SlideShare a Scribd company logo
1 of 14
ทรัพย์สินทางปัญญา หมายถึงความรู้ที่เกิดจากการคิดค้นจนทาให้เกิดมีค่าขึ้นได้หรือจะกล่าวอีกนัย
หนึ่งว่า ทรัพย์สินทางปัญญาได้แก่การที่ผู้ใดหรือคณะบุคคลใดร่วมกันประดิษฐ์คิดค้น ออกแบบ
สร้างสรรค์ จนเกิดผลขึ้นมา และผลงานนั้นมีคุณค่าสามารถใช้ประโยชน์ได้ทั้งงานเกษตรกรรม
อุตสาหกรรม และพาณิชยกรรม
ลิขสิทธิ์ เป็นทรัพย์สินทางปัญญาอย่างหนึ่ง ที่กฎหมายให้ความคุ้มครองโดยให้เจ้าของลิขสิทธิ์ถือสิทธิแต่เพียงผู้เดียวที่จะ กระทา
การใดๆ เกี่ยวกับงานสร้างสรรค์ที่ตนได้กระทาขึ้น
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์
กฎหมายลิขสิทธิ์มีวัตถุประสงค์ให้ความคุ้มครองป้องกันผลประโยชน์ทั้งทางเศรษฐกิจและทางศีลธรรม ซึ่งบุคคลพึง
ได้รับจากผลงานสร้างสรรค์อันเกิดจากความนึกคิดและสติปัญญาของตน นอกจากนี้ยังมุ่งที่จะสนับสนุนส่งเสริมให้เกิดการ
สร้างสรรค์ผลงานกล่าวคือ เมื่อผู้สร้างสรรค์ได้รับผลตอบแทนจากหยาดเหงื่อแรงกายและสติปัญญาของตน ก็ย่อมจะเกิดกาลังใจ
ที่จะคิดค้นสร้างสรรค์และเผยแพร่ผลงานให้แพร่หลายออกไปมากยิ่งขึ้น อันจะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนา ประเทศชาติทั้งด้าน
เศรษฐกิจ สังคม และเทคโนโลยี การกระตุ้นให้เกิดการพัฒนาสติปัญญาเป็นปัจจัยสาคัญที่จะนาไปสู่ การพัฒนาที่ยั่งยืนในอนาคต
การละเมิดลิขสิทธิ์
- การละเมิดลิขสิทธิ์โดยตรง : คือ การทาซ้า ดัดแปลง เผยแพร่โปรแกรมคอมพิวเตอร์แก่สาธารณชนรวมทั้งการนา
ต้นฉบับ หรือสาเนางานดังกล่าวออกให้เช่า โดยไม่ได้รับอนุญาตจากเจ้าของลิขสิทธิ์
- การละเมิดลิขสิทธิ์โดยอ้อม : คือ การกระทาทางการค้า หรือการกระทาที่มีส่วนสนับสนุนให้เกิดการละเมิดลิขสิทธิ์
ดังกล่าว ข้างต้น โดยผู้กระทารู้อยู่แล้วว่างานใดได้ทาขึ้นโดยละเมิดลิขสิทธิ์ของผู้อื่น แต่ก็ยังกระทาเพื่อหากาไรจากงาน
นั้น ได้แก่ การขาย มีไว้เพื่อขาย ให้เช่า เสนอให้เช่า ให้เช่าซื้อ เสนอให้เช่าซื้อ
ประเภทของสิทธิบัตร รูปแบบหรือประเภทของสิทธิบัตรตาม พ.ร.บ. สิทธิบัตร
1.สิทธิบัตรการประดิษฐ์ หมายถึง การคิดค้นเกี่ยวกับ กลไก โครงสร้าง ส่วนประกอบ ของสิ่งของเครื่องใช้ เช่น กลไก
ของกล้องถ่ายรูป, กลไกของเครื่องยนต์, ยารักษาโรค เป็นต้น หรือการคิดค้นกรรมวิธีในการผลิตสิ่งของ เช่น วิธีการในการผลิตสินค้า,
วิธีการในการเก็บรักษาพืชผักผลไม้ไม่ให้เน่าเสียเร็วเกินไป เป็นต้น
2.สิทธิบัตรการออกแบบผลิตภัณฑ์ หมายถึง การออกแบบรูปร่าง ลวดลาย หรือสีสัน ที่มองเห็นได้จากภายนอก เช่น
การออกแบบแก้วน้าให้มีรูปร่างเหมือนรองเท้า เป็นต้น
3.อนุสิทธิบัตร (Petty patent) เป็นการให้ความคุ้มครองสิ่งประดิษฐ์คิดค้น เช่นเดียวกับสิทธิบัตรการประดิษฐ์
แต่แตกต่างกันตรงที่การประดิษฐ์ที่จะขอรับอนุสิทธิบัตร เป็นการประดิษฐ์ที่มีเป็นการปรับปรุงเพียงเล็กน้อย และมีประโยชน์ใช้สอย
มากขึ้น
เงื่อนไขในการขอรับสิทธิบัตรการประดิษฐ์ /อนุสิทธิบัตร
การประดิษฐ์ที่ขอรับสิทธิบัตรได้กฎหมายกาหนดว่า จะต้องมีคุณสมบัติครบทั้ง3 อย่าง ดังต่อไปนี้
1.เป็นสิ่งประดิษฐ์ใหม่ คือ ยังไม่เคยมีจาหน่ายหรือขายมาก่อน หรือยังไม่เคยเปิดเผยรายละเอียดของสิ่งประดิษฐ์ในเอกสาร
สิ่งพิมพ์ใดๆ ในทีวี หรือในวิทยุ มาก่อน
2.มีขั้นการประดิษฐ์ที่สูงขึ้นคือ ไม่เป็นสิ่งการประดิษฐ์ที่สามารถทาได้ง่าย โดยผู้มีความรู้ในระดับธรรมดาหรืออาจพูดได้ว่า มี
การแก้ไขปัญหาทางเทคนิคของสิ่งประดิษฐ์ที่มีมาก่อน และ
3.สามารถนาไปใช้ประโยชน์ในการผลิตทางอุตสาหกรรม หัตถกรรม เกษตรกรรม และพาณิชยกรรมได้
การประดิษฐ์ที่ขอรับอนุสิทธิบัตรได้ กฎหมายกาหนดว่า จะต้องมีคุณสมบัติครบทั้ง 2 อย่าง ดังต่อไปนี้
1.เป็นสิ่งประดิษฐ์ใหม่ คือ ยังไม่เคยมีจาหน่ายหรือขายมาก่อน หรือยังไม่เคยเปิดเผยรายละเอียดของสิ่งประดิษฐ์ในเอกสาร
สิ่งพิมพ์ใดๆ ในทีวี หรือวิทยุมาก่อน และ
2.สามารถนาไปใช้ประโยชน์ในการผลิตทางอุตสาหกรรม หัตถกรรม เกษตรกรรม พาณิชยกรรมได้
การประดิษฐ์ที่ขอรับสิทธิบัตร/อนุสิทธิบัตรไม่ได้
1.จุลชีพและส่วนประกอบส่วนใดส่วนหนึ่งของจุลชีพที่มีอยู่ตามธรรมชาติ สัตว์พืช หรือสารสกัดจากสัตว์หรือพืช เช่น แบคทีเรียที่
มีอยู่ตามธรรมชาติ,พืชสมุนไพร,ยารักษาโรคที่สกัดจากสมุนไพรเป็นต้น
2.กฎเกณฑ์และทฤษฎีทางวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ เช่น สูตรคูณ เป็นต้น
3.ระบบข้อมูลสาหรับการทางานของเครื่องคอมพิวเตอร์ เช่น โปรแกรมคอมพิวเตอร์ เป็นต้น
4.วิธีการวินิจฉัย บาบัด หรือรักษาโรคมนุษย์หรือสัตว์
5.การประดิษฐ์ ที่ขัดต่อความสงบเรียบร้อย หรือศีลธรรมอันดี อนามัย หรือ สวัสดิภาพของประชาชน เช่น การคิดสูตรยาบ้า เป็นต้น
เงื่อนไขในการขอรับสิทธิบัตรการออกแบบผลิตภัณฑ์ การออกแบบผลิตภัณฑ์ที่ขอรับสิทธิบัตรได้ กฎหมายกาหนดว่า จะต้องมี
คุณสมบัติครบทั้ง 2 อย่าง ดังต่อไปนี้
1.เป็นการออกแบบผลิตภัณฑ์ใหม่ คือ เป็นการออกแบบผลิตภัณฑ์ที่ยังไม่เคยมีหรือขายมาก่อน หรือยังไม่เคยเปิดเผยในเอกสารสิ่งพิมพ์
ใดๆ ในทีวี หรือในวิทยุมาก่อน และ
2.สามารถนาไปใช้ประโยชน์ในการผลิตทางอุตสาหกรรม หรือหัตถกรรมได้
เครื่องหมายการค้า หมายถึง เครื่องหมายหรือสัญลักษณ์หรือตราที่ใช้กับสินค้าหรือบริการ ซึ่งเครื่องหมายที่ให้ความ
คุ้มครองตาม พระราชบัญญัติเครื่องหมายการค้า พ.ศ. 2534 แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติเครื่องหมายการค้า(ฉบับที่ 2) พ.ศ.2543 มี
4 ประเภท ดังต่อไปนี้
1. เครื่องหมายการค้า (Trade Mark) คือเครื่องหมายที่ใช้เป็นที่หมายเกี่ยวข้องกับสินค้าเพื่อแสดงว่าสินค้าที่ ใช้เครื่องหมายนั้น
แตกต่างกับสินค้าที่ใช้เครื่องหมายการค้าของบุคคลอื่นเช่น บรีส มาม่า กระทิงแดง เป็นต้น
2. เครื่องหมายบริการ (Service Mark) คือ เครื่องหมายที่ใช้เป็นที่หมายหรือเกี่ยวข้องกับบริการ เพื่อแสดงว่าบริการที่ใช้เครื่องหมาย
นั้นแตกต่างกับบริการที่ใช้เครื่องหมาย บริการของบุคคลอื่น เช่น เครื่องหมายของสายการบิน ธนาคาร โรงแรม เป็นต้น
3. เครื่องหมายรับรอง (CertificationMark) คือ เครื่องหมายที่เจ้าของเครื่องหมายรับรองใช้เป็นที่หมายหรือเกี่ยวข้องกับ สินค้าและ
บริการของบุคคลอื่น เพื่อเป็นการรับรองคุณภาพของสินค้า หรือบริการนั้น เช่น เชลล์ชวนชิม แม่ช้อยนางรา ฮาลาล (Halal) เป็นต้น
4. เครื่องหมายร่วม (CollectiveMark) คือ เครื่องหมายการค้าหรือเครื่องหมายบริการที่ใช้โดยบริษัทหรือวิสาหกิจในกลุ่ม เดียวกัน
หรือโดยสมาชิกของสมาคมกลุ่มบุคคล หรือองค์กรอื่นใดของรัฐหรือเอกชน เช่น ตราช้างของบริษัท ปูนซิเมนต์ไทย จากัด เป็นต้น
ประเทศไทยกับการพัฒนากฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศ
กฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศของประเทศไทยเริ่มวันที่ 15 ธันวาคม 2541 โดยคณะ กรรมการเทคโนโลยีสารสนเทศแห่งชาติ
เรียก (กทสช) ได้ทาการศึกษาและยกร่างกฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 ฉบับ ได้แก่
1. กฎหมายเกี่ยวกับธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Transactions Law)
เพื่อรับรองสถานะทางกฎหมายของข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ให้เสมอด้วยกระดาษ อันเป็นการรองรับนิติสัมพันธ์ต่าง ๆ ซึ่งแต่เดิมอาจจะ
จัดทาขึ้นในรูปแบบของหนังสือให้เท่าเทียมกับนิติสัมพันธ์รูปแบบใหม่ที่จัดทาขึ้นให้อยู่ในรูปแบบของข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ รวมตลอด
ทั้งการลงลายมือชื่อในข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ และการรับฟังพยานหลักฐานที่อยู่ในรูปแบบของข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์Text Box: 6-2
2. กฎหมายเกี่ยวกับลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Signatures Law)
เพื่อรับรองการใช้ลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์ด้วยกระบวนการใด ๆ ทางเทคโนโลยีให้เสมอด้วยการลงลายมือชื่อธรรมดา อันส่งผลต่อ
ความเชื่อมั่นมากขึ้นในการทาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ และกาหนดให้มีการกากับดูแลการให้บริการ เกี่ยวกับลายมือชื่อ
อิเล็กทรอนิกส์ตลอดจนการให้ บริการอื่น ที่เกี่ยวข้องกับลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์
3. กฎหมายเกี่ยวกับการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานสารสนเทศให้ทั่วถึง และเท่าเทียมกัน(National Information
Infrastructure Law)
เพื่อก่อให้เกิดการส่งเสริม สนับสนุน และพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานสารสนเทศอันได้แก่ โครงข่ายโทรคมนาคม
เทคโนโลยีสารสนเทศ สารสนเทศทรัพยากรมนุษย์และโครงสร้างพื้นฐานสารสนเทศสาคัญอื่นๆ อันเป็นปัจจัยพื้นฐาน สาคัญในการ
พัฒนาสังคม และชุมชนโดยอาศัยกลไกของรัฐ ซึ่งรองรับเจตนารมณ์สาคัญประการหนึ่งของแนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐตาม
รัฐธรรมนูญ มาตรา 78 ในการกระจายสารสนเทศให้ทั่วถึง และเท่าเทียมกัน และนับเป็นกลไกสาคัญในการช่วยลดความเหลื่อมล้าของ
สังคมอย่างค่อยเป็นค่อยไป เพื่อสนับสนุนให้ท้องถิ่นมีศักยภาพในการปกครองตนเองพัฒนาเศรษฐกิจภายในชุมชน และนาไปสู่สังคม
แห่งปัญญา และการเรียนรู้
4. กฎหมายเกี่ยวกับการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล (Data ProtectionLaw)
เพื่อก่อให้เกิดการรับรองสิทธิและให้ความคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล ซึ่งอาจถูกประมวลผล เปิดเผยหรือเผยแพร่ถึงบุคคลจานวนมากได้
ในระยะเวลาอันรวดเร็วโดยอาศัยพัฒนาการทางเทคโนโลยี จนอาจก่อให้เกิดการนาข้อมูลนั้นไปใช้ในทางมิชอบอันเป็นการละเมิดต่อ
เจ้าของข้อมูล ทั้งนี้ โดยคานึงถึงการรักษาดุลยภาพระหว่างสิทธิขั้นพื้นฐานในความเป็นส่วนตัวเสรีภาพในการติดต่อสื่อสาร และความ
มั่นคงของรัฐ
5. กฎหมายเกี่ยวกับการกระทาความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ (Computer Crime Law)
เพื่อกาหนดมาตรการทางอาญาในการลงโทษผู้กระทาผิดต่อระบบการทางานของคอมพิวเตอร์ ระบบข้อมูล และระบบเครือข่าย ทั้งนี้
เพื่อเป็นหลักประกันสิทธิเสรีภาพ และการคุ้มครองการอยู่ร่วมกันของสังคม
6. กฎหมายเกี่ยวกับการโอนเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ (ElectronicFunds Transfer Law)
เพื่อกาหนดกลไกสาคัญทางกฎหมายในการรองรับระบบการโอนเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ ทั้งที่เป็นการโอนเงินระหว่างสถาบันการเงิน
และระบบการชาระเงินรูปแบบใหม่ในรูปของเงินอิเล็กทรอนิกส์ก่อให้เกิดความเชื่อมั่นต่อระบบการทาธุรกรรมทางการเงิน และการทา
ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์มากยิ่งขึ้น
http://ip.payap.ac.th
http://www.kmitl.ac.th
http://www.ipthailand.go.th
http://home.kku.ac.th
นายจิตติ ชุมเชียงลา เลขที่ 1
นายชัยวัฒน์ พลอยงาม เลขที่ 2
นายบุญวิเศษ แซ่ฮ้อ เลขที่ 3
นางสาวไอรินทร์ นิธิภัทร์พรปัญญา เลขที่ 14
นางสาวปณิดา ธนกิจ เลขที่ 15
นางสาวลาภิศ อุทาทิพย์ เลขที่ 18
นางสาวสุปราณี บุญมี เลขที่ 19

More Related Content

Viewers also liked

Cé hí a deirfiúr (1)
Cé hí a deirfiúr (1)Cé hí a deirfiúr (1)
Cé hí a deirfiúr (1)annetteblack6
 
Pasos para insertar en slideshare
Pasos para insertar en slidesharePasos para insertar en slideshare
Pasos para insertar en slidesharetbritouniandesr
 
โครงการ Is3
โครงการ Is3โครงการ Is3
โครงการ Is3Iam Champooh
 
Rang 5 ceacht na dathanna
Rang 5 ceacht na dathannaRang 5 ceacht na dathanna
Rang 5 ceacht na dathannaannetteblack6
 
Ulo กล้องวงจรปิดนกฮูก ที่คุณจะต้องตกหลุมรัก
Ulo กล้องวงจรปิดนกฮูก ที่คุณจะต้องตกหลุมรักUlo กล้องวงจรปิดนกฮูก ที่คุณจะต้องตกหลุมรัก
Ulo กล้องวงจรปิดนกฮูก ที่คุณจะต้องตกหลุมรักIam Champooh
 
Abair é! na dathanna
Abair é!   na dathannaAbair é!   na dathanna
Abair é! na dathannaannetteblack6
 
บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องIam Champooh
 
ISโครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา(ใหม่)
ISโครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา(ใหม่)ISโครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา(ใหม่)
ISโครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา(ใหม่)Iam Champooh
 
คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น2
คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น2คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น2
คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น2Iam Champooh
 
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเราโครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเราIam Champooh
 

Viewers also liked (18)

Cé hí a deirfiúr (1)
Cé hí a deirfiúr (1)Cé hí a deirfiúr (1)
Cé hí a deirfiúr (1)
 
The minotaur
The minotaurThe minotaur
The minotaur
 
IT NEWS
IT NEWSIT NEWS
IT NEWS
 
Pasos para insertar en slideshare
Pasos para insertar en slidesharePasos para insertar en slideshare
Pasos para insertar en slideshare
 
Numbers 0 to 9
Numbers 0 to 9Numbers 0 to 9
Numbers 0 to 9
 
โครงการ Is3
โครงการ Is3โครงการ Is3
โครงการ Is3
 
Rang 5 ceacht na dathanna
Rang 5 ceacht na dathannaRang 5 ceacht na dathanna
Rang 5 ceacht na dathanna
 
Ulo กล้องวงจรปิดนกฮูก ที่คุณจะต้องตกหลุมรัก
Ulo กล้องวงจรปิดนกฮูก ที่คุณจะต้องตกหลุมรักUlo กล้องวงจรปิดนกฮูก ที่คุณจะต้องตกหลุมรัก
Ulo กล้องวงจรปิดนกฮูก ที่คุณจะต้องตกหลุมรัก
 
Abair é! na dathanna
Abair é!   na dathannaAbair é!   na dathanna
Abair é! na dathanna
 
Rang 5 An Nollaig
Rang 5 An Nollaig Rang 5 An Nollaig
Rang 5 An Nollaig
 
บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
ISโครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา(ใหม่)
ISโครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา(ใหม่)ISโครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา(ใหม่)
ISโครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา(ใหม่)
 
Fun on friday
Fun on fridayFun on friday
Fun on friday
 
Wh word flashcards
Wh word flashcardsWh word flashcards
Wh word flashcards
 
คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น2
คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น2คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น2
คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น2
 
Subitising (1)
Subitising (1)Subitising (1)
Subitising (1)
 
éadaí rang 5
éadaí rang 5éadaí rang 5
éadaí rang 5
 
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเราโครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา
 

Similar to ทร พย ส_นทางป_ญญา

ทรัพย์สินทางปัญญา6
ทรัพย์สินทางปัญญา6ทรัพย์สินทางปัญญา6
ทรัพย์สินทางปัญญา6Kochakorn Noiket
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖Phonpat Songsomphao
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖Phonpat Songsomphao
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖Phonpat Songsomphao
 
เครื่องหมายการค้า
เครื่องหมายการค้าเครื่องหมายการค้า
เครื่องหมายการค้าmay1636
 
เครื่องหมายการค้า
เครื่องหมายการค้าเครื่องหมายการค้า
เครื่องหมายการค้าmay1636
 
เครื่องหมายการค้า
เครื่องหมายการค้าเครื่องหมายการค้า
เครื่องหมายการค้าsarawut
 
จรรยาบรรณการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศๅ
จรรยาบรรณการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศๅจรรยาบรรณการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศๅ
จรรยาบรรณการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศๅWatinee Poksup
 

Similar to ทร พย ส_นทางป_ญญา (20)

ทรัพย์สินทางปัญญา6
ทรัพย์สินทางปัญญา6ทรัพย์สินทางปัญญา6
ทรัพย์สินทางปัญญา6
 
งาน อ.อินทิรา
งาน อ.อินทิรางาน อ.อินทิรา
งาน อ.อินทิรา
 
งาน อ.อินทิรา
งาน อ.อินทิรางาน อ.อินทิรา
งาน อ.อินทิรา
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖
 
เครื่องหมายการค้า
เครื่องหมายการค้าเครื่องหมายการค้า
เครื่องหมายการค้า
 
เครื่องหมายการค้า
เครื่องหมายการค้าเครื่องหมายการค้า
เครื่องหมายการค้า
 
เครื่องหมายการค้า
เครื่องหมายการค้าเครื่องหมายการค้า
เครื่องหมายการค้า
 
เครื่องหมายการค้า
เครื่องหมายการค้าเครื่องหมายการค้า
เครื่องหมายการค้า
 
เครื่องหมายการค้า
เครื่องหมายการค้าเครื่องหมายการค้า
เครื่องหมายการค้า
 
เครื่องหมายการค้า2
เครื่องหมายการค้า2เครื่องหมายการค้า2
เครื่องหมายการค้า2
 
เครื่องหมายการค้า
เครื่องหมายการค้าเครื่องหมายการค้า
เครื่องหมายการค้า
 
เครื่องหมายการค้า
เครื่องหมายการค้าเครื่องหมายการค้า
เครื่องหมายการค้า
 
เครื่องหมายการค้า
เครื่องหมายการค้าเครื่องหมายการค้า
เครื่องหมายการค้า
 
จรรยาบรรณการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศๅ
จรรยาบรรณการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศๅจรรยาบรรณการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศๅ
จรรยาบรรณการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศๅ
 
เครื่องหมายการค้า
เครื่องหมายการค้าเครื่องหมายการค้า
เครื่องหมายการค้า
 
เครื่องหมายการค้า2
เครื่องหมายการค้า2เครื่องหมายการค้า2
เครื่องหมายการค้า2
 
เครื่องหมายการค้า
เครื่องหมายการค้าเครื่องหมายการค้า
เครื่องหมายการค้า
 
เครื่องหมายการค้า
เครื่องหมายการค้าเครื่องหมายการค้า
เครื่องหมายการค้า
 

More from Iam Champooh

พร้อมหรือยัง เครื่องซักผ้าอัจฉริยะ กำลังจะบุกบ้านคุณแล้ว
พร้อมหรือยัง เครื่องซักผ้าอัจฉริยะ กำลังจะบุกบ้านคุณแล้วพร้อมหรือยัง เครื่องซักผ้าอัจฉริยะ กำลังจะบุกบ้านคุณแล้ว
พร้อมหรือยัง เครื่องซักผ้าอัจฉริยะ กำลังจะบุกบ้านคุณแล้วIam Champooh
 
โครงการ จิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา
โครงการ จิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเราโครงการ จิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา
โครงการ จิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเราIam Champooh
 
IS โครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา
IS โครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเราIS โครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา
IS โครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเราIam Champooh
 
PPT โครงการ จิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา
PPT โครงการ จิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเราPPT โครงการ จิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา
PPT โครงการ จิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเราIam Champooh
 
บทที่ 3-วิธีการดำเนินงาน
บทที่ 3-วิธีการดำเนินงานบทที่ 3-วิธีการดำเนินงาน
บทที่ 3-วิธีการดำเนินงานIam Champooh
 
ผลวิจัยเผย เกมที่ยากไปส่งผลให้คนเล่นก้าวร้าวขึ้น
ผลวิจัยเผย เกมที่ยากไปส่งผลให้คนเล่นก้าวร้าวขึ้นผลวิจัยเผย เกมที่ยากไปส่งผลให้คนเล่นก้าวร้าวขึ้น
ผลวิจัยเผย เกมที่ยากไปส่งผลให้คนเล่นก้าวร้าวขึ้นIam Champooh
 

More from Iam Champooh (7)

พร้อมหรือยัง เครื่องซักผ้าอัจฉริยะ กำลังจะบุกบ้านคุณแล้ว
พร้อมหรือยัง เครื่องซักผ้าอัจฉริยะ กำลังจะบุกบ้านคุณแล้วพร้อมหรือยัง เครื่องซักผ้าอัจฉริยะ กำลังจะบุกบ้านคุณแล้ว
พร้อมหรือยัง เครื่องซักผ้าอัจฉริยะ กำลังจะบุกบ้านคุณแล้ว
 
โครงการ จิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา
โครงการ จิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเราโครงการ จิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา
โครงการ จิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา
 
IS โครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา
IS โครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเราIS โครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา
IS โครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา
 
PPT โครงการ จิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา
PPT โครงการ จิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเราPPT โครงการ จิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา
PPT โครงการ จิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา
 
งาน
งานงาน
งาน
 
บทที่ 3-วิธีการดำเนินงาน
บทที่ 3-วิธีการดำเนินงานบทที่ 3-วิธีการดำเนินงาน
บทที่ 3-วิธีการดำเนินงาน
 
ผลวิจัยเผย เกมที่ยากไปส่งผลให้คนเล่นก้าวร้าวขึ้น
ผลวิจัยเผย เกมที่ยากไปส่งผลให้คนเล่นก้าวร้าวขึ้นผลวิจัยเผย เกมที่ยากไปส่งผลให้คนเล่นก้าวร้าวขึ้น
ผลวิจัยเผย เกมที่ยากไปส่งผลให้คนเล่นก้าวร้าวขึ้น
 

ทร พย ส_นทางป_ญญา

  • 1.
  • 2.
  • 3. ทรัพย์สินทางปัญญา หมายถึงความรู้ที่เกิดจากการคิดค้นจนทาให้เกิดมีค่าขึ้นได้หรือจะกล่าวอีกนัย หนึ่งว่า ทรัพย์สินทางปัญญาได้แก่การที่ผู้ใดหรือคณะบุคคลใดร่วมกันประดิษฐ์คิดค้น ออกแบบ สร้างสรรค์ จนเกิดผลขึ้นมา และผลงานนั้นมีคุณค่าสามารถใช้ประโยชน์ได้ทั้งงานเกษตรกรรม อุตสาหกรรม และพาณิชยกรรม
  • 4. ลิขสิทธิ์ เป็นทรัพย์สินทางปัญญาอย่างหนึ่ง ที่กฎหมายให้ความคุ้มครองโดยให้เจ้าของลิขสิทธิ์ถือสิทธิแต่เพียงผู้เดียวที่จะ กระทา การใดๆ เกี่ยวกับงานสร้างสรรค์ที่ตนได้กระทาขึ้น พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ กฎหมายลิขสิทธิ์มีวัตถุประสงค์ให้ความคุ้มครองป้องกันผลประโยชน์ทั้งทางเศรษฐกิจและทางศีลธรรม ซึ่งบุคคลพึง ได้รับจากผลงานสร้างสรรค์อันเกิดจากความนึกคิดและสติปัญญาของตน นอกจากนี้ยังมุ่งที่จะสนับสนุนส่งเสริมให้เกิดการ สร้างสรรค์ผลงานกล่าวคือ เมื่อผู้สร้างสรรค์ได้รับผลตอบแทนจากหยาดเหงื่อแรงกายและสติปัญญาของตน ก็ย่อมจะเกิดกาลังใจ ที่จะคิดค้นสร้างสรรค์และเผยแพร่ผลงานให้แพร่หลายออกไปมากยิ่งขึ้น อันจะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนา ประเทศชาติทั้งด้าน เศรษฐกิจ สังคม และเทคโนโลยี การกระตุ้นให้เกิดการพัฒนาสติปัญญาเป็นปัจจัยสาคัญที่จะนาไปสู่ การพัฒนาที่ยั่งยืนในอนาคต
  • 5. การละเมิดลิขสิทธิ์ - การละเมิดลิขสิทธิ์โดยตรง : คือ การทาซ้า ดัดแปลง เผยแพร่โปรแกรมคอมพิวเตอร์แก่สาธารณชนรวมทั้งการนา ต้นฉบับ หรือสาเนางานดังกล่าวออกให้เช่า โดยไม่ได้รับอนุญาตจากเจ้าของลิขสิทธิ์ - การละเมิดลิขสิทธิ์โดยอ้อม : คือ การกระทาทางการค้า หรือการกระทาที่มีส่วนสนับสนุนให้เกิดการละเมิดลิขสิทธิ์ ดังกล่าว ข้างต้น โดยผู้กระทารู้อยู่แล้วว่างานใดได้ทาขึ้นโดยละเมิดลิขสิทธิ์ของผู้อื่น แต่ก็ยังกระทาเพื่อหากาไรจากงาน นั้น ได้แก่ การขาย มีไว้เพื่อขาย ให้เช่า เสนอให้เช่า ให้เช่าซื้อ เสนอให้เช่าซื้อ
  • 6. ประเภทของสิทธิบัตร รูปแบบหรือประเภทของสิทธิบัตรตาม พ.ร.บ. สิทธิบัตร 1.สิทธิบัตรการประดิษฐ์ หมายถึง การคิดค้นเกี่ยวกับ กลไก โครงสร้าง ส่วนประกอบ ของสิ่งของเครื่องใช้ เช่น กลไก ของกล้องถ่ายรูป, กลไกของเครื่องยนต์, ยารักษาโรค เป็นต้น หรือการคิดค้นกรรมวิธีในการผลิตสิ่งของ เช่น วิธีการในการผลิตสินค้า, วิธีการในการเก็บรักษาพืชผักผลไม้ไม่ให้เน่าเสียเร็วเกินไป เป็นต้น 2.สิทธิบัตรการออกแบบผลิตภัณฑ์ หมายถึง การออกแบบรูปร่าง ลวดลาย หรือสีสัน ที่มองเห็นได้จากภายนอก เช่น การออกแบบแก้วน้าให้มีรูปร่างเหมือนรองเท้า เป็นต้น 3.อนุสิทธิบัตร (Petty patent) เป็นการให้ความคุ้มครองสิ่งประดิษฐ์คิดค้น เช่นเดียวกับสิทธิบัตรการประดิษฐ์ แต่แตกต่างกันตรงที่การประดิษฐ์ที่จะขอรับอนุสิทธิบัตร เป็นการประดิษฐ์ที่มีเป็นการปรับปรุงเพียงเล็กน้อย และมีประโยชน์ใช้สอย มากขึ้น
  • 7. เงื่อนไขในการขอรับสิทธิบัตรการประดิษฐ์ /อนุสิทธิบัตร การประดิษฐ์ที่ขอรับสิทธิบัตรได้กฎหมายกาหนดว่า จะต้องมีคุณสมบัติครบทั้ง3 อย่าง ดังต่อไปนี้ 1.เป็นสิ่งประดิษฐ์ใหม่ คือ ยังไม่เคยมีจาหน่ายหรือขายมาก่อน หรือยังไม่เคยเปิดเผยรายละเอียดของสิ่งประดิษฐ์ในเอกสาร สิ่งพิมพ์ใดๆ ในทีวี หรือในวิทยุ มาก่อน 2.มีขั้นการประดิษฐ์ที่สูงขึ้นคือ ไม่เป็นสิ่งการประดิษฐ์ที่สามารถทาได้ง่าย โดยผู้มีความรู้ในระดับธรรมดาหรืออาจพูดได้ว่า มี การแก้ไขปัญหาทางเทคนิคของสิ่งประดิษฐ์ที่มีมาก่อน และ 3.สามารถนาไปใช้ประโยชน์ในการผลิตทางอุตสาหกรรม หัตถกรรม เกษตรกรรม และพาณิชยกรรมได้ การประดิษฐ์ที่ขอรับอนุสิทธิบัตรได้ กฎหมายกาหนดว่า จะต้องมีคุณสมบัติครบทั้ง 2 อย่าง ดังต่อไปนี้ 1.เป็นสิ่งประดิษฐ์ใหม่ คือ ยังไม่เคยมีจาหน่ายหรือขายมาก่อน หรือยังไม่เคยเปิดเผยรายละเอียดของสิ่งประดิษฐ์ในเอกสาร สิ่งพิมพ์ใดๆ ในทีวี หรือวิทยุมาก่อน และ 2.สามารถนาไปใช้ประโยชน์ในการผลิตทางอุตสาหกรรม หัตถกรรม เกษตรกรรม พาณิชยกรรมได้
  • 8. การประดิษฐ์ที่ขอรับสิทธิบัตร/อนุสิทธิบัตรไม่ได้ 1.จุลชีพและส่วนประกอบส่วนใดส่วนหนึ่งของจุลชีพที่มีอยู่ตามธรรมชาติ สัตว์พืช หรือสารสกัดจากสัตว์หรือพืช เช่น แบคทีเรียที่ มีอยู่ตามธรรมชาติ,พืชสมุนไพร,ยารักษาโรคที่สกัดจากสมุนไพรเป็นต้น 2.กฎเกณฑ์และทฤษฎีทางวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ เช่น สูตรคูณ เป็นต้น 3.ระบบข้อมูลสาหรับการทางานของเครื่องคอมพิวเตอร์ เช่น โปรแกรมคอมพิวเตอร์ เป็นต้น 4.วิธีการวินิจฉัย บาบัด หรือรักษาโรคมนุษย์หรือสัตว์ 5.การประดิษฐ์ ที่ขัดต่อความสงบเรียบร้อย หรือศีลธรรมอันดี อนามัย หรือ สวัสดิภาพของประชาชน เช่น การคิดสูตรยาบ้า เป็นต้น เงื่อนไขในการขอรับสิทธิบัตรการออกแบบผลิตภัณฑ์ การออกแบบผลิตภัณฑ์ที่ขอรับสิทธิบัตรได้ กฎหมายกาหนดว่า จะต้องมี คุณสมบัติครบทั้ง 2 อย่าง ดังต่อไปนี้ 1.เป็นการออกแบบผลิตภัณฑ์ใหม่ คือ เป็นการออกแบบผลิตภัณฑ์ที่ยังไม่เคยมีหรือขายมาก่อน หรือยังไม่เคยเปิดเผยในเอกสารสิ่งพิมพ์ ใดๆ ในทีวี หรือในวิทยุมาก่อน และ 2.สามารถนาไปใช้ประโยชน์ในการผลิตทางอุตสาหกรรม หรือหัตถกรรมได้
  • 9. เครื่องหมายการค้า หมายถึง เครื่องหมายหรือสัญลักษณ์หรือตราที่ใช้กับสินค้าหรือบริการ ซึ่งเครื่องหมายที่ให้ความ คุ้มครองตาม พระราชบัญญัติเครื่องหมายการค้า พ.ศ. 2534 แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติเครื่องหมายการค้า(ฉบับที่ 2) พ.ศ.2543 มี 4 ประเภท ดังต่อไปนี้ 1. เครื่องหมายการค้า (Trade Mark) คือเครื่องหมายที่ใช้เป็นที่หมายเกี่ยวข้องกับสินค้าเพื่อแสดงว่าสินค้าที่ ใช้เครื่องหมายนั้น แตกต่างกับสินค้าที่ใช้เครื่องหมายการค้าของบุคคลอื่นเช่น บรีส มาม่า กระทิงแดง เป็นต้น 2. เครื่องหมายบริการ (Service Mark) คือ เครื่องหมายที่ใช้เป็นที่หมายหรือเกี่ยวข้องกับบริการ เพื่อแสดงว่าบริการที่ใช้เครื่องหมาย นั้นแตกต่างกับบริการที่ใช้เครื่องหมาย บริการของบุคคลอื่น เช่น เครื่องหมายของสายการบิน ธนาคาร โรงแรม เป็นต้น 3. เครื่องหมายรับรอง (CertificationMark) คือ เครื่องหมายที่เจ้าของเครื่องหมายรับรองใช้เป็นที่หมายหรือเกี่ยวข้องกับ สินค้าและ บริการของบุคคลอื่น เพื่อเป็นการรับรองคุณภาพของสินค้า หรือบริการนั้น เช่น เชลล์ชวนชิม แม่ช้อยนางรา ฮาลาล (Halal) เป็นต้น 4. เครื่องหมายร่วม (CollectiveMark) คือ เครื่องหมายการค้าหรือเครื่องหมายบริการที่ใช้โดยบริษัทหรือวิสาหกิจในกลุ่ม เดียวกัน หรือโดยสมาชิกของสมาคมกลุ่มบุคคล หรือองค์กรอื่นใดของรัฐหรือเอกชน เช่น ตราช้างของบริษัท ปูนซิเมนต์ไทย จากัด เป็นต้น
  • 10. ประเทศไทยกับการพัฒนากฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศ กฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศของประเทศไทยเริ่มวันที่ 15 ธันวาคม 2541 โดยคณะ กรรมการเทคโนโลยีสารสนเทศแห่งชาติ เรียก (กทสช) ได้ทาการศึกษาและยกร่างกฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 ฉบับ ได้แก่ 1. กฎหมายเกี่ยวกับธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Transactions Law) เพื่อรับรองสถานะทางกฎหมายของข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ให้เสมอด้วยกระดาษ อันเป็นการรองรับนิติสัมพันธ์ต่าง ๆ ซึ่งแต่เดิมอาจจะ จัดทาขึ้นในรูปแบบของหนังสือให้เท่าเทียมกับนิติสัมพันธ์รูปแบบใหม่ที่จัดทาขึ้นให้อยู่ในรูปแบบของข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ รวมตลอด ทั้งการลงลายมือชื่อในข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ และการรับฟังพยานหลักฐานที่อยู่ในรูปแบบของข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์Text Box: 6-2
  • 11. 2. กฎหมายเกี่ยวกับลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Signatures Law) เพื่อรับรองการใช้ลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์ด้วยกระบวนการใด ๆ ทางเทคโนโลยีให้เสมอด้วยการลงลายมือชื่อธรรมดา อันส่งผลต่อ ความเชื่อมั่นมากขึ้นในการทาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ และกาหนดให้มีการกากับดูแลการให้บริการ เกี่ยวกับลายมือชื่อ อิเล็กทรอนิกส์ตลอดจนการให้ บริการอื่น ที่เกี่ยวข้องกับลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์ 3. กฎหมายเกี่ยวกับการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานสารสนเทศให้ทั่วถึง และเท่าเทียมกัน(National Information Infrastructure Law) เพื่อก่อให้เกิดการส่งเสริม สนับสนุน และพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานสารสนเทศอันได้แก่ โครงข่ายโทรคมนาคม เทคโนโลยีสารสนเทศ สารสนเทศทรัพยากรมนุษย์และโครงสร้างพื้นฐานสารสนเทศสาคัญอื่นๆ อันเป็นปัจจัยพื้นฐาน สาคัญในการ พัฒนาสังคม และชุมชนโดยอาศัยกลไกของรัฐ ซึ่งรองรับเจตนารมณ์สาคัญประการหนึ่งของแนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐตาม รัฐธรรมนูญ มาตรา 78 ในการกระจายสารสนเทศให้ทั่วถึง และเท่าเทียมกัน และนับเป็นกลไกสาคัญในการช่วยลดความเหลื่อมล้าของ สังคมอย่างค่อยเป็นค่อยไป เพื่อสนับสนุนให้ท้องถิ่นมีศักยภาพในการปกครองตนเองพัฒนาเศรษฐกิจภายในชุมชน และนาไปสู่สังคม แห่งปัญญา และการเรียนรู้
  • 12. 4. กฎหมายเกี่ยวกับการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล (Data ProtectionLaw) เพื่อก่อให้เกิดการรับรองสิทธิและให้ความคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล ซึ่งอาจถูกประมวลผล เปิดเผยหรือเผยแพร่ถึงบุคคลจานวนมากได้ ในระยะเวลาอันรวดเร็วโดยอาศัยพัฒนาการทางเทคโนโลยี จนอาจก่อให้เกิดการนาข้อมูลนั้นไปใช้ในทางมิชอบอันเป็นการละเมิดต่อ เจ้าของข้อมูล ทั้งนี้ โดยคานึงถึงการรักษาดุลยภาพระหว่างสิทธิขั้นพื้นฐานในความเป็นส่วนตัวเสรีภาพในการติดต่อสื่อสาร และความ มั่นคงของรัฐ 5. กฎหมายเกี่ยวกับการกระทาความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ (Computer Crime Law) เพื่อกาหนดมาตรการทางอาญาในการลงโทษผู้กระทาผิดต่อระบบการทางานของคอมพิวเตอร์ ระบบข้อมูล และระบบเครือข่าย ทั้งนี้ เพื่อเป็นหลักประกันสิทธิเสรีภาพ และการคุ้มครองการอยู่ร่วมกันของสังคม 6. กฎหมายเกี่ยวกับการโอนเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ (ElectronicFunds Transfer Law) เพื่อกาหนดกลไกสาคัญทางกฎหมายในการรองรับระบบการโอนเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ ทั้งที่เป็นการโอนเงินระหว่างสถาบันการเงิน และระบบการชาระเงินรูปแบบใหม่ในรูปของเงินอิเล็กทรอนิกส์ก่อให้เกิดความเชื่อมั่นต่อระบบการทาธุรกรรมทางการเงิน และการทา ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์มากยิ่งขึ้น
  • 14. นายจิตติ ชุมเชียงลา เลขที่ 1 นายชัยวัฒน์ พลอยงาม เลขที่ 2 นายบุญวิเศษ แซ่ฮ้อ เลขที่ 3 นางสาวไอรินทร์ นิธิภัทร์พรปัญญา เลขที่ 14 นางสาวปณิดา ธนกิจ เลขที่ 15 นางสาวลาภิศ อุทาทิพย์ เลขที่ 18 นางสาวสุปราณี บุญมี เลขที่ 19