SlideShare a Scribd company logo
1 of 12
Download to read offline
รายวิชา 241208 นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ 
เสนอ….อาจารย์ ดร. อนุชา โสมาบุตร
นางสาวณัฐชญา เพ็งธรรม รหัสนักศึกษา 563050086-6 
นายประชา นาจรูญ รหัสนักศึกษา 563050106-6 
นายภัทรพงศ์ วรศักดิ์มหาศาล รหัสนักศึกษา 563050120-2 
นายรชต ทองคาสุข รหัสนักศึกษา 563050124-4 
นักศึกษาระดับปริญญาตรีชั้นปีที่ 2 สาขาวิชาคณิตศาสตรศึกษา 
คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 
สมาชิกในกลุ่ม
สถานการณ์ปัญหา(Problem-based learning) 
โรงเรียนบ้านหนองใหญ่ได้รับการบริจาคห้องคอมพิวเตอร์ใหม่ หลังจากที่ได้มีโครงการ 
ผ้าป่าซื้อคอมพิวเตอร์ให้กับโรงเรียน ซึ่ง ผอ.โรงเรียนจึงได้มีนโยบายให้ครูทุกระดับชั้นพัฒนาสื่อการ 
สอนโดยใช้คอมพิวเตอร์ หรือหากใครที่ยังไม่สามารถสร้างเองได้ก็ให้บูรณาการคอมพิวเตอร์ในการ เรียนการสอน และเปิดช่วงเวลาให้นักเรียนเข้ามาใช้คอมพิวเตอร์ได้ ผลจากการประเมินการใช้ 
คอมพิวเตอร์ของโรงเรียนในปีที่ผ่านมาพบว่า ครูพัฒนาสื่อคอมพิวเตอร์ในลักษณะที่เป็นเครื่องมือใน 
การถ่ายทอดและนาเสนอเนื้อหาการเรียนการสอนโดยตรงไปยังผู้เรียน โดยในบทเรียนคอมพิวเตอร์ 
มีการทดสอบ การนาเสนอเนื้อหา การทดสอบหลังเรียน บทบาทผู้เรียนก็ยังเป็นเพียงแค่การท่องจา 
เนื้อหา ซึ่งไม่ส่งเสริมกระบวนการคิด ปัญหาอีกประการที่พบคือ เมื่อครูจัดกิจกรรมให้ผู้เรียนเข้าไป ใช้คอมพิวเตอร์ก็มักจะใช้เพื่อเล่นเกม ดูหนัง สนทนาออนไลน์ และ Social media โดยเฉพาะ face book ซึ่งไม่ได้ใช้คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือในการแสวงหาและสร้างการเรียนรู้ของตนเอง
1. นักศึกษาจะมีแนวทางในการใช้คอมพิวเตอร์เพื่อแก้ปัญหาของโรงเรียน บ้านหนองใหญ่อย่างไร 
2. บทบาทของการใช้คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือในการเรียนรู้เป็นอย่างไร 
3. ให้เสนอรูปแบบการใช้คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือในการจัดการเรียนรู้ ตามสาระการเรียนรู้ที่นักศึกษารับผิดชอบ
1. นักศึกษาจะมีแนวทางในการใช้คอมพิวเตอร์เพื่อแก้ปัญหาของ โรงเรียนบ้านหนองใหญ่อย่างไร ? 
เมื่อครูจัดกิจกรรมให้ผู้เรียนเข้าไปใช้คอมพิวเตอร์ก็มักจะใช้เพื่อเล่นเกม 
ดูหนัง สนทนาออนไลน์ และ Social media โดยเฉพาะ face book ซึ่งไม่ได้ใช้ คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือในการแสวงหาและสร้างการเรียนรู้ของตนเอง 
จากสถานการณ์ปัญหาจะพบว่า
แนวทางในการแก้ปัญหา 
1. ครูเสนอข้อตกลงร่วมกับนักเรียน 
ในการใช้คอมพิวเตอร์ โดยอาจจะให้ใช้อินเตอร์เน็ต 
นอกเหนือจากการเรียนรู้ได้ โดยมีข้อแม้ว่าต้องทาภารกิจ 
ที่ครูได้มอบหมายไว้ให้เสร็จเสียก่อน เพื่อเป็นการสร้างแรงจูงใจ 
และกระตุ้นให้นักเรียนสนใจเนื้อหามากขึ้น 
2. ในบางโรงเรียน อาจใช้มาตรการ Block Website ที่ไม่พึงประสงค์ เช่น เกมออนไลน์ เว็บโป๊อนาจาร Facebook เป็นต้น 
3. ห้องคอมพิวเตอร์ ควรมีครูควบคุมดูแลการใช้งานทุกครั้ง
2. บทบาทของการใช้คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือในการเรียนรู้เป็นอย่างไร
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้ 
เครื่องมือการสื่อสาร (Communication tool) 
เครื่องมือสร้างความรู้ (Knowledge creation tools) 
เครื่องมือค้นพบ (Discovery tools) 
เป็นเครื่องมือที่สนับสนุน การเสาะแสวงหาสารสนเทศ การค้นหาข้อมูลเพื่อนามาซึ่ง การค้นพบสารสนเทศหรือ ความรู้ที่ต้องการ 
เป็นเครื่องมือที่สนับสนุน การสร้างความรู้ของผู้เรียน ที่เกิดขึ้นในความจาระยะสั้น เพื่อจัดระเบียบ หมวดหมู สร้างความสัมพันธ์ 
เป็นเครื่องมือที่ใช้สนับสนุน การสื่อสาร สนทนา แลกเปลี่ยนแนวความคิด ระหว่างผู้เรียนด้วยกันเอง 
และผู้สอน
3. ให้เสนอรูปแบบการใช้คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือในการจัดการเรียนรู้ ตามสาระการเรียนรู้ที่นักศึกษารับผิดชอบ 
จากที่ได้กล่าวมาแล้วว่า การใช้คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือในบทบาทต่างๆเพื่อ การเรียนรู้ ได้แก่ เครื่องมือค้นพบ เครื่องมือสร้างความรู้ และเครื่องมือการสื่อสาร ดังนั้น รูปแบบการใช้คอมพิวเตอร์ในสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ควรเป็นสื่อเทคโนโลยีที่ช่วยให้ ผู้เรียนมีโอกาสเรียนคณิตศาสตร์โดยการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง (Constructivist Approach) และเป็นการเรียนโดยเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ตัวอย่างเช่น โปรแกรม GSP
โปรแกรม Geometer’s Sketchpad (GSP) เป็นโปรแกรมคณิตศาสตร์ที่ผลิตจากประเทศ สหรัฐอเมริกา เป็นโปรแกรมที่มีประสิทธิภาพ โปรแกรมหนึ่ง สามารถนาไปใช้ในวิชาคณิตศาสตร์ ได้หลายวิชา เช่น วิชาเรขาคณิต พีชคณิต ตรีโกณมิติ และแคลคูลัส 
โปรแกรม GSP เป็นสื่อที่ช่วยให้ผู้เรียน พัฒนาทักษะของการนึกภาพ (Visualization) ทักษะ ของกระบวนการแก้ปัญหา (Problem Solving Skills) นอกจากนี้ การใช้โปรแกรม GSP ในการ เรียนการสอนคณิตศาสตร์เป็นการบูรณาการสาระที่ เกี่ยวข้องกับความรู้คณิตศาสตร์ และทักษะด้าน เทคโนโลยีเข้าด้วยกันทาให้ผู้เรียนมีโอกาสพัฒนาพหุ ปัญญาอันได้แก่ ปัญญาทางภาษา ด้านตรรกศาสตร์ ด้านมิติสัมพันธ์ และด้านศิลปะ
การสร้างชิ้นงานต่างๆด้วยโปรแกรม GSP 
ศิลปะเส้นด้าย 
การออกแบบ สร้างสื่อ 
อ้างอิง : http://mathmiracle.wordpress.com/
บทที่5

More Related Content

What's hot

โครงร่างงานวิจัย 59
โครงร่างงานวิจัย 59โครงร่างงานวิจัย 59
โครงร่างงานวิจัย 59Khemjira_P
 
บทที่5คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
บทที่5คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้บทที่5คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
บทที่5คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้Thamonwan Kottapan
 
Key trend 2 online and blended learning ppt
Key trend 2 online and blended learning pptKey trend 2 online and blended learning ppt
Key trend 2 online and blended learning pptKanpirom Trangern
 
201700 chapter 5
201700 chapter 5201700 chapter 5
201700 chapter 5goojaewwaow
 
สื่อการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้สื่อการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้Noom Theerayut
 
อาชีวศึกษา 4.0
อาชีวศึกษา 4.0อาชีวศึกษา 4.0
อาชีวศึกษา 4.0Prachyanun Nilsook
 
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้Fern's Supakyada
 
บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้T'Rak Daip
 
สถานการณ์ปัญหาบทที่ 5
สถานการณ์ปัญหาบทที่ 5สถานการณ์ปัญหาบทที่ 5
สถานการณ์ปัญหาบทที่ 5oraya-s
 
บทที่5คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
บทที่5คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้บทที่5คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
บทที่5คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้กอ หญ้า
 
Chapter5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
Chapter5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้Chapter5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
Chapter5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้Prakaidao Suebwong
 
หัวข้อวิจัยทางเทคโนโลยีการศึกษาในยุค Thailand 4.0
หัวข้อวิจัยทางเทคโนโลยีการศึกษาในยุค Thailand 4.0หัวข้อวิจัยทางเทคโนโลยีการศึกษาในยุค Thailand 4.0
หัวข้อวิจัยทางเทคโนโลยีการศึกษาในยุค Thailand 4.0Prachyanun Nilsook
 
สถานการณ์ปัญหาบทที่ 6
สถานการณ์ปัญหาบทที่ 6สถานการณ์ปัญหาบทที่ 6
สถานการณ์ปัญหาบทที่ 6oraya-s
 

What's hot (18)

Chapter 5
Chapter 5Chapter 5
Chapter 5
 
โครงร่างงานวิจัย 59
โครงร่างงานวิจัย 59โครงร่างงานวิจัย 59
โครงร่างงานวิจัย 59
 
241203 chapter03
241203 chapter03241203 chapter03
241203 chapter03
 
บทที่5คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
บทที่5คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้บทที่5คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
บทที่5คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
 
นวัต5
นวัต5นวัต5
นวัต5
 
Key trend 2 online and blended learning ppt
Key trend 2 online and blended learning pptKey trend 2 online and blended learning ppt
Key trend 2 online and blended learning ppt
 
201700 chapter 5
201700 chapter 5201700 chapter 5
201700 chapter 5
 
สื่อการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้สื่อการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้
 
Charpter 5
Charpter 5Charpter 5
Charpter 5
 
อาชีวศึกษา 4.0
อาชีวศึกษา 4.0อาชีวศึกษา 4.0
อาชีวศึกษา 4.0
 
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
 
บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
 
สถานการณ์ปัญหาบทที่ 5
สถานการณ์ปัญหาบทที่ 5สถานการณ์ปัญหาบทที่ 5
สถานการณ์ปัญหาบทที่ 5
 
บทที่5คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
บทที่5คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้บทที่5คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
บทที่5คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
 
Chapter5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
Chapter5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้Chapter5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
Chapter5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
 
หัวข้อวิจัยทางเทคโนโลยีการศึกษาในยุค Thailand 4.0
หัวข้อวิจัยทางเทคโนโลยีการศึกษาในยุค Thailand 4.0หัวข้อวิจัยทางเทคโนโลยีการศึกษาในยุค Thailand 4.0
หัวข้อวิจัยทางเทคโนโลยีการศึกษาในยุค Thailand 4.0
 
สถานการณ์ปัญหาบทที่ 6
สถานการณ์ปัญหาบทที่ 6สถานการณ์ปัญหาบทที่ 6
สถานการณ์ปัญหาบทที่ 6
 
Chapter 7
Chapter 7Chapter 7
Chapter 7
 

Similar to บทที่5

บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวัสดุเพื่อการศึกษา
บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวัสดุเพื่อการศึกษาบทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวัสดุเพื่อการศึกษา
บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวัสดุเพื่อการศึกษาPS'Rachata Thongkhamsuk
 
Chapter5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
Chapter5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้Chapter5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
Chapter5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้Suparat Boonkum
 
งานกลุ่ม Chapter5
งานกลุ่ม Chapter5งานกลุ่ม Chapter5
งานกลุ่ม Chapter5Pronsawan Petklub
 
Step for learning (1) คอมพิวเตอร์
Step for learning (1) คอมพิวเตอร์Step for learning (1) คอมพิวเตอร์
Step for learning (1) คอมพิวเตอร์Nichaya100376
 
Unit5sattakamon
Unit5sattakamonUnit5sattakamon
Unit5sattakamonSattakamon
 
การส่งเสริมสนับสนุนไอซีทีและนวัตกรรมอาชีวศึกษา2559
การส่งเสริมสนับสนุนไอซีทีและนวัตกรรมอาชีวศึกษา2559การส่งเสริมสนับสนุนไอซีทีและนวัตกรรมอาชีวศึกษา2559
การส่งเสริมสนับสนุนไอซีทีและนวัตกรรมอาชีวศึกษา2559Prachyanun Nilsook
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์mina612
 
ใบงานCom 2 8
ใบงานCom 2 8ใบงานCom 2 8
ใบงานCom 2 8Miemie Pimmie
 
ใบงานCom 2 8
ใบงานCom 2 8ใบงานCom 2 8
ใบงานCom 2 8Miemie Pimmie
 
เลอค่าลวดลายเชียงแสนหงส์ดำจากเมทริกซ์.pdf
เลอค่าลวดลายเชียงแสนหงส์ดำจากเมทริกซ์.pdfเลอค่าลวดลายเชียงแสนหงส์ดำจากเมทริกซ์.pdf
เลอค่าลวดลายเชียงแสนหงส์ดำจากเมทริกซ์.pdfjmerte125
 
งานที่ 7 นวัตกรรมการศึกษา
งานที่ 7 นวัตกรรมการศึกษางานที่ 7 นวัตกรรมการศึกษา
งานที่ 7 นวัตกรรมการศึกษาPui Chanisa Itkeat
 
Computer for learning unit 7
Computer for learning unit 7Computer for learning unit 7
Computer for learning unit 7Isaiah Thuesayom
 

Similar to บทที่5 (20)

บทท 8
บทท  8บทท  8
บทท 8
 
บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวัสดุเพื่อการศึกษา
บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวัสดุเพื่อการศึกษาบทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวัสดุเพื่อการศึกษา
บทที่ 9 การเลือกใช้สื่อและวัสดุเพื่อการศึกษา
 
chapter5
chapter5chapter5
chapter5
 
Chapter5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
Chapter5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้Chapter5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
Chapter5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
 
ท(1)
ท(1)ท(1)
ท(1)
 
งานกลุ่ม Chapter5
งานกลุ่ม Chapter5งานกลุ่ม Chapter5
งานกลุ่ม Chapter5
 
บทที่4
บทที่4บทที่4
บทที่4
 
บทที่ึ7
บทที่ึ7บทที่ึ7
บทที่ึ7
 
นวัตกรรม Chapter 2
นวัตกรรม Chapter 2นวัตกรรม Chapter 2
นวัตกรรม Chapter 2
 
Step for learning (1) คอมพิวเตอร์
Step for learning (1) คอมพิวเตอร์Step for learning (1) คอมพิวเตอร์
Step for learning (1) คอมพิวเตอร์
 
Unit5sattakamon
Unit5sattakamonUnit5sattakamon
Unit5sattakamon
 
การส่งเสริมสนับสนุนไอซีทีและนวัตกรรมอาชีวศึกษา2559
การส่งเสริมสนับสนุนไอซีทีและนวัตกรรมอาชีวศึกษา2559การส่งเสริมสนับสนุนไอซีทีและนวัตกรรมอาชีวศึกษา2559
การส่งเสริมสนับสนุนไอซีทีและนวัตกรรมอาชีวศึกษา2559
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
ใบงานCom 2 8
ใบงานCom 2 8ใบงานCom 2 8
ใบงานCom 2 8
 
ใบงานCom 2-8
ใบงานCom 2-8ใบงานCom 2-8
ใบงานCom 2-8
 
ใบงานCom 2 8
ใบงานCom 2 8ใบงานCom 2 8
ใบงานCom 2 8
 
ใบงานCom 2 8
ใบงานCom 2 8ใบงานCom 2 8
ใบงานCom 2 8
 
เลอค่าลวดลายเชียงแสนหงส์ดำจากเมทริกซ์.pdf
เลอค่าลวดลายเชียงแสนหงส์ดำจากเมทริกซ์.pdfเลอค่าลวดลายเชียงแสนหงส์ดำจากเมทริกซ์.pdf
เลอค่าลวดลายเชียงแสนหงส์ดำจากเมทริกซ์.pdf
 
งานที่ 7 นวัตกรรมการศึกษา
งานที่ 7 นวัตกรรมการศึกษางานที่ 7 นวัตกรรมการศึกษา
งานที่ 7 นวัตกรรมการศึกษา
 
Computer for learning unit 7
Computer for learning unit 7Computer for learning unit 7
Computer for learning unit 7
 

บทที่5

  • 2. นางสาวณัฐชญา เพ็งธรรม รหัสนักศึกษา 563050086-6 นายประชา นาจรูญ รหัสนักศึกษา 563050106-6 นายภัทรพงศ์ วรศักดิ์มหาศาล รหัสนักศึกษา 563050120-2 นายรชต ทองคาสุข รหัสนักศึกษา 563050124-4 นักศึกษาระดับปริญญาตรีชั้นปีที่ 2 สาขาวิชาคณิตศาสตรศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น สมาชิกในกลุ่ม
  • 3. สถานการณ์ปัญหา(Problem-based learning) โรงเรียนบ้านหนองใหญ่ได้รับการบริจาคห้องคอมพิวเตอร์ใหม่ หลังจากที่ได้มีโครงการ ผ้าป่าซื้อคอมพิวเตอร์ให้กับโรงเรียน ซึ่ง ผอ.โรงเรียนจึงได้มีนโยบายให้ครูทุกระดับชั้นพัฒนาสื่อการ สอนโดยใช้คอมพิวเตอร์ หรือหากใครที่ยังไม่สามารถสร้างเองได้ก็ให้บูรณาการคอมพิวเตอร์ในการ เรียนการสอน และเปิดช่วงเวลาให้นักเรียนเข้ามาใช้คอมพิวเตอร์ได้ ผลจากการประเมินการใช้ คอมพิวเตอร์ของโรงเรียนในปีที่ผ่านมาพบว่า ครูพัฒนาสื่อคอมพิวเตอร์ในลักษณะที่เป็นเครื่องมือใน การถ่ายทอดและนาเสนอเนื้อหาการเรียนการสอนโดยตรงไปยังผู้เรียน โดยในบทเรียนคอมพิวเตอร์ มีการทดสอบ การนาเสนอเนื้อหา การทดสอบหลังเรียน บทบาทผู้เรียนก็ยังเป็นเพียงแค่การท่องจา เนื้อหา ซึ่งไม่ส่งเสริมกระบวนการคิด ปัญหาอีกประการที่พบคือ เมื่อครูจัดกิจกรรมให้ผู้เรียนเข้าไป ใช้คอมพิวเตอร์ก็มักจะใช้เพื่อเล่นเกม ดูหนัง สนทนาออนไลน์ และ Social media โดยเฉพาะ face book ซึ่งไม่ได้ใช้คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือในการแสวงหาและสร้างการเรียนรู้ของตนเอง
  • 4. 1. นักศึกษาจะมีแนวทางในการใช้คอมพิวเตอร์เพื่อแก้ปัญหาของโรงเรียน บ้านหนองใหญ่อย่างไร 2. บทบาทของการใช้คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือในการเรียนรู้เป็นอย่างไร 3. ให้เสนอรูปแบบการใช้คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือในการจัดการเรียนรู้ ตามสาระการเรียนรู้ที่นักศึกษารับผิดชอบ
  • 5. 1. นักศึกษาจะมีแนวทางในการใช้คอมพิวเตอร์เพื่อแก้ปัญหาของ โรงเรียนบ้านหนองใหญ่อย่างไร ? เมื่อครูจัดกิจกรรมให้ผู้เรียนเข้าไปใช้คอมพิวเตอร์ก็มักจะใช้เพื่อเล่นเกม ดูหนัง สนทนาออนไลน์ และ Social media โดยเฉพาะ face book ซึ่งไม่ได้ใช้ คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือในการแสวงหาและสร้างการเรียนรู้ของตนเอง จากสถานการณ์ปัญหาจะพบว่า
  • 6. แนวทางในการแก้ปัญหา 1. ครูเสนอข้อตกลงร่วมกับนักเรียน ในการใช้คอมพิวเตอร์ โดยอาจจะให้ใช้อินเตอร์เน็ต นอกเหนือจากการเรียนรู้ได้ โดยมีข้อแม้ว่าต้องทาภารกิจ ที่ครูได้มอบหมายไว้ให้เสร็จเสียก่อน เพื่อเป็นการสร้างแรงจูงใจ และกระตุ้นให้นักเรียนสนใจเนื้อหามากขึ้น 2. ในบางโรงเรียน อาจใช้มาตรการ Block Website ที่ไม่พึงประสงค์ เช่น เกมออนไลน์ เว็บโป๊อนาจาร Facebook เป็นต้น 3. ห้องคอมพิวเตอร์ ควรมีครูควบคุมดูแลการใช้งานทุกครั้ง
  • 8. คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้ เครื่องมือการสื่อสาร (Communication tool) เครื่องมือสร้างความรู้ (Knowledge creation tools) เครื่องมือค้นพบ (Discovery tools) เป็นเครื่องมือที่สนับสนุน การเสาะแสวงหาสารสนเทศ การค้นหาข้อมูลเพื่อนามาซึ่ง การค้นพบสารสนเทศหรือ ความรู้ที่ต้องการ เป็นเครื่องมือที่สนับสนุน การสร้างความรู้ของผู้เรียน ที่เกิดขึ้นในความจาระยะสั้น เพื่อจัดระเบียบ หมวดหมู สร้างความสัมพันธ์ เป็นเครื่องมือที่ใช้สนับสนุน การสื่อสาร สนทนา แลกเปลี่ยนแนวความคิด ระหว่างผู้เรียนด้วยกันเอง และผู้สอน
  • 9. 3. ให้เสนอรูปแบบการใช้คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือในการจัดการเรียนรู้ ตามสาระการเรียนรู้ที่นักศึกษารับผิดชอบ จากที่ได้กล่าวมาแล้วว่า การใช้คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือในบทบาทต่างๆเพื่อ การเรียนรู้ ได้แก่ เครื่องมือค้นพบ เครื่องมือสร้างความรู้ และเครื่องมือการสื่อสาร ดังนั้น รูปแบบการใช้คอมพิวเตอร์ในสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ควรเป็นสื่อเทคโนโลยีที่ช่วยให้ ผู้เรียนมีโอกาสเรียนคณิตศาสตร์โดยการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง (Constructivist Approach) และเป็นการเรียนโดยเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ตัวอย่างเช่น โปรแกรม GSP
  • 10. โปรแกรม Geometer’s Sketchpad (GSP) เป็นโปรแกรมคณิตศาสตร์ที่ผลิตจากประเทศ สหรัฐอเมริกา เป็นโปรแกรมที่มีประสิทธิภาพ โปรแกรมหนึ่ง สามารถนาไปใช้ในวิชาคณิตศาสตร์ ได้หลายวิชา เช่น วิชาเรขาคณิต พีชคณิต ตรีโกณมิติ และแคลคูลัส โปรแกรม GSP เป็นสื่อที่ช่วยให้ผู้เรียน พัฒนาทักษะของการนึกภาพ (Visualization) ทักษะ ของกระบวนการแก้ปัญหา (Problem Solving Skills) นอกจากนี้ การใช้โปรแกรม GSP ในการ เรียนการสอนคณิตศาสตร์เป็นการบูรณาการสาระที่ เกี่ยวข้องกับความรู้คณิตศาสตร์ และทักษะด้าน เทคโนโลยีเข้าด้วยกันทาให้ผู้เรียนมีโอกาสพัฒนาพหุ ปัญญาอันได้แก่ ปัญญาทางภาษา ด้านตรรกศาสตร์ ด้านมิติสัมพันธ์ และด้านศิลปะ
  • 11. การสร้างชิ้นงานต่างๆด้วยโปรแกรม GSP ศิลปะเส้นด้าย การออกแบบ สร้างสื่อ อ้างอิง : http://mathmiracle.wordpress.com/