SlideShare a Scribd company logo
1 of 5
Download to read offline
1

รายวิชา ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม 3                               ผลการเรียนที่คาดหวังที่ 7
รหัสวิชา ว 40203 ระดับชั้น ม. 5
                                                  ใบความรู 7      ใชประกอบแผนจัดการเรียนรูที่ 7
                                           ทฤษฎจลนของแกส
                                               ี      

                                              ทฤษฎีจลนของแกส
         ทฤษฎีจลนของแกส เปนทฤษฎีที่ศึกษาการเคลื่อนที่ของโมเลกุลของแกส ในการศึกษาถึง ความเร็ว
โมเมนตัมของโมเลกุล ภายใตแบบจําลองของแกสที่สรางขึ้นมาเพื่อความสะดวกและทําความเขาใจไดงายใน
การศึกษา จากสมมุติฐานที่วา
           1. ไมมีแรงกระทําระหวางโมเลกุลของแกส ยกเวนเมื่อเกิดการชนกันเทานั้น จึงไมมีพลังงานศักย จะมีแต
พลังงานจลนเทานั้น
          2. โมเลกุลเปนทรงกลม มีขนาดเล็กมาก และเทากันทุกโมเลกุล ทําใหโมเลกุลสามารถอยูไดทุกแหงใน
ภาชนะ
          3. ไมวาโมเลกุลของแกสจะชนกันเองหรือชนกับผนังภาชนะที่บรรจุ ถือวาเปนการชนแบบยืดหยุนสมบูรณ
คือไมมีการสูญเสียพลังงานจลนหลังการชน ทําใหโมเลกุลของแกสมีอัตราเร็วคงตัว

         แบบจําลองของแกสอุดมคตินี้ จึงไดนํามาอธิบายเกี่ยวกับ ความดัน อุณหภูมิ และพลังงานจลนเฉลี่ยของ
แกส
                     Y



                                                                        VX             A

                                              X
                          ก.                                                 ข.
        Z
                          รู ป กล่องแสดงแบบจําลองการเคลื่อนที่ของแก๊สขนาด L x L x L

         พิจารณาโมเลกุลมวล m เคลื่อนที่ดวยอัตราเร็ว v ในทิศทางใดๆ ดังรูป ก. โดยมีการชนผนังแบบยืดหยุน
สมบูรณ เมื่อพิจารณาแกน X โมเลกุลมวล m เคลื่อนที่เขาชนผนัง A ดวยอัตราเร็ว vX แลวสะทอนกลับดวย
อัตราเร็ว - vX ทําใหเกิดแรงที่โมเลกุล 1 ตัว กระทําตอผนังดังนี้

        แรงที่กระทําตอผนังเนื่องจากโมเลกุล 1 ตัว คือ โมเมนตัมที่ผนังไดรับใน 1 หนวยเวลา
                                                   ( mv X - ( - mv X ))              2mv X
                                  F1     =                                   =
                                                        2L v X                       2L v X
                                                    mv 2
                                                       X
                                 F1       =
                                                     L
2


ดังนั้น เมื่อโมเลกุล N ตัวเขาชนผนัง แรงที่กระทําตอผนัง คือ
                                             m N 2
                            F       =           ∑ v Xi
                                             L i =1
                                             N
                                            ∑ v2
                                               Xi
        เนื่องจาก         v2
                           X       =        i=1
                                                 N
                              N
                          ∑ v2 =
                             Xi            N v2
                                              X
                          i =1

                                            m 2
                          F        =          N vX
                                            L

                                            F                      m 2
        จาก               P        =                 =         (     N v X ) / L2
                                            A                      L

                          P        =       Nm v 2 / V
                                                X


                          PV       =       Nm v 2
                                                X              ......................... ( 1 )

        ในทํานองเดียวกัน ในแนวแกน Y และแกน Z จะได
                        PV =         Nm v 2
                                          Y        ......................... ( 2 )

                          PV       =       Nm v 2
                                                Z              ......................... ( 3 )

        แต สมการ ( 1 ) = ( 2 ) = ( 3 )

                          Nm v 2
                               X           =         Nm v 2
                                                          Y          = Nm v 2
                                                                            Z


        จะได             v2
                           X               =         v2
                                                      Y               = v2
                                                                         Z


        อัตราเร็วเฉลี่ยของแกส คือ v 2
3

         จะได          v2          =       v2 + v2 + v2
                                             X    Y    Z


                        v2          =       v2 + v2 + v2
                                             X    X    X


                        v2          =       3 v2
                                               X

                                            1 2
                        v2
                         X          =         v
                                            3

                        1 2
แทนคา v 2
     X          =        v ในสมการ ( 1 )
                        3

                                            1
                        PV          =         Nm v 2     ......................... ( 4 )
                                            3
      2
นํา     คณสมการ ( 4 )
         ู
      2
                                            2 1 2
         จะได          PV          =        N mv
                                            3 2

                                            2
                        PV          =         N Ek
                                            3

         จาก            PV          =       nRT

         จาก            PV          =       N kBT

                        2
         จะได            N Ek      =       N kBT
                        3

                                             3
                        Ek          =          kBT
                                             2

สมการนี้ คือ สมการของพลังงานจลนเฉลี่ยของแกส 1 โมเลกุล
                                           
4

       เมื่อให    N E k คือ พลังงานจลนเฉลี่ยของแกสทั้งหมด
                                                         3
                  จะได        N Ek            =           N kB T
                                                         2

                                                              3
                                 N Ek             =             nRT
                                                              2

       อัตราเร็วเฉลี่ยของโมเลกุลของแกส คือ อัตราเร็วรากที่สองของกําลังสองเฉลี่ยของโมเลกุลของแกส ใช
สัญลักษณ vrms ( rms ยอมาจาก root mean square ) มีสมการหลักคือ
                        


                                                                      ∑ v2 =      v1 + v 2 + v 3 + . . . + v 2
                                                                                   2           2
                                                          2              i               2                   i
       อัตราเร็วรากที่สองกําลังสองเฉลี่ย vrms =       v       =
                                                                        N                    N
                                                              3
                  จาก            N Ek             =             nRT
                                                              2

                              1                               3
                         (nNA) m v 2              =             nRT
                              2                               2

                                 mNA v 2          =           3RT           , M = mNA

                                 M v2             =           3RT

                                                              3RT
                                 v2               =                         , vrms =      v2
                                                               M

                                                                  3RT
                                 vrms             =                         ***********
                                                                   M

       มวล M คือ มวลแกส 1 โมล = มวลโมเลกุล x10- 3 kg
                                                  3
                             Ek          =          kBT
                                                  2

                                 1 2                          3
                                   mv             =             kBT
                                 2                            2
5

                               m v2            =      3kBT

                                                      3k B T
                                v2             =
                                                        m

                                                         3k B T
                               vrms            =                              ************
                                                           m

       มวล m คือ มวลแกส 1 โมเลกุล = มวลโมเลกุล x 1.66x10- 27 kg

ตวอยาง จงหาพลังงานจลนเฉลี่ย และ vrms ของโมเลกุลออกซิเจนที่อุณหภูมิ 7 องศาเซลเซียส
  ั 
                                                      3
วิธีทํา จาก                    Ek            =          kBT
                                                      2

                                                      3
                                Ek             =        (1.38 x 10- 23 J/K )( 273 + 7 )
                                                      2

                                Ek             =      579.6 x 10- 23    J             ตอบ

                                                      1 2
                                Ek             =        mv
                                                      2

                                                      1 2
                                Ek             =        m v rms
                                                      2

                                                      1
                       ( 579.6 x 10- 23 J )    =        ( 32 x 1.66 x 10- 27 kg ) v 2
                                                                                    rms
                                                      2

                                        vrms   =      467.14      m/s                        ตอบ

More Related Content

More from Wijitta DevilTeacher

ตารางธาตุใหม่
ตารางธาตุใหม่ตารางธาตุใหม่
ตารางธาตุใหม่Wijitta DevilTeacher
 
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด A
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด Aการสอบแก้ตัวกลางภาคชุด A
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด AWijitta DevilTeacher
 
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด C
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด Cการสอบแก้ตัวกลางภาคชุด C
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด CWijitta DevilTeacher
 
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด B
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด Bการสอบแก้ตัวกลางภาคชุด B
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด BWijitta DevilTeacher
 
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชนเอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชนWijitta DevilTeacher
 
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงานเอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงานWijitta DevilTeacher
 
แนวข้อสอบโมเมนตัมและการชน
แนวข้อสอบโมเมนตัมและการชนแนวข้อสอบโมเมนตัมและการชน
แนวข้อสอบโมเมนตัมและการชนWijitta DevilTeacher
 
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่Wijitta DevilTeacher
 
14แผน เรื่อง สภาพยืดหยุ่น
14แผน เรื่อง สภาพยืดหยุ่น14แผน เรื่อง สภาพยืดหยุ่น
14แผน เรื่อง สภาพยืดหยุ่นWijitta DevilTeacher
 
13แผน เรื่อง สมดุลกล
13แผน เรื่อง สมดุลกล13แผน เรื่อง สมดุลกล
13แผน เรื่อง สมดุลกลWijitta DevilTeacher
 
12แผน เรื่อง การแกว่งของวัตถุ
12แผน เรื่อง การแกว่งของวัตถุ12แผน เรื่อง การแกว่งของวัตถุ
12แผน เรื่อง การแกว่งของวัตถุWijitta DevilTeacher
 
11แผน เรื่อง งานของการหมุน
11แผน เรื่อง งานของการหมุน11แผน เรื่อง งานของการหมุน
11แผน เรื่อง งานของการหมุนWijitta DevilTeacher
 
10แผน เรื่อง พลังงานจลน์ของการหมุน
10แผน เรื่อง พลังงานจลน์ของการหมุน10แผน เรื่อง พลังงานจลน์ของการหมุน
10แผน เรื่อง พลังงานจลน์ของการหมุนWijitta DevilTeacher
 
09แผน เรื่อง ทอร์กกับการเคลื่อนที่แบบหมุน
09แผน เรื่อง ทอร์กกับการเคลื่อนที่แบบหมุน09แผน เรื่อง ทอร์กกับการเคลื่อนที่แบบหมุน
09แผน เรื่อง ทอร์กกับการเคลื่อนที่แบบหมุนWijitta DevilTeacher
 
08แผน เรื่อง การหมุน ความเร็วเชิงมุม และความเร่งเชิงมุม
08แผน เรื่อง การหมุน ความเร็วเชิงมุม และความเร่งเชิงมุม08แผน เรื่อง การหมุน ความเร็วเชิงมุม และความเร่งเชิงมุม
08แผน เรื่อง การหมุน ความเร็วเชิงมุม และความเร่งเชิงมุมWijitta DevilTeacher
 

More from Wijitta DevilTeacher (20)

ตารางธาตุใหม่
ตารางธาตุใหม่ตารางธาตุใหม่
ตารางธาตุใหม่
 
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด A
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด Aการสอบแก้ตัวกลางภาคชุด A
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด A
 
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด C
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด Cการสอบแก้ตัวกลางภาคชุด C
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด C
 
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด B
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด Bการสอบแก้ตัวกลางภาคชุด B
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด B
 
Physics atom part 5
Physics atom part 5Physics atom part 5
Physics atom part 5
 
Physics atom part 4
Physics atom part 4Physics atom part 4
Physics atom part 4
 
Physics atom part 3
Physics atom part 3Physics atom part 3
Physics atom part 3
 
Physics atom part 2
Physics atom part 2Physics atom part 2
Physics atom part 2
 
Physics atom part 1
Physics atom part 1Physics atom part 1
Physics atom part 1
 
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชนเอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
 
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงานเอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
 
แนวข้อสอบโมเมนตัมและการชน
แนวข้อสอบโมเมนตัมและการชนแนวข้อสอบโมเมนตัมและการชน
แนวข้อสอบโมเมนตัมและการชน
 
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
 
14แผน เรื่อง สภาพยืดหยุ่น
14แผน เรื่อง สภาพยืดหยุ่น14แผน เรื่อง สภาพยืดหยุ่น
14แผน เรื่อง สภาพยืดหยุ่น
 
13แผน เรื่อง สมดุลกล
13แผน เรื่อง สมดุลกล13แผน เรื่อง สมดุลกล
13แผน เรื่อง สมดุลกล
 
12แผน เรื่อง การแกว่งของวัตถุ
12แผน เรื่อง การแกว่งของวัตถุ12แผน เรื่อง การแกว่งของวัตถุ
12แผน เรื่อง การแกว่งของวัตถุ
 
11แผน เรื่อง งานของการหมุน
11แผน เรื่อง งานของการหมุน11แผน เรื่อง งานของการหมุน
11แผน เรื่อง งานของการหมุน
 
10แผน เรื่อง พลังงานจลน์ของการหมุน
10แผน เรื่อง พลังงานจลน์ของการหมุน10แผน เรื่อง พลังงานจลน์ของการหมุน
10แผน เรื่อง พลังงานจลน์ของการหมุน
 
09แผน เรื่อง ทอร์กกับการเคลื่อนที่แบบหมุน
09แผน เรื่อง ทอร์กกับการเคลื่อนที่แบบหมุน09แผน เรื่อง ทอร์กกับการเคลื่อนที่แบบหมุน
09แผน เรื่อง ทอร์กกับการเคลื่อนที่แบบหมุน
 
08แผน เรื่อง การหมุน ความเร็วเชิงมุม และความเร่งเชิงมุม
08แผน เรื่อง การหมุน ความเร็วเชิงมุม และความเร่งเชิงมุม08แผน เรื่อง การหมุน ความเร็วเชิงมุม และความเร่งเชิงมุม
08แผน เรื่อง การหมุน ความเร็วเชิงมุม และความเร่งเชิงมุม
 

ใบความรู้ 7

  • 1. 1 รายวิชา ฟสิกสพื้นฐานและเพิ่มเติม 3 ผลการเรียนที่คาดหวังที่ 7 รหัสวิชา ว 40203 ระดับชั้น ม. 5 ใบความรู 7 ใชประกอบแผนจัดการเรียนรูที่ 7 ทฤษฎจลนของแกส ี   ทฤษฎีจลนของแกส ทฤษฎีจลนของแกส เปนทฤษฎีที่ศึกษาการเคลื่อนที่ของโมเลกุลของแกส ในการศึกษาถึง ความเร็ว โมเมนตัมของโมเลกุล ภายใตแบบจําลองของแกสที่สรางขึ้นมาเพื่อความสะดวกและทําความเขาใจไดงายใน การศึกษา จากสมมุติฐานที่วา 1. ไมมีแรงกระทําระหวางโมเลกุลของแกส ยกเวนเมื่อเกิดการชนกันเทานั้น จึงไมมีพลังงานศักย จะมีแต พลังงานจลนเทานั้น 2. โมเลกุลเปนทรงกลม มีขนาดเล็กมาก และเทากันทุกโมเลกุล ทําใหโมเลกุลสามารถอยูไดทุกแหงใน ภาชนะ 3. ไมวาโมเลกุลของแกสจะชนกันเองหรือชนกับผนังภาชนะที่บรรจุ ถือวาเปนการชนแบบยืดหยุนสมบูรณ คือไมมีการสูญเสียพลังงานจลนหลังการชน ทําใหโมเลกุลของแกสมีอัตราเร็วคงตัว แบบจําลองของแกสอุดมคตินี้ จึงไดนํามาอธิบายเกี่ยวกับ ความดัน อุณหภูมิ และพลังงานจลนเฉลี่ยของ แกส  Y VX A X ก. ข. Z รู ป กล่องแสดงแบบจําลองการเคลื่อนที่ของแก๊สขนาด L x L x L พิจารณาโมเลกุลมวล m เคลื่อนที่ดวยอัตราเร็ว v ในทิศทางใดๆ ดังรูป ก. โดยมีการชนผนังแบบยืดหยุน สมบูรณ เมื่อพิจารณาแกน X โมเลกุลมวล m เคลื่อนที่เขาชนผนัง A ดวยอัตราเร็ว vX แลวสะทอนกลับดวย อัตราเร็ว - vX ทําใหเกิดแรงที่โมเลกุล 1 ตัว กระทําตอผนังดังนี้ แรงที่กระทําตอผนังเนื่องจากโมเลกุล 1 ตัว คือ โมเมนตัมที่ผนังไดรับใน 1 หนวยเวลา ( mv X - ( - mv X )) 2mv X F1 = = 2L v X 2L v X mv 2 X F1 = L
  • 2. 2 ดังนั้น เมื่อโมเลกุล N ตัวเขาชนผนัง แรงที่กระทําตอผนัง คือ m N 2 F = ∑ v Xi L i =1 N ∑ v2 Xi เนื่องจาก v2 X = i=1 N N ∑ v2 = Xi N v2 X i =1 m 2 F = N vX L F m 2 จาก P = = ( N v X ) / L2 A L P = Nm v 2 / V X PV = Nm v 2 X ......................... ( 1 ) ในทํานองเดียวกัน ในแนวแกน Y และแกน Z จะได PV = Nm v 2 Y ......................... ( 2 ) PV = Nm v 2 Z ......................... ( 3 ) แต สมการ ( 1 ) = ( 2 ) = ( 3 ) Nm v 2 X = Nm v 2 Y = Nm v 2 Z จะได v2 X = v2 Y = v2 Z อัตราเร็วเฉลี่ยของแกส คือ v 2
  • 3. 3 จะได v2 = v2 + v2 + v2 X Y Z v2 = v2 + v2 + v2 X X X v2 = 3 v2 X 1 2 v2 X = v 3 1 2 แทนคา v 2  X = v ในสมการ ( 1 ) 3 1 PV = Nm v 2 ......................... ( 4 ) 3 2 นํา คณสมการ ( 4 ) ู 2 2 1 2 จะได PV = N mv 3 2 2 PV = N Ek 3 จาก PV = nRT จาก PV = N kBT 2 จะได N Ek = N kBT 3 3 Ek = kBT 2 สมการนี้ คือ สมการของพลังงานจลนเฉลี่ยของแกส 1 โมเลกุล 
  • 4. 4 เมื่อให N E k คือ พลังงานจลนเฉลี่ยของแกสทั้งหมด 3 จะได N Ek = N kB T 2 3 N Ek = nRT 2 อัตราเร็วเฉลี่ยของโมเลกุลของแกส คือ อัตราเร็วรากที่สองของกําลังสองเฉลี่ยของโมเลกุลของแกส ใช สัญลักษณ vrms ( rms ยอมาจาก root mean square ) มีสมการหลักคือ  ∑ v2 = v1 + v 2 + v 3 + . . . + v 2 2 2 2 i 2 i อัตราเร็วรากที่สองกําลังสองเฉลี่ย vrms = v = N N 3 จาก N Ek = nRT 2 1 3 (nNA) m v 2 = nRT 2 2 mNA v 2 = 3RT , M = mNA M v2 = 3RT 3RT v2 = , vrms = v2 M 3RT vrms = *********** M มวล M คือ มวลแกส 1 โมล = มวลโมเลกุล x10- 3 kg 3 Ek = kBT 2 1 2 3 mv = kBT 2 2
  • 5. 5 m v2 = 3kBT 3k B T v2 = m 3k B T vrms = ************ m มวล m คือ มวลแกส 1 โมเลกุล = มวลโมเลกุล x 1.66x10- 27 kg ตวอยาง จงหาพลังงานจลนเฉลี่ย และ vrms ของโมเลกุลออกซิเจนที่อุณหภูมิ 7 องศาเซลเซียส ั  3 วิธีทํา จาก Ek = kBT 2 3 Ek = (1.38 x 10- 23 J/K )( 273 + 7 ) 2 Ek = 579.6 x 10- 23 J ตอบ 1 2 Ek = mv 2 1 2 Ek = m v rms 2 1 ( 579.6 x 10- 23 J ) = ( 32 x 1.66 x 10- 27 kg ) v 2 rms 2 vrms = 467.14 m/s ตอบ