SlideShare a Scribd company logo
1 of 16
Download to read offline
การจัดการกิจการ
ชุมชนเชิงกลยุทธ์
รุ่น 2
หลักสูตร
“นักบริหารวิสาหกิจเพื่อสังคม”
(Social Entrepreneurship and
Management : SEM)
คณะผู้ริเริ่มจัดตั้งศูนย์ศึกษาและพัฒนากิจการเพื่อสังคม
แห่งมหาวิทยาลัยรังสิต
1. รศ.ดร.สังศิต พิริยะรังสรรค์ คณบดี วิทยาลัยนวัตกรรมสังคม
มหาวิทยาลัยรังสิต (ที่ปรึกษา)
2. ดร.สุริยะใส กตะศิลา รองคณบดี วิทยาลัยนวัตกรรมสังคม
มหาวิทยาลัยรังสิต
3. ผศ.ดร.ฐิติพร ศิริพันธ์ พันธเสน รองคณบดี วิทยาลัยนวัตกรรมสังคม
มหาวิทยาลัยรังสิต
4. ดร.ดวงพร อาภาศิลป์ อดีตรองคณบดี วิทยาลัยนวัตกรรม
สังคม มหาวิทยาลัยรังสิต
5. ดร.ศักดิสิน ปัจจักขะภัติ สถาบันพัฒนาการบริหารทรัพย์สิน
และอสังหาริมทรัพย์
6. ดร.วัฒนา โอภานนท์อมตะ บริษัท บางจากปิโตรเลียม จากัด (มหาชน)
7. ดร.สุวัฒน์ ทองธนากุล บรรณาธิการ Green Innovation &
CSR ธุรกิจในเครือผู้จัดการ
8. ดร.นัชชา เทียมพิทักษ์ บริษัท ซีพี ออลล์ จากัด (มหาชน)
9. ดร.สมฤดี ศรีจรรยา สถาบันการตลาดเพื่อสังคม
10. ดร.ณัฐพงษ์ จารุวรรณพงศ์ สานักงานส่งเสริมกิจการเพื่อสังคม
11. ดร.พิพัฒน์ ยอดพฤติการ สถาบันไทยพัฒน์
12. ดร.สุนทร คุณชัยมัง มูลนิธิสัมมาชีพ
ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
1. รศ.ดร.สังศิต พิริยะรังสรรค์ คณบดี วิทยาลัยนวัตกรรมสังคม
2. ผศ.ดร.ฐิติพร ศิริพันธ์ พันธเสน รองคณบดี วิทยาลัยนวัตกรรมสังคม
3. ดร.สุริยะใส กตะศิลา รองคณบดี วิทยาลัยนวัตกรรมสังคม
4. ดร.สุนทร คุณชัยมัง ผู้อานวยการหลักสูตร
สารบัญ
หน้า
หลักการและเหตุผล 1
วัตถุประสงค์ 4
กลุ่มเป้ าหมาย 4
การดาเนินงาน 5
หลักสูตร “การจัดการกิจการเพื่อสังคมเชิงกลยุทธ์” 7
Case Study การจัดการกิจการเพื่อสังคมเชิงกลยุทธ์ 11
สถานที่ติดต่อ 12
หลักการและเหตุผล
ในระยะ 20 ปีที่ผ่านมา กระแสความตื่นตัวให้ความสนใจต่อการ
พัฒนาเศรษฐกิจฐานรากในระดับชุมชน การส่งเสริมการประกอบการ
การสนับสนุนในกิจการขนาดกลางและขนาดย่อม1
เพื่อต่อยอด
เศรษฐกิจใหม่ๆ ให้กับระบบเศรษฐกิจของประเทศไทยนั้นได้
เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องและมีความเข้มข้นขึ้นตามลาดับควบคู่ไปกับ
การยกระดับการให้ความสาคัญต่อสิทธิการมีส่วนร่วมของภาคสังคม
การมีส่วนร่วมของประชาชนผู้มีส่วนได้เสีย รวมทั้งสอดรับไปกับ
การกระจายอานาจการปกครองจากส่วนกลางไปยังภูมิภาค ซึ่งกล่าว
อีกนัยหนึ่งได้ว่าการสร้างกลไกสนับสนุนเศรษฐกิจรายย่อยต่างๆ
ข้างต้น ก็เปรียบเสมือนการกระจายความสามารถในการเข้าถึง
แหล่งทุนและโอกาสทางเศรษฐกิจจากส่วนกลางไปยังท้องถิ่นจาก
เมืองไปยังชนบท จากระดับของคนในส่วนผู้นาของสังคมไปยังระดับ
ชุมชน ยิ่งไปกว่านั้น ในห้วงระยะเวลาเดียวกันนี้ ในประเทศไทย
ยังให้ความสนใจต่อการรณรงค์ให้กิจการเอกชนเข้ามาร่วมรับผิดชอบ
ต่อการจัดการแก้ไขปัญหาของสังคมหรือที่รู้จักกันโดยทั่วไปว่า
“ความรับผิดชอบต่อสังคม” (Corporate Social Responsibility : CSR)
ซึ่งจะมีประเด็นการสนับสนุนเศรษฐกิจในระดับชุมชนรวม อยู่ด้วย
ซึ่งขึ้นอยู่กับการพิจารณาของผู้ประกอบการกับผู้มีส่วนได้เสียจะให้
ความสาคัญ
1
สานักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (สสว.) จัดตั้งขึ้นในปี 2543
ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SME Development Bank) จัดตั้งขึ้น
ในปี 2545
1
สาหรับ “วิสาหกิจเพื่อสังคม” (Social Enterprise : SE) ในกรณี
ของไทย นับได้ว่าเป็นกระแสที่เกิดขึ้นตามหลังจากเรื่องต่างๆ ข้างต้น
รัฐบาลไทยโดยมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 28 กรกฎาคม พ.ศ.2553
ได้จัดตั้ง “สานักงานสร้างเสริมกิจการเพื่อสังคมแห่งชาติ” (สกส.)
ขึ้นตามระเบียบกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ2
ตามแผน
แม่บทว่าด้วยการสร้างเสริมกิจการเพื่อสังคม พ.ศ.2553-2557
โดย สกส. มีเป้ าหมายสาคัญที่จะกระตุ้น สนับสนุน ประสานความ
ร่วมมือเพื่อให้เกิดกิจการเพื่อสังคมและพัฒนาเป็นเครือข่ายตอบสนอง
ต่อปัญหาทางเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรมและสิ่งแวดล้อม ครอบคลุม
การประกอบการจากบุคคลโดยทั่วไปที่ดาเนินธุรกิจด้วยการคานึงถึง
ผลกระทบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม อนึ่ง กรอบภารกิจของ สกส. ที่
รวมไปถึงการประกอบการโดยบุคคลที่ดาเนินธุรกิจด้วยการคานึงถึง
ผลกระทบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม นั้นย่อมหมายความว่า ได้ขยาย
ความเกี่ยวข้องในการดาเนินงานไปยัง “การประกอบการเพื่อสังคม”
(Social Entrepreneurship) อีกมิติหนึ่งด้วย
รัฐบาลของ พล.อ. ประยุทธ์ จันทร์โอชา ได้เห็นชอบที่จะพัฒนา
เศรษฐกิจของประเทศเพื่อก้าวข้ามกับดักการเป็นประเทศที่มีรายได้
ปานกลาง กับดักความเหลื่อมล้าของความมั่งคั่งและกับดักความ
ไม่สมดุลของการพัฒนา ด้วยการพัฒนาประเทศให้เศรษฐกิจกระแส
หลัก พัฒนาด้วยนวัตกรรมเป็ นพลังขับเคลื่อนเป็ น Innovation-
2
ต่อมารัฐบาลโดยสานักนายกรัฐมนตรี ได้อาศัยอานาจตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบ
บริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ.2534 รองรับการดาเนินงานของ สกส. เรียกว่า ระเบียบ
สานักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วย การส่งเสริมกิจการเพื่อสังคมแห่งชาติ พ.ศ.2554 โดยมี
นายกรัฐมนตรี เป็นประธานคณะกรรมการสร้างเสริมกิจการเพื่อสังคมแห่งชาติ (คกส.)
2
Driven Industry เพื่อปรับเปลี่ยนประเทศให้ก้าวไปตาม “ประเทศไทย
4.0” ในขณะเดียวกัน ก็ผลักดันนโยบาย “ประชารัฐ” ให้นาเอา
ความสามารถในด้านต่างๆ ของกิจการเอกชน ไปร่วมกับกลไกของ
ภาครัฐ เพื่อพัฒนาเศรษฐกิจในระดับฐานราก รวมทั้งการดาเนินงาน
ในด้านต่างๆ โดยมีคณะทางานว่าด้วยประชารัฐ 13 คณะ มีการ
จัดตั้ง “บริษัทประชารัฐรักสามัคคีจังหวัด จากัด” และนาเอาแนวคิด
ว่าด้วยวิสาหกิจเพื่อสังคม มาเป็นแนวทางในการดาเนินงานชักชวน
เอกชนให้มาร่วมลงทุนกับชุมชน (โดยจากัดสิทธิและการปันผลของ
การลงทุนภาคเอกชน-มุ่งให้ความสาคัญต่อการจัดการโดยชุมชน
เป็นหลัก) และออกพระราชกฤษฎีกาเพื่อยกเว้นภาษีแก่ธุรกิจที่
ประกอบกิจการตามกรอบเกณฑ์ที่กาหนดขึ้นเป็น “วิสาหกิจเพื่อ
สังคม”3
(เป็นธุรกิจที่ดาเนินกิจการเพื่อสังคม และนาเอากาไรที่ได้
จากการประกอบกิจการไม่น้อยกว่า 70% ไปใช้ในการลงทุนเพื่อ
สังคมต่อไปอีก)
อย่างไรก็ตาม ปรากฏว่า ในขณะที่รัฐบาลเร่งรัดพัฒนาเศรษฐกิจ
ฐานรากตามแนวทางประชารัฐนั้น สกส. ซึ่งเป็นองค์กรที่รณรงค์
แนวคิดว่าด้วยวิสาหกิจเพื่อสังคมมาก่อนหน้านี้ ต้องยุติตัวเองลง
เป็นการชั่วคราว เนื่องจากต้องรอการตราพระราชบัญญัติจัดตั้ง
องค์กร จึงทาให้การดาเนินกิจการวิสาหกิจเพื่อสังคมตามนโยบายของ
รัฐบาล ขาดองค์กรสนับสนุน (Supporting Organization) โดยเฉพาะ
อย่างยิ่งในด้านวิชาการและการจัดการความรู้
3
พระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากรว่าด้วยการยกเว้นรัษฎากร (ฉบับที่
621) พ.ศ.2559 ประกาศกิจจานุเบกษา 30 สิงหาคม 2559
3
สถานการณ์แวดล้อมที่ได้กล่าวมาข้างต้น จึงเป็นที่มาของการจัดทา
ข้อเสนอให้จัดตั้ง “ศูนย์ศึกษาและพัฒนากิจการเพื่ อสังคม
แห่งมหาวิทยาลัยรังสิต” เรียกเป็นภาษาอังกฤษว่า Social Enterprise
Studies and Development Center of Rangsit University เรียกโดย
ย่อว่า RSU-SE Center เพื่อทาหน้าที่ศึกษา ค้นคว้า และจัดให้มี
การสนับสนุนต่อผู้ปฏิบัติงานของภาคส่วนต่างๆ ทั้งภาครัฐ เอกชน
ประชาสังคม ตลอดจนเยาวชนคนรุ่นใหม่ที่เพิ่งจบการศึกษาหรือ
ที่เริ่มทางานใน 1-3 ปีแรกที่สนใจจะเปลี่ยนงานไปสร้างวิสาหกิจ
หรือกิจการเพื่อสังคม ในเบื้องต้นนี้ RSU-SE Center ขอเสนอให้มี
การดาเนินงานในหลักสูตร “นักบริหารวิสาหกิจเพื่อสังคม”
วัตถุประสงค์
1. เป็นการเพิ่มพูนความรู้ ทักษะ และความเชี่ยวชาญในการ
จัดการวิสาหกิจและการประกอบการเพื่อสังคมสาหรับผู้นา
ในภาครัฐ เอกชน และประชาสังคม
2. เป็ นการพัฒนาความรู้ด้านการบริหารจัดการกับการ
ดาเนินงานวิสาหกิจและการประกอบการเพื่อสังคม
3. เป็นส่วนหนึ่งของกิจการเพื่อสังคมด้านงานวิชาการในนาม
ของมหาวิทยาลัยรังสิต
กลุ่มเป้ าหมาย
1. ผู้บริหารวิสาหกิจเพื่อสังคมขององค์กรภาครัฐทั้งส่วนกลาง
และท้องถิ่น
4
2. ผู้บริหารที่เกี่ยวข้องกับงานด้านความรับผิดชอบต่อสังคม
ในองค์กรภาคเอกชน
3. ผู้นาชุมชน และเจ้าหน้าที่ขององค์กรชุมชนที่ดาเนินงาน
ด้านวิสาหกิจชุมชน
4. ผู้บริหารขององค์กรสนับสนุนในกิจการชุมชน
การดาเนินงาน
1. ลักษณะของหลักสูตร
เป็นหลักสูตรอบรมแบบระยะสั้น โดยมีระยะเวลาเรียนและทา
กิจกรรมในชั้นเรียนร่วมกันเพียง 3 วัน เน้นสร้างความรู้พื้ นฐาน
(Concept) และเครื่องมือ (Tools) ที่จาเป็นสาหรับการดาเนินงาน
ให้บรรลุตามเป้ าหมายและพร้อมกับการรู้จักสรุปรวบยอดและตั้ง
เป็นข้อสังเกตหรือตั้งเป็นสมมติฐานสาหรับการค้นคว้าและพัฒนา
ต่อยอด ซึ่งเป็นไปตามลักษณะเฉพาะของการเรียนรู้ที่เกิดจากงาน
ภาคสนาม หรือ Field-based learning
2. หมวดวิชา
2.1 การจัดการกิจการเพื่อสังคมเชิงกลยุทธ์
เป็นวิชาที่มุ่งหวังให้ผู้เข้าอบรมมีหลักที่จะพิจารณา
ความสาคัญของประเด็นปัญหาของสังคมกับความเหมาะสมของ
กิจการและการทางานของฝ่ายกิจการเพื่อสังคม ยกระดับความรู้
เกี่ยวกับรูปแบบ ขั้นตอน และเทคนิคการพัฒนางานความร่วมมือ
รวมทั้งการปรับเปลี่ยนยุทธศาสตร์ในระดับองค์กร
5
2.2 การจัดการกิจการชุมชนเชิงกลยุทธ์
เป็นวิชาที่มุ่งหวังให้ผู้เข้าอบรมมีหลักคิดหรือเครื่องมือ
เบื้องต้นที่จะประเมินการดาเนินธุรกิจของชุมชน รวมทั้งมีแนวทาง
สาหรับการจัดการเร่งด่วน การสร้างเครื่องมือ Checklist และการพัฒนา
องค์กรในระยะกลาง รวมทั้งการอธิบายผลลัพธ์ต่อสังคมซึ่งจะเป็นไป
ทั้งความสามารถในการสร้างเศรษฐกิจใหม่จากภาคส่วนของ
ผู้ประกอบการที่ไม่ใช่รัฐและเอกชน และเป็นการริเริ่มจัดการเศรษฐกิจ
ไปจากระดับฐานรากของสังคมที่จะไปเชื่อมโยงกับเศรษฐกิจกระแสหลัก
3. การจัดอบรม รุ่นที่ 2 เดือนมิถุนายน – กรกฎาคม 2560
- วันศุกร์ (เวลา 18.00-21.00 น.)
- วันเสาร์ (เวลา 09.00-16.00 น.)
- วันอาทิตย์ (เวลา 09.00-12.00 น.)
4. อัตราค่าอบรม 15,000 บาท/คน/หมวดวิชา
5. สถานที่
- วันศุกร์ : มหาวิทยาลัยรังสิต ศูนย์ศึกษาวิภาวดี
- วันเสาร์-อาทิตย์ : มหาวิทยาลัยรังสิต หมู่บ้านเมืองเอก
6. จานวน 30 คนต่อรุ่น
ผู้ที่ผ่านการอบรมหลักสูตร “นักบริหารวิสาหกิจเพื่อสังคม”
และประสงค์จะศึกษาต่อในระดับปริญญาโท มหาวิทยาลัยรังสิต
สามารถนาไปเทียบโอนผลการเรียนในรายวิชา
CSI 636 จรรยาบรรณและความรับผิดชอบต่อสังคม
(Ethics and Social Responsibility)
CSI 640 ธุรกิจเพื่อสังคมและวิสาหกิจชุมชน
(Social Enterprise and Community Business)
6
หลักสูตรอบรม
“การจัดการกิจการชุมชนเชิงกลยุทธ์”
บรรยายโดย
ดร.ณัฐพงษ์ จารุวรรณพงศ์
ดร.สุนทร คุณชัยมัง
7
Goals
มุ่งหวังที่จะให้ผู้เข้าอบรมมีหลักคิดหรือเครื่องมือเบื้ องต้นที่จะ
ประเมินการดาเนินธุรกิจของชุมชน รวมทั้งมีแนวทางสาหรับการ
จัดการเร่งด่วน การสร้างเครื่องมือ Checklist และการพัฒนาองค์กร
ในระยะกลาง รวมทั้งการอธิบายผลลัพธ์ต่อสังคม ซึ่งจะเป็นไปทั้ง
ความสามารถในการสร้างเศรษฐกิจใหม่จากภาคส่วนของ
ผู้ประกอบการที่ไม่ใช่รัฐและเอกชน และเป็ นการริเริ่มจัดการ
เศรษฐกิจไปจากระดับฐานรากของสังคม ที่จะไปเชื่อมโยงกับ
เศรษฐกิจกระแสหลัก
Community Capital
สาระสาคัญของวิชานี้ จะเกี่ยวข้องกับ การทาความเข้าใจต่อการทา
ธุรกิจหรือการประกอบการของชุมชน (Community Entrepreneurs)
ซึ่งในหลักการแล้วจะเป็นการปรับเปลี่ยน Mode of production จาก
การผลิตแบบเกษตรไปสู่การจัดการแบบค้าขายและอุตสาหกรรม
ที่ผู้ประกอบการในระดับชุมชนจะต้องปรับเปลี่ยนตาม
จะอธิบายถึง Best practice ของกิจการในระดับวิสาหกิจชุมชนที่
ประสบความสาเร็จ จะมีองค์ประกอบของ “ทุนสามก้อน” ซึ่งเป็น
การรวมกันระหว่าง “ทุนการรวมกลุ่มชุมชน” “ทุนสนับสนุนจาก
ภายนอก” และ “ทุนความรู้และการสร้างสรรค์” ประกอบกับ
บุคลิกลักษณะของการจัดการการมีส่วนร่วมแบบก้าวหน้า เป็นการใช้
ความสามารถจากองค์กรภาคส่วนอื่น โดยเฉพาะภาคธุรกิจเอกชน
มาช่วยแก้ไขปัญหาความสามารถทางธุรกิจซึ่งเป็นจุดอ่อนของชุมชน
8
นอกจากนี้ ยังจะอธิบายถึงลักษณะและความหมายของผลลัพธ์
(Result-based) เพื่อทาความเข้าใจต่อผลลัพธ์ที่มีต่อการเปลี่ยนแปลง
สังคม (Social impact)
Scaling Up
สาระสาคัญของวิชานี้ จะเกี่ยวข้องกับ การยกระดับจากกิจกรรมเล็ก
ในระดับชุมชนไปสู่การเป็นส่วนหนึ่งของห่วงโซ่อุปทานในระบบ
เศรษฐกิจ ซึ่งเป็นข้อต่อของการพัฒนาของผู้ประกอบการในระดับ
ชุมชน และเป็นไปจุดอ่อนของ Social Enterprise โดยทั่วไป
จะอธิบายถึง Best practice ของกิจการในระดับวิสาหกิจชุมชน
ประสบความสาเร็จ ซึ่งจะต้องมีแผนงานการจัดการองค์กร
การพัฒนาความรู้ความสามารถบุคลากร การวางแผนงาน การจัดการ
ทรัพยากรมนุษย์ การประสานงานและการสร้างพันธมิตรธุรกิจ-
กรณีตัวอย่างของการศึกษาในญี่ปุ่นและอเมริกาซึ่งเป็นประเทศที่มี
การสร้างระบบแวดล้อมหรือที่เรียกว่า Ecosystem สนับสนุน รวมทั้ง
9
การปรับเปลี่ยนไปสู่กิจการของคนรุ่นใหม่-กรณีของการจัดตั้ง
บริษัท DripTech เพื่อบริการระบบน้าหยดในอินเดีย
Linked Economy
สาระสาคัญของวิชานี้ จะเกี่ยวข้องกับ ความสามารถใหม่หรือ
นวัตกรรมทางสังคมที่เกิดขึ้นจากการสร้างสรรค์เศรษฐกิจโดยการ
มีส่วนร่วมของผู้ประกอบการในระดับชุมชน ซึ่งเป็ นการแก้ไข
ประเด็นการกระจายเศรษฐกิจจากส่วนกลางไปยังภูมิภาคหรือการ
กระจายความมั่งคั่งออกไปจากการรวมศูนย์ของกิจการขนาดใหญ่
เป็นการบวกรวมเศรษฐกิจกระแสหลักกับกระแสรองเข้าด้วยกันโดย
บทบาทของ “กระแสรอง”
จะอธิบายถึง Best practice ของกิจการในระดับวิสาหกิจชุมชนและ
การจัดการเศรษฐกิจระดับท้องถิ่นที่ประสบความสาเร็จของกรณี
โออิตะ (ผลิตภัณฑ์วัฒนธรรมหมู่บ้านและการท่องเที่ยว) กรณีการ
สนับสนุน Open Innovation Center ของเกาหลีใต้ และกรณีการ
จัดตั้ง Social Enterprise Center ของรัฐบาลอังกฤษ ฯลฯ
การอบรมประจาเดือนมิถุนายน 2560
รุ่นที่ 2 :
วันศุกร์ที่ 23 มิถุนายน (เวลา 18.00-21.00 น.)
วันเสาร์ที่ 24 มิถุนายน (เวลา 09.00-16.00 น.)
วันอาทิตย์ที่ 25 มิถุนายน (เวลา 09.00-12.00 น.)
10
Case Study
การจัดการกิจการชุมชนเชิงกลยุทธ์
1. ประสบการณ์จากงานรางวัลวิสาหกิจชุมชน-สัมมาชีพ
a. วิสาหกิจชุมชนศูนย์ข้าวชุมชนบ้านอุ่มแสง/วิสาหกิจชุมชน
ทอผ้าบ้านนาต้นจั่น/วิสาหกิจชุมชนกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต
บ้านดอนคา
b. คุณลักษณะของความสามารถ-ความสาเร็จของวิสาหกิจชุมชน
ในการประกอบการ
c. การบริหารและการทางานของ - ทุนสามก้อน/MBA ชาวบ้าน
2. ตัวอย่างของการประกอบการเพื่อสังคม
a. HeroRATs การใช้หนูเพื่อการสารวจวัตถุระเบิด
b. SOLAR BULBS – การใช้วัตถุเรืองแสงแทนไฟฟ้ า
c. ห้องอบเด็กทารก ที่ทาจากผ้าที่สามารถเคลื่อนย้ายได้ (ไม่ใช่
ตู้อบในโรงพยาบาล)
d. Hippo Water Roller Project
e. Play to Care – Cancer Research in UK.
f. Helsinki Design Lab
g. Triodos Bank
h. Muhammad Yunus
i. Jeff Skoll
j. Michael Young
k. Proximity Design
11
3. การบริหารทุนสนับสนุนจากภายนอกชุมชน
a. คูโบต้ากับชุมชนกรณีการทานาข้าวอินทรีย์ที่บ้านอุ่มแสง
b. การฟื้ นฟูแม้น้าอลิซาเบธ
4. เมืองน้าเต้าหู้และการท่องเที่ยวของไต้หวัน
5. โออิตะ – การท่องเที่ยวชุมชนท้องถิ่นของญี่ปุ่น
6. ศูนย์เศรษฐกิจสร้างสรรค์และนวัตกรรมเปิดที่เกาหลีใต้
ที่ตั้ง : ศูนย์ศึกษาและพัฒนากิจการเพื่อสังคม แห่งมหาวิทยาลัยรังสิต
52/347 หมู่บ้านเมืองเอก ตึก 3 ชั้น 1 ห้อง 116
ถ.พหลโยธิน ต.หลักหก อ.เมือง จ.ปทุมธานี 12000
โทรศัพท์ : 0-2617-5854-8 โทรสาร : 0-2617-5859
เว็บไซต์ : https://rsusecenter.wordpress.com/
โอนเงินลงทะเบียน
ธนาคารทหารไทย ชื่อบัญชี : สถาบันรังสิตวิชชาลัย ม.รังสิต
บัญชีเลขที่ : 099-2-49136-5
ผู้ประสานงาน :
เปรมณัช โภชนสมบูรณ์ โทรศัพท์ : 086-526-3328
พิมพ์ชฎา ธนกุลดารง โทรศัพท์ : 081-623-3544
12
RSU-SE Center SE-รุ่น2

More Related Content

Similar to RSU-SE Center SE-รุ่น2

การเดินทางของแนวคิด 1
การเดินทางของแนวคิด 1การเดินทางของแนวคิด 1
การเดินทางของแนวคิด 1Image plus Communication
 
Prและสังคม5
Prและสังคม5Prและสังคม5
Prและสังคม5Vivace Narasuwan
 
บทความ การวิเคราะห์องค์การประเภทกิจการเพื่อสังคม
บทความ การวิเคราะห์องค์การประเภทกิจการเพื่อสังคมบทความ การวิเคราะห์องค์การประเภทกิจการเพื่อสังคม
บทความ การวิเคราะห์องค์การประเภทกิจการเพื่อสังคมDevelopment Science College Puey Ungphakorn,Thammasat University
 
1. หลักสูตร "การจัดการกิจการเพื่อสังคมเชิงกลยุทธ์" รุ่น 2
1. หลักสูตร "การจัดการกิจการเพื่อสังคมเชิงกลยุทธ์" รุ่น 21. หลักสูตร "การจัดการกิจการเพื่อสังคมเชิงกลยุทธ์" รุ่น 2
1. หลักสูตร "การจัดการกิจการเพื่อสังคมเชิงกลยุทธ์" รุ่น 2Image plus Communication
 
Ebook Thammasat Model
Ebook Thammasat ModelEbook Thammasat Model
Ebook Thammasat ModelIBMP.TBS
 
กลุ่มกิงก่องแก้ว --ทุนนิยมที่มีหัวใจ สรุปเนื้อหา
กลุ่มกิงก่องแก้ว --ทุนนิยมที่มีหัวใจ สรุปเนื้อหากลุ่มกิงก่องแก้ว --ทุนนิยมที่มีหัวใจ สรุปเนื้อหา
กลุ่มกิงก่องแก้ว --ทุนนิยมที่มีหัวใจ สรุปเนื้อหาfreelance
 
แนวคิด "เกษตรกรรมยุคใหม่" : ทางออกและโอกาสของเกษตรกรไทย
แนวคิด "เกษตรกรรมยุคใหม่" : ทางออกและโอกาสของเกษตรกรไทยแนวคิด "เกษตรกรรมยุคใหม่" : ทางออกและโอกาสของเกษตรกรไทย
แนวคิด "เกษตรกรรมยุคใหม่" : ทางออกและโอกาสของเกษตรกรไทยKlangpanya
 
บทความวิจัยบทบาทหน่วยงานทรัพยากรมนุษย์ในการดำเนินงานด้านความรับผิดชอบต่อสังคม...
บทความวิจัยบทบาทหน่วยงานทรัพยากรมนุษย์ในการดำเนินงานด้านความรับผิดชอบต่อสังคม...บทความวิจัยบทบาทหน่วยงานทรัพยากรมนุษย์ในการดำเนินงานด้านความรับผิดชอบต่อสังคม...
บทความวิจัยบทบาทหน่วยงานทรัพยากรมนุษย์ในการดำเนินงานด้านความรับผิดชอบต่อสังคม...Development Science College Puey Ungphakorn,Thammasat University
 
การนำหลักสังคหวัตถุธรรมไปใช้ในการจัดสวัสดิการแก่สมาชิกของกองทุนสวัสดิการชุมชน...
การนำหลักสังคหวัตถุธรรมไปใช้ในการจัดสวัสดิการแก่สมาชิกของกองทุนสวัสดิการชุมชน...การนำหลักสังคหวัตถุธรรมไปใช้ในการจัดสวัสดิการแก่สมาชิกของกองทุนสวัสดิการชุมชน...
การนำหลักสังคหวัตถุธรรมไปใช้ในการจัดสวัสดิการแก่สมาชิกของกองทุนสวัสดิการชุมชน...Happy Sara
 
การนำหลักสังคหวัตถุธรรมไปใช้ในการจัดสวัสดิการแก่สมาชิกของกองทุนสวัสดิการชุมชน...
การนำหลักสังคหวัตถุธรรมไปใช้ในการจัดสวัสดิการแก่สมาชิกของกองทุนสวัสดิการชุมชน...การนำหลักสังคหวัตถุธรรมไปใช้ในการจัดสวัสดิการแก่สมาชิกของกองทุนสวัสดิการชุมชน...
การนำหลักสังคหวัตถุธรรมไปใช้ในการจัดสวัสดิการแก่สมาชิกของกองทุนสวัสดิการชุมชน...Happy Sara
 
Corporate Social Responsibility (CSR)
Corporate Social Responsibility  (CSR)Corporate Social Responsibility  (CSR)
Corporate Social Responsibility (CSR)Pongsa Pongsathorn
 
สิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อมสิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อมjirapom
 
Creative Capital infographic Present02
Creative Capital infographic Present02Creative Capital infographic Present02
Creative Capital infographic Present02unchill
 
Dental public meeting Holiday Inn
Dental public meeting Holiday Inn Dental public meeting Holiday Inn
Dental public meeting Holiday Inn Jitty Chanprasit
 

Similar to RSU-SE Center SE-รุ่น2 (20)

การเดินทางของแนวคิด 1
การเดินทางของแนวคิด 1การเดินทางของแนวคิด 1
การเดินทางของแนวคิด 1
 
Csrmono2013
Csrmono2013Csrmono2013
Csrmono2013
 
Introduction #1
Introduction #1 Introduction #1
Introduction #1
 
Prและสังคม5
Prและสังคม5Prและสังคม5
Prและสังคม5
 
บทความ การวิเคราะห์องค์การประเภทกิจการเพื่อสังคม
บทความ การวิเคราะห์องค์การประเภทกิจการเพื่อสังคมบทความ การวิเคราะห์องค์การประเภทกิจการเพื่อสังคม
บทความ การวิเคราะห์องค์การประเภทกิจการเพื่อสังคม
 
1. หลักสูตร "การจัดการกิจการเพื่อสังคมเชิงกลยุทธ์" รุ่น 2
1. หลักสูตร "การจัดการกิจการเพื่อสังคมเชิงกลยุทธ์" รุ่น 21. หลักสูตร "การจัดการกิจการเพื่อสังคมเชิงกลยุทธ์" รุ่น 2
1. หลักสูตร "การจัดการกิจการเพื่อสังคมเชิงกลยุทธ์" รุ่น 2
 
Ebook Thammasat Model
Ebook Thammasat ModelEbook Thammasat Model
Ebook Thammasat Model
 
กลุ่มกิงก่องแก้ว --ทุนนิยมที่มีหัวใจ สรุปเนื้อหา
กลุ่มกิงก่องแก้ว --ทุนนิยมที่มีหัวใจ สรุปเนื้อหากลุ่มกิงก่องแก้ว --ทุนนิยมที่มีหัวใจ สรุปเนื้อหา
กลุ่มกิงก่องแก้ว --ทุนนิยมที่มีหัวใจ สรุปเนื้อหา
 
แนวคิด "เกษตรกรรมยุคใหม่" : ทางออกและโอกาสของเกษตรกรไทย
แนวคิด "เกษตรกรรมยุคใหม่" : ทางออกและโอกาสของเกษตรกรไทยแนวคิด "เกษตรกรรมยุคใหม่" : ทางออกและโอกาสของเกษตรกรไทย
แนวคิด "เกษตรกรรมยุคใหม่" : ทางออกและโอกาสของเกษตรกรไทย
 
บทความวิจัยบทบาทหน่วยงานทรัพยากรมนุษย์ในการดำเนินงานด้านความรับผิดชอบต่อสังคม...
บทความวิจัยบทบาทหน่วยงานทรัพยากรมนุษย์ในการดำเนินงานด้านความรับผิดชอบต่อสังคม...บทความวิจัยบทบาทหน่วยงานทรัพยากรมนุษย์ในการดำเนินงานด้านความรับผิดชอบต่อสังคม...
บทความวิจัยบทบาทหน่วยงานทรัพยากรมนุษย์ในการดำเนินงานด้านความรับผิดชอบต่อสังคม...
 
Introductiion #2
Introductiion #2Introductiion #2
Introductiion #2
 
Responsible / Sustainable Finance
Responsible / Sustainable FinanceResponsible / Sustainable Finance
Responsible / Sustainable Finance
 
การนำหลักสังคหวัตถุธรรมไปใช้ในการจัดสวัสดิการแก่สมาชิกของกองทุนสวัสดิการชุมชน...
การนำหลักสังคหวัตถุธรรมไปใช้ในการจัดสวัสดิการแก่สมาชิกของกองทุนสวัสดิการชุมชน...การนำหลักสังคหวัตถุธรรมไปใช้ในการจัดสวัสดิการแก่สมาชิกของกองทุนสวัสดิการชุมชน...
การนำหลักสังคหวัตถุธรรมไปใช้ในการจัดสวัสดิการแก่สมาชิกของกองทุนสวัสดิการชุมชน...
 
การนำหลักสังคหวัตถุธรรมไปใช้ในการจัดสวัสดิการแก่สมาชิกของกองทุนสวัสดิการชุมชน...
การนำหลักสังคหวัตถุธรรมไปใช้ในการจัดสวัสดิการแก่สมาชิกของกองทุนสวัสดิการชุมชน...การนำหลักสังคหวัตถุธรรมไปใช้ในการจัดสวัสดิการแก่สมาชิกของกองทุนสวัสดิการชุมชน...
การนำหลักสังคหวัตถุธรรมไปใช้ในการจัดสวัสดิการแก่สมาชิกของกองทุนสวัสดิการชุมชน...
 
Corporate Social Responsibility (CSR)
Corporate Social Responsibility  (CSR)Corporate Social Responsibility  (CSR)
Corporate Social Responsibility (CSR)
 
Csr พงศธร550122
Csr พงศธร550122Csr พงศธร550122
Csr พงศธร550122
 
สิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อมสิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อม
 
Creative Capital infographic Present02
Creative Capital infographic Present02Creative Capital infographic Present02
Creative Capital infographic Present02
 
พัฒนาชุมชน
พัฒนาชุมชนพัฒนาชุมชน
พัฒนาชุมชน
 
Dental public meeting Holiday Inn
Dental public meeting Holiday Inn Dental public meeting Holiday Inn
Dental public meeting Holiday Inn
 

More from Image plus Communication

สานพลังประชารัฐ
สานพลังประชารัฐสานพลังประชารัฐ
สานพลังประชารัฐImage plus Communication
 
โครงสร้างศูนย์ศึกษาและพัฒนากิจการเพื่อสังคม
โครงสร้างศูนย์ศึกษาและพัฒนากิจการเพื่อสังคมโครงสร้างศูนย์ศึกษาและพัฒนากิจการเพื่อสังคม
โครงสร้างศูนย์ศึกษาและพัฒนากิจการเพื่อสังคมImage plus Communication
 
ตารางเรียน Rsu se-รุ่น3
ตารางเรียน Rsu se-รุ่น3ตารางเรียน Rsu se-รุ่น3
ตารางเรียน Rsu se-รุ่น3Image plus Communication
 
ตารางเรียน หลักสูตรอบรมนักบริหารวิสาหกิจเพื่อสังคม รุ่น3
ตารางเรียน หลักสูตรอบรมนักบริหารวิสาหกิจเพื่อสังคม รุ่น3ตารางเรียน หลักสูตรอบรมนักบริหารวิสาหกิจเพื่อสังคม รุ่น3
ตารางเรียน หลักสูตรอบรมนักบริหารวิสาหกิจเพื่อสังคม รุ่น3Image plus Communication
 
โครงสร้างศูนย์ศึกษาและพัฒนากิจการเพื่อสังคม
โครงสร้างศูนย์ศึกษาและพัฒนากิจการเพื่อสังคมโครงสร้างศูนย์ศึกษาและพัฒนากิจการเพื่อสังคม
โครงสร้างศูนย์ศึกษาและพัฒนากิจการเพื่อสังคมImage plus Communication
 
ประสบการณ์เก็บตกจากงานรางวัลวิสาหกิจชุมชน สัมมาชีพ Social transition journey
ประสบการณ์เก็บตกจากงานรางวัลวิสาหกิจชุมชน สัมมาชีพ Social transition journeyประสบการณ์เก็บตกจากงานรางวัลวิสาหกิจชุมชน สัมมาชีพ Social transition journey
ประสบการณ์เก็บตกจากงานรางวัลวิสาหกิจชุมชน สัมมาชีพ Social transition journeyImage plus Communication
 
กระแสการตื่นตัวของฐานรากของโลก
กระแสการตื่นตัวของฐานรากของโลกกระแสการตื่นตัวของฐานรากของโลก
กระแสการตื่นตัวของฐานรากของโลกImage plus Communication
 
ก้าวสำคัญ - ก้าวที่ร่วมสร้างสัมมาชีพเต็มพื้นที
ก้าวสำคัญ - ก้าวที่ร่วมสร้างสัมมาชีพเต็มพื้นทีก้าวสำคัญ - ก้าวที่ร่วมสร้างสัมมาชีพเต็มพื้นที
ก้าวสำคัญ - ก้าวที่ร่วมสร้างสัมมาชีพเต็มพื้นทีImage plus Communication
 
Internet based & anti – corruption movements
Internet based & anti – corruption movementsInternet based & anti – corruption movements
Internet based & anti – corruption movementsImage plus Communication
 
โอกาสทางเศรษฐกิจใหม่ๆของเศรฐกิจท้องถิ่น
โอกาสทางเศรษฐกิจใหม่ๆของเศรฐกิจท้องถิ่นโอกาสทางเศรษฐกิจใหม่ๆของเศรฐกิจท้องถิ่น
โอกาสทางเศรษฐกิจใหม่ๆของเศรฐกิจท้องถิ่นImage plus Communication
 
จากรั้วโรงงานสู่ประตู่บ้าน ชุมชน
จากรั้วโรงงานสู่ประตู่บ้าน ชุมชนจากรั้วโรงงานสู่ประตู่บ้าน ชุมชน
จากรั้วโรงงานสู่ประตู่บ้าน ชุมชนImage plus Communication
 

More from Image plus Communication (15)

สานพลังประชารัฐ
สานพลังประชารัฐสานพลังประชารัฐ
สานพลังประชารัฐ
 
โครงสร้างศูนย์ศึกษาและพัฒนากิจการเพื่อสังคม
โครงสร้างศูนย์ศึกษาและพัฒนากิจการเพื่อสังคมโครงสร้างศูนย์ศึกษาและพัฒนากิจการเพื่อสังคม
โครงสร้างศูนย์ศึกษาและพัฒนากิจการเพื่อสังคม
 
ตารางเรียน Rsu se-รุ่น3
ตารางเรียน Rsu se-รุ่น3ตารางเรียน Rsu se-รุ่น3
ตารางเรียน Rsu se-รุ่น3
 
ตารางเรียน หลักสูตรอบรมนักบริหารวิสาหกิจเพื่อสังคม รุ่น3
ตารางเรียน หลักสูตรอบรมนักบริหารวิสาหกิจเพื่อสังคม รุ่น3ตารางเรียน หลักสูตรอบรมนักบริหารวิสาหกิจเพื่อสังคม รุ่น3
ตารางเรียน หลักสูตรอบรมนักบริหารวิสาหกิจเพื่อสังคม รุ่น3
 
RSU-SE3 PR #1
RSU-SE3 PR #1RSU-SE3 PR #1
RSU-SE3 PR #1
 
โครงสร้างศูนย์ศึกษาและพัฒนากิจการเพื่อสังคม
โครงสร้างศูนย์ศึกษาและพัฒนากิจการเพื่อสังคมโครงสร้างศูนย์ศึกษาและพัฒนากิจการเพื่อสังคม
โครงสร้างศูนย์ศึกษาและพัฒนากิจการเพื่อสังคม
 
About
AboutAbout
About
 
ประสบการณ์เก็บตกจากงานรางวัลวิสาหกิจชุมชน สัมมาชีพ Social transition journey
ประสบการณ์เก็บตกจากงานรางวัลวิสาหกิจชุมชน สัมมาชีพ Social transition journeyประสบการณ์เก็บตกจากงานรางวัลวิสาหกิจชุมชน สัมมาชีพ Social transition journey
ประสบการณ์เก็บตกจากงานรางวัลวิสาหกิจชุมชน สัมมาชีพ Social transition journey
 
กระแสการตื่นตัวของฐานรากของโลก
กระแสการตื่นตัวของฐานรากของโลกกระแสการตื่นตัวของฐานรากของโลก
กระแสการตื่นตัวของฐานรากของโลก
 
ก้าวสำคัญ - ก้าวที่ร่วมสร้างสัมมาชีพเต็มพื้นที
ก้าวสำคัญ - ก้าวที่ร่วมสร้างสัมมาชีพเต็มพื้นทีก้าวสำคัญ - ก้าวที่ร่วมสร้างสัมมาชีพเต็มพื้นที
ก้าวสำคัญ - ก้าวที่ร่วมสร้างสัมมาชีพเต็มพื้นที
 
Internet based & anti – corruption movements
Internet based & anti – corruption movementsInternet based & anti – corruption movements
Internet based & anti – corruption movements
 
Thepower ofcommunication
Thepower ofcommunicationThepower ofcommunication
Thepower ofcommunication
 
โอกาสทางเศรษฐกิจใหม่ๆของเศรฐกิจท้องถิ่น
โอกาสทางเศรษฐกิจใหม่ๆของเศรฐกิจท้องถิ่นโอกาสทางเศรษฐกิจใหม่ๆของเศรฐกิจท้องถิ่น
โอกาสทางเศรษฐกิจใหม่ๆของเศรฐกิจท้องถิ่น
 
จากรั้วโรงงานสู่ประตู่บ้าน ชุมชน
จากรั้วโรงงานสู่ประตู่บ้าน ชุมชนจากรั้วโรงงานสู่ประตู่บ้าน ชุมชน
จากรั้วโรงงานสู่ประตู่บ้าน ชุมชน
 
7 strategic communication in public sphere
7 strategic communication in public sphere7 strategic communication in public sphere
7 strategic communication in public sphere
 

RSU-SE Center SE-รุ่น2

  • 2. คณะผู้ริเริ่มจัดตั้งศูนย์ศึกษาและพัฒนากิจการเพื่อสังคม แห่งมหาวิทยาลัยรังสิต 1. รศ.ดร.สังศิต พิริยะรังสรรค์ คณบดี วิทยาลัยนวัตกรรมสังคม มหาวิทยาลัยรังสิต (ที่ปรึกษา) 2. ดร.สุริยะใส กตะศิลา รองคณบดี วิทยาลัยนวัตกรรมสังคม มหาวิทยาลัยรังสิต 3. ผศ.ดร.ฐิติพร ศิริพันธ์ พันธเสน รองคณบดี วิทยาลัยนวัตกรรมสังคม มหาวิทยาลัยรังสิต 4. ดร.ดวงพร อาภาศิลป์ อดีตรองคณบดี วิทยาลัยนวัตกรรม สังคม มหาวิทยาลัยรังสิต 5. ดร.ศักดิสิน ปัจจักขะภัติ สถาบันพัฒนาการบริหารทรัพย์สิน และอสังหาริมทรัพย์ 6. ดร.วัฒนา โอภานนท์อมตะ บริษัท บางจากปิโตรเลียม จากัด (มหาชน) 7. ดร.สุวัฒน์ ทองธนากุล บรรณาธิการ Green Innovation & CSR ธุรกิจในเครือผู้จัดการ 8. ดร.นัชชา เทียมพิทักษ์ บริษัท ซีพี ออลล์ จากัด (มหาชน) 9. ดร.สมฤดี ศรีจรรยา สถาบันการตลาดเพื่อสังคม 10. ดร.ณัฐพงษ์ จารุวรรณพงศ์ สานักงานส่งเสริมกิจการเพื่อสังคม 11. ดร.พิพัฒน์ ยอดพฤติการ สถาบันไทยพัฒน์ 12. ดร.สุนทร คุณชัยมัง มูลนิธิสัมมาชีพ ผู้รับผิดชอบหลักสูตร 1. รศ.ดร.สังศิต พิริยะรังสรรค์ คณบดี วิทยาลัยนวัตกรรมสังคม 2. ผศ.ดร.ฐิติพร ศิริพันธ์ พันธเสน รองคณบดี วิทยาลัยนวัตกรรมสังคม 3. ดร.สุริยะใส กตะศิลา รองคณบดี วิทยาลัยนวัตกรรมสังคม 4. ดร.สุนทร คุณชัยมัง ผู้อานวยการหลักสูตร
  • 3. สารบัญ หน้า หลักการและเหตุผล 1 วัตถุประสงค์ 4 กลุ่มเป้ าหมาย 4 การดาเนินงาน 5 หลักสูตร “การจัดการกิจการเพื่อสังคมเชิงกลยุทธ์” 7 Case Study การจัดการกิจการเพื่อสังคมเชิงกลยุทธ์ 11 สถานที่ติดต่อ 12
  • 4. หลักการและเหตุผล ในระยะ 20 ปีที่ผ่านมา กระแสความตื่นตัวให้ความสนใจต่อการ พัฒนาเศรษฐกิจฐานรากในระดับชุมชน การส่งเสริมการประกอบการ การสนับสนุนในกิจการขนาดกลางและขนาดย่อม1 เพื่อต่อยอด เศรษฐกิจใหม่ๆ ให้กับระบบเศรษฐกิจของประเทศไทยนั้นได้ เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องและมีความเข้มข้นขึ้นตามลาดับควบคู่ไปกับ การยกระดับการให้ความสาคัญต่อสิทธิการมีส่วนร่วมของภาคสังคม การมีส่วนร่วมของประชาชนผู้มีส่วนได้เสีย รวมทั้งสอดรับไปกับ การกระจายอานาจการปกครองจากส่วนกลางไปยังภูมิภาค ซึ่งกล่าว อีกนัยหนึ่งได้ว่าการสร้างกลไกสนับสนุนเศรษฐกิจรายย่อยต่างๆ ข้างต้น ก็เปรียบเสมือนการกระจายความสามารถในการเข้าถึง แหล่งทุนและโอกาสทางเศรษฐกิจจากส่วนกลางไปยังท้องถิ่นจาก เมืองไปยังชนบท จากระดับของคนในส่วนผู้นาของสังคมไปยังระดับ ชุมชน ยิ่งไปกว่านั้น ในห้วงระยะเวลาเดียวกันนี้ ในประเทศไทย ยังให้ความสนใจต่อการรณรงค์ให้กิจการเอกชนเข้ามาร่วมรับผิดชอบ ต่อการจัดการแก้ไขปัญหาของสังคมหรือที่รู้จักกันโดยทั่วไปว่า “ความรับผิดชอบต่อสังคม” (Corporate Social Responsibility : CSR) ซึ่งจะมีประเด็นการสนับสนุนเศรษฐกิจในระดับชุมชนรวม อยู่ด้วย ซึ่งขึ้นอยู่กับการพิจารณาของผู้ประกอบการกับผู้มีส่วนได้เสียจะให้ ความสาคัญ 1 สานักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (สสว.) จัดตั้งขึ้นในปี 2543 ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SME Development Bank) จัดตั้งขึ้น ในปี 2545 1
  • 5. สาหรับ “วิสาหกิจเพื่อสังคม” (Social Enterprise : SE) ในกรณี ของไทย นับได้ว่าเป็นกระแสที่เกิดขึ้นตามหลังจากเรื่องต่างๆ ข้างต้น รัฐบาลไทยโดยมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 28 กรกฎาคม พ.ศ.2553 ได้จัดตั้ง “สานักงานสร้างเสริมกิจการเพื่อสังคมแห่งชาติ” (สกส.) ขึ้นตามระเบียบกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ2 ตามแผน แม่บทว่าด้วยการสร้างเสริมกิจการเพื่อสังคม พ.ศ.2553-2557 โดย สกส. มีเป้ าหมายสาคัญที่จะกระตุ้น สนับสนุน ประสานความ ร่วมมือเพื่อให้เกิดกิจการเพื่อสังคมและพัฒนาเป็นเครือข่ายตอบสนอง ต่อปัญหาทางเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรมและสิ่งแวดล้อม ครอบคลุม การประกอบการจากบุคคลโดยทั่วไปที่ดาเนินธุรกิจด้วยการคานึงถึง ผลกระทบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม อนึ่ง กรอบภารกิจของ สกส. ที่ รวมไปถึงการประกอบการโดยบุคคลที่ดาเนินธุรกิจด้วยการคานึงถึง ผลกระทบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม นั้นย่อมหมายความว่า ได้ขยาย ความเกี่ยวข้องในการดาเนินงานไปยัง “การประกอบการเพื่อสังคม” (Social Entrepreneurship) อีกมิติหนึ่งด้วย รัฐบาลของ พล.อ. ประยุทธ์ จันทร์โอชา ได้เห็นชอบที่จะพัฒนา เศรษฐกิจของประเทศเพื่อก้าวข้ามกับดักการเป็นประเทศที่มีรายได้ ปานกลาง กับดักความเหลื่อมล้าของความมั่งคั่งและกับดักความ ไม่สมดุลของการพัฒนา ด้วยการพัฒนาประเทศให้เศรษฐกิจกระแส หลัก พัฒนาด้วยนวัตกรรมเป็ นพลังขับเคลื่อนเป็ น Innovation- 2 ต่อมารัฐบาลโดยสานักนายกรัฐมนตรี ได้อาศัยอานาจตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบ บริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ.2534 รองรับการดาเนินงานของ สกส. เรียกว่า ระเบียบ สานักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วย การส่งเสริมกิจการเพื่อสังคมแห่งชาติ พ.ศ.2554 โดยมี นายกรัฐมนตรี เป็นประธานคณะกรรมการสร้างเสริมกิจการเพื่อสังคมแห่งชาติ (คกส.) 2
  • 6. Driven Industry เพื่อปรับเปลี่ยนประเทศให้ก้าวไปตาม “ประเทศไทย 4.0” ในขณะเดียวกัน ก็ผลักดันนโยบาย “ประชารัฐ” ให้นาเอา ความสามารถในด้านต่างๆ ของกิจการเอกชน ไปร่วมกับกลไกของ ภาครัฐ เพื่อพัฒนาเศรษฐกิจในระดับฐานราก รวมทั้งการดาเนินงาน ในด้านต่างๆ โดยมีคณะทางานว่าด้วยประชารัฐ 13 คณะ มีการ จัดตั้ง “บริษัทประชารัฐรักสามัคคีจังหวัด จากัด” และนาเอาแนวคิด ว่าด้วยวิสาหกิจเพื่อสังคม มาเป็นแนวทางในการดาเนินงานชักชวน เอกชนให้มาร่วมลงทุนกับชุมชน (โดยจากัดสิทธิและการปันผลของ การลงทุนภาคเอกชน-มุ่งให้ความสาคัญต่อการจัดการโดยชุมชน เป็นหลัก) และออกพระราชกฤษฎีกาเพื่อยกเว้นภาษีแก่ธุรกิจที่ ประกอบกิจการตามกรอบเกณฑ์ที่กาหนดขึ้นเป็น “วิสาหกิจเพื่อ สังคม”3 (เป็นธุรกิจที่ดาเนินกิจการเพื่อสังคม และนาเอากาไรที่ได้ จากการประกอบกิจการไม่น้อยกว่า 70% ไปใช้ในการลงทุนเพื่อ สังคมต่อไปอีก) อย่างไรก็ตาม ปรากฏว่า ในขณะที่รัฐบาลเร่งรัดพัฒนาเศรษฐกิจ ฐานรากตามแนวทางประชารัฐนั้น สกส. ซึ่งเป็นองค์กรที่รณรงค์ แนวคิดว่าด้วยวิสาหกิจเพื่อสังคมมาก่อนหน้านี้ ต้องยุติตัวเองลง เป็นการชั่วคราว เนื่องจากต้องรอการตราพระราชบัญญัติจัดตั้ง องค์กร จึงทาให้การดาเนินกิจการวิสาหกิจเพื่อสังคมตามนโยบายของ รัฐบาล ขาดองค์กรสนับสนุน (Supporting Organization) โดยเฉพาะ อย่างยิ่งในด้านวิชาการและการจัดการความรู้ 3 พระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากรว่าด้วยการยกเว้นรัษฎากร (ฉบับที่ 621) พ.ศ.2559 ประกาศกิจจานุเบกษา 30 สิงหาคม 2559 3
  • 7. สถานการณ์แวดล้อมที่ได้กล่าวมาข้างต้น จึงเป็นที่มาของการจัดทา ข้อเสนอให้จัดตั้ง “ศูนย์ศึกษาและพัฒนากิจการเพื่ อสังคม แห่งมหาวิทยาลัยรังสิต” เรียกเป็นภาษาอังกฤษว่า Social Enterprise Studies and Development Center of Rangsit University เรียกโดย ย่อว่า RSU-SE Center เพื่อทาหน้าที่ศึกษา ค้นคว้า และจัดให้มี การสนับสนุนต่อผู้ปฏิบัติงานของภาคส่วนต่างๆ ทั้งภาครัฐ เอกชน ประชาสังคม ตลอดจนเยาวชนคนรุ่นใหม่ที่เพิ่งจบการศึกษาหรือ ที่เริ่มทางานใน 1-3 ปีแรกที่สนใจจะเปลี่ยนงานไปสร้างวิสาหกิจ หรือกิจการเพื่อสังคม ในเบื้องต้นนี้ RSU-SE Center ขอเสนอให้มี การดาเนินงานในหลักสูตร “นักบริหารวิสาหกิจเพื่อสังคม” วัตถุประสงค์ 1. เป็นการเพิ่มพูนความรู้ ทักษะ และความเชี่ยวชาญในการ จัดการวิสาหกิจและการประกอบการเพื่อสังคมสาหรับผู้นา ในภาครัฐ เอกชน และประชาสังคม 2. เป็ นการพัฒนาความรู้ด้านการบริหารจัดการกับการ ดาเนินงานวิสาหกิจและการประกอบการเพื่อสังคม 3. เป็นส่วนหนึ่งของกิจการเพื่อสังคมด้านงานวิชาการในนาม ของมหาวิทยาลัยรังสิต กลุ่มเป้ าหมาย 1. ผู้บริหารวิสาหกิจเพื่อสังคมขององค์กรภาครัฐทั้งส่วนกลาง และท้องถิ่น 4
  • 8. 2. ผู้บริหารที่เกี่ยวข้องกับงานด้านความรับผิดชอบต่อสังคม ในองค์กรภาคเอกชน 3. ผู้นาชุมชน และเจ้าหน้าที่ขององค์กรชุมชนที่ดาเนินงาน ด้านวิสาหกิจชุมชน 4. ผู้บริหารขององค์กรสนับสนุนในกิจการชุมชน การดาเนินงาน 1. ลักษณะของหลักสูตร เป็นหลักสูตรอบรมแบบระยะสั้น โดยมีระยะเวลาเรียนและทา กิจกรรมในชั้นเรียนร่วมกันเพียง 3 วัน เน้นสร้างความรู้พื้ นฐาน (Concept) และเครื่องมือ (Tools) ที่จาเป็นสาหรับการดาเนินงาน ให้บรรลุตามเป้ าหมายและพร้อมกับการรู้จักสรุปรวบยอดและตั้ง เป็นข้อสังเกตหรือตั้งเป็นสมมติฐานสาหรับการค้นคว้าและพัฒนา ต่อยอด ซึ่งเป็นไปตามลักษณะเฉพาะของการเรียนรู้ที่เกิดจากงาน ภาคสนาม หรือ Field-based learning 2. หมวดวิชา 2.1 การจัดการกิจการเพื่อสังคมเชิงกลยุทธ์ เป็นวิชาที่มุ่งหวังให้ผู้เข้าอบรมมีหลักที่จะพิจารณา ความสาคัญของประเด็นปัญหาของสังคมกับความเหมาะสมของ กิจการและการทางานของฝ่ายกิจการเพื่อสังคม ยกระดับความรู้ เกี่ยวกับรูปแบบ ขั้นตอน และเทคนิคการพัฒนางานความร่วมมือ รวมทั้งการปรับเปลี่ยนยุทธศาสตร์ในระดับองค์กร 5
  • 9. 2.2 การจัดการกิจการชุมชนเชิงกลยุทธ์ เป็นวิชาที่มุ่งหวังให้ผู้เข้าอบรมมีหลักคิดหรือเครื่องมือ เบื้องต้นที่จะประเมินการดาเนินธุรกิจของชุมชน รวมทั้งมีแนวทาง สาหรับการจัดการเร่งด่วน การสร้างเครื่องมือ Checklist และการพัฒนา องค์กรในระยะกลาง รวมทั้งการอธิบายผลลัพธ์ต่อสังคมซึ่งจะเป็นไป ทั้งความสามารถในการสร้างเศรษฐกิจใหม่จากภาคส่วนของ ผู้ประกอบการที่ไม่ใช่รัฐและเอกชน และเป็นการริเริ่มจัดการเศรษฐกิจ ไปจากระดับฐานรากของสังคมที่จะไปเชื่อมโยงกับเศรษฐกิจกระแสหลัก 3. การจัดอบรม รุ่นที่ 2 เดือนมิถุนายน – กรกฎาคม 2560 - วันศุกร์ (เวลา 18.00-21.00 น.) - วันเสาร์ (เวลา 09.00-16.00 น.) - วันอาทิตย์ (เวลา 09.00-12.00 น.) 4. อัตราค่าอบรม 15,000 บาท/คน/หมวดวิชา 5. สถานที่ - วันศุกร์ : มหาวิทยาลัยรังสิต ศูนย์ศึกษาวิภาวดี - วันเสาร์-อาทิตย์ : มหาวิทยาลัยรังสิต หมู่บ้านเมืองเอก 6. จานวน 30 คนต่อรุ่น ผู้ที่ผ่านการอบรมหลักสูตร “นักบริหารวิสาหกิจเพื่อสังคม” และประสงค์จะศึกษาต่อในระดับปริญญาโท มหาวิทยาลัยรังสิต สามารถนาไปเทียบโอนผลการเรียนในรายวิชา CSI 636 จรรยาบรรณและความรับผิดชอบต่อสังคม (Ethics and Social Responsibility) CSI 640 ธุรกิจเพื่อสังคมและวิสาหกิจชุมชน (Social Enterprise and Community Business) 6
  • 11. Goals มุ่งหวังที่จะให้ผู้เข้าอบรมมีหลักคิดหรือเครื่องมือเบื้ องต้นที่จะ ประเมินการดาเนินธุรกิจของชุมชน รวมทั้งมีแนวทางสาหรับการ จัดการเร่งด่วน การสร้างเครื่องมือ Checklist และการพัฒนาองค์กร ในระยะกลาง รวมทั้งการอธิบายผลลัพธ์ต่อสังคม ซึ่งจะเป็นไปทั้ง ความสามารถในการสร้างเศรษฐกิจใหม่จากภาคส่วนของ ผู้ประกอบการที่ไม่ใช่รัฐและเอกชน และเป็ นการริเริ่มจัดการ เศรษฐกิจไปจากระดับฐานรากของสังคม ที่จะไปเชื่อมโยงกับ เศรษฐกิจกระแสหลัก Community Capital สาระสาคัญของวิชานี้ จะเกี่ยวข้องกับ การทาความเข้าใจต่อการทา ธุรกิจหรือการประกอบการของชุมชน (Community Entrepreneurs) ซึ่งในหลักการแล้วจะเป็นการปรับเปลี่ยน Mode of production จาก การผลิตแบบเกษตรไปสู่การจัดการแบบค้าขายและอุตสาหกรรม ที่ผู้ประกอบการในระดับชุมชนจะต้องปรับเปลี่ยนตาม จะอธิบายถึง Best practice ของกิจการในระดับวิสาหกิจชุมชนที่ ประสบความสาเร็จ จะมีองค์ประกอบของ “ทุนสามก้อน” ซึ่งเป็น การรวมกันระหว่าง “ทุนการรวมกลุ่มชุมชน” “ทุนสนับสนุนจาก ภายนอก” และ “ทุนความรู้และการสร้างสรรค์” ประกอบกับ บุคลิกลักษณะของการจัดการการมีส่วนร่วมแบบก้าวหน้า เป็นการใช้ ความสามารถจากองค์กรภาคส่วนอื่น โดยเฉพาะภาคธุรกิจเอกชน มาช่วยแก้ไขปัญหาความสามารถทางธุรกิจซึ่งเป็นจุดอ่อนของชุมชน 8
  • 12. นอกจากนี้ ยังจะอธิบายถึงลักษณะและความหมายของผลลัพธ์ (Result-based) เพื่อทาความเข้าใจต่อผลลัพธ์ที่มีต่อการเปลี่ยนแปลง สังคม (Social impact) Scaling Up สาระสาคัญของวิชานี้ จะเกี่ยวข้องกับ การยกระดับจากกิจกรรมเล็ก ในระดับชุมชนไปสู่การเป็นส่วนหนึ่งของห่วงโซ่อุปทานในระบบ เศรษฐกิจ ซึ่งเป็นข้อต่อของการพัฒนาของผู้ประกอบการในระดับ ชุมชน และเป็นไปจุดอ่อนของ Social Enterprise โดยทั่วไป จะอธิบายถึง Best practice ของกิจการในระดับวิสาหกิจชุมชน ประสบความสาเร็จ ซึ่งจะต้องมีแผนงานการจัดการองค์กร การพัฒนาความรู้ความสามารถบุคลากร การวางแผนงาน การจัดการ ทรัพยากรมนุษย์ การประสานงานและการสร้างพันธมิตรธุรกิจ- กรณีตัวอย่างของการศึกษาในญี่ปุ่นและอเมริกาซึ่งเป็นประเทศที่มี การสร้างระบบแวดล้อมหรือที่เรียกว่า Ecosystem สนับสนุน รวมทั้ง 9
  • 13. การปรับเปลี่ยนไปสู่กิจการของคนรุ่นใหม่-กรณีของการจัดตั้ง บริษัท DripTech เพื่อบริการระบบน้าหยดในอินเดีย Linked Economy สาระสาคัญของวิชานี้ จะเกี่ยวข้องกับ ความสามารถใหม่หรือ นวัตกรรมทางสังคมที่เกิดขึ้นจากการสร้างสรรค์เศรษฐกิจโดยการ มีส่วนร่วมของผู้ประกอบการในระดับชุมชน ซึ่งเป็ นการแก้ไข ประเด็นการกระจายเศรษฐกิจจากส่วนกลางไปยังภูมิภาคหรือการ กระจายความมั่งคั่งออกไปจากการรวมศูนย์ของกิจการขนาดใหญ่ เป็นการบวกรวมเศรษฐกิจกระแสหลักกับกระแสรองเข้าด้วยกันโดย บทบาทของ “กระแสรอง” จะอธิบายถึง Best practice ของกิจการในระดับวิสาหกิจชุมชนและ การจัดการเศรษฐกิจระดับท้องถิ่นที่ประสบความสาเร็จของกรณี โออิตะ (ผลิตภัณฑ์วัฒนธรรมหมู่บ้านและการท่องเที่ยว) กรณีการ สนับสนุน Open Innovation Center ของเกาหลีใต้ และกรณีการ จัดตั้ง Social Enterprise Center ของรัฐบาลอังกฤษ ฯลฯ การอบรมประจาเดือนมิถุนายน 2560 รุ่นที่ 2 : วันศุกร์ที่ 23 มิถุนายน (เวลา 18.00-21.00 น.) วันเสาร์ที่ 24 มิถุนายน (เวลา 09.00-16.00 น.) วันอาทิตย์ที่ 25 มิถุนายน (เวลา 09.00-12.00 น.) 10
  • 14. Case Study การจัดการกิจการชุมชนเชิงกลยุทธ์ 1. ประสบการณ์จากงานรางวัลวิสาหกิจชุมชน-สัมมาชีพ a. วิสาหกิจชุมชนศูนย์ข้าวชุมชนบ้านอุ่มแสง/วิสาหกิจชุมชน ทอผ้าบ้านนาต้นจั่น/วิสาหกิจชุมชนกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต บ้านดอนคา b. คุณลักษณะของความสามารถ-ความสาเร็จของวิสาหกิจชุมชน ในการประกอบการ c. การบริหารและการทางานของ - ทุนสามก้อน/MBA ชาวบ้าน 2. ตัวอย่างของการประกอบการเพื่อสังคม a. HeroRATs การใช้หนูเพื่อการสารวจวัตถุระเบิด b. SOLAR BULBS – การใช้วัตถุเรืองแสงแทนไฟฟ้ า c. ห้องอบเด็กทารก ที่ทาจากผ้าที่สามารถเคลื่อนย้ายได้ (ไม่ใช่ ตู้อบในโรงพยาบาล) d. Hippo Water Roller Project e. Play to Care – Cancer Research in UK. f. Helsinki Design Lab g. Triodos Bank h. Muhammad Yunus i. Jeff Skoll j. Michael Young k. Proximity Design 11
  • 15. 3. การบริหารทุนสนับสนุนจากภายนอกชุมชน a. คูโบต้ากับชุมชนกรณีการทานาข้าวอินทรีย์ที่บ้านอุ่มแสง b. การฟื้ นฟูแม้น้าอลิซาเบธ 4. เมืองน้าเต้าหู้และการท่องเที่ยวของไต้หวัน 5. โออิตะ – การท่องเที่ยวชุมชนท้องถิ่นของญี่ปุ่น 6. ศูนย์เศรษฐกิจสร้างสรรค์และนวัตกรรมเปิดที่เกาหลีใต้ ที่ตั้ง : ศูนย์ศึกษาและพัฒนากิจการเพื่อสังคม แห่งมหาวิทยาลัยรังสิต 52/347 หมู่บ้านเมืองเอก ตึก 3 ชั้น 1 ห้อง 116 ถ.พหลโยธิน ต.หลักหก อ.เมือง จ.ปทุมธานี 12000 โทรศัพท์ : 0-2617-5854-8 โทรสาร : 0-2617-5859 เว็บไซต์ : https://rsusecenter.wordpress.com/ โอนเงินลงทะเบียน ธนาคารทหารไทย ชื่อบัญชี : สถาบันรังสิตวิชชาลัย ม.รังสิต บัญชีเลขที่ : 099-2-49136-5 ผู้ประสานงาน : เปรมณัช โภชนสมบูรณ์ โทรศัพท์ : 086-526-3328 พิมพ์ชฎา ธนกุลดารง โทรศัพท์ : 081-623-3544 12