SlideShare a Scribd company logo
1 of 59
เปิดโลกปิโตรเลียม
ชื่อผู้จ้ดทำโครงงำน
นางสาวกานต์รวี ชวลิต ชั้น ม.6/3 เลขที่ 3 นายธนภูมิ กันทะวงศ์ ชั้น ม.6/3 เลขที่ 40
ครูที่ปรึกษำ
ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ที่มำและควำมสำคัญของโครงงำน
ผลคำดว่ำจะได้รับ
วัตถุประสงค์
ขอบเขตโครงงำน
หลักกำรและทฤษฎี
วิธีกำรดำเนินงำน
เปิดโลกปิโตรเลียม
กำรกลั่นน้ำมันดิบ
น้ำมันดิบ
กำรสำรวจปิโตรเลียม
แหล่งกำเนิดปิโตรเลียม
โครงสร้ำงของแหล่งกำเนิดปิโตรเลียม
กำเนิดปิโตรเลียม
เปิดโลกปิโตรเลียม
• ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)
เปิดโลกปิโตรเลียม
• ประเภทโครงงาน โครงงานเพื่อการศึกษา
• ชื่อผู้จ้ดทาโครงงาน
นางสาวกานต์รวี ชวลิต ชั้น ม.6/3 เลขที่ 3
นายธนภูมิ กันทะวงศ์ ชั้น ม.6/3 เลขที่ 40
ชื่อครูที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินการ ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2557
• ที่มาและความสาคัญของโครงงาน
• ทรัพยากรพลังงานเป็นทรัพยากรที่มีความสาคัญทางเศรษฐกิจและในการ
พัฒนาประเทศของไทย นอกจากนั้นปิโตรเลียมยงเป็นทรัพยากรธรรมชาติซึ่ง
ก่อให้เกิดรายได้ส่งออกรายไดแก้ รัฐบาลการจ้างงาน และการถ่ายทอดเทคโนโลยี
ประเทศไทยไดให้สัมปทานปิโตรเลียมคร้ังแรกในปีพ.ศ. 2505 แก่บริษัท
ต่างชาติต่อมาการสารวจ และผลิตเริ่มดาเนินการอย่างจริงจังมากยิ่งขิ้้นนับตั้งแต่มี
การออกพระราชบัญญัติปิโตรเลียม พ.ศ. 2514 และ ได้มีการให้สัมปทาน
สารวจและผลิตปิโตรเลียมตั้งแต่ปีพ.ศ. 2514 เรื่อยมาจวบจนปัจจุบัน โดยให้
สัมปทาน ทั้งแหล่งบนบกอ่าวไทยและทะเลอันดามัน และได้มีการผลิตทั้งน้ามันดิบ
และก๊าซธรรมชาติอย่างต่อเนื่อง อยางไรก็ตามเป็นที่คาดการณ์ว่าปริมาณการผลิตจะ
ไม่เพิ่มอีกมากนักและมีแนวโน้มที่่จะลดลงในระยะเวลา อีกประมาณ 20 ปี
กลับ
• วัตถุประสงค์
• 1. ศึกษาที่มาของการกาเนิดปิโตรเลียม
• 2. ศึกษากระบวนการซึ่งผลที่ได้จากปิโตรเลียม
• 3. ศึกษาประโชชน์และการนาไปใช้ของปิโตรเลียม
• 4. ศึกษาผลกระทบจากการใช้ปิโตรเลียม
กลับ
• ขอบเขตโครงงาน
ศึกษาการกาเนิด กระบวนการ การนามาใช้ประโยชน์และ
ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม ระยะเวลา 2 ภาคเรียน สถานที่
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย
กลับ
• หลักการและทฤษฎี
จุดเริ่มต้นของปิโตรเลียมอยู่ที่ชั้นหินที่มีปริมาณสารอินทรีย์สูงที่เรียกว่า “หิน
ต้นกาเนิด” เป็นหินที่เกิดจากการทับถมกันของเศษตะกอนปนซากพืชซากสัตว์ใน
อดีตเมื่อหลายล้านปีก่อน ความรู้นี้ยังไม่เปลี่ยน และยังคงเป็นพื้นฐานของการสารวจ
ปิโตรเลียมทั่วโลกในทุกวันนี้
ปิโตรเลียมที่พบในหินต้นกาเนิดและหินกักเก็บมีหลักฐานทางชีววิทยา (biomarker)
ว่ามาจากสิ่งมีชีวิต หลักฐานเหล่านี้สอดคล้องกับวิวัฒนำกำรของสิ่งมีชีวิตบนโลกและบ่งบอกว่า
ปิโตรเลียมที่พบในหินไม่ได้มาจากแหล่งเดียว (เหมือนที่บอกว่ามาจากชั้นแมนเทิล) เช่น มาจากพืช
บกในยุคดีโวเนียน มาจากแพลงก์ตอนในมหายุคนีโอโพรเทอโรโซอิกหรือมาจากแบคทีเรียในหิน
ทรายอายุกว่าสามพันล้านปี (Dutkiewicz et al., 1998) นอกจากนี้หลักฐานทาง
ชีววิทยายังสอดคล้องกับสภาพแวดล้อมในอดีตขณะที่เกิดหินต้นกาเนิดด้วยเช่น ตัวชี้วัดของพืชบก
พบในหินที่เกิดบนบก
กลับ
• วิธีการดาเนินงาน
– แนวทางการดาเนินงาน
ศึกษาจากแหล่งข้อมูลต่างๆ เช่น หนังสือ อินเตอร์เน็ต แล้วสรุป
เป็นองค์ความรู้
– เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
– หนังสือเรียน
– อินเตอร์เน็ต
กลับ
• ผลคาดว่าจะได้รับ
• 1. ทาให้รู้ถึงที่มาของการกาเนิดและการได้มาของปิโตรเลียม
• 2. รู้คุณค่าและการรู้จักใช้อย่างประหยัดในทางอ้อม เช่น เปิด
ไฟเท่าที่จาเป็น ขับรถประหยัดน้ามัน
• 3. เห็นผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม แล้วปรับวิถีชีวิตหันมาใช้
พลังงานทดแทน
กลับ
• สถานที่ดาเนินการ
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย
• กลุ่มสาระที่เกี่ยวข้อง
กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์
• แหล่งอ้างอิง (เอกสารหรือแหล่งข้อมูลต่างๆที่นามาใช้ในการ
ทาโครงงาน)
• www.nakhamwit.ac.th/pingpong_web/Petro_Chem.htm
• https://www2.pttep.com/energyliteracy/PTTEP/issue.aspx?id=21
• www.dmf.go.th/dmfweb/index.php?option...id...
กลับ
ปิโตรเลียม (petroleum) เกิดจากซากพืชซากสัตว์
ถูกทับถมด้วยกรวด ทราย และโคลนตม เป็น
เวลานานนับล้านๆ ปี โดยได้รับแรงกดดันจากชั้นหิน
และความร้อนจากใต้ผิวโลกทาให้เกิดปฏิกิริยาแยกสลาย
เป็นแก๊สธรรมชาติและน้ามันดิบรวมเรียกว่า ปิโตรเลียม
จัดเป็นเชื้อเพลิงฟอสซิล
กำเนิดปิโตรเลียม
ปิโตรเลียม (petroleum) เป็น
ของผสมของสารประกอบไฮโดรคาร์บอน
หลายชนิด ตั้งแต่โมเลกุลขนาดเล็กจนถึง
โมเลกุลขนาดใหญ่ เมื่อผ่านกระบวนการแยก
จะได้ผลิตภัณฑ์ที่นาไปใช้ประโยชน์เป็น
เชื้อเพลิงประเภทต่างๆ
กลับ
โครงสร้ำงของแหล่งกำเนิดปิโตรเลียม
โครงสร้ำงของชั้นหินที่พบปิโตรเลียมแบบหนึ่ง มีลักษณะ
โค้งคล้ำยรูปกระทะคว่ำ ชั้นบนเป็นหินทรำย ต่อไปเป็นหินปูน
และหินดินดำน จำกนั้นจึง
พบแก๊สธรรมชำติ น้ำมันดิบ และน้ำ จำกชั้นน้ำจะเป็นชั้น
หินดินดำน หินทรำย
หินทรำย
หินปูน
หินดินดำน
น้ำมันดิบ และแก๊สธรรมชำติ มีควำมเบำ จะ
เคลื่อนย้ำย ไปกักเก็บอยู่ในชั้นหินเนื้อพรุน
เฉพำะบริเวณที่สูงของโครงสร้ำงแต่ละแห่ง
และจะถูกกักไว้ด้วยชั้นหินเนื้อแน่น ที่ปิดทับ
อยู่
กลับ
แหล่งกำเนิดปิโตรเลียมปิโตรเลียมจำก
แหล่งกำเนิดต่ำงกันจะมี
ปริมำณของสำรประกอบ
ไฮโดรคำร์บอน
สำรประกอบกำมันถัน
ไนโตรเจน และออกซิเจน
แตกต่ำงกันขึ้นอยู่กับชนิด
ของซำกพืช ซำกสัตว์ ที่
เป็นตัวกำเนิดของ
ปิโตรเลียม
Petroleum Field
in Thailand
กลับ
กำรสำรวจปิโตรเลียม
กำรสำรวจปิโตรเลียมใช้ควำมรู้ทำงธรณีวิทยำและ
ธรณีฟิสิกส์ประกอบกันดังนี้
1. ทำงธรณีวิทยำ
2. ทำงธรณีฟิสิกส์
กำรสำรวจปิโตรเลียม
1. ทำงธรณีวิทยำ
ใช้ภำพถ่ำยทำงอำกำศ ภำพดำวเทียม แผนที่
เป็นพื้นฐำนในกำรสำรวจพื้นผิว กำรเก็บ
และตรวจตัวอย่ำงหิน เป็นข้อมูล
ในกำรคำดคะเนโครงสร้ำงและชนิดของหิน
กำรสำรวจปิโตรเลียม
2. ทำงธรณีฟิสิกส์
ได้แก่ กำรวัดค่ำแรงดึงดูดของโลก
เพื่อวิเครำะห์ควำมแตกต่ำงของชั้นหิน
ใต้ผิวโลก ทำให้ได้ข้อมูลเกี่ยวกับ
ขอบเขตของแหล่งตะกอนฟอสซิล
กำรสำรวจปิโตรเลียม
2. ทำงธรณีฟิสิกส์
-กำรวัดค่ำสนำมแม่เหล็ก ทำให้ทรำบถึงลักษณะโครงสร้ำงของ
หิน ขอบเขต ควำมลึก และลักษณะของแนวหิน
- กำรวัดคลื่นกำรสั่นสะเทือน ซึ่งแรงสั่นสะเทือนจะวิ่งผ่ำนชั้น
หินชนิดต่ำงๆ และสะท้อนเป็นคลื่นกลับมำแตกต่ำงกัน ทำให้ทรำบ
ลักษณะชั้นหินอย่ำงละเอียด
กำรสำรวจปิโตรเลียม
กำรวัดคลื่นกำรสั่นสะเทือน
โดยการสร้างคลื่นสะท้อนจาก
การจุดระเบิดเพื่อให้เกิดคลื่นความ
สั่นสะเทือนวิ่งไปกระทบชั้นหินใต้ท้องทะเล
และใต้ดิน แล้วสะท้อนกลับขึ้นมาบนผิวโลก
เข้าเครื่องรับสัญญาณ จากนั้นเครื่องรับ
สัญญาณจะบันทึกเวลาที่คลื่นความ
สั่นสะเทือนสะท้อนกลับขึ้นมาจากชั้นหิน ณ
ที่ระดับความสึกต่างกัน ซึ่งระยะเวลาที่คลื่น
ความสั่นสะเทือนเดินทางกระทบชั้นหินที่
เป็นตัวสะท้อนคลื่นได้
กำรสำรวจปิโตรเลียม
กำรวัดคลื่นกำรสั่นสะเทือนข้อมูลที่ได้จากการ
คานวณจะถูกนามาเขียนเป็นแผนที่
แสดงถึงตาแหน่งและรูปร่างลักษณะ
โครงสร้างของชั้นหินเบื้องล่างได้
โดยผลธรณีฟิสิกส์ดังกล่าวจะถูก
นามาเขียนบนแผนที่แสดงตาแหน่ง
และรูปร่างลักษณะโครงสร้างใต้
ทะเลเพื่อเราจะได้เลือกโครงสร้างที่
เหมาะสมที่สุดเพื่อกาหนดพื้นที่
เป้าหมายสาหรับการเจาะสารวจ
ต่อไป
กำรสำรวจปิโตรเลียม
กำรวัดคลื่นกำรสั่นสะเทือน
กำรสำรวจปิโตรเลียม
กำรวัดคลื่นกำรสั่นสะเทือน
กลับ
น้ำมันดิบ
น้ำมันดิบ (crude oil) เกิดจากการทับถมของสารอินทรีย์ในระดับใต้
ผิวโลก และเกิดการแปรสภาพซึมผ่านช่องว่างระหว่างชั้นหินขึ้นสู่ผิวโลก
จนถึงชั้นหินเนื้อแน่นที่ไม่
สามารถซึมผ่านขึ้นมาได้
จะถูกกักเก็บไว้ในชั้นหิน
แข็งจะพบในชั้นของหิน
ดินดำน ซึ่งจัดเป็นหิน
ตะกอนประเภทหนึ่ง
น้ำมันดิบ
ประเทศไทยสำรวจพบน้ำมันดิบครั้งแรกที่อำเภอฝำง จังหวัดเชียงใหม่
ในปี พ.ศ. 2464 แหล่งน้ำมันดิบในประเทศไทยที่สำคัญในปัจจุบัน ได้แก่ แหล่ง
น้ำมันดิบเพชร จำกแหล่งสิริกิต์ ที่จังหวัดกำแพงเพชร
กำรกลั่นน้ำมันดิบ
น้ำมันดิบมีลักษณะเป็นของเหลวข้นคล้ำยโคลน มีสีดำและ
มีกลิ่น ใช้ประโยชน์โดยตรงได้น้อยมำก ต้องนำไปแยกสำรประกอบ
ไฮโดรคำร์บอนออกเป็นกลุ่มๆ ตำม
ช่วงของจุดเดือด โดยองค์ประกอบ
แต่ละส่วนจะแยกออกจำกกันด้วย
หลักของ กำรกลั่นลำดับส่วน
(fraction distillation)
กำรกลั่นลำดับส่วนน้ำมันดิบ
กำรกลั่นลำดับส่วน เป็นกระบวนกำรที่ทำให้น้ำมันดิบ
ได้รับควำมร้อนสูงประมำณ 500 องศำเซลเซียส ทำให้สำรทุกชนิด
เปลี่ยนสถำนะเป็นแก๊สพร้อมกัน ผ่ำนขึ้นไปบนหอกลั่นแล้ว
ควบแน่นแยกออกเป็นส่วนๆ
โดยสำรที่มีจุดเดือดสูง แรงยึดเหนี่ยวระหว่ำงโมเลกุลมำก
จึงควบแน่นเป็นของเหลวก่อน และอยู่ที่ด้ำนล่ำงของหอกลั่น
ส่วนสำรที่มีจุดเดือดต่ำ แรงยึดเหนี่ยวระหว่ำงโมเลกุล
น้อย จึงเคลื่อนที่ขึ้นไปควบแน่นที่ชั้นบนสุดของหอกลั่น
รูปแสดงหอกลั่นน้ำมันดิบ
ส่วนประกอบของโรงกลั่นน้ำมันดิบ
1
2
3
4
5
67
http://www.schoolscience.co.uk/content/4/chemistry/petroleum/knowl/4/flash/distillation.htm
โรงกลั่นน้ามันดิบ
ภำพขยำยส่วนที่ 6
แบบจำลองภำยนอก แบบจำลองภำยใน
รูปแสดงหอกลั่นน้ำมันดิบ
แก๊สหุงต้ม
แนฟทา
บิทูเมน
น้ามันเตา
ไข
น้ามันหล่อลื่น
น้ามันดีเซล
น้ามันก๊าด
สำรที่ได้จำกกำรกลั่น จำนวน C จุดเดือด °C กำรนำไปใช้ประโยชน์
แก๊สปิโตรเลียม 1 to 4 < 40 • ทำเชื้อเพลิง สำรเคมี
แนฟทำเบำ-หนัก 5 to 10 25 – 175 • น้ำมันเบนซิน
• สำรเคมี
น้ำมันก๊ำด 10 to 16 150 – 260 • เชื้อเพลิงเครื่องบินไอพ่น
น้ำมันดีเซล 14 to 50 235 – 360 • เชื้อเพลิงใช้กับเครื่องยนต์ดีเซล
น้ำมันหล่อลื่น 20 to 70 330 – 380 •น้ำมันหล่อลื่น
ไข 19-35 340- 500 • ทำเทียนไข
ประโยชน์ของผลิตภัณฑ์จำกกำรกลั่นน้ำมันดิบ
การกาหนดคุณภาพของน้ามัน
เปรียบเทียบสมบัติการเผาไหม้ของน้ามัน
เลขออกเทน
เลขซีเทน
ไอโซออกเทน = 100 เฮปเทน = 0
C16H34= 100 C11H10 = 0
เบนซิน
ดีเซล
แก๊สธรรมชำติ
แก๊สธรรมชำติเป็นสำรประกอบไฮโดรคำร์บอน ซึ่งประกอบด้วย
ธำตุถ่ำนคำร์บอน (C) กับธำตุ ไฮโดรเจน (H) จับตัวกันเป็นโมเลกุล โดยเกิดขึ้น
เองตำมธรรมชำติ จำกกำรทับถมของซำกสิ่งมีชีวิตตำมชั้นหิน ดิน และในทะเล
หลำยร้อยล้ำนปีมำแล้ว เช่นเดียวกับน้ำมัน และเนื่องจำกควำมร้อนและควำม
กดดันของผิวโลกจึง แปรสภำพเป็นก๊ำซ
แก๊สธรรมชำติ
คุณสมบัติของก๊ำซธรรมชำติ ไม่มีสี ไม่มีกลิ่น และไม่มีพิษ ใน
สถำนะปกติมีสภำพเป็นก๊ำซหรือไอที่อุณหภูมิ และควำมดันบรรยำกำศ โดยมี
ค่ำควำมถ่วงจำเพำะต่ำกว่ำ อำกำศจึงเบำกว่ำอำกำศ เมื่อเกิดกำรรั่วไหลจะฟุ้ ง
กระจำยไปตำมบรรยำกำศอย่ำงรวดเร็ว จึงไม่มีกำรสะสมลุกไหม้ บนพื้นรำบ
แหล่งกำเนิดแก๊สธรรมชำติ
แก๊สธรรมชาติเกิดอยู่ใต้พื้นดิน อาจเป็นบนบกหรือในทะเล และอาจพบอยู่ตาม
ลาพัง ในสถานะแก๊สหรืออยู่รวมกับน้ามันดิบ
แหล่งแก๊สธรรมชาติในอ่าวไทย ประกอบด้วยแก๊สมีเทนเป็นส่วนใหญ่
แก๊สธรรมชาติบางส่วนเกิดจากความร้อนสูงภายในโลก ทาให้น้ามันดิบที่ถูกเก็บกัก
ไว้เป็นเวลานานเกิดการสลายตัวเป็นแก๊สธรรมชาติอยู่เหนือชั้นน้ามันดิบ
แหล่งกำเนิดแก๊สธรรมชำติในประเทศไทย
องค์ประกอบของแก๊สธรรมชำติ
แก๊สธรรมชำติที่ขุดเจำะขึ้นมำมีองค์ประกอบ 2 ส่วนคือ
1.ส่วนที่เป็นสำรประกอบไฮโดรคำร์บอนหมำยชนิดได้แก่
แก๊สมีเทน (CH4) อีเทน (C2H6) โพรเพน (C3H8) บิวเทน (C4H10) และ
แก๊สเหลว
2.ส่วนที่ไม่ใช่สำรประกอบไฮโดรคำร์บอน ได้แก่ แก๊ส
คำร์บอนไดออกไซด์ (CO2) ไฮโดรเจนซัลไฟด์ (H2S) ไอปรอท และไอ
น้ำ
หลักกำรแยกแก๊สธรรมชำติ
แก๊สธรรมชำติ แยกส่วนที่ไม่ใช่สำรประกอบไฮโดรคำร์บอน
ลดอุณหภูมิเพิ่มควำมดัน เพื่อให้เปลี่ยน
สถำนะเป็นของเหลว
ผ่ำนไปยังหอกลั่นและลดควำมดัน เพิ่มอุณหภูมิ
เพื่อเปลี่ยนสถำนะเป็นแก๊ส
แก๊สมีเทน (CH4)
แก๊สอีเทน (C2H6)
แก๊สโพรเพน (C3H8)
แก๊สหุงต้ม (LPG) (C3-C4)
แก๊สธรรมชาติเหลว (C5-C6)
กำรแยกส่วนที่ไม่ใช่สำรประกอบไฮโดรคำร์บอน
แยกส่วนที่ไม่ใช่สำรประกอบไฮโดรคำร์บอน โดย
ใช้วัสดุที่มีรูพรุนดูดซับและแยกแก๊สคำร์บอนไดออกไซด์
ออกโดยใช้โพแทสเซียมคำร์บอเนต (K2CO3) ดูดซับ
เนื่องจำกถ้ำไม่แยกออกเมื่อลดอุณหภูมิต่ำกว่ำ 0 องศำ
เซลเซียส น้ำจะแข็งอุดตันท่อแก๊ส แล้วจึงนำส่วนที่เป็น
สำรประกอบไฮโดรคำร์บอนไปแยกโดยใช้หลักกำรกลั่น
ลำดับส่วนต่อไป
แก๊สปิโตรเลียมเหลว
หรือ LPG
กำรกลั่นลำดับส่วน
แก๊สธรรมชำติ ลดอุณหภูมิและเพิ่มควำมดัน
สถำนะ
เป็นของเหลว
หอกลั่น
เพิ่มอุณหภูมิและลดควำมดัน
มีเทน อีเทน โพรเพน
แก๊สธรรมชำติเหลว
ขั้นตอนกำรแยกแก๊สธรรมชำติ
แก๊สธรรมชาติ แก๊สเหลว
แก๊สเหลวแก๊สธรรมชาติ
หน่วยกำจัดปรอท
หน่วยกำจัด
CO2 และ H2O
แยกแก๊สไฮโดรคาร์บอน
(โดยการกลั่นลาดับส่วน)
สำรดูดซับที่มีรูพรุนสูงกำจัด H2O
K2CO3
กำจัดCO2
การแยกแก๊สไฮโดรคาร์บอนในแก๊สธรรมชาติ
เพิ่มควำมดัน ลดอุณหภูมิ
หอกลั่นลาดับส่วนเพิ่มอุณหภูมิ
แก๊สเปลี่ยนสถำนะเป็นของเหลว
CH4 C2H6 C3H8 C4H10 LPG
อุตสำหกรรมปิโตรเลียม
เชื้อเพลิง
ในครัวเรือน
เชื้อเพลิงผลิตกระแสไฟฟ้ ำ
วัตถุดิบในกำรผลิตปุ๋ ยเคมี
องค์ประกอบและกำรใช้ประโยชน์ของแก๊สธรรมชำติ
สารประกอบ สูตรโมเลกุล ร้อยละโดยปริมาตร ประโยชน์
มีเทน CH4 60-80 ใช้เป็นเชื้อเพลิง
อีเทน C2H6 4-10 ผลิตปุ๋ ยไนโตรเจน
ผลิตแอลกอฮอล์
ผลิต LPG
โพรเพน C3H8 3-5 ใช้เป็นแก๊สหุงต้มในบ้านเรือน
เชื้อเพลิงในรถยนต์
องค์ประกอบและกำรใช้ประโยชน์ของแก๊สธรรมชำติ
สารประกอบ สูตรโมเลกุล ร้อยละโดยปริมาตร ประโยชน์
บิวเทน C4H10 1-3 ใช้เป็นวัตถุดิบป้อนโรงกลั่น
ผลิตสารเคมี
เป็นแก๊สหุงต้ม
เพนเทน C5H12 3-5 ใช้เป็นวัตถุดิบป้อนโรงกลั่น
ผลิตสารเคมี
เฮกเซน C6H14 0.1-1 ใช้เป็นตัวทาละลาย
องค์ประกอบและกำรใช้ประโยชน์ของแก๊สธรรมชำติ
สารประกอบ สูตรโมเลกุล ร้อยละโดยปริมาตร ประโยชน์
คาร์บอนไดออกไซด์ CO2 15-25 ผลิตน้าแข็งแห้ง
น้ายาดับเพลิง
ไนโตรเจน N2 ไม่เกิน 3 ใช้ทาปุ๋ ยไนโตรเจน
ปรอท ไอน้า ฮีเลียม
ไฮโดรเจนซัลไฟล์
- น้อยมาก -
โครงงานเปิดโลกปิโตรเลียม

More Related Content

What's hot

โครงงานภาษาเหนือน่ารุ้
โครงงานภาษาเหนือน่ารุ้โครงงานภาษาเหนือน่ารุ้
โครงงานภาษาเหนือน่ารุ้Abcz F-ang
 
แผนการจัดกิจกรรมผู้บำเพ็ญประโยชน์
แผนการจัดกิจกรรมผู้บำเพ็ญประโยชน์แผนการจัดกิจกรรมผู้บำเพ็ญประโยชน์
แผนการจัดกิจกรรมผู้บำเพ็ญประโยชน์Wichai Likitponrak
 
นาฏศิลป์สากล
นาฏศิลป์สากลนาฏศิลป์สากล
นาฏศิลป์สากลPonpirun Homsuwan
 
การพัฒนาเศรษฐกิจของไทย
การพัฒนาเศรษฐกิจของไทยการพัฒนาเศรษฐกิจของไทย
การพัฒนาเศรษฐกิจของไทยPannatut Pakphichai
 
ตัวอย่าง PPT นำเสนอประเมินการพัฒนางาน ว.PA (15 นา.pptx
ตัวอย่าง PPT นำเสนอประเมินการพัฒนางาน ว.PA (15 นา.pptxตัวอย่าง PPT นำเสนอประเมินการพัฒนางาน ว.PA (15 นา.pptx
ตัวอย่าง PPT นำเสนอประเมินการพัฒนางาน ว.PA (15 นา.pptxJessie SK
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2dnavaroj
 
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ 2 (ม.4).1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ 2 (ม.4).1ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ 2 (ม.4).1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ 2 (ม.4).1Sivagon Soontong
 
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนAแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนkrupornpana55
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่02 เรื่องชั้นหน้าตัดดิน
แผนการจัดการเรียนรู้ที่02 เรื่องชั้นหน้าตัดดินแผนการจัดการเรียนรู้ที่02 เรื่องชั้นหน้าตัดดิน
แผนการจัดการเรียนรู้ที่02 เรื่องชั้นหน้าตัดดินVankaew Ping
 
สรุปหัวใจชายหนุ่ม
สรุปหัวใจชายหนุ่มสรุปหัวใจชายหนุ่ม
สรุปหัวใจชายหนุ่มNattha-aoy Unchai
 
สารบัญโครงงานคอม
สารบัญโครงงานคอมสารบัญโครงงานคอม
สารบัญโครงงานคอมkand-2539
 
เฉลยข้อสอบ O-Net ดาราศาสตร์ ปีการศึกษา 2548
เฉลยข้อสอบ O-Net ดาราศาสตร์ ปีการศึกษา 2548เฉลยข้อสอบ O-Net ดาราศาสตร์ ปีการศึกษา 2548
เฉลยข้อสอบ O-Net ดาราศาสตร์ ปีการศึกษา 2548Physics Lek
 
แบบทดสอบ ภาษาไทย ม.2
แบบทดสอบ ภาษาไทย ม.2แบบทดสอบ ภาษาไทย ม.2
แบบทดสอบ ภาษาไทย ม.2teerachon
 
ความจริงกับข้อเท็จจริง ป.5+580+54his p05 f12-1page
ความจริงกับข้อเท็จจริง ป.5+580+54his p05 f12-1pageความจริงกับข้อเท็จจริง ป.5+580+54his p05 f12-1page
ความจริงกับข้อเท็จจริง ป.5+580+54his p05 f12-1pagePrachoom Rangkasikorn
 
5 ความดันย่อยของแก๊ส
5 ความดันย่อยของแก๊ส5 ความดันย่อยของแก๊ส
5 ความดันย่อยของแก๊สPreeyapat Lengrabam
 

What's hot (20)

แบบฝึกหัด
แบบฝึกหัดแบบฝึกหัด
แบบฝึกหัด
 
โครงงานภาษาเหนือน่ารุ้
โครงงานภาษาเหนือน่ารุ้โครงงานภาษาเหนือน่ารุ้
โครงงานภาษาเหนือน่ารุ้
 
แผนการจัดกิจกรรมผู้บำเพ็ญประโยชน์
แผนการจัดกิจกรรมผู้บำเพ็ญประโยชน์แผนการจัดกิจกรรมผู้บำเพ็ญประโยชน์
แผนการจัดกิจกรรมผู้บำเพ็ญประโยชน์
 
ปิโตรเลียม
ปิโตรเลียมปิโตรเลียม
ปิโตรเลียม
 
นาฏศิลป์สากล
นาฏศิลป์สากลนาฏศิลป์สากล
นาฏศิลป์สากล
 
การพัฒนาเศรษฐกิจของไทย
การพัฒนาเศรษฐกิจของไทยการพัฒนาเศรษฐกิจของไทย
การพัฒนาเศรษฐกิจของไทย
 
ตัวอย่าง PPT นำเสนอประเมินการพัฒนางาน ว.PA (15 นา.pptx
ตัวอย่าง PPT นำเสนอประเมินการพัฒนางาน ว.PA (15 นา.pptxตัวอย่าง PPT นำเสนอประเมินการพัฒนางาน ว.PA (15 นา.pptx
ตัวอย่าง PPT นำเสนอประเมินการพัฒนางาน ว.PA (15 นา.pptx
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
 
o net-2552
o net-2552o net-2552
o net-2552
 
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ 2 (ม.4).1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ 2 (ม.4).1ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ 2 (ม.4).1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ 2 (ม.4).1
 
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนAแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่02 เรื่องชั้นหน้าตัดดิน
แผนการจัดการเรียนรู้ที่02 เรื่องชั้นหน้าตัดดินแผนการจัดการเรียนรู้ที่02 เรื่องชั้นหน้าตัดดิน
แผนการจัดการเรียนรู้ที่02 เรื่องชั้นหน้าตัดดิน
 
สรุปหัวใจชายหนุ่ม
สรุปหัวใจชายหนุ่มสรุปหัวใจชายหนุ่ม
สรุปหัวใจชายหนุ่ม
 
โจทย์ปัญหา เรื่องการตวง ป 3
โจทย์ปัญหา เรื่องการตวง ป 3โจทย์ปัญหา เรื่องการตวง ป 3
โจทย์ปัญหา เรื่องการตวง ป 3
 
สารบัญโครงงานคอม
สารบัญโครงงานคอมสารบัญโครงงานคอม
สารบัญโครงงานคอม
 
เฉลยข้อสอบ O-Net ดาราศาสตร์ ปีการศึกษา 2548
เฉลยข้อสอบ O-Net ดาราศาสตร์ ปีการศึกษา 2548เฉลยข้อสอบ O-Net ดาราศาสตร์ ปีการศึกษา 2548
เฉลยข้อสอบ O-Net ดาราศาสตร์ ปีการศึกษา 2548
 
แบบทดสอบ ภาษาไทย ม.2
แบบทดสอบ ภาษาไทย ม.2แบบทดสอบ ภาษาไทย ม.2
แบบทดสอบ ภาษาไทย ม.2
 
ระดับของภาษา
ระดับของภาษาระดับของภาษา
ระดับของภาษา
 
ความจริงกับข้อเท็จจริง ป.5+580+54his p05 f12-1page
ความจริงกับข้อเท็จจริง ป.5+580+54his p05 f12-1pageความจริงกับข้อเท็จจริง ป.5+580+54his p05 f12-1page
ความจริงกับข้อเท็จจริง ป.5+580+54his p05 f12-1page
 
5 ความดันย่อยของแก๊ส
5 ความดันย่อยของแก๊ส5 ความดันย่อยของแก๊ส
5 ความดันย่อยของแก๊ส
 

Viewers also liked

กำเนิดปิโตรเลียม
กำเนิดปิโตรเลียมกำเนิดปิโตรเลียม
กำเนิดปิโตรเลียมMeen Jaturaporn
 
แนวข้อสอบ วิชาเฉพาะ แพทย์กสพท. การวิเคราะห์สังเคราะห์และเชื่อมโยง
แนวข้อสอบ วิชาเฉพาะ แพทย์กสพท. การวิเคราะห์สังเคราะห์และเชื่อมโยงแนวข้อสอบ วิชาเฉพาะ แพทย์กสพท. การวิเคราะห์สังเคราะห์และเชื่อมโยง
แนวข้อสอบ วิชาเฉพาะ แพทย์กสพท. การวิเคราะห์สังเคราะห์และเชื่อมโยงmintwrsr15
 
ปิโตรเลียม
ปิโตรเลียมปิโตรเลียม
ปิโตรเลียมkritsadaporn
 
เซเรบอส Brands วิชาฟิสิกส์ (192 หน้า)
เซเรบอส Brands วิชาฟิสิกส์ (192 หน้า)เซเรบอส Brands วิชาฟิสิกส์ (192 หน้า)
เซเรบอส Brands วิชาฟิสิกส์ (192 หน้า)findgooodjob
 
แนวข้อสอบคณิตศาสตร์ กสพท. 2555 พร้อมเฉลย
แนวข้อสอบคณิตศาสตร์ กสพท. 2555 พร้อมเฉลยแนวข้อสอบคณิตศาสตร์ กสพท. 2555 พร้อมเฉลย
แนวข้อสอบคณิตศาสตร์ กสพท. 2555 พร้อมเฉลยmintwrsr15
 
การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของมนุษย์ l ชีวิตของเรา l วิทยาศาสตร์
การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของมนุษย์ l ชีวิตของเรา l วิทยาศาสตร์ การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของมนุษย์ l ชีวิตของเรา l วิทยาศาสตร์
การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของมนุษย์ l ชีวิตของเรา l วิทยาศาสตร์ SAM RANGSAM
 
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)Srion Janeprapapong
 
กิจกรรม การทดลอง ฟิสิกส์ สสวท.
กิจกรรม การทดลอง ฟิสิกส์ สสวท.กิจกรรม การทดลอง ฟิสิกส์ สสวท.
กิจกรรม การทดลอง ฟิสิกส์ สสวท.Worrachet Boonyong
 
บทที่ 4 ปิโตรเลียม
บทที่ 4 ปิโตรเลียมบทที่ 4 ปิโตรเลียม
บทที่ 4 ปิโตรเลียมJariya Jaiyot
 
เครื่องเคาะสัญญาณเวลา
เครื่องเคาะสัญญาณเวลาเครื่องเคาะสัญญาณเวลา
เครื่องเคาะสัญญาณเวลาWijitta DevilTeacher
 
01 intro physic 1 by kruaui
01 intro physic 1 by kruaui01 intro physic 1 by kruaui
01 intro physic 1 by kruauiwiriya kosit
 
การหายใจระดับเซลล์ Cellular respiration
การหายใจระดับเซลล์ Cellular respirationการหายใจระดับเซลล์ Cellular respiration
การหายใจระดับเซลล์ Cellular respirationPat Pataranutaporn
 
ความถนัดเเพทย์ ondemand
ความถนัดเเพทย์ ondemandความถนัดเเพทย์ ondemand
ความถนัดเเพทย์ ondemandfirstnarak
 

Viewers also liked (20)

กำเนิดปิโตรเลียม
กำเนิดปิโตรเลียมกำเนิดปิโตรเลียม
กำเนิดปิโตรเลียม
 
01ปิโตรเลียม
01ปิโตรเลียม01ปิโตรเลียม
01ปิโตรเลียม
 
ทหารหาญ
ทหารหาญทหารหาญ
ทหารหาญ
 
วิหคสีรุ้ง
วิหคสีรุ้งวิหคสีรุ้ง
วิหคสีรุ้ง
 
ฟิสิกส์ม42
ฟิสิกส์ม42ฟิสิกส์ม42
ฟิสิกส์ม42
 
แนวข้อสอบ วิชาเฉพาะ แพทย์กสพท. การวิเคราะห์สังเคราะห์และเชื่อมโยง
แนวข้อสอบ วิชาเฉพาะ แพทย์กสพท. การวิเคราะห์สังเคราะห์และเชื่อมโยงแนวข้อสอบ วิชาเฉพาะ แพทย์กสพท. การวิเคราะห์สังเคราะห์และเชื่อมโยง
แนวข้อสอบ วิชาเฉพาะ แพทย์กสพท. การวิเคราะห์สังเคราะห์และเชื่อมโยง
 
ปิโตรเลียม
ปิโตรเลียมปิโตรเลียม
ปิโตรเลียม
 
electric potential
electric potentialelectric potential
electric potential
 
เซเรบอส Brands วิชาฟิสิกส์ (192 หน้า)
เซเรบอส Brands วิชาฟิสิกส์ (192 หน้า)เซเรบอส Brands วิชาฟิสิกส์ (192 หน้า)
เซเรบอส Brands วิชาฟิสิกส์ (192 หน้า)
 
บทนำ
บทนำบทนำ
บทนำ
 
แนวข้อสอบคณิตศาสตร์ กสพท. 2555 พร้อมเฉลย
แนวข้อสอบคณิตศาสตร์ กสพท. 2555 พร้อมเฉลยแนวข้อสอบคณิตศาสตร์ กสพท. 2555 พร้อมเฉลย
แนวข้อสอบคณิตศาสตร์ กสพท. 2555 พร้อมเฉลย
 
การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของมนุษย์ l ชีวิตของเรา l วิทยาศาสตร์
การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของมนุษย์ l ชีวิตของเรา l วิทยาศาสตร์ การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของมนุษย์ l ชีวิตของเรา l วิทยาศาสตร์
การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของมนุษย์ l ชีวิตของเรา l วิทยาศาสตร์
 
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
 
กิจกรรม การทดลอง ฟิสิกส์ สสวท.
กิจกรรม การทดลอง ฟิสิกส์ สสวท.กิจกรรม การทดลอง ฟิสิกส์ สสวท.
กิจกรรม การทดลอง ฟิสิกส์ สสวท.
 
บทที่ 4 ปิโตรเลียม
บทที่ 4 ปิโตรเลียมบทที่ 4 ปิโตรเลียม
บทที่ 4 ปิโตรเลียม
 
ใบความรู้ 7
ใบความรู้ 7ใบความรู้ 7
ใบความรู้ 7
 
เครื่องเคาะสัญญาณเวลา
เครื่องเคาะสัญญาณเวลาเครื่องเคาะสัญญาณเวลา
เครื่องเคาะสัญญาณเวลา
 
01 intro physic 1 by kruaui
01 intro physic 1 by kruaui01 intro physic 1 by kruaui
01 intro physic 1 by kruaui
 
การหายใจระดับเซลล์ Cellular respiration
การหายใจระดับเซลล์ Cellular respirationการหายใจระดับเซลล์ Cellular respiration
การหายใจระดับเซลล์ Cellular respiration
 
ความถนัดเเพทย์ ondemand
ความถนัดเเพทย์ ondemandความถนัดเเพทย์ ondemand
ความถนัดเเพทย์ ondemand
 

Similar to โครงงานเปิดโลกปิโตรเลียม

บทที่ 1 โลกและการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 1 โลกและการเปลี่ยนแปลงบทที่ 1 โลกและการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 1 โลกและการเปลี่ยนแปลงnarongsakday
 
ธรณีกาล605
ธรณีกาล605ธรณีกาล605
ธรณีกาล605Fluofern
 
โลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงโลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงsmEduSlide
 
การออกแบบภายในเพื่อป้องกันแผ่นดินไหว
การออกแบบภายในเพื่อป้องกันแผ่นดินไหวการออกแบบภายในเพื่อป้องกันแผ่นดินไหว
การออกแบบภายในเพื่อป้องกันแผ่นดินไหวqcstandard
 
คลื่นวิทยุ(วิสันต์+ภัทร)402
คลื่นวิทยุ(วิสันต์+ภัทร)402คลื่นวิทยุ(วิสันต์+ภัทร)402
คลื่นวิทยุ(วิสันต์+ภัทร)402ANelu Upperyard
 
คลื่นวิทยุ(วิสันต์+ภัทร)402
คลื่นวิทยุ(วิสันต์+ภัทร)402คลื่นวิทยุ(วิสันต์+ภัทร)402
คลื่นวิทยุ(วิสันต์+ภัทร)402ANelu Upperyard
 
ระบบส ร ยะจ_กรวาล
ระบบส ร ยะจ_กรวาลระบบส ร ยะจ_กรวาล
ระบบส ร ยะจ_กรวาลMiewz Tmioewr
 
เรื่อง โมบายหอยทะเล
เรื่อง โมบายหอยทะเลเรื่อง โมบายหอยทะเล
เรื่อง โมบายหอยทะเลTewit Chotchang
 
เรื่อง โมบายหอยทะเล222
เรื่อง โมบายหอยทะเล222เรื่อง โมบายหอยทะเล222
เรื่อง โมบายหอยทะเล222Tewit Chotchang
 
โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ
โลก  ดาราศาสตร์ และอวกาศโลก  ดาราศาสตร์ และอวกาศ
โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศพัน พัน
 
ธรณีกาล605 1
ธรณีกาล605 1ธรณีกาล605 1
ธรณีกาล605 1Rujira Narach
 
ชั้นบรรยากาศ
ชั้นบรรยากาศชั้นบรรยากาศ
ชั้นบรรยากาศkrupornpana55
 
กำเนิดจักรวาล
กำเนิดจักรวาลกำเนิดจักรวาล
กำเนิดจักรวาลniralai
 

Similar to โครงงานเปิดโลกปิโตรเลียม (17)

บทที่ 1 โลกและการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 1 โลกและการเปลี่ยนแปลงบทที่ 1 โลกและการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 1 โลกและการเปลี่ยนแปลง
 
ธรณีกาล605
ธรณีกาล605ธรณีกาล605
ธรณีกาล605
 
โลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงโลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลง
 
Physical geology 1 3
Physical geology 1 3Physical geology 1 3
Physical geology 1 3
 
การออกแบบภายในเพื่อป้องกันแผ่นดินไหว
การออกแบบภายในเพื่อป้องกันแผ่นดินไหวการออกแบบภายในเพื่อป้องกันแผ่นดินไหว
การออกแบบภายในเพื่อป้องกันแผ่นดินไหว
 
ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
 
คลื่นวิทยุ(วิสันต์+ภัทร)402
คลื่นวิทยุ(วิสันต์+ภัทร)402คลื่นวิทยุ(วิสันต์+ภัทร)402
คลื่นวิทยุ(วิสันต์+ภัทร)402
 
คลื่นวิทยุ(วิสันต์+ภัทร)402
คลื่นวิทยุ(วิสันต์+ภัทร)402คลื่นวิทยุ(วิสันต์+ภัทร)402
คลื่นวิทยุ(วิสันต์+ภัทร)402
 
ระบบส ร ยะจ_กรวาล
ระบบส ร ยะจ_กรวาลระบบส ร ยะจ_กรวาล
ระบบส ร ยะจ_กรวาล
 
เรื่อง โมบายหอยทะเล
เรื่อง โมบายหอยทะเลเรื่อง โมบายหอยทะเล
เรื่อง โมบายหอยทะเล
 
เรื่อง โมบายหอยทะเล222
เรื่อง โมบายหอยทะเล222เรื่อง โมบายหอยทะเล222
เรื่อง โมบายหอยทะเล222
 
Pim
PimPim
Pim
 
Pim
PimPim
Pim
 
โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ
โลก  ดาราศาสตร์ และอวกาศโลก  ดาราศาสตร์ และอวกาศ
โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ
 
ธรณีกาล605 1
ธรณีกาล605 1ธรณีกาล605 1
ธรณีกาล605 1
 
ชั้นบรรยากาศ
ชั้นบรรยากาศชั้นบรรยากาศ
ชั้นบรรยากาศ
 
กำเนิดจักรวาล
กำเนิดจักรวาลกำเนิดจักรวาล
กำเนิดจักรวาล
 

More from firstnarak

โครงงานคอม(ยาสามัญประจำบ้าน)
โครงงานคอม(ยาสามัญประจำบ้าน)โครงงานคอม(ยาสามัญประจำบ้าน)
โครงงานคอม(ยาสามัญประจำบ้าน)firstnarak
 
ใบงาน 8
ใบงาน 8ใบงาน 8
ใบงาน 8firstnarak
 
ใบงาน 6
ใบงาน 6ใบงาน 6
ใบงาน 6firstnarak
 
ใบงาน 4
ใบงาน 4ใบงาน 4
ใบงาน 4firstnarak
 
ใบงาน 2
ใบงาน 2ใบงาน 2
ใบงาน 2firstnarak
 
Taxonomy(อนุกรมวิทฐาน)
Taxonomy(อนุกรมวิทฐาน)Taxonomy(อนุกรมวิทฐาน)
Taxonomy(อนุกรมวิทฐาน)firstnarak
 
สังคม
สังคมสังคม
สังคมfirstnarak
 

More from firstnarak (10)

โครงงานคอม(ยาสามัญประจำบ้าน)
โครงงานคอม(ยาสามัญประจำบ้าน)โครงงานคอม(ยาสามัญประจำบ้าน)
โครงงานคอม(ยาสามัญประจำบ้าน)
 
ใบงาน 8
ใบงาน 8ใบงาน 8
ใบงาน 8
 
7
77
7
 
ใบงาน 6
ใบงาน 6ใบงาน 6
ใบงาน 6
 
5
55
5
 
ใบงาน 4
ใบงาน 4ใบงาน 4
ใบงาน 4
 
3
33
3
 
ใบงาน 2
ใบงาน 2ใบงาน 2
ใบงาน 2
 
Taxonomy(อนุกรมวิทฐาน)
Taxonomy(อนุกรมวิทฐาน)Taxonomy(อนุกรมวิทฐาน)
Taxonomy(อนุกรมวิทฐาน)
 
สังคม
สังคมสังคม
สังคม
 

โครงงานเปิดโลกปิโตรเลียม