SlideShare a Scribd company logo
1 of 4
Download to read offline
การประเมินโครงการ

                                               โดย มาโนช จันทร์แจ่ม
                                               ศึกษานิเทศก์ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาราชบุรี เขต 1

                 การบริหารงานองค์กร ไม่ว่าจะเป็นองค์กรทางด้านธุรกิจ การเมืองหรือทางการศึกษา ก็ตาม
จะใช้แผนงานและโครงการเป็นเครื่องมือ ช่วยให้การดาเนินงานประสบผลสาเร็จ บรรลุผลตามวัตถุประสงค์
และเป้าหมายที่วางไว้ โดยเฉพาะหน่วยงานทางการศึกษา ในปัจจุบันมีการวางแผนทางานอย่างชัดเจน และ
ปฏิบัติงานตามแผนอย่างจริงจัง แต่จากการนิเทศ ติดตาม ประเมินงาน พบว่า หน่วยงานส่วนมากเน้นการ
ปฏิบัติมากกว่าการประเมิน เมื่อถูกตั้งคาถามว่า การดาเนินงานตามแผนงานและโครงการประสบผลสาเร็จ
เพียงใด เช่นถ้าถามถึงงานพัฒนาคุณภาพการศึกษา ก็จะได้รับคาตอบว่ามีคุณภาพเป็นที่น่าพอใจ ซึ่งเป็น
คาตอบกลาง ๆ ขาดความชัดเจน ไม่สามารถระบุได้ว่าคุณภาพด้านใดบ้างที่ดี ปานกลาง หรือต้องปรับปรุง
ไม่สามารถบอกได้ว่าคุณภาพโดยรวม พัฒนาเพิ่มขึ้นจากเดิมหรือไม่ เพียงใด เป็นต้น
                 จากตัวอย่างที่กล่าว แสดงให้เห็นว่า หน่วยงานต่าง ๆ ยังขาดการประเมินโครงการ ซึ่งถือว่า
เป็นปัญหาสาคัญในปัจจุบัน การดาเนินงานตามโครงการ ถ้าไม่มีการประเมินควบคู่กันไป คณะทางานหรือ
หน่วยงานที่รับผิดชอบจะไม่ทราบเลยว่า งานนั้นประสบผลสาเร็จหรือไม่ เพียงใด         มีเรื่องใดที่ต้องพัฒนา
ต่อยอด และเรื่องใดต้องช่วยเหลือปรับปรุงเพิ่ม แต่ในทางตรงข้ามถ้าหน่วยงานต่าง ๆ มีการประเมินควบคู่ไป
กับการดาเนินงานตามโครงการ            จะช่วยให้ทราบผลที่ชัดเจนและนาไปใช้เป็นข้อมูลในการแก้ปัญหาและ
พัฒนางานได้ในโอกาสต่อไป
                 การประเมินโครงการนี้ วิธีที่ดี ควรดาเนินการให้ครบถ้วนทั้งกระบวนการของงาน หรือ
โครงการ ตามแนวทางต่อไปนี้
                 1. ประเมินก่อนดาเนินโครงการ
                    1.1ประเมินเพื่ออะไร มีส่วนใดบ้างที่ต้องประเมิน
                         การประเมินก่อนดาเนินงาน เป็นการประเมิน เพื่อวางแผนโครงการโดยพิจารณา
ว่าโครงการมีความเป็นไปได้หรือไม่ มีความเหมาะสมเพียงใด โดย พิจารณาประเมินในด้านต่าง ๆ ต่อไปนี้
                        1.1.1 ความจาเป็นและความต้องการ
                        1.1.2 ความเหมาะสมและความชัดเจนของวัตถุประสงค์ในโครงการ
                        1.1.3 ความเหมาะสมของบุคลากร ระยะเวลา งบประมาณ สถานที่และ
                                 วัสดุอุปกรณ์
                        1.1.4 เนื้อหาสาระของโครงการ โดยพิจารณาว่ามีมากน้อยเพียงใด ลักษณะงาน
                                 ตามโครงการเหมาะสมหรือไม่
                        1.1.5แผนการดาเนินงาน มีความชัดเจนเหมาะสมกับการปฏิบัติมากน้อยเพียงใด
-2-


                      1.2 การพิจารณาประเมิน
                          การพิจารณาการประเมิน สามารถทาได้โดยนาองค์ประกอบด้านต่าง ๆ ของ
โครงการทั้ง 5 รายการ ดังกล่าวข้างต้น มาพิจารณาประกอบการประเมิน               ผู้ประเมินอาจประกอบด้วย
คณะกรรมการดาเนินโครงการ หรือคณะกรรมการที่รับผิดชอบประเมินโครงการ เพื่อตัดสินใจสรุปว่าโครงการ
ที่วางไว้มีความคุ้มค่า เหมาะสมและเป็นไปได้หรือไม่ที่จะดาเนินการตามแผนงานที่กาหนดไว้
                      1.3 เครื่องมือที่ใช้ประเมิน
                          เนื่องจากการประเมินก่อนดาเนินโครงการนี้ คณะบุคคลเป็นผู้พิจารณาประเมิน
จากเอกสารหลักฐานและข้อมูลต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง โดยทาการประเมินก่อนดาเนินโครงการคือ ประเมินในส่วน
ปัจจัยป้อน วิธีประเมินอาจใช้วิธีการและเครื่องมือต่าง ๆ เช่น
                          1.3.1 การวิเคราะห์เอกสารหลักฐานแล้วสรุปผล
                          1.3.2 ใช้แบบสารวจรายการ ประกอบการพิจารณาเอกสารหลักฐานและข้อมูลที่
                                  เกี่ยวข้อง
                          จากนั้นจึงสรุปและประเมินผลเพื่อตัดสินใจ     เรื่องการประเมินก่อนดาเนินการนี้
ถ้าเป็นโครงการที่มีเทคนิคเฉพาะด้าน อาจเชิญผู้เชี่ยวชาญเป็นผู้ประเมินก็สามารถทาได้

               2. ประเมินระหว่างดาเนินการ
                      2.1ประเมินเพื่ออะไร มีส่วนใดบ้างที่ต้องประเมิน
                          การประเมินระหว่างดาเนินการ เป็นการประเมินเพื่อติดตาม ตรวจสอบและหาทาง
ปรับปรุงการปฏิบัติ ซึ่งพิจารณาได้จากด้านต่าง ๆ ต่อไปนี้
                          2.1.1 ด้านการบริหารหรือการจัดการโครงการ
                          2.1.2 ด้านวิธีการ หรือวิธีการดาเนินงานตามโครงการ
                          2.1.3 ด้านกิจกรรม หรือการปฏิบัติกิจกรรมของผู้ร่วมโครงการ
                      2.2 การพิจารณาประเมิน
                          การพิจารณาให้ดูที่ความเหมาะสมของการจัดการในการใช้ทรัพยากรและ
การจัดการให้งานดาเนินไปตามขั้นที่วางไว้ ตลอดจนพิจารณาถึงเทคนิควิธีการ กิจกรรมต่าง ๆ โดยประเมิน
ว่ามีความเหมาะสมมากน้อยเพียงใด ควรปรับปรุงแก้ไขเพิ่มเติมส่วนใดบ้าง
-3-


                        2.3เครื่องมือที่ใช้ในการประเมิน
                            เนื่องจากข้อมูลที่ได้ในการประเมิน จะได้จากการพิจารณาของผู้สังเกต ได้แก่
ผู้รับผิดชอบโครงการหรือบุคคลที่ได้รับมอบหมายให้ทาหน้าที่ประเมินโครงการ              รวมถึงการได้ข้อมูลจาก
ผู้เกี่ยวข้อง และผู้ร่วมโครงการ เช่น ครู-อาจารย์ เป็นต้น เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่
                           2.3.1 แบบสังเกตกระบวนการทางาน
                           2.3.2 แบบสัมภาษณ์ผู้รับผิดชอบโครงการ และผู้ร่วมโครงการ
                3. ประเมินเมื่อสิ้นสุดโครงกา
                       3.1ประเมินเพื่ออะไร มีส่วนใดบ้างที่ต้องประเมิน
                            การประเมินเมื่อสิ้นสุดโครงการเป็นการประเมินผลที่ได้ของโครงการหรือเป็นการ
ประเมินเพื่อสรุปผลโครงการ โดยพิจารณาประเมินส่วนต่าง ๆ ได้แก่
                           3.1.1 ผลผลิตที่เกิดจากการดาเนินโครงการ เช่น ผลสัมฤทธิ์ของโครงการ เจตคติ
ของผู้ร่วมกิจกรรมตามโครงการ
                           3.1.2 ผลกระทบ จากการดาเนินโครงการหมายถึง เมื่อเกิดผลผลิตขึ้นแล้วเป็น
เหตุให้เกิดอะไรขึ้นอีก สิ่งที่เกิดขึ้นนั้นคือผลกระทบ
                           3.1.3 ประสิทธิภาพของโครงการ เป็นการพิจารณาถึงสภาพความสาเร็จที่เกิดขึ้น
โดยการใช้ทรัพยากรอย่างประหยัด ถ้าใช้ทรัพยากรน้อยแล้วมีผลสาเร็จสูงสุดแสดงว่ามีประสิทธิภาพดี
                       3.2 การพิจารณาประเมิน
                            ในการประเมินสามารถพิจารณาได้จากผลที่เกิดขึ้น ด้านความรู้ความเข้าใจ ทักษะ
กระบวนการและเจตคติ ซึ่งจะเกิดขึ้นกับผู้ร่วมกิจกรรมตามโครงการ ภายหลังเสร็จสิ้นโครงการรวมทั้ง
พิจารณาจากผลกระทบและผลข้างเคียงที่เกิดขึ้น
                       3.3เครื่องมือที่ใช้ในการประเมิน
                            เนื่องจากผลการประเมินเมื่อสิ้นสุดโครงการ พิจารณาได้จากองค์ประกอบต่าง ๆ
หลายด้าน เครื่องมือที่ใช้ในการวัดเพื่อนาข้อมูลมาสรุปประเมินผล จึงแตกต่างกันไป ตามคุณลักษณะของ
สิ่งที่ต้องการวัดดังตัวอย่างต่อไปนี้
                           3.3.1 ด้านความรู้ความเข้าใจ ใช้แบบทดสอบชนิดต่าง ๆ
                           3.3.2 ด้านทักษะ/กระบวนการ ใช้แบบสังเกตชนิดต่าง ๆ
                           3.3.3 ด้านเจตคติ หรือความรู้สึก ใช้แบบสอบถาม แบบสัมภาษณ์ เป็นต้น
-4-

               จากรายละเอียดที่กล่าวไว้ข้างต้น คงจะมีส่วนช่วยให้ผู้บริหารและครูอาจารย์ทุกท่าน ได้เห็น
ประโยชน์และทราบรายละเอียดเกี่ยวกับการประเมินโครงการบ้างตามสมควร ดังนั้นจึงหวังเป็นอย่างยิ่งว่า
ในอนาคต การวางแผนและจัดทาโครงการทุกครั้งของสถานศึกษาและหน่วยงานต่าง ๆ                     ที่เกี่ยวข้อง
คงจะมีการกาหนดแผนการประเมินโครงการควบคู่ไปกับแผนปฏิบัติการ เพราะนอกจากจะเป็นการควบคุม
ติดตาม กากับและประเมินงานแล้ว ยังจะช่วยให้งานมีการพัฒนาอยู่เสมอ และได้ข้อมูลความสาเร็จที่ชัดเจน
เป็นรูปธรรมจากการทางาน      การประเมินโครงการถ้ามีการนามาใช้อย่างจริงจังนอกจากจะเกิดประโยชน์
โดยตรง ต่อการช่วยให้บรรลุผลตามเป้าหมายของโครงการแล้ว จะทาให้ได้ข้อมูลเพียงพอในการใช้เป็น
แนวทางแก้ปัญหาและพัฒนางานในโอกาสต่อไป รวมทั้งผลสาเร็จที่ได้รับจะเป็นสิ่งที่ช่วยให้เกิดความภูมิใจ
และประทับอยู่ในความทรงจาของผู้บริหาร ผู้รับผิดชอบโครงการและผู้เกี่ยวข้องตลอดไป

More Related Content

What's hot

ตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็คตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็คtumetr1
 
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการแบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการsomdetpittayakom school
 
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
บทที่  2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องบทที่  2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องmoohhack
 
แบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆแบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆNaphachol Aon
 
คำอุปสรรคที่ใช้แทนตัวพหุคูณ
คำอุปสรรคที่ใช้แทนตัวพหุคูณคำอุปสรรคที่ใช้แทนตัวพหุคูณ
คำอุปสรรคที่ใช้แทนตัวพหุคูณRock Rockie
 
แบบสอบถามสภาพปัญหารร.ฉะเชิงเทรา
แบบสอบถามสภาพปัญหารร.ฉะเชิงเทราแบบสอบถามสภาพปัญหารร.ฉะเชิงเทรา
แบบสอบถามสภาพปัญหารร.ฉะเชิงเทราบุญรักษา ของฉัน
 
ม.1 เตรียมความพร้อมการให้เหตุผล
ม.1 เตรียมความพร้อมการให้เหตุผลม.1 เตรียมความพร้อมการให้เหตุผล
ม.1 เตรียมความพร้อมการให้เหตุผลreaxe j
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละkroojaja
 
30 เทคนิคการสอน
30 เทคนิคการสอน30 เทคนิคการสอน
30 เทคนิคการสอนKobwit Piriyawat
 
ตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อsukanya5729
 
ใบความรู้ ขั้นตอนการทำโครงงาน
ใบความรู้ ขั้นตอนการทำโครงงานใบความรู้ ขั้นตอนการทำโครงงาน
ใบความรู้ ขั้นตอนการทำโครงงานsarawut saoklieo
 
ระบบจัดการร้านเบเกอรี่
ระบบจัดการร้านเบเกอรี่ระบบจัดการร้านเบเกอรี่
ระบบจัดการร้านเบเกอรี่Visiene Lssbh
 
ใบความรู้ การจัดนันทนาการ
ใบความรู้ การจัดนันทนาการใบความรู้ การจัดนันทนาการ
ใบความรู้ การจัดนันทนาการteaw-sirinapa
 
1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น
1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น
1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่นKruNistha Akkho
 
อินทิเกรต
อินทิเกรตอินทิเกรต
อินทิเกรตkrurutsamee
 
แนวข้อสอบภาค ก. เล่มที่ 2 ความรู้ความสามารถทั่วไป
แนวข้อสอบภาค ก. เล่มที่ 2 ความรู้ความสามารถทั่วไปแนวข้อสอบภาค ก. เล่มที่ 2 ความรู้ความสามารถทั่วไป
แนวข้อสอบภาค ก. เล่มที่ 2 ความรู้ความสามารถทั่วไปประพันธ์ เวารัมย์
 
แบบประเมินชิ้นงาน
แบบประเมินชิ้นงานแบบประเมินชิ้นงาน
แบบประเมินชิ้นงานkrunueng1
 
รวมเล่มแผนการสอน ฟิสิกส์2
รวมเล่มแผนการสอน ฟิสิกส์2รวมเล่มแผนการสอน ฟิสิกส์2
รวมเล่มแผนการสอน ฟิสิกส์2Wijitta DevilTeacher
 

What's hot (20)

ตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็คตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็ค
 
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการแบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
 
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
บทที่  2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องบทที่  2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
 
แบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆแบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆ
 
คำประสม
คำประสมคำประสม
คำประสม
 
คำอุปสรรคที่ใช้แทนตัวพหุคูณ
คำอุปสรรคที่ใช้แทนตัวพหุคูณคำอุปสรรคที่ใช้แทนตัวพหุคูณ
คำอุปสรรคที่ใช้แทนตัวพหุคูณ
 
แบบสอบถามสภาพปัญหารร.ฉะเชิงเทรา
แบบสอบถามสภาพปัญหารร.ฉะเชิงเทราแบบสอบถามสภาพปัญหารร.ฉะเชิงเทรา
แบบสอบถามสภาพปัญหารร.ฉะเชิงเทรา
 
ม.1 เตรียมความพร้อมการให้เหตุผล
ม.1 เตรียมความพร้อมการให้เหตุผลม.1 เตรียมความพร้อมการให้เหตุผล
ม.1 เตรียมความพร้อมการให้เหตุผล
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
 
30 เทคนิคการสอน
30 เทคนิคการสอน30 เทคนิคการสอน
30 เทคนิคการสอน
 
ตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อ
 
ใบความรู้ ขั้นตอนการทำโครงงาน
ใบความรู้ ขั้นตอนการทำโครงงานใบความรู้ ขั้นตอนการทำโครงงาน
ใบความรู้ ขั้นตอนการทำโครงงาน
 
ระบบจัดการร้านเบเกอรี่
ระบบจัดการร้านเบเกอรี่ระบบจัดการร้านเบเกอรี่
ระบบจัดการร้านเบเกอรี่
 
ใบความรู้ การจัดนันทนาการ
ใบความรู้ การจัดนันทนาการใบความรู้ การจัดนันทนาการ
ใบความรู้ การจัดนันทนาการ
 
1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น
1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น
1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น
 
อินทิเกรต
อินทิเกรตอินทิเกรต
อินทิเกรต
 
แนวข้อสอบภาค ก. เล่มที่ 2 ความรู้ความสามารถทั่วไป
แนวข้อสอบภาค ก. เล่มที่ 2 ความรู้ความสามารถทั่วไปแนวข้อสอบภาค ก. เล่มที่ 2 ความรู้ความสามารถทั่วไป
แนวข้อสอบภาค ก. เล่มที่ 2 ความรู้ความสามารถทั่วไป
 
คู่มือนักโภชนาการ
คู่มือนักโภชนาการคู่มือนักโภชนาการ
คู่มือนักโภชนาการ
 
แบบประเมินชิ้นงาน
แบบประเมินชิ้นงานแบบประเมินชิ้นงาน
แบบประเมินชิ้นงาน
 
รวมเล่มแผนการสอน ฟิสิกส์2
รวมเล่มแผนการสอน ฟิสิกส์2รวมเล่มแผนการสอน ฟิสิกส์2
รวมเล่มแผนการสอน ฟิสิกส์2
 

Viewers also liked

การประเมินผลโครงการ (ศ.ดร.ปุรชัย เปี่ยมสมบูรณ์)
การประเมินผลโครงการ (ศ.ดร.ปุรชัย เปี่ยมสมบูรณ์)การประเมินผลโครงการ (ศ.ดร.ปุรชัย เปี่ยมสมบูรณ์)
การประเมินผลโครงการ (ศ.ดร.ปุรชัย เปี่ยมสมบูรณ์)Yaowaluk Chaobanpho
 
ผลการประเมินโครงการรักการอ่าน
ผลการประเมินโครงการรักการอ่านผลการประเมินโครงการรักการอ่าน
ผลการประเมินโครงการรักการอ่านยุทธกิจ สัตยาวุธ
 
แบบประเมิน ความพึงพอใจ
แบบประเมิน ความพึงพอใจแบบประเมิน ความพึงพอใจ
แบบประเมิน ความพึงพอใจPawit Chamruang
 
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013Kruthai Kidsdee
 

Viewers also liked (6)

5 การประเมินโครงการ 5
5 การประเมินโครงการ 55 การประเมินโครงการ 5
5 การประเมินโครงการ 5
 
การประเมินผลโครงการ (ศ.ดร.ปุรชัย เปี่ยมสมบูรณ์)
การประเมินผลโครงการ (ศ.ดร.ปุรชัย เปี่ยมสมบูรณ์)การประเมินผลโครงการ (ศ.ดร.ปุรชัย เปี่ยมสมบูรณ์)
การประเมินผลโครงการ (ศ.ดร.ปุรชัย เปี่ยมสมบูรณ์)
 
ผลการประเมินโครงการรักการอ่าน
ผลการประเมินโครงการรักการอ่านผลการประเมินโครงการรักการอ่าน
ผลการประเมินโครงการรักการอ่าน
 
ประวัติบุคคลต้นแบบ (Idol)
ประวัติบุคคลต้นแบบ (Idol)ประวัติบุคคลต้นแบบ (Idol)
ประวัติบุคคลต้นแบบ (Idol)
 
แบบประเมิน ความพึงพอใจ
แบบประเมิน ความพึงพอใจแบบประเมิน ความพึงพอใจ
แบบประเมิน ความพึงพอใจ
 
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
 

Similar to การประเมินโครงการ

บทสรุปสำหรับผู้บริหาร โรงเรียนวิถีพุทธ
บทสรุปสำหรับผู้บริหาร โรงเรียนวิถีพุทธบทสรุปสำหรับผู้บริหาร โรงเรียนวิถีพุทธ
บทสรุปสำหรับผู้บริหาร โรงเรียนวิถีพุทธยุทธกิจ สัตยาวุธ
 
ใบความรู้ 6.2การประเมินผลโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 6.2การประเมินผลโครงงานคอมพิวเตอร์ใบความรู้ 6.2การประเมินผลโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 6.2การประเมินผลโครงงานคอมพิวเตอร์sa_jaimun
 
บทที่ 12 project auditing
บทที่ 12 project auditingบทที่ 12 project auditing
บทที่ 12 project auditingTeetut Tresirichod
 
การเขียนรายงาน How to write application report (part 2 of 4)
การเขียนรายงาน How to write application report (part 2 of 4) การเขียนรายงาน How to write application report (part 2 of 4)
การเขียนรายงาน How to write application report (part 2 of 4) maruay songtanin
 
เกณฑ์กำหนดตัวชี้วัด 53
เกณฑ์กำหนดตัวชี้วัด 53เกณฑ์กำหนดตัวชี้วัด 53
เกณฑ์กำหนดตัวชี้วัด 53pthaiwong
 
Chapter1 1703421 Project Overview
Chapter1 1703421  Project  OverviewChapter1 1703421  Project  Overview
Chapter1 1703421 Project OverviewNarongsak Thongarsa
 
11 การเขียนโครงการ
11 การเขียนโครงการ11 การเขียนโครงการ
11 การเขียนโครงการWatcharin Chongkonsatit
 
ใบความรู้ การประเมินผลโครงงาน โดยครูละออง
ใบความรู้ การประเมินผลโครงงาน โดยครูละอองใบความรู้ การประเมินผลโครงงาน โดยครูละออง
ใบความรู้ การประเมินผลโครงงาน โดยครูละอองอองเอง จ้า
 
ใบความรู้ที่ 1กระบวนการทำงาน
ใบความรู้ที่ 1กระบวนการทำงานใบความรู้ที่ 1กระบวนการทำงาน
ใบความรู้ที่ 1กระบวนการทำงานDuangsuwun Lasadang
 
การเชื่อมโยงปัจจัยสำคัญ Key factors linkage
การเชื่อมโยงปัจจัยสำคัญ Key factors linkage การเชื่อมโยงปัจจัยสำคัญ Key factors linkage
การเชื่อมโยงปัจจัยสำคัญ Key factors linkage maruay songtanin
 
9789740330325
97897403303259789740330325
9789740330325CUPress
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์ โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์ Mark'k Stk
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ (1)
โครงงานคอมพิวเตอร์ (1)โครงงานคอมพิวเตอร์ (1)
โครงงานคอมพิวเตอร์ (1)Mark'k Stk
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ (1)
โครงงานคอมพิวเตอร์ (1)โครงงานคอมพิวเตอร์ (1)
โครงงานคอมพิวเตอร์ (1)Mark'k Stk
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ (1)
โครงงานคอมพิวเตอร์ (1)โครงงานคอมพิวเตอร์ (1)
โครงงานคอมพิวเตอร์ (1)rapekung
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ (1)
โครงงานคอมพิวเตอร์ (1)โครงงานคอมพิวเตอร์ (1)
โครงงานคอมพิวเตอร์ (1)Mark'k Stk
 

Similar to การประเมินโครงการ (20)

บทสรุปสำหรับผู้บริหาร โรงเรียนวิถีพุทธ
บทสรุปสำหรับผู้บริหาร โรงเรียนวิถีพุทธบทสรุปสำหรับผู้บริหาร โรงเรียนวิถีพุทธ
บทสรุปสำหรับผู้บริหาร โรงเรียนวิถีพุทธ
 
ใบความรู้ 6.2การประเมินผลโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 6.2การประเมินผลโครงงานคอมพิวเตอร์ใบความรู้ 6.2การประเมินผลโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 6.2การประเมินผลโครงงานคอมพิวเตอร์
 
บทที่ 12 project auditing
บทที่ 12 project auditingบทที่ 12 project auditing
บทที่ 12 project auditing
 
การเขียนรายงาน How to write application report (part 2 of 4)
การเขียนรายงาน How to write application report (part 2 of 4) การเขียนรายงาน How to write application report (part 2 of 4)
การเขียนรายงาน How to write application report (part 2 of 4)
 
เกณฑ์กำหนดตัวชี้วัด 53
เกณฑ์กำหนดตัวชี้วัด 53เกณฑ์กำหนดตัวชี้วัด 53
เกณฑ์กำหนดตัวชี้วัด 53
 
Chapter1 1703421 Project Overview
Chapter1 1703421  Project  OverviewChapter1 1703421  Project  Overview
Chapter1 1703421 Project Overview
 
11 การเขียนโครงการ
11 การเขียนโครงการ11 การเขียนโครงการ
11 การเขียนโครงการ
 
ใบความรู้ การประเมินผลโครงงาน โดยครูละออง
ใบความรู้ การประเมินผลโครงงาน โดยครูละอองใบความรู้ การประเมินผลโครงงาน โดยครูละออง
ใบความรู้ การประเมินผลโครงงาน โดยครูละออง
 
ใบความรู้ที่ 1กระบวนการทำงาน
ใบความรู้ที่ 1กระบวนการทำงานใบความรู้ที่ 1กระบวนการทำงาน
ใบความรู้ที่ 1กระบวนการทำงาน
 
Project evaluation
Project evaluationProject evaluation
Project evaluation
 
ใบความรู้ที่ 4.1
ใบความรู้ที่ 4.1ใบความรู้ที่ 4.1
ใบความรู้ที่ 4.1
 
การเชื่อมโยงปัจจัยสำคัญ Key factors linkage
การเชื่อมโยงปัจจัยสำคัญ Key factors linkage การเชื่อมโยงปัจจัยสำคัญ Key factors linkage
การเชื่อมโยงปัจจัยสำคัญ Key factors linkage
 
9789740330325
97897403303259789740330325
9789740330325
 
Chapter005
Chapter005Chapter005
Chapter005
 
Checklist
ChecklistChecklist
Checklist
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์ โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ (1)
โครงงานคอมพิวเตอร์ (1)โครงงานคอมพิวเตอร์ (1)
โครงงานคอมพิวเตอร์ (1)
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ (1)
โครงงานคอมพิวเตอร์ (1)โครงงานคอมพิวเตอร์ (1)
โครงงานคอมพิวเตอร์ (1)
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ (1)
โครงงานคอมพิวเตอร์ (1)โครงงานคอมพิวเตอร์ (1)
โครงงานคอมพิวเตอร์ (1)
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ (1)
โครงงานคอมพิวเตอร์ (1)โครงงานคอมพิวเตอร์ (1)
โครงงานคอมพิวเตอร์ (1)
 

More from rbsupervision

กำหนดประเมินเว็บไซต์
กำหนดประเมินเว็บไซต์กำหนดประเมินเว็บไซต์
กำหนดประเมินเว็บไซต์rbsupervision
 
กำหนดประเมินเว็บไซต์
กำหนดประเมินเว็บไซต์กำหนดประเมินเว็บไซต์
กำหนดประเมินเว็บไซต์rbsupervision
 
การบริหารจัดการโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน
การบริหารจัดการโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานการบริหารจัดการโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน
การบริหารจัดการโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานrbsupervision
 
การนิเทศ เพื่อรับการประเมินภายนอกรอบสาม
การนิเทศ เพื่อรับการประเมินภายนอกรอบสามการนิเทศ เพื่อรับการประเมินภายนอกรอบสาม
การนิเทศ เพื่อรับการประเมินภายนอกรอบสามrbsupervision
 
รายงานผลการดำเนินงาน
รายงานผลการดำเนินงานรายงานผลการดำเนินงาน
รายงานผลการดำเนินงานrbsupervision
 
เอกสารการสังเคราะห์ผลการดำเนินงานของโรงเรียนด้านสิ่งแวดล้อม
เอกสารการสังเคราะห์ผลการดำเนินงานของโรงเรียนด้านสิ่งแวดล้อมเอกสารการสังเคราะห์ผลการดำเนินงานของโรงเรียนด้านสิ่งแวดล้อม
เอกสารการสังเคราะห์ผลการดำเนินงานของโรงเรียนด้านสิ่งแวดล้อมrbsupervision
 
การสังเคราะห์ผลการดำเนินงานของโรงเรียนด้านความรับผิดชอบต่อสังคม
การสังเคราะห์ผลการดำเนินงานของโรงเรียนด้านความรับผิดชอบต่อสังคมการสังเคราะห์ผลการดำเนินงานของโรงเรียนด้านความรับผิดชอบต่อสังคม
การสังเคราะห์ผลการดำเนินงานของโรงเรียนด้านความรับผิดชอบต่อสังคมrbsupervision
 

More from rbsupervision (8)

กำหนดประเมินเว็บไซต์
กำหนดประเมินเว็บไซต์กำหนดประเมินเว็บไซต์
กำหนดประเมินเว็บไซต์
 
กำหนดประเมินเว็บไซต์
กำหนดประเมินเว็บไซต์กำหนดประเมินเว็บไซต์
กำหนดประเมินเว็บไซต์
 
การบริหารจัดการโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน
การบริหารจัดการโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานการบริหารจัดการโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน
การบริหารจัดการโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน
 
การนิเทศ เพื่อรับการประเมินภายนอกรอบสาม
การนิเทศ เพื่อรับการประเมินภายนอกรอบสามการนิเทศ เพื่อรับการประเมินภายนอกรอบสาม
การนิเทศ เพื่อรับการประเมินภายนอกรอบสาม
 
รายงานผลการดำเนินงาน
รายงานผลการดำเนินงานรายงานผลการดำเนินงาน
รายงานผลการดำเนินงาน
 
เอกสารการสังเคราะห์ผลการดำเนินงานของโรงเรียนด้านสิ่งแวดล้อม
เอกสารการสังเคราะห์ผลการดำเนินงานของโรงเรียนด้านสิ่งแวดล้อมเอกสารการสังเคราะห์ผลการดำเนินงานของโรงเรียนด้านสิ่งแวดล้อม
เอกสารการสังเคราะห์ผลการดำเนินงานของโรงเรียนด้านสิ่งแวดล้อม
 
การสังเคราะห์ผลการดำเนินงานของโรงเรียนด้านความรับผิดชอบต่อสังคม
การสังเคราะห์ผลการดำเนินงานของโรงเรียนด้านความรับผิดชอบต่อสังคมการสังเคราะห์ผลการดำเนินงานของโรงเรียนด้านความรับผิดชอบต่อสังคม
การสังเคราะห์ผลการดำเนินงานของโรงเรียนด้านความรับผิดชอบต่อสังคม
 
O net
O netO net
O net
 

การประเมินโครงการ

  • 1. การประเมินโครงการ โดย มาโนช จันทร์แจ่ม ศึกษานิเทศก์ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาราชบุรี เขต 1 การบริหารงานองค์กร ไม่ว่าจะเป็นองค์กรทางด้านธุรกิจ การเมืองหรือทางการศึกษา ก็ตาม จะใช้แผนงานและโครงการเป็นเครื่องมือ ช่วยให้การดาเนินงานประสบผลสาเร็จ บรรลุผลตามวัตถุประสงค์ และเป้าหมายที่วางไว้ โดยเฉพาะหน่วยงานทางการศึกษา ในปัจจุบันมีการวางแผนทางานอย่างชัดเจน และ ปฏิบัติงานตามแผนอย่างจริงจัง แต่จากการนิเทศ ติดตาม ประเมินงาน พบว่า หน่วยงานส่วนมากเน้นการ ปฏิบัติมากกว่าการประเมิน เมื่อถูกตั้งคาถามว่า การดาเนินงานตามแผนงานและโครงการประสบผลสาเร็จ เพียงใด เช่นถ้าถามถึงงานพัฒนาคุณภาพการศึกษา ก็จะได้รับคาตอบว่ามีคุณภาพเป็นที่น่าพอใจ ซึ่งเป็น คาตอบกลาง ๆ ขาดความชัดเจน ไม่สามารถระบุได้ว่าคุณภาพด้านใดบ้างที่ดี ปานกลาง หรือต้องปรับปรุง ไม่สามารถบอกได้ว่าคุณภาพโดยรวม พัฒนาเพิ่มขึ้นจากเดิมหรือไม่ เพียงใด เป็นต้น จากตัวอย่างที่กล่าว แสดงให้เห็นว่า หน่วยงานต่าง ๆ ยังขาดการประเมินโครงการ ซึ่งถือว่า เป็นปัญหาสาคัญในปัจจุบัน การดาเนินงานตามโครงการ ถ้าไม่มีการประเมินควบคู่กันไป คณะทางานหรือ หน่วยงานที่รับผิดชอบจะไม่ทราบเลยว่า งานนั้นประสบผลสาเร็จหรือไม่ เพียงใด มีเรื่องใดที่ต้องพัฒนา ต่อยอด และเรื่องใดต้องช่วยเหลือปรับปรุงเพิ่ม แต่ในทางตรงข้ามถ้าหน่วยงานต่าง ๆ มีการประเมินควบคู่ไป กับการดาเนินงานตามโครงการ จะช่วยให้ทราบผลที่ชัดเจนและนาไปใช้เป็นข้อมูลในการแก้ปัญหาและ พัฒนางานได้ในโอกาสต่อไป การประเมินโครงการนี้ วิธีที่ดี ควรดาเนินการให้ครบถ้วนทั้งกระบวนการของงาน หรือ โครงการ ตามแนวทางต่อไปนี้ 1. ประเมินก่อนดาเนินโครงการ 1.1ประเมินเพื่ออะไร มีส่วนใดบ้างที่ต้องประเมิน การประเมินก่อนดาเนินงาน เป็นการประเมิน เพื่อวางแผนโครงการโดยพิจารณา ว่าโครงการมีความเป็นไปได้หรือไม่ มีความเหมาะสมเพียงใด โดย พิจารณาประเมินในด้านต่าง ๆ ต่อไปนี้ 1.1.1 ความจาเป็นและความต้องการ 1.1.2 ความเหมาะสมและความชัดเจนของวัตถุประสงค์ในโครงการ 1.1.3 ความเหมาะสมของบุคลากร ระยะเวลา งบประมาณ สถานที่และ วัสดุอุปกรณ์ 1.1.4 เนื้อหาสาระของโครงการ โดยพิจารณาว่ามีมากน้อยเพียงใด ลักษณะงาน ตามโครงการเหมาะสมหรือไม่ 1.1.5แผนการดาเนินงาน มีความชัดเจนเหมาะสมกับการปฏิบัติมากน้อยเพียงใด
  • 2. -2- 1.2 การพิจารณาประเมิน การพิจารณาการประเมิน สามารถทาได้โดยนาองค์ประกอบด้านต่าง ๆ ของ โครงการทั้ง 5 รายการ ดังกล่าวข้างต้น มาพิจารณาประกอบการประเมิน ผู้ประเมินอาจประกอบด้วย คณะกรรมการดาเนินโครงการ หรือคณะกรรมการที่รับผิดชอบประเมินโครงการ เพื่อตัดสินใจสรุปว่าโครงการ ที่วางไว้มีความคุ้มค่า เหมาะสมและเป็นไปได้หรือไม่ที่จะดาเนินการตามแผนงานที่กาหนดไว้ 1.3 เครื่องมือที่ใช้ประเมิน เนื่องจากการประเมินก่อนดาเนินโครงการนี้ คณะบุคคลเป็นผู้พิจารณาประเมิน จากเอกสารหลักฐานและข้อมูลต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง โดยทาการประเมินก่อนดาเนินโครงการคือ ประเมินในส่วน ปัจจัยป้อน วิธีประเมินอาจใช้วิธีการและเครื่องมือต่าง ๆ เช่น 1.3.1 การวิเคราะห์เอกสารหลักฐานแล้วสรุปผล 1.3.2 ใช้แบบสารวจรายการ ประกอบการพิจารณาเอกสารหลักฐานและข้อมูลที่ เกี่ยวข้อง จากนั้นจึงสรุปและประเมินผลเพื่อตัดสินใจ เรื่องการประเมินก่อนดาเนินการนี้ ถ้าเป็นโครงการที่มีเทคนิคเฉพาะด้าน อาจเชิญผู้เชี่ยวชาญเป็นผู้ประเมินก็สามารถทาได้ 2. ประเมินระหว่างดาเนินการ 2.1ประเมินเพื่ออะไร มีส่วนใดบ้างที่ต้องประเมิน การประเมินระหว่างดาเนินการ เป็นการประเมินเพื่อติดตาม ตรวจสอบและหาทาง ปรับปรุงการปฏิบัติ ซึ่งพิจารณาได้จากด้านต่าง ๆ ต่อไปนี้ 2.1.1 ด้านการบริหารหรือการจัดการโครงการ 2.1.2 ด้านวิธีการ หรือวิธีการดาเนินงานตามโครงการ 2.1.3 ด้านกิจกรรม หรือการปฏิบัติกิจกรรมของผู้ร่วมโครงการ 2.2 การพิจารณาประเมิน การพิจารณาให้ดูที่ความเหมาะสมของการจัดการในการใช้ทรัพยากรและ การจัดการให้งานดาเนินไปตามขั้นที่วางไว้ ตลอดจนพิจารณาถึงเทคนิควิธีการ กิจกรรมต่าง ๆ โดยประเมิน ว่ามีความเหมาะสมมากน้อยเพียงใด ควรปรับปรุงแก้ไขเพิ่มเติมส่วนใดบ้าง
  • 3. -3- 2.3เครื่องมือที่ใช้ในการประเมิน เนื่องจากข้อมูลที่ได้ในการประเมิน จะได้จากการพิจารณาของผู้สังเกต ได้แก่ ผู้รับผิดชอบโครงการหรือบุคคลที่ได้รับมอบหมายให้ทาหน้าที่ประเมินโครงการ รวมถึงการได้ข้อมูลจาก ผู้เกี่ยวข้อง และผู้ร่วมโครงการ เช่น ครู-อาจารย์ เป็นต้น เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ 2.3.1 แบบสังเกตกระบวนการทางาน 2.3.2 แบบสัมภาษณ์ผู้รับผิดชอบโครงการ และผู้ร่วมโครงการ 3. ประเมินเมื่อสิ้นสุดโครงกา 3.1ประเมินเพื่ออะไร มีส่วนใดบ้างที่ต้องประเมิน การประเมินเมื่อสิ้นสุดโครงการเป็นการประเมินผลที่ได้ของโครงการหรือเป็นการ ประเมินเพื่อสรุปผลโครงการ โดยพิจารณาประเมินส่วนต่าง ๆ ได้แก่ 3.1.1 ผลผลิตที่เกิดจากการดาเนินโครงการ เช่น ผลสัมฤทธิ์ของโครงการ เจตคติ ของผู้ร่วมกิจกรรมตามโครงการ 3.1.2 ผลกระทบ จากการดาเนินโครงการหมายถึง เมื่อเกิดผลผลิตขึ้นแล้วเป็น เหตุให้เกิดอะไรขึ้นอีก สิ่งที่เกิดขึ้นนั้นคือผลกระทบ 3.1.3 ประสิทธิภาพของโครงการ เป็นการพิจารณาถึงสภาพความสาเร็จที่เกิดขึ้น โดยการใช้ทรัพยากรอย่างประหยัด ถ้าใช้ทรัพยากรน้อยแล้วมีผลสาเร็จสูงสุดแสดงว่ามีประสิทธิภาพดี 3.2 การพิจารณาประเมิน ในการประเมินสามารถพิจารณาได้จากผลที่เกิดขึ้น ด้านความรู้ความเข้าใจ ทักษะ กระบวนการและเจตคติ ซึ่งจะเกิดขึ้นกับผู้ร่วมกิจกรรมตามโครงการ ภายหลังเสร็จสิ้นโครงการรวมทั้ง พิจารณาจากผลกระทบและผลข้างเคียงที่เกิดขึ้น 3.3เครื่องมือที่ใช้ในการประเมิน เนื่องจากผลการประเมินเมื่อสิ้นสุดโครงการ พิจารณาได้จากองค์ประกอบต่าง ๆ หลายด้าน เครื่องมือที่ใช้ในการวัดเพื่อนาข้อมูลมาสรุปประเมินผล จึงแตกต่างกันไป ตามคุณลักษณะของ สิ่งที่ต้องการวัดดังตัวอย่างต่อไปนี้ 3.3.1 ด้านความรู้ความเข้าใจ ใช้แบบทดสอบชนิดต่าง ๆ 3.3.2 ด้านทักษะ/กระบวนการ ใช้แบบสังเกตชนิดต่าง ๆ 3.3.3 ด้านเจตคติ หรือความรู้สึก ใช้แบบสอบถาม แบบสัมภาษณ์ เป็นต้น
  • 4. -4- จากรายละเอียดที่กล่าวไว้ข้างต้น คงจะมีส่วนช่วยให้ผู้บริหารและครูอาจารย์ทุกท่าน ได้เห็น ประโยชน์และทราบรายละเอียดเกี่ยวกับการประเมินโครงการบ้างตามสมควร ดังนั้นจึงหวังเป็นอย่างยิ่งว่า ในอนาคต การวางแผนและจัดทาโครงการทุกครั้งของสถานศึกษาและหน่วยงานต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง คงจะมีการกาหนดแผนการประเมินโครงการควบคู่ไปกับแผนปฏิบัติการ เพราะนอกจากจะเป็นการควบคุม ติดตาม กากับและประเมินงานแล้ว ยังจะช่วยให้งานมีการพัฒนาอยู่เสมอ และได้ข้อมูลความสาเร็จที่ชัดเจน เป็นรูปธรรมจากการทางาน การประเมินโครงการถ้ามีการนามาใช้อย่างจริงจังนอกจากจะเกิดประโยชน์ โดยตรง ต่อการช่วยให้บรรลุผลตามเป้าหมายของโครงการแล้ว จะทาให้ได้ข้อมูลเพียงพอในการใช้เป็น แนวทางแก้ปัญหาและพัฒนางานในโอกาสต่อไป รวมทั้งผลสาเร็จที่ได้รับจะเป็นสิ่งที่ช่วยให้เกิดความภูมิใจ และประทับอยู่ในความทรงจาของผู้บริหาร ผู้รับผิดชอบโครงการและผู้เกี่ยวข้องตลอดไป