกำหนดรูปแบบการวิจัย
การกำหนดรูปแบบการวิจัย (model) สามารถกำหนดได้
หลายรูปแบบตามมิติหรือเกณฑ์ที่ใช้แบ่งแตกต่างกัน อย่าง
เช่น Kumar (1996) ได้จัดรูปแบบการวิจัยแบ่งตามมิติ
3 ด้าน ได้แก่ 1) การนำไปใช้ (application) 2) วัตถุประสงค์
(objectives) และ 3) ลักษณะของสารสนเทศ (Type of
information) จากการศึกษาตำราทางกาวิจัยทางสังคม
พฤติกรรมศาสตร์ พบว่า รูปแบบการวิจัยมีหลายประเภท
ส่วนใหญ่จะแตกต่างกันตาม มิติที่อ้างอิงในที่นี้จะขอนำเสนอ
รูปแบบการวิจัยตามมิติหรือเกณฑ์ 5 แบบ ดังนี้
(เอมอร,2556)
Monday, September 14, 15
ขั้นตอนของแบบแผนการวิจัย ประกอบดวยการกำหนดรูปแบบ ขอบเขต และแนวทางการวิจัย มีรายละเอียดดังตอไปนี้
Information and Communication Technology for Education.
พิจารณาจากการนำไปใช้ประโยชน์์
พิจารณาจากลักษณะของข้อมูล
พิจารณาจากชนิดของข้อมูล
พิจารณาจากลักษณะการศึกษาตัวแปร
พิจารณาจากระเบียบวิธีการวิจัย
รูปแบบการวิจัยตามมิติหรือเกณฑ์ 5 แบบ
(เอมอร,2556)
Monday, September 14, 15
Information and Communication Technology for Education.
พิจารณาจากการนำไปใช้ประโยชน์
สามารถแบ่งรูปแบบการวิจัย
เป็น 3 ประเภท
1.1    การวิจัยบริสุทธิ์ (Pure Research) หรือ การ
วิจัยพื้นฐาน(Basic Research)
1.2 การวิจัยประยุกต์ (Applied Research)
1.3 การวิจัยเชิงปฎิบัติการ (Action Research)
(เอมอร,2556)
Monday, September 14, 15
เป็นการวิจัยเพื่อหาทฤษฎี สูตร หรือสร้างกฎ เพื่อเป็นพื้นฐาน ในการศึกษา เรื่องอื่น ๆ ต่อไป
เป็นการวิจัยเพื่อนำผลไปทดลอง ใช้แก้ไขปัญหาอื่น ๆ ต่อไป เช่น การวิจัยทางแพทย์
เป็นการวิจัยประยุกต์ในลักษณะ หนึ่งที่มุ่งแก้ปัญหาเฉพาะหน้าเป็นเรื่อง ๆ ไป ผลของการวิจัยนี้ใช้ได้ใน ขอบเขตของปัญหานั้น ๆ เท่านั้น ไม่สามารถนำไปใช้ในสถานการณ์ อื่น ๆ
Information and Communication Technology for Education.
พิจารณาจากลักษณะของข้อมูล
ซึ่งสามารถแบ่งออกได้เป็น 2 ประเภท
การวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research)
เป็นการใช้ข้อมูลทางคณิตศาสตร์และสถิติมาช่วยในการ
ตอบคำถามการวิจัย
     การวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research)
เป็นการใช้ข้อมูลเชิงคุณลักษณะ และไม่ได้ใช้คณิตศาสตร์
หรือสถิติเข้ามาช่วย การเก็บข้อมูลทำได้โดย การใช้การ
สังเกต การสัมภาษณ์ การบันทึก วิเคราะห์ข้อมูลโดยการ
วิเคราะห์เนื้อหา และสรุปเป็นประเด็นเพื่อตอบปัญหาการ
วิจัย
(เอมอร,2556)
Monday, September 14, 15
Information and Communication Technology for Education.
พิจารณาจากลักษณะการศึกษาตัวแปร
แบ่งออกได้เป็น 3 ประเภท
- การวิจัยเชิงสำรวจ (Survey Research)
- การวิจัยย้อนหลัง (Expost Facto Research)
- การวิจัยเชิงทดลอง (Experimental Research)
(เอมอร,2556)
Monday, September 14, 15
เช่น การสำรวจทัศนคติ เพื่อหาข้อเท็จจริง
เป็นการศึกษาย้อนหลังในสิ่งที่เกิดขึ้นแล้ว เป็นการศึกษาหาความสัมพันธ์ของตัวแปร จากเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นอยู่ก่อน ส่วนใหญ่ใช้ในการศึกษาเช่นการศึกษาว่าเด็กสอบตกเกิดจาก
เหตุใดหรือมีบุคลิกภาพต่างกันอย่างไร
เป็นการศึกษาตัวแปร โดยการควบคุม มุ่งศึกษาอิทธิพลจากตัวแปรจัดกระทำ และสังเกตผลที่เกิดขึ้น
Information and Communication Technology for Education.
พิจารณาจากระเบียบวิธีการวิจัย
- การวิจัยเชิงประวัติศาสตร์
(Historical Research)
- การวิจัยเชิงบรรยาย
(Description Research)
- การวิจัยเชิงทดลอง
(Experimental Research)
(เอมอร,2556)
Monday, September 14, 15
Information and Communication Technology for Education.
การกำหนดขอบเขตการวิจัย
(delimitation)
การกำหนดขอบเขตของการวิจัย เป็นการกำหนด
ขอบเขตของประชากร กรอบแนวคิดในการวิจัย
จำนวนตัวแปรที่ศึกษา และช่วงระยะเวลาที่ศึกษา
ซึ่งควรสอดคล้องกับกรอบแนวคิดในการวิจัย
(สุวิมล ว่องวาณิช และนงลักษณ์ วิรัชชัย, 2546)
Monday, September 14, 15
ใน การเขียนขอบเขตของการวิจัยในโครงการวิจัย ควรระบุเหตุผลที่คัดเลือกตัวแปรบางตัวที่นำเขามาศึกษาในกรอบแนวคิด ตลอดจนเหตุผลที่ตัดตัวแปรบางตัวออกจากกรอบแนวคิดของการวิจัย ไมค
ระบุแตชื่อตัวแปรที่ศึกษาวาคืออะไรเทานั้น แตตองขยายความใหเห็นแนวคิดเบื้องหลังเพื่อใหผูอานงานวิจัยเขาใจวิธี คิดหรือทฤษฎีที่ผูวิจัยใชเปนฐานในการกำหนดกรอบแนวคิดไดชัดเจน
                   สำหรับกรอบแนวคิดที่เกี่ยวกับประชากรก็เชนเดียวกัน ผูวิจัยตองอธิบายกลุมเปาหมายที่เกี่ยวของวาจริงๆแลวครอบคลุมคนกลุมใดและในการศึกษาครั้งนี้ทำไมจึงจำกัดเฉพาะคนกลุมนั้น เช
ทำไมสนใจศึกษาเฉพาะคนในกรุงเทพมหานคร หรือทำไมจึงสนใจศึกษาเฉพาะมหาวิทยาลัยเอกชน
Information and Communication Technology for Education.
การกำหนดแนวทางการวิจัย
(procedures)
การกำหนดแนวทางการวิจัยจะครอบคลุม 3  ส่วนหลัก   
ได้แก่ การออกแบบการวัดตัวแปร (measurement design)
การออกแบบการสุ่มตัวอย่าง (sampling design) และการ
ออกแบบการวิเคราะห์ข้อมูล (analysis design)
 
(เอมอร,2556)
Monday, September 14, 15
Information and Communication Technology for Education.
เกณฑ์ที่ใช้สำหรับแบบแผนการวิจัย
1.แบบแผนการวิจัยนั้น ทำให้ได้แนวทางการวิจัยที่จะได้คำ
ตอบตรงกับประเด็นปัญหาที่ต้องการวิจัย
2.แบบแผนการวิจัยนั้นทำให้ได้ผลงานวิจัยที่มีความตรง ทั้ง
ความตรงภายใน (internal validity) และความตรงภายนอก
(external validity)
3.แบบแผนการวิจัยนั้น ต้องมุ่งใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างเหมาะ
สมและใช้อย่างมีประสิทธิภาพ ตลอดจนได้ประโยชน์เหมาะสม
กับเหตุการณ์และเวลา
(เอมอร,2556)
Monday, September 14, 15
ความตรงภายใน (internal validity) หมายถึง การที่ผลของการเปลี่ยนแปลงของตัวแปรตามเปนผลมาจากตัวแปรอิสระใชในการศึกษาเทานั้น ไมไดมีผลมาจากตัวแปรอื่น ๆ นอกจากท
กำหนดในการวิจัย งานวิจัยที่จะมีความตรงภายในสูง จะตองมีความคลาดเคลื่อนของการวัดคาตัวแปรต่ำ และจะตองสามารถควบคุมตัวแปรเกิน และตัวแปรแทรกซอนที่จะมีอิทธิพลต
ตัวแปรตามไดเปนอยางดี
ความตรงภายนอก (internal validity) หมายถึง การที่ผลการวิจัยสามารถสรุปผลอางอิงกลับไปยังเนื้อหา สถานการณที่ใกลเคียงกันและประชากรไดอยางถูกตอง ในกรณีของการสรุป
อางอิงกลับไปยังประชากร หมายความวา กลุมตัวอยางที่ใชในการศึกษาจะตองเปนตัวแทนที่ดีของประชากร มีการเลือกใชสถิติสรุปอางอิงที่เหมาะสม และแปลความหมายของการ
วิเคราะหทางสถิติไดอยางถูกตอง
Information and Communication Technology for Education.
  แบบแผนการวิจัยจะต้องคำนึงถึงสิ่ง
ต่าง ๆ ดังนี้
วัตถุประสงค์การวิจัย
สมมติฐานการวิจัยและตัวแปรที่เกี่ยวข้อง
Monday, September 14, 15
วัตถุประสงค์การวิจัย  การวิจัยครั้งนี้ต้องการบรรยายสภาพ หรืออธิบายความสัมพันธ์ หรืออธิบายผลระหว่างตัวแปร หรือต้องการทำนาย หรือต้องการควบคุม ผู้วิจัยจะต้องออกแบบการวิจัยให้
สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ดังกล่าว
สมมติฐานการวิจัยและตัวแปรที่เกี่ยวของ  การวิจัยทางสังคมศาสตรมีการตั้งสมมติฐานการวิจัย ซึ่งเปนการคาดคะเนคำตอบของปญหาวิจัยอยางมีเหตุมีผล จากนั้นจึงทำการเก็บขอมูล
เชิงประจักษมาวิเคราะหเพื่อพิสูจนสมมติฐานดังกลาว สมมติฐานการวิจัยนี้ไมใชสิ่งที่นักวิจัยคิดขึ้นมาเอง แตจะตองเปนผลที่ไดหลังจากที่นักวิจัยไดทบทวนเอกสารที่เกี่ยวของอยาง
ละเอียด จนเห็นแนวทางวาผลการวิจัยนาจะเปนอยางไร ดังนั้น ทั้งวัตถุประสงคการวิจัยและสมมติฐานจะทำหนาที่เปนโจทยในการวิจัย
Information and Communication Technology for Education.
ข้อจำกัดในการวิจัย
- งบประมาณ ในกรณีที่มีงบประมาณจำกัด การวางแผนจึงต้อง
พิจารณาว่าจะลดหรือเพิ่มงบประมาณส่วนใด โดยให้กระเทือนต่อ
ผลของการวิจัยน้อยที่สุด
- เวลาการทำงานวิจัย สถานการณ์ทางสังคมมีการเปลี่ยนแปลง
อยู่ตลอดเวลา งานวิจัยที่จะมีประโยชน์ต้องเป็นงานวิจัยที่ให้ผลใน
ช่วงเวลาที่เหตุการณืกำลังดำเนินการอยู่ นอกจากนี้เวลายังเข้า
มามีบทบาทในงานวิจัยในกรณีที่การวิจัยนั้นต้องมีการติดตามผล
เป็นระยะเวลาที่ยาวนานพอสมควร จึงจะเห็นผลที่เกิดขึ้น
- บุคลากร ความพร้อมของบุคลากรในงานวิจัย จะต้องพิจารณา
ทั้งความรู้และจำนวนบุคลากรที่ร่วมทำงานวิจัย เพราะส่วนนี้อาจ
เป็นส่วนที่ทำให้ต้องลดขอบเขตของการวิจัยลงไปได้
  (เอมอร,2556)
Monday, September 14, 15
Information and Communication Technology for Education.
แบบแผนการวิจัย (research design) เป็นการกำหนดรูป
แบบ ขอบเขต และแนวทางการวิจัย เพื่อให้ได้คำตอบหรือ
ข้อความรู้ตามปัญหาการวิจัยอย่างมีประสิทธิภาพ กล่าวคือ
ได้คำตอบที่มีความตรงภายใน (internal validity) ความ
ตรงภายนอก (external validity) และประหยัดทรัพยากร
องค์ประกอบสำคัญของแบบแผนการวิจัยมี 3 ส่วน ได้แก่
การออกแบบการวัดตัวแปร (measurement design)
การออกแบบการสุ่มตัวอย่าง (sampling design) และการ
ออกแบบการวิเคราะห์ข้อมูล (analysis design)  การ
กำหนดแบบแผนการวิจัยที่ดี จะทำให้ผู้วิจัยมีทิศทางและ
สามารถนำมาใช้เขียนระเบียบวิธีวิจัยในโครงการวิจัยได้อย่าง
มีประสิทธิภาพ
(เอมอร,2556)
สรุป
Monday, September 14, 15
นงลักษณ์ วิรัชชัย.2543. พรมแดนความรู้ด้านการวิจัยและสถิติ. ชลบุรี:วิทยาลัยการบริหารรัฐกิจ
         มหาวิทยาลัยบูรพา.
บุญธรรม  กิจปรีดาบริสุทธิ์. 2540.ระเบียบวิธีการวิจัยทางสังคมศาสตร์.พิมพ์ครั้งที่7. กรุงเทพมหานคร :โรง
        พิมพ์และปกเจริญผล.
สุวิมล  ว่องวาณิช และนงลักษณ์ วิรัชชัย.2546.แนวทางการให้คําปรึกษาวิทยานิพนธ์.กรุงเทพมหานคร :
        ศูนย์ตําราและเอกสารทางวิชาการ คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยลัย.
สุวิมล ติรกานันท. 2543.ระเบียบวิธีการวิจัยทางสังคมศาสตร: แนวทางสูการปฏิบัติ. พิมพครั้งที่2.
        กรุงเทพฯ :โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
Balnaves,M.,and Caputi,P. 2001.Introduction to Quantitative Research Methods. London: Sage 
          Publications.
Blaikie,N. 2000.Designing Social Research. Oxford: Blackwell Publishers Ltd.
Cohen ,L.,and Manion,L. 1989. Research Method in Education.3rdedition.London:Routledge.
Kerlinger,F.N.,and Lee,H.B. 2000. Foundations of Behavioral Research.4th edition.U.S.A.:Thomson 
          Learning,Inc.
Kumar,R. 1996. Research Methodology. London: Sage Publications.
 
Monday, September 14, 15

More Related Content

What's hot

การวิจัยทางสังคมศาสตร์ (1)
การวิจัยทางสังคมศาสตร์ (1)การวิจัยทางสังคมศาสตร์ (1)
การวิจัยทางสังคมศาสตร์ (1)
Maiseun Luangphavy
 
สัปดาห์ที่ 7 8 (2 dec 2010)
สัปดาห์ที่ 7 8 (2 dec 2010)สัปดาห์ที่ 7 8 (2 dec 2010)
สัปดาห์ที่ 7 8 (2 dec 2010)
Sani Satjachaliao
 
9 รูปแบบการวิจัย
9 รูปแบบการวิจัย9 รูปแบบการวิจัย
9 รูปแบบการวิจัย
guest9e1b8
 
การสำรวจความคิดเห็น
การสำรวจความคิดเห็นการสำรวจความคิดเห็น
การสำรวจความคิดเห็น
Rungnapha Thophorm
 
ขอบข่ายและประเภทโครงงาน
ขอบข่ายและประเภทโครงงานขอบข่ายและประเภทโครงงาน
ขอบข่ายและประเภทโครงงาน
Pennapa Boopphacharoensok
 
เครื่องมือการวิชัยเชิงคุณภาพ
เครื่องมือการวิชัยเชิงคุณภาพเครื่องมือการวิชัยเชิงคุณภาพ
เครื่องมือการวิชัยเชิงคุณภาพ
Aimy Blythe
 
การสร้างเครื่องมือและการเก็บข้อมูล
การสร้างเครื่องมือและการเก็บข้อมูลการสร้างเครื่องมือและการเก็บข้อมูล
การสร้างเครื่องมือและการเก็บข้อมูล
Ultraman Taro
 

What's hot (20)

สถิติสำหรับการวิจัย
สถิติสำหรับการวิจัยสถิติสำหรับการวิจัย
สถิติสำหรับการวิจัย
 
การวิจัยทางสังคมศาสตร์ (1)
การวิจัยทางสังคมศาสตร์ (1)การวิจัยทางสังคมศาสตร์ (1)
การวิจัยทางสังคมศาสตร์ (1)
 
สถิติเพื่อการวิจัย
สถิติเพื่อการวิจัยสถิติเพื่อการวิจัย
สถิติเพื่อการวิจัย
 
สถิติเพื่อการวิจัย
สถิติเพื่อการวิจัยสถิติเพื่อการวิจัย
สถิติเพื่อการวิจัย
 
สัปดาห์ที่ 7 8 (2 dec 2010)
สัปดาห์ที่ 7 8 (2 dec 2010)สัปดาห์ที่ 7 8 (2 dec 2010)
สัปดาห์ที่ 7 8 (2 dec 2010)
 
ทำวิจัยไปทำไม
ทำวิจัยไปทำไมทำวิจัยไปทำไม
ทำวิจัยไปทำไม
 
02 เครื่องมือในการวิจัย
02 เครื่องมือในการวิจัย02 เครื่องมือในการวิจัย
02 เครื่องมือในการวิจัย
 
06
0606
06
 
ตัวแปรและสมมติฐานการวิจัย
ตัวแปรและสมมติฐานการวิจัยตัวแปรและสมมติฐานการวิจัย
ตัวแปรและสมมติฐานการวิจัย
 
9 รูปแบบการวิจัย
9 รูปแบบการวิจัย9 รูปแบบการวิจัย
9 รูปแบบการวิจัย
 
การสำรวจความคิดเห็น
การสำรวจความคิดเห็นการสำรวจความคิดเห็น
การสำรวจความคิดเห็น
 
ขอบข่ายและประเภทโครงงาน
ขอบข่ายและประเภทโครงงานขอบข่ายและประเภทโครงงาน
ขอบข่ายและประเภทโครงงาน
 
ppt
pptppt
ppt
 
รูปแบบการวิจัย
รูปแบบการวิจัยรูปแบบการวิจัย
รูปแบบการวิจัย
 
ติวข้อสอบ Is จากอาจารย์กลุ่ม3
ติวข้อสอบ Is จากอาจารย์กลุ่ม3ติวข้อสอบ Is จากอาจารย์กลุ่ม3
ติวข้อสอบ Is จากอาจารย์กลุ่ม3
 
เครื่องมือการวิชัยเชิงคุณภาพ
เครื่องมือการวิชัยเชิงคุณภาพเครื่องมือการวิชัยเชิงคุณภาพ
เครื่องมือการวิชัยเชิงคุณภาพ
 
2.วิจัยเชิงคุณภาพ (ดร.ปกรณ์ชัย สุพัฒน์ & ผศ.ชุติญา จงมีเสร็จ)
2.วิจัยเชิงคุณภาพ (ดร.ปกรณ์ชัย สุพัฒน์ & ผศ.ชุติญา จงมีเสร็จ)2.วิจัยเชิงคุณภาพ (ดร.ปกรณ์ชัย สุพัฒน์ & ผศ.ชุติญา จงมีเสร็จ)
2.วิจัยเชิงคุณภาพ (ดร.ปกรณ์ชัย สุพัฒน์ & ผศ.ชุติญา จงมีเสร็จ)
 
EXPECTATION, USAGE BEHAVIOR AND SATISFACTION TOWARDS INSTAGRAM OF PEOPLE IN B...
EXPECTATION, USAGE BEHAVIOR AND SATISFACTION TOWARDS INSTAGRAM OF PEOPLE IN B...EXPECTATION, USAGE BEHAVIOR AND SATISFACTION TOWARDS INSTAGRAM OF PEOPLE IN B...
EXPECTATION, USAGE BEHAVIOR AND SATISFACTION TOWARDS INSTAGRAM OF PEOPLE IN B...
 
บทที่4
บทที่4บทที่4
บทที่4
 
การสร้างเครื่องมือและการเก็บข้อมูล
การสร้างเครื่องมือและการเก็บข้อมูลการสร้างเครื่องมือและการเก็บข้อมูล
การสร้างเครื่องมือและการเก็บข้อมูล
 

Similar to PPT population kriangkrai

ICT to Enhance Non-formal Education in Multicultural Society
ICT to Enhance Non-formal Education in Multicultural SocietyICT to Enhance Non-formal Education in Multicultural Society
ICT to Enhance Non-formal Education in Multicultural Society
Nikma Hj
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
Kookkik Nano
 
สื่อการสอน.Ppt
 สื่อการสอน.Ppt  สื่อการสอน.Ppt
สื่อการสอน.Ppt
poonick
 
สื่อการสอน.Ppt
 สื่อการสอน.Ppt  สื่อการสอน.Ppt
สื่อการสอน.Ppt
poonick
 

Similar to PPT population kriangkrai (16)

รายงานความก้าวหน้า3
รายงานความก้าวหน้า3รายงานความก้าวหน้า3
รายงานความก้าวหน้า3
 
ใบงานท 4-8 (1)
ใบงานท   4-8 (1)ใบงานท   4-8 (1)
ใบงานท 4-8 (1)
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
ICT to Enhance Non-formal Education in Multicultural Society
ICT to Enhance Non-formal Education in Multicultural SocietyICT to Enhance Non-formal Education in Multicultural Society
ICT to Enhance Non-formal Education in Multicultural Society
 
PPT qualitative research kriangkrai
PPT qualitative research kriangkraiPPT qualitative research kriangkrai
PPT qualitative research kriangkrai
 
สื่อการสอนประเภทกิจกรรม
สื่อการสอนประเภทกิจกรรมสื่อการสอนประเภทกิจกรรม
สื่อการสอนประเภทกิจกรรม
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
We Will Go to The Zoo
We Will Go to The ZooWe Will Go to The Zoo
We Will Go to The Zoo
 
สื่อการสอน.Ppt
 สื่อการสอน.Ppt  สื่อการสอน.Ppt
สื่อการสอน.Ppt
 
สื่อการสอน.Ppt
 สื่อการสอน.Ppt  สื่อการสอน.Ppt
สื่อการสอน.Ppt
 
5
55
5
 
5
55
5
 
5
55
5
 
การเก็บรวบรวมข้อมูล
การเก็บรวบรวมข้อมูลการเก็บรวบรวมข้อมูล
การเก็บรวบรวมข้อมูล
 
3
33
3
 
ใบงานที่4 เรื่องโครงงานประเภท "การพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา"
ใบงานที่4 เรื่องโครงงานประเภท "การพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา"ใบงานที่4 เรื่องโครงงานประเภท "การพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา"
ใบงานที่4 เรื่องโครงงานประเภท "การพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา"
 

PPT population kriangkrai

  • 1. Information and Communication Technology for Education. เกรียงไกร พละสนธิ. Monday, September 14, 15 หัวข้อการนำเสนอ การกำหนดกลุ่มประชากร การกำหนดกลุ่มตัวอย่าง แบบแผนของการวิจัย
  • 2. Information and Communication Technology for Education. ประชากร POPULATION Monday, September 14, 15 ประชากร POPULATION
  • 3. Information and Communication Technology for Education. ประชากร หมายถึง ในทางการวิจัย ประชากร หมายถึง กลุ่มสมาชิกทั้งหมด ที่ต้องการ หรือสนใจศึกษา อาจจะเป็นสิ่งมีชีวิตหรือไม่มี ชีวิต ไม่ว่าจะเป็น บุคคล กลุ่ม บุคคล องค์กรต่างๆ สัตว์ สิ่งของ หรือเวลา... (เอมอร,2556) โดยใช้สัญลักษณ์ Monday, September 14, 15 เชนถาสนใจ ความคิดเห็นของคนไทยที่มีตอการใช facebook ประชากร คือคนไทยทุกคน หรือถาสนใจอายุการใชงานของเครื่องคอมพิวเตอรยี่หอหนึ่ง ประชากรคือเครื่องคอมพิวเตอร ยี่หอนั้นทุกเครื่อง 
  • 4. Information and Communication Technology for Education. การกำหนด ขอบเขตของ ประชากร(เอมอร,2556) Monday, September 14, 15 การกําหนดขอบเขตของประชากร -การกําหนดขอบเขตประชากรโดยอาศัยขอบเขตทางภูมิศาสตร์ เช่นยึดเอาแนวถนน หรือแม่น้ํา เทือกเขา เป็นตัวกําหนดประชากร -การกําหนดขอบเขตประชากรโดยอาศัยขอบเขตการปกครอง เช่น ยึดตามเขต หมู่บ้าน ตําบล อําเภอ จังหวัด ภาค หรือ ประเทศเป็นตัวกําหนดประชากร -การกําหนดขอบเขตประชากรโดยยึดเอาช่วงเวลาเป็นเกณฑ์ เช่น ระหว่าง ปี พ.ศ. 2501 ถึง 2530 หรือ ผู้ที่มีอายุระหว่าง 15 ถึง 45 ปี บริบูรณ์ เป็นต้น -การกําหนดขอบเขตประชากร โดยยึดเอาลักษณะอื่นๆ เป็นเกณฑ์ เช่น รายได้ , การศึกษา , เพศ , อาชีพ , ลักษณะความเจ็บป่วย หรือพิการ
  • 5. Information and Communication Technology for Education. เสียเวลา ค่าใช้จ่ายสูง Monday, September 14, 15 ในการวิจัยถา เก็บขอมูลกับประชากรทุกหนวย อาจทำใหเสียเวลาและคาใชจายที่สูงมาก และบางครั้งเปนเรื่องที่ตองตัดสินใจภายในเวลาจำกัด  การเลือกศึกษาเฉพาะบางสวนของ ประชากรจึงเปนเรื่องที่มีความจำเปน เรียกวากลุมตัวอยาง
  • 6. Information and Communication Technology for Education. กลุ่มตัวอย่าง SAMPLE Monday, September 14, 15
  • 7. Information and Communication Technology for Education. กลุ่มตัวอย่าง หมายถึง ส่วนหนึ่งของประชากร ที่นำมาศึกษาซึ่งเป็นตัวแทน ของประชากร หรือกลุ่ม สมาชิกที่ถูกเลือกมาจาก ประชากรด้วยวิธีการใดวิธี การหนึ่งเพื่อเป็นตัวแทนใน การศึกษาและเก็บข้อมูล (เอมอร,2556) โดยใช้สัญลักษณ์ Monday, September 14, 15 เช่น ต้องการหาอายุเฉลี่ยของคนไทย ตัวอย่างคือคนไทยบางคนที่ถูกเลือกเป็นตัวอย่าง หรือสนใจอายุการใช้งานเฉลี่ยของเครื่องคอมพิวเตอร์ห้อ B ประชากร คือ เครื่องคอมพิวเตอร์ยี่ห้อ B ทุกเครื่อง ตัวอย่างคือ เครื่องคอมพิวเตอร์ยี่ห้อ B บางเครื่องที่ถูกเลือกเป็นตัวอย่าง เป็นต้น
  • 8. Information and Communication Technology for Education. การเลือกกลุ่มตัวอย่าง - การเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบไม่เป็นไปตามโอกาส ทางสถิติ (Non probability sample) - การเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบที่เป็นไปตามโอกาส ทางสถิติ (Probability Sample) (เอมอร,2556) Monday, September 14, 15
  • 9. Information and Communication Technology for Education. การเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบไม่เป็นไปตามโอกาสทางสถิติ (Non probability sample) - กลุ่มตัวอย่างตามสะดวก (Convenience Sample) - กลุ่มตัวอย่างแบบโควต้า (Quota Sample) - กลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง (Purposive Sample) (เอมอร,2556) Monday, September 14, 15 กลุมตัวอยางตามสะดวก (Convenience Sample) หมายถึงการเก็บตัวอย่างไม่ยุงยากซับซ้อนหรือเสียค่าใช้จ่ายมากนัก เช่นโทรศัพท์ถามความเห็น การออกจดหมายส่งแบบสอบถาม เป็นต้น กลุมตัวอยางแบบโควตา (Quota Sample) เปนการไดกลุมตัวอยางมา โดยนำเอาสัดสวนของประชากรมาพิจารณาดวย เช่น การศึกษาความคิดเห็นของนักศึกษาต่อหลักสูตรใหม่ ซึ่งในมหาวิยาลัยที่จะศึกษาประกอบด้วย 4 คณะวิชา การเก็บกลุ่มตัวอย่างจำเป็นต้องพิจารณา สัดส่วนของนักศึกษาในแต่ละคณะด้วย เพื่อให้กลุ่มตัวอย่างได้กระจายไปในทุกคณะอย่างทั่วถึง กลุมตัวอยางแบบเจาะจง (Purposive Sample) เปนการใชกับกลุมตัวอยางที่มีลักษณะเฉพาะ เพื่อใหเปนไปตามวัตถุประสงคของการวิจัย เช่น การสำรวจภาวะตลาดการค้า อาจจะต้องเลือกเอาช่วงเวลาที่ภาวะการค้าเป็นไปแบบกลางๆ คือไม่สูง หรือต่ำจนเกินไป หรือการทดสอบการ ใช้หลักสูตร ซึ่งจะต้องใช้นักเรียนทั้งที่เรียนดี ปานกลาง และต่ำ จึงจำเป็นต้องใช้วิธีการแบบเจาะจงเพื่อให้ได้คนทั้งสามกลุ่มแน่นอน
  • 10. Information and Communication Technology for Education. การสุ่มตัวอย่างแบบง่าย (Simple Random Sampling) การสุ่มตัวอย่างแบบมีระบบ (Systematic Sampling) การสุ่มตัวอย่างแบบชั้นภูมิ (Stratified Sampling) การสุ่มตัวอย่างแบบกลุ่ม (Cluster Sampling) การสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้น (Multi-stage Sampling) การเลือกกลุ่ม ตัวอย่างแบบที่ เป็นไปตาม โอกาสทาง สถิติ (Probability Sample) (เอมอร,2556) Monday, September 14, 15 คือการสุ่มเลือกหน่วยตัวอย่างจากประชากรทั้งหมด โดยให้แต่ละตัวอย่าง มีโอกาสเลือกเท่ากันโดย-วิธีจับสลาก (สําหรับประชากรที่ไม่ใหญ่มากนัก) -ตาราง เลขสุ่ม (สําหรับประชากรขนาดใหญ่) การสุ่มตัวอย่างแบบมีระบบ (Systematic Sampling) -เป็นวิธีการสุ่มที่ใช้กับหน่วยตัวอย่างที่ได้มีการเรียงลําดับอย่างเป็นระบบอย่างใดอย่างหนึ่ง เช่น ลําดับเลขของหนังสือในห้องสมุด การสุ่มตัวอย่างแบบชั้นภูมิ (Stratified Sampling) วิธีการสุ่มสําหรับหน่วยตัวอย่างที่มีลักษณะแตกต่างกัน การสุ่มต้องแบ่งประชากรออกเป็นส่วนย่อยแต่ละส่วน (เป็นชั้นภูมิ) แล้วเลือกตัวอย่างจากแต่ละชั้นภูมิ เพราะมีความเชื่อว่าประชากรมีความแตกต่างกันมากตามตัวแปรคุณลักษณะ เช่น เพศ ระดับชั้นเรียน ระดับการศึกษา ศาสนา ฯลฯ การสุ่มตัวอย่างแบบกลุ่ม (Cluster Sampling) เป็นวิธีการสุ่มตัวอย่างที่มีการรวมหน่วยตัวอย่างเข้าไว้เป็นกลุ่ม จํานวน N กลุ่ม แล้วทําการสุ่มเลือกกลุ่มของหน่วยตัวอย่างมา n กลุ่ม การสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้น (Multi-stage Sampling) การสุ่มตัวอย่างที่ทําเป็นขั้นๆ หลายขั้นตอน ซึ่งแต่ละขั้นจะใช้แผนการสุ่มแบบใดก็ได้ ข้อมูลจะถูกเก็บจากหน่วยตัวอย่างย่อยที่สุ่มเลือกมาได้ในขั้นสุดท้าย
  • 11. Information and Communication Technology for Education. ทำไมต้องใช้กลุ่มตัวอย่าง ประหยัดเวลา แรงงาน ประหยัดงบประมาณ ค่าใช้จ่าย เพิ่มประสิทธิภาพในการทำงาน (วิจัย) สามารถตรวจสอบเพื่อป้องกันข้อผิดพลาดได้ดีกว่า (เอมอร,2556) Monday, September 14, 15
  • 12. Information and Communication Technology for Education. ลักษณะของกลุ่มตัวอย่างที่ดี - ทุกหน่วยประชากรจะต้องมีโอกาสได้รับเลือกอย่าง เท่าเทียมกัน - สามารถให้ความมั่นใจในการสรุปอ้างถึงประชากร ที่ศึกษาได้ หรือ สามารถเป็นตัวแทนของประชากร ที่ศึกษาได้ (เอมอร,2556) Monday, September 14, 15
  • 13. Information and Communication Technology for Education. ขนาดของกลุ่มตัวอย่าง พิจารณาจากลักษณะของประชากร กล่าวคือ ถ้าประชากรที่จะศึกษามีลักษณะที่ คล้ายคลึงกัน (Homogeneity) กลุ่มตัวอย่างอาจจะมีขนาดเล็กได้ ในทางตรงกันข้าม ถ้า ประชากรมีลักษณะแตกต่างกันมาก (Heterogeneity) กลุ่มตัวอย่างอาจจะต้องมีขนาดใหญ่ขึ้น พิจารณาจากจำนวนตัวแปรที่จะศึกษา หากตัวแปรมีจำนวนมาก การใช้กลุ่ม ตัวอย่างอาจจะต้องมีขนาดใหญ่เพียงพอต่อการศึกษาวิเคราะห์ตัวแปรต่างๆเหล่านั้น โดยเฉพาะ อย่างยิ่ง หากมีการใช้สถิติในการวิเคราะห์ การใช้กลุ่มตัวอย่างเล็กเกินไป อาจจะพบปัญหาว่าไม่ สามารถใช้สถิติในการวิเคราะห์ข้อมูลได้ (เอมอร,2556) Monday, September 14, 15 ขนาด ของกลุมตัวอยางมีความสำคัญอยางมากในการวิจัยเมื่อกลุมตัวอยางมีความ เหมาะสมขอมูลที่ไดจากกลุมตัวอยางมีมากพอก็จะทำใหผลงานวิจัยนั้นมี คุณคา  ขนาดของกลุม ตัวอยางเทาไรจึงจะเหมาะสมกับการวิจัยขึ้นอยูกับการวิจัยวาจะยอมใหเกิดความคลาดเคลื่อนมากนอยเพียงใด จึงจะยอมรับได
  • 14. Information and Communication Technology for Education. ตัวอย่าง Monday, September 14, 15
  • 15. Information and Communication Technology for Education. แบบแผนการวิจัย Research design Monday, September 14, 15 ใน การเขียนโครงการวิจัย เมื่อไดปญหา วัตถุประสงค และเอกสารที่เกี่ยวของกับการวิจัยแลว สิ่งที่ตองใหความสำคัญตามมา คือ แบบแผนการวิจัย ซึ่งเปรียบเสมือนพิมพเขียวที่บอก ใหทราบวานักวิจัยจะตองทำอะไร เพื่อใหไดแผนการดำเนินการวิจัยที่เหมาะสมกับปญหา โดยเฉพาะในการวิจัยเชิงปริมาณที่มีการหลักการวางแผนที่เปนระบบ มีขั้นตอนที่ชัดเจน ใน ขณะที่การวิจัยเชิงคุณภาพมีการวางแผนที่ยืดหยุนกวาและสามารถปรับเปลี่ยน แผนไดตลอดเวลาที่เก็บขอมูลเมื่อเห็นวาสิ่งที่วางแผนไมเหมาะสม
  • 16. Information and Communication Technology for Education. ความหมายของแบบแผนการวิจัย แบบแผนการวิจัย หรือเรียกเป็นภาษาอังกฤษว่า research design เป็นการวางแผนการดำเนินการ วิจัย ที่ผสมผสานทฤษฎี แนวคิด ข้อมูล และแนวทาง ดำเนินงานวิจัย เพื่อให้ได้คำตอบมาตอบประเด็นปัญหา และวัตถุประสงค์การวิจัยอย่างมีประสิทธิภาพ   ดังนั้น แบบแผนการวิจัยจึงแสดงให้เห็นถึงโครงสร้างปัญหาการ วิจัยและ การวางแผนตรวจสอบโดยใช้ข้อมูลเชิงประจักษ์ เพื่อเชื่อมโยงสู่ปัญหาการวิจัย (Kerlinger,2000) (เอมอร,2556) Monday, September 14, 15
  • 17. Information and Communication Technology for Education. จากความหมายของแบบแผนการวิจัยดังกล่าว จะเห็นได้ว่า แบบแผนการวิจัยเป็นเรื่องของการวางแผนวิธีการทำวิจัย โดย เป็นการวางแผนเกี่ยวกับ 1.         การกำหนดตัวแปรและการสร้างเครื่องมือ (ตัวแปรที่ ต้องการเก็บข้อมูล, เครื่องมือ การตรวจสอบคุณภาพเครื่อง มือ) 2.      วางแผนการเก็บรวบรวมข้อมูล (เก็บข้อมูลจากใครบ้าง จำนวนเท่าไร เก็บอย่างไร) 3.      วางแผนการวิเคราะห์ข้อมูลหลังจากที่เก็บข้อมูลได้แล้ว (วิเคราะห์อย่างไรให้ตรงวัตถุประสงค์และสมมติฐานการวิจัย ใช้สถิติอะไร แปลความหมายอย่างไร นำเสนอผลการวิเคราะห์ อย่างไร) (เอมอร,2556) Monday, September 14, 15
  • 18. Information and Communication Technology for Education. จุดมุ่งหมายของแบบแผนการวิจัย 1)   เพื่อให้ได้แนวทางในการตอบปัญหาการวิจัยที่มี ประสิทธิภาพ กล่าวคือ มีความตรงทั้งความตรงภายใน และความตรงภายนอก ที่ประหยัดทรัพยากร 2)  เพื่อควบคุมความแปรปรวนที่เกิดขึ้นในการวิจัย (variance control)ได้แก่ (นงลักษณ์ วิรัชชัย,2543) (เอมอร,2556) Monday, September 14, 15
  • 19. Information and Communication Technology for Education. ขั้นตอนของแบบแผนการวิจัย การกำหนดรูปแบบการวิจัย การกำหนดรูปแบบการวิจัย (model) สามารถกำหนดได้ หลายรูปแบบตามมิติหรือเกณฑ์ที่ใช้แบ่งแตกต่างกัน อย่าง เช่น Kumar (1996) ได้จัดรูปแบบการวิจัยแบ่งตามมิติ 3 ด้าน ได้แก่ 1) การนำไปใช้ (application) 2) วัตถุประสงค์ (objectives) และ 3) ลักษณะของสารสนเทศ (Type of information) จากการศึกษาตำราทางกาวิจัยทางสังคม พฤติกรรมศาสตร์ พบว่า รูปแบบการวิจัยมีหลายประเภท ส่วนใหญ่จะแตกต่างกันตาม มิติที่อ้างอิงในที่นี้จะขอนำเสนอ รูปแบบการวิจัยตามมิติหรือเกณฑ์ 5 แบบ ดังนี้ (เอมอร,2556) Monday, September 14, 15 ขั้นตอนของแบบแผนการวิจัย ประกอบดวยการกำหนดรูปแบบ ขอบเขต และแนวทางการวิจัย มีรายละเอียดดังตอไปนี้
  • 20. Information and Communication Technology for Education. พิจารณาจากการนำไปใช้ประโยชน์์ พิจารณาจากลักษณะของข้อมูล พิจารณาจากชนิดของข้อมูล พิจารณาจากลักษณะการศึกษาตัวแปร พิจารณาจากระเบียบวิธีการวิจัย รูปแบบการวิจัยตามมิติหรือเกณฑ์ 5 แบบ (เอมอร,2556) Monday, September 14, 15
  • 21. Information and Communication Technology for Education. พิจารณาจากการนำไปใช้ประโยชน์ สามารถแบ่งรูปแบบการวิจัย เป็น 3 ประเภท 1.1    การวิจัยบริสุทธิ์ (Pure Research) หรือ การ วิจัยพื้นฐาน(Basic Research) 1.2 การวิจัยประยุกต์ (Applied Research) 1.3 การวิจัยเชิงปฎิบัติการ (Action Research) (เอมอร,2556) Monday, September 14, 15 เป็นการวิจัยเพื่อหาทฤษฎี สูตร หรือสร้างกฎ เพื่อเป็นพื้นฐาน ในการศึกษา เรื่องอื่น ๆ ต่อไป เป็นการวิจัยเพื่อนำผลไปทดลอง ใช้แก้ไขปัญหาอื่น ๆ ต่อไป เช่น การวิจัยทางแพทย์ เป็นการวิจัยประยุกต์ในลักษณะ หนึ่งที่มุ่งแก้ปัญหาเฉพาะหน้าเป็นเรื่อง ๆ ไป ผลของการวิจัยนี้ใช้ได้ใน ขอบเขตของปัญหานั้น ๆ เท่านั้น ไม่สามารถนำไปใช้ในสถานการณ์ อื่น ๆ
  • 22. Information and Communication Technology for Education. พิจารณาจากลักษณะของข้อมูล ซึ่งสามารถแบ่งออกได้เป็น 2 ประเภท การวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) เป็นการใช้ข้อมูลทางคณิตศาสตร์และสถิติมาช่วยในการ ตอบคำถามการวิจัย      การวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) เป็นการใช้ข้อมูลเชิงคุณลักษณะ และไม่ได้ใช้คณิตศาสตร์ หรือสถิติเข้ามาช่วย การเก็บข้อมูลทำได้โดย การใช้การ สังเกต การสัมภาษณ์ การบันทึก วิเคราะห์ข้อมูลโดยการ วิเคราะห์เนื้อหา และสรุปเป็นประเด็นเพื่อตอบปัญหาการ วิจัย (เอมอร,2556) Monday, September 14, 15
  • 23. Information and Communication Technology for Education. พิจารณาจากลักษณะการศึกษาตัวแปร แบ่งออกได้เป็น 3 ประเภท - การวิจัยเชิงสำรวจ (Survey Research) - การวิจัยย้อนหลัง (Expost Facto Research) - การวิจัยเชิงทดลอง (Experimental Research) (เอมอร,2556) Monday, September 14, 15 เช่น การสำรวจทัศนคติ เพื่อหาข้อเท็จจริง เป็นการศึกษาย้อนหลังในสิ่งที่เกิดขึ้นแล้ว เป็นการศึกษาหาความสัมพันธ์ของตัวแปร จากเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นอยู่ก่อน ส่วนใหญ่ใช้ในการศึกษาเช่นการศึกษาว่าเด็กสอบตกเกิดจาก เหตุใดหรือมีบุคลิกภาพต่างกันอย่างไร เป็นการศึกษาตัวแปร โดยการควบคุม มุ่งศึกษาอิทธิพลจากตัวแปรจัดกระทำ และสังเกตผลที่เกิดขึ้น
  • 24. Information and Communication Technology for Education. พิจารณาจากระเบียบวิธีการวิจัย - การวิจัยเชิงประวัติศาสตร์ (Historical Research) - การวิจัยเชิงบรรยาย (Description Research) - การวิจัยเชิงทดลอง (Experimental Research) (เอมอร,2556) Monday, September 14, 15
  • 25. Information and Communication Technology for Education. การกำหนดขอบเขตการวิจัย (delimitation) การกำหนดขอบเขตของการวิจัย เป็นการกำหนด ขอบเขตของประชากร กรอบแนวคิดในการวิจัย จำนวนตัวแปรที่ศึกษา และช่วงระยะเวลาที่ศึกษา ซึ่งควรสอดคล้องกับกรอบแนวคิดในการวิจัย (สุวิมล ว่องวาณิช และนงลักษณ์ วิรัชชัย, 2546) Monday, September 14, 15 ใน การเขียนขอบเขตของการวิจัยในโครงการวิจัย ควรระบุเหตุผลที่คัดเลือกตัวแปรบางตัวที่นำเขามาศึกษาในกรอบแนวคิด ตลอดจนเหตุผลที่ตัดตัวแปรบางตัวออกจากกรอบแนวคิดของการวิจัย ไมค ระบุแตชื่อตัวแปรที่ศึกษาวาคืออะไรเทานั้น แตตองขยายความใหเห็นแนวคิดเบื้องหลังเพื่อใหผูอานงานวิจัยเขาใจวิธี คิดหรือทฤษฎีที่ผูวิจัยใชเปนฐานในการกำหนดกรอบแนวคิดไดชัดเจน                    สำหรับกรอบแนวคิดที่เกี่ยวกับประชากรก็เชนเดียวกัน ผูวิจัยตองอธิบายกลุมเปาหมายที่เกี่ยวของวาจริงๆแลวครอบคลุมคนกลุมใดและในการศึกษาครั้งนี้ทำไมจึงจำกัดเฉพาะคนกลุมนั้น เช ทำไมสนใจศึกษาเฉพาะคนในกรุงเทพมหานคร หรือทำไมจึงสนใจศึกษาเฉพาะมหาวิทยาลัยเอกชน
  • 26. Information and Communication Technology for Education. การกำหนดแนวทางการวิจัย (procedures) การกำหนดแนวทางการวิจัยจะครอบคลุม 3  ส่วนหลัก    ได้แก่ การออกแบบการวัดตัวแปร (measurement design) การออกแบบการสุ่มตัวอย่าง (sampling design) และการ ออกแบบการวิเคราะห์ข้อมูล (analysis design)   (เอมอร,2556) Monday, September 14, 15
  • 27. Information and Communication Technology for Education. เกณฑ์ที่ใช้สำหรับแบบแผนการวิจัย 1.แบบแผนการวิจัยนั้น ทำให้ได้แนวทางการวิจัยที่จะได้คำ ตอบตรงกับประเด็นปัญหาที่ต้องการวิจัย 2.แบบแผนการวิจัยนั้นทำให้ได้ผลงานวิจัยที่มีความตรง ทั้ง ความตรงภายใน (internal validity) และความตรงภายนอก (external validity) 3.แบบแผนการวิจัยนั้น ต้องมุ่งใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างเหมาะ สมและใช้อย่างมีประสิทธิภาพ ตลอดจนได้ประโยชน์เหมาะสม กับเหตุการณ์และเวลา (เอมอร,2556) Monday, September 14, 15 ความตรงภายใน (internal validity) หมายถึง การที่ผลของการเปลี่ยนแปลงของตัวแปรตามเปนผลมาจากตัวแปรอิสระใชในการศึกษาเทานั้น ไมไดมีผลมาจากตัวแปรอื่น ๆ นอกจากท กำหนดในการวิจัย งานวิจัยที่จะมีความตรงภายในสูง จะตองมีความคลาดเคลื่อนของการวัดคาตัวแปรต่ำ และจะตองสามารถควบคุมตัวแปรเกิน และตัวแปรแทรกซอนที่จะมีอิทธิพลต ตัวแปรตามไดเปนอยางดี ความตรงภายนอก (internal validity) หมายถึง การที่ผลการวิจัยสามารถสรุปผลอางอิงกลับไปยังเนื้อหา สถานการณที่ใกลเคียงกันและประชากรไดอยางถูกตอง ในกรณีของการสรุป อางอิงกลับไปยังประชากร หมายความวา กลุมตัวอยางที่ใชในการศึกษาจะตองเปนตัวแทนที่ดีของประชากร มีการเลือกใชสถิติสรุปอางอิงที่เหมาะสม และแปลความหมายของการ วิเคราะหทางสถิติไดอยางถูกตอง
  • 28. Information and Communication Technology for Education.   แบบแผนการวิจัยจะต้องคำนึงถึงสิ่ง ต่าง ๆ ดังนี้ วัตถุประสงค์การวิจัย สมมติฐานการวิจัยและตัวแปรที่เกี่ยวข้อง Monday, September 14, 15 วัตถุประสงค์การวิจัย  การวิจัยครั้งนี้ต้องการบรรยายสภาพ หรืออธิบายความสัมพันธ์ หรืออธิบายผลระหว่างตัวแปร หรือต้องการทำนาย หรือต้องการควบคุม ผู้วิจัยจะต้องออกแบบการวิจัยให้ สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ดังกล่าว สมมติฐานการวิจัยและตัวแปรที่เกี่ยวของ  การวิจัยทางสังคมศาสตรมีการตั้งสมมติฐานการวิจัย ซึ่งเปนการคาดคะเนคำตอบของปญหาวิจัยอยางมีเหตุมีผล จากนั้นจึงทำการเก็บขอมูล เชิงประจักษมาวิเคราะหเพื่อพิสูจนสมมติฐานดังกลาว สมมติฐานการวิจัยนี้ไมใชสิ่งที่นักวิจัยคิดขึ้นมาเอง แตจะตองเปนผลที่ไดหลังจากที่นักวิจัยไดทบทวนเอกสารที่เกี่ยวของอยาง ละเอียด จนเห็นแนวทางวาผลการวิจัยนาจะเปนอยางไร ดังนั้น ทั้งวัตถุประสงคการวิจัยและสมมติฐานจะทำหนาที่เปนโจทยในการวิจัย
  • 29. Information and Communication Technology for Education. ข้อจำกัดในการวิจัย - งบประมาณ ในกรณีที่มีงบประมาณจำกัด การวางแผนจึงต้อง พิจารณาว่าจะลดหรือเพิ่มงบประมาณส่วนใด โดยให้กระเทือนต่อ ผลของการวิจัยน้อยที่สุด - เวลาการทำงานวิจัย สถานการณ์ทางสังคมมีการเปลี่ยนแปลง อยู่ตลอดเวลา งานวิจัยที่จะมีประโยชน์ต้องเป็นงานวิจัยที่ให้ผลใน ช่วงเวลาที่เหตุการณืกำลังดำเนินการอยู่ นอกจากนี้เวลายังเข้า มามีบทบาทในงานวิจัยในกรณีที่การวิจัยนั้นต้องมีการติดตามผล เป็นระยะเวลาที่ยาวนานพอสมควร จึงจะเห็นผลที่เกิดขึ้น - บุคลากร ความพร้อมของบุคลากรในงานวิจัย จะต้องพิจารณา ทั้งความรู้และจำนวนบุคลากรที่ร่วมทำงานวิจัย เพราะส่วนนี้อาจ เป็นส่วนที่ทำให้ต้องลดขอบเขตของการวิจัยลงไปได้   (เอมอร,2556) Monday, September 14, 15
  • 30. Information and Communication Technology for Education. แบบแผนการวิจัย (research design) เป็นการกำหนดรูป แบบ ขอบเขต และแนวทางการวิจัย เพื่อให้ได้คำตอบหรือ ข้อความรู้ตามปัญหาการวิจัยอย่างมีประสิทธิภาพ กล่าวคือ ได้คำตอบที่มีความตรงภายใน (internal validity) ความ ตรงภายนอก (external validity) และประหยัดทรัพยากร องค์ประกอบสำคัญของแบบแผนการวิจัยมี 3 ส่วน ได้แก่ การออกแบบการวัดตัวแปร (measurement design) การออกแบบการสุ่มตัวอย่าง (sampling design) และการ ออกแบบการวิเคราะห์ข้อมูล (analysis design)  การ กำหนดแบบแผนการวิจัยที่ดี จะทำให้ผู้วิจัยมีทิศทางและ สามารถนำมาใช้เขียนระเบียบวิธีวิจัยในโครงการวิจัยได้อย่าง มีประสิทธิภาพ (เอมอร,2556) สรุป Monday, September 14, 15
  • 31. นงลักษณ์ วิรัชชัย.2543. พรมแดนความรู้ด้านการวิจัยและสถิติ. ชลบุรี:วิทยาลัยการบริหารรัฐกิจ          มหาวิทยาลัยบูรพา. บุญธรรม  กิจปรีดาบริสุทธิ์. 2540.ระเบียบวิธีการวิจัยทางสังคมศาสตร์.พิมพ์ครั้งที่7. กรุงเทพมหานคร :โรง         พิมพ์และปกเจริญผล. สุวิมล  ว่องวาณิช และนงลักษณ์ วิรัชชัย.2546.แนวทางการให้คําปรึกษาวิทยานิพนธ์.กรุงเทพมหานคร :         ศูนย์ตําราและเอกสารทางวิชาการ คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยลัย. สุวิมล ติรกานันท. 2543.ระเบียบวิธีการวิจัยทางสังคมศาสตร: แนวทางสูการปฏิบัติ. พิมพครั้งที่2.         กรุงเทพฯ :โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. Balnaves,M.,and Caputi,P. 2001.Introduction to Quantitative Research Methods. London: Sage            Publications. Blaikie,N. 2000.Designing Social Research. Oxford: Blackwell Publishers Ltd. Cohen ,L.,and Manion,L. 1989. Research Method in Education.3rdedition.London:Routledge. Kerlinger,F.N.,and Lee,H.B. 2000. Foundations of Behavioral Research.4th edition.U.S.A.:Thomson            Learning,Inc. Kumar,R. 1996. Research Methodology. London: Sage Publications.   Monday, September 14, 15