SlideShare a Scribd company logo
1 of 60
Download to read offline
ธรณีกาล
GEOLOGICAL TIME SCALE
ผู้จัดทา
1.) น.ส. รุจิรา นาราช ชั้น ม. 6/5 เลขที่ 13
2.) น.ส. ณัฐกาล ฉันทะกิจ ชั้น ม. 6/5 เลขที่ 23
ผู้จัดทา
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน
โลกได้กาเนิดขึ้นมาแล้วหลายพันล้านปี และมีสิ่งมีชีวิตที่มีวิวัฒนาการต่างๆ อย่าง
ต่อเนื่องตั้งแต่แบคทีเรีย พืชชั้นต่ําต่างๆ จนพัฒนากลายมาเป็นมนุษย์ และมี
ปรากฏการณ์ต่างๆทางธรรมชาติที่ส่งผลต่อโครงสร้างของโลกที่น่าสนใจมากมาย ด้วย
เหตุนี้คณะผู้จัดทาจึงมีความสนใจที่จะศึกษาถึงความเป็นมา และ วิวัฒนาการของ
สิ่งมีชีวิตบนโลกเพื่อนาความรู้ที่มีอยู่ไปต่อยอด และ พัฒนาต่อไป
วัตถุประสงค์
1. เพื่อศึกษาประวัตกิารกาเนิดโลก
2. เพื่อศึกษาวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิตบนโลก
3. เพื่อเป็นสื่อการเรียนรู้แก่ผู้ที่ศึกษา
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- คณะผู้จัดทาเข้าใจเนื้อหาที่ได้ศึกษาอย่างลึกซึ้ง และ สามารถเผยแพร่ข้อมูล
แก่บุคคลอื่นอย่างถูกต้อง
- คณะผู้จัดทาสามารถนาความรู้ที่ได้รับไปศึกษาเพิ่มเติม
และประยุกต์ใช้ได้อย่างเหมาะสม
- ผู้ที่ศึกษาโครงงานเกิดความเข้าใจและมีความรู้ที่สามารถ
นาไปเผยแพร่ต่อได้
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
1.) ชีววิทยาชีววิทยา 2.) ดาราศาสตร์ 3.) คอมพิวเตอร์
อายุทางธรณีวิทยา
อายุ
เปรียบเทียบ
อายุสัมบูรณ์
อายุเปรียบเทียบ(Relative Age)
คืออายุทางธรณีวิทยาของซากดึกดาบรรพ์ หิน ลักษณะทางธรณีวิทยา หรือเหตุการณ์
ทางธรณีวิทยา เมื่อเปรียบเทียบกับซากดึกดาบรรพ์ หิน ลักษณะทางธรณีวิทยา หรือ
เหตุการณ์ทางธรณีวิทยาอื่น ๆแทนที่จะบ่งบอกเป็นจานวนปี ดังนั้นการบอกอายุของหิน
แบบนี้จึงบอกได้แต่เพียงว่าอายุแก่กว่าหรืออ่อนกว่าหิน หรือซากดึกดาบรรพ์ อีกชุด
หนึ่งเท่านั้น โดยอาศัยตาแหน่งการวางตัวของหินตะกอนเป็นตัวบ่งบอก( Index
fossil) เป็นส่วนใหญ่
BACK
อายุสัมบูรณ์( Absolute age )
หมายถึงอายุซากดึกดาบรรพ์ของหิน ลักษณะหรือเหตุการณ์ทางธรณีวิทยา(โดยมากวัดเป็น
ปี เช่น พันปี ล้านปี) โดยทั่วไปหมายถึงอายุที่คานวณหาได้จากไอโซโทปของธาตุ
กัมมันตรังสี ขึ้นอยู่กับวิธีการและช่วงเวลาครึ่งชีวิต(Half life period) ของธาตุนั้น ๆ
การใช้ธาตุกัมมันตรังสีเพื่อหาอายุหิน หรือ ฟอสซิล นั้น ใช้หลักการสาคัญคือการ
เปรียบเทียบอัตราส่วนของธาตุกัมมันตรังสีที่เหลืออยู่( End product) ที่เกิดขึ้นกับ
ไอโซโทปของธาตุกัมมันตรังสีตั้งต้น(Parent isotope)แล้วคานวณโดยใช้เวลาครึ่ง
ชีวิตมาช่วยด้วยก็จะได้อายุของชั้นหิน หรือ ซากดึกดาบรรพ์ นั้น ๆ เช่น
วิธีการ Uranium 238 - Lead 206
วิธีการ Uranium 235 - Lead 207
BACK
ซากดึกดาบรรพ์( Fossil)
ซากดึกดาบรรพ์ หมายถึง ซากและร่องรอยของบรรพชีวิน(Ancient life)ที่
ประทับอยู่ในหิน บางแห่งเป็นรอยพิมพ์ บางแห่งก็มีซากเดิมปรากฏอยู่ รอยตีนสัตว์
มูลสัตว์ ถ่านหิน ไม้กลายเป็นหิน รวมอยู่ในหมู่ซากดึกดา-บรรพ์นี้เหมือนกัน ถ้าเป็น
ไฟลัมหรือชั้นของชีวินดึกดาบรรพ์ใดที่สามารถใช้บ่งบอกอายุหินได้ เรียกว่า ซากดึกดา
บรรพ์ดรรชนี(Index fossil)
กลุ่มชีวินดึกดาบรรพ์(Fossil Assemblage) ได้แก่
1. กลุ่มชีวิน : กลุ่มของสิ่งมีชีวิตที่ประกอบด้วยสัตว์หรือพืชชนิดเดียวกันหรือใกล้เคียงกัน หรือกลุ่ม
ของซากดึกดาบรรพ์ที่ปรากฏอยู่ในลาดับชั้นหินชั้นเดียวกันในพื้นที่ใดพื้นที่หนี่ง
2. กลุ่มแร่ : แร่ต่าง ๆที่ประกอบกันขึ้นเป็นหินแต่ละชนิด โดยเฉพาะหินอัคนีและหินแปร
ชั้นกลุ่มชีวิน(Assemblage zone; Cenozone ) หมายถึงกลุ่มชั้นหินซึ่งประกอบด้วยซาก
ดึกดาบรรพ์ที่มีลักษณะเด่นชัดเฉพาะกลุ่มนั้น ๆซึ่งแตกต่างจากส่วนชั้นหินใกล้เคียง ส่วนชั้นกลุ่ม
ชีวินนี้ใช้ประโยชน์เป็นตัวบ่งชี้ถึงสภาพแวดล้อมในอดีตและใช้ในการเทียบชั้นหิน
ขั้นตอนการเกิดซากดึกดาบรรพ์ ได้ดังนี้
1. สัตว์หรือพืชตายลงจมลงสู่ก้นทะเลและส่วนที่เหลือจะค่อยๆถูกฝังลงในชั้นของตะกอน
2. ตะกอนชั้นล่าง ๆได้กลายเป็นหินและส่วนที่เหลืออยู่จะแข็งตัวกลายเป็นซากดึกดาบรรพ์
3. หินถูกดันขึ้นไปมาและถูกกัดเซาะ
4. ซากดึกดาบรรพ์โผล่ขึ้นสู่ชั้นผิวโลก
การลาดับชั้นหิน
การลาดับชั้นหิน การเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นตั้งแต่ในอดีตจนถึงปัจจุบัน ล้วนถูก
บันทึกอยู่ในแผ่นหิน จึงได้มีผู้กล่าวว่า “หินเสมือนเป็นสมุดบันทึกประวัติศาสตร์โลก” ดังนั้น การ
เปลี่ยนแปลงต่าง ๆ ทั้งรูปแบบและตาแหน่งที่ตั้งจะปรากฏร่องรอยอยู่บนเปลือกโลก การศึกษา
การลาดับชั้นหิน จึงสามารถบอกบอกประวัติความเป็นมาของพื้นที่นั้น ๆ ได้
โลกเมื่อกาเนิดขึ้นมาแล้วก็มีการเปลี่ยนแปลงไปตามกระบวนการและปรากฎการณ์ต่างๆทาง
ธรณีวิทยา ทางธรณีวิทยาจึงเสนอว่า
"ปรากฎการณ์ทางธรณีวิทยาที่เกิดขึ้นในปัจจุบันล้วนเคยเกิดขึ้นมาแล้วในอดีต“
ปัจจุบันคือกุญแจไขไปสู่อดีต
(Present is the key to understand the past)
Click เพื่อชม คลิปการลาดับชั้นหิน
Credit : https://www.youtube.com/watch?v=XO3jokWgviU NEXT
ชนิดของหิน
หินอัคนี หินชั้นหินหรือหิน
ตะกอน
หินแปร
หินอัคนี (Igneous rocks)
หินอัคนี เป็นหินที่เกิดจากการแข็งตัวของหินหนืด (Magma) จากชั้นแมนเทิลที่โผล่ขึ้นมา
เราแบ่งหินอัคนีตามแหล่งที่มาออกเป็น 2 ประเภท คือ
หินอัคนีแทรกซอน (Intrusive igneous rocks) เป็นหินที่เกิดจากหินหนืดที่เย็นตัวลง
ภายในเปลือกโลกอย่างช้าๆ ทาให้ผลึกแร่มีขนาดใหญ่ และเนื้อหยาบ เช่น หินแกรนิต หิน
ไดออไรต์ และหินแกบโบร
หินอัคนีพุ (Extrusive ingneous rocks) บางทีเรียกว่า หินภูเขาไฟ เป็นหินหนืดที่
เกิดจากลาวาบนพื้นผิวโลกเย็นตัวอย่างรวดเร็ว ทาให้ผลึกมีขนาดเล็ก และเนื้อละเอียด เช่น
หินบะซอลต์ หินไรออไรต์ และหินแอนดีไซต์
BACK
หินอัคนี (Igneous rocks)
หินตะกอน (Sedimentary rocks)
แม้ว่าหินจะเป็นของแข็ง แต่มันก็มิสามารถดารงอยู่ได้อย่างถาวร หินเมื่อถูก
แสงแดด ลมฟ้าอากาศ และน้า หรือ ถูกกระแทก ก็แตกเป็นก้อนเล็กๆ หรือผุกร่อน
เสื่อมสภาพลง เศษหินที่ผุพังทั้งอนุภาคใหญ่และเล็กถูกพัดพาไปสะสมอัดตัวกัน เป็นชั้นๆ
เกิดความกดดันและปฏิกิริยาเคมีจนกลับกลายเป็นหินอีกครั้ง หินที่เกิดใหม่นี้เราเรียกว่า
“หินตะกอน” หรือ “หินชั้น”
กว่าจะมาเป็นหินตะกอน
การผุพัง (Weathering) คือ การที่หินผุพังทาลายลง (อยู่กับที่) ด้วยกรรมวิธี
ต่างๆ จากลมฟ้าอากาศ สารละลาย และรวมทั้งการกระทาของต้นไม้ แบคทีเรีย
ตลอดจนการแตกตัวทางกลศาสตร์ มีการเพิ่มอุณหภูมิและลดอุณหภูมิสลับกันเป็นต้น
ภาพที่ 5 แสดงให้เห็นถึงการผุพังของหินชั้นบน ประกอบกับการดันตัวจากใต้เปลือก
โลก ทาให้เกิดภูเขาหินแกรนิต
การกร่อน (Erosion) หมายถึง กระบวนการที่ทาให้สารเปลือกโลกหลุด ละลายไป
หรือกร่อนไป (โดยมีการเคลื่อนที่กระจัดกระจายไปจากที่เดิม) โดยมีต้นเหตุคือตัวการ
ธรรมชาติ ซึ่งได้แก่ ลมฟ้าอากาศ กระแสน้า ธารน้าแข็ง การครูดถู ภายใต้อิทธิพล
ของแรงโน้มถ่วง
การพัดพา (Transportation) หมายถึง การเคลื่อนที่ของมวลหิน ดิน
ทราย โดยกระแสน้า กระแสลม หรือธารน้าแข็ง ภายใต้แรงดึงดูดของโลก
อนุภาคขนาดเล็กจะถูกพัดพาให้เคลื่อนที่ไปได้ไกลกว่าอนุภาคขนาดใหญ่
การทับถม (Deposit) เกิดขึ้นเมื่อตัวกลางซึ่งทาให้เกิดการพัดพา เช่น กระแสน้า กระแสลม หรือธาร
น้าแข็ง อ่อนกาลังลงและยุติลง ตะกอนที่ถูกพัดพาจะสะสมตัวทับถมกัน ทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทาง
อุณหภูมิ ความกดดัน ปฏิกิริยาเคมี และเกิดการตกผลึก หินตะกอนที่อยู่ชั้นล่างจะมีความหนาแน่นสูงและ
มีเนื้อละเอียดกว่าชั้นบน เนื่องจากแรงกดดันซึ่งเกิดขึ้นจากน้าหนักตัวทับถมกันเป็นชั้นๆ (หมายเหตุ:
การทับถมบางครั้งเกิดจากการระเหยของสารละลาย ส่วนที่เป็นน้าระเหยไปในอากาศทิ้งสารที่เหลือให้ตก
ผลึกไว้เช่นเดียวกับการทานาเกลือ)
การกลับคืนเป็นหิน (Lithification) เมื่อเศษตะกอนทับถมกันจะเกิดโพรงขึ้นประมาณ
20 – 40% ของเนื้อตะกอน น้าพาสารละลายเข้ามาแทนที่อากาศในโพรง เมื่อเกิดการทับถมกัน
จนมีน้าหนักมากขึ้น เนื้อตะกอนจะถูกทาให้เรียงชิดติดกันทาให้โพรงจะมีขนาดเล็กลง จนน้าที่เคยมี
อยู่ถูกขับไล่ออกไป สารที่ตกค้างอยู่ทาหน้าที่เป็นซีเมนต์เชื่อมตะกอนเข้าด้วยกันกลับเป็นหินอีกครั้ง
ประเภทของหินตะกอน
หินตะกอน
อนุภาค
หินตะกอน
เคมี
หินตะกอน
อินทรีย์
หินตะกอนอนุภาค (Clastic rocks)
o หินกรวดมน (Congromorate) เป็นหินเนื้อหยาบเกิดจากตะกอนซึ่งเป็นหิน กรวด ทราย
ที่ถูกกระแสน้าพัดพามาอยู่รวมกัน สารละลายในน้าใต้ดินทาตัวเป็นซิเมนต์ประสานให้อนุภาคใหญ่
เล็กเหล่านี้ เกาะตัวกันเป็นก้อนหิน
o หินทราย (Sandstone) เป็นหินตะกอนเนื้อละเอียดปานกลาง เกิดจากการทับถมตัวของ
ทราย มีองค์ประกอบหลักเป็นแร่ควอรตซ์ คนโบราณใช้หินทรายแกะสลัก สร้างปราสาท และทา
หินลับมีด
o หินดินดาน (Shale) เป็นหินตะกอนเนื้อละเอียดมาก เนื่องจากประกอบด้วยอนุภาคทรายแป้ง
และอนุภาคดินเหนียวทับถมกันเป็นชั้นบางๆ ขนานกัน เมื่อทุบหินจะแตกตัวตามรอยชั้น (ฟอสซิล
มีอยู่ในหินดินดาน) ดินเหนียวที่เกิดดินดานใช้ทาเครื่องปั้นดินเผา
หินตะกอนเคมี (Chemical sedimentary rocks)
o หินปูน (Limestone) เป็นหินตะกอนคาร์บอเนต เกิดจากการทับถมของตะกอน
คาร์บอเนตในท้องทะเล ทั้งจากสารอนินทรีย์ และซากสิ่งมีชีวิต เช่น ปะการัง และกระดองของ
สัตว์ทะเล ซึ่งถับถมกันภายใต้ความกดดันและตกผลึกใหม่เป็นแร่แคลไซต์จึงทาปฏิกิริยากับกรด
หินปูนใช้ทาเป็นปูนซิเมนต์ และใช้ในการก่อสร้าง
o หินเชิร์ต (Chert) หินตะกอนเนื้อแน่น แข็ง เกิดจากการตกผลึกใหม่ เนื่องจากน้าพา
สารละลายซิลิกาเข้าไปแล้วระเหยออก ทาให้เกิดผลึกซิลิกาแทนที่เนื้อหินเดิม หินเชิร์ตมักเกิดขึ้นใต้
ท้องทะเล เนื่องจากแพลงตอนที่มีเปลือกเป็นซิลิกาตายลง เปลือกของมันจะจมลงทับถมกัน หินเชิร์
ตจึงปะปะอยู่ในหินปูน
3. หินตะกอนอินทรีย์ (Organic sedimentary rocks )
o ถ่านหิน (Coal) เกิดจากการทับถมของซากพืชที่ยังไม่เน่าเปื่อยไปหมดเนื่องจากสภาวะ
ออกซิเจนต่า สภาวะเช่นนี้เกิดตามห้วยหนองคลองบึง ในแถบภูมิอากาศแบบเส้นศูนย์สูตร การ
ทับถมทาให้เกิดการแรงกดดันที่จะระเหยขับไล่น้าและสารละลายอื่นๆออกไป ยิ่งมีปริมาณคาร์บอน
มากขึ้นถ่านหินจะยิ่งมีสีดา ลิกไนต์ (Lignite) เป็นถ่านหินคุณภาพปานกลาง มีมากที่เหมืองแม่
เมาะ จ.ลาปาง แอนทราไซต์ (Anthracite) เป็นถ่านหินคุณภาพสูง ต้องนาเข้าจาก
ต่างประเทศ
หินแปร (Metamorphic rocks)
หินแปร คือ หินที่แปรสภาพไปจากโดยการกระทาของความร้อน แรงดัน และปฏิกิริยาเคมี หิน
แปรบางชนิดยังแสดงเค้าเดิม บางชนิดผิดไปจากเดิมมากจนต้องอาศัยดูรายละเอียดของเนื้อใน
หรือสภาพสิ่งแวดล้อมจึงจะทราบที่มา อย่างไรก็ตามหินแปรชนิดหนึ่งๆ จะมีองค์ประกอบเดียวกัน
กับหินต้นกาเนิด แต่อาจจะมีการตกผลึกของแร่ใหม่ เช่น หินชนวนแปรมาจากหินดินดาน หิน
อ่อนแปรมาจากหินปูน เป็นต้น
การแปรสภาพสัมผัส (Contact metamorphism) เป็นการแปรสภาพเพราะความ
ร้อน เกิดขึ้น ณ บริเวณที่หินหนืดหรือลาวาแทรกดันขึ้นมาสัมผัสกับหินท้องที่ ความ
ร้อนและสารจากหินหนืดหรือลาวาทาให้หินท้องที่ในบริเวณนั้นแปรเปลี่ยนสภาพผิดไป
จากเดิม
การแปรสภาพบริเวณไพศาล (Regional metamophic)
เป็นการแปรสภาพของหินซึ่งเกิดเป็นบริเวณกว้างใหญ่ไพศาลเนื่องจากอุณหภูมิและความ
กดดัน โดยปกติการเปรสภาพแบบนี้จะไม่มีความเกี่ยวพันกับมวลหินอัคนี และมักจะมี
“ริ้วขนาน” (Foliation) จนแลดูเป็นแถบลายสลับสี บิดย้วยแบบลูกคลื่น ซึ่งพบใน
หินชีสต์ หินไนส์ ทั้งนี้เป็นผลมาจากการการตกผลึกใหม่ของแร่ในหิน ทั้งนี้ริ้วขนาน
อาจจะแยกออกได้เป็นแผ่นๆ และมีผิวหน้าเรียบเนียน เช่น หินชนวน
วัฏจักรหิน (Rock cycle)
นักธรณีวิทยาแบ่งหินออกเป็น 3 ประเภท ตามลักษณะการเกิดคือ หินอัคนี หินตะกอน และหิน
แปร เมื่อหินหนืดร้อนภายในโลก (Magma) และ หินหนืดร้อนบนพื้นผิวโลก (Lava) เย็นตัว
ลงกลายเป็น “หินอัคนี” ลมฟ้าอากาศ น้า และแสงแดด ทาให้หินผุพังสึกกร่อนเป็นตะกอน ทับ
ถมกันเป็นเวลานานหลายล้านปี แรงดันและปฏิกิริยาเคมีทาให้เกิดการรวมตัวเป็น “หินตะกอน”
หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า “หินชั้น” การเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลกและความร้อนจากแมนเทิล
ข้างล่าง ทาให้เกิดการแปรสภาพเป็น “หินแปร”
บทสรุปของวัฏจักรหิน
• แมกมาในชั้นแมนเทิล แทรกตัวขึ้นสู่เปลือกโลก เนื่องจากมีอุณหภูมิสูง ความหนาแน่นต่าํ
แรงดันสูง แมกมาที่ตกผลึกภายในเปลือกโลกกลายเป็นหินอัคนีแทรกซอน (มีผลึกขนาดใหญ่)
ส่วนแมกมาที่เย็นตัวบนพื้นผิวกลายเป็นหินอัคนีพุ (มีผลึกขนาดเล็ก)
• หินทุกชนิดเมื่อผุพัง สึกกร่อน จะถูกพัดพาให้เป็นตะกอน ทับถม และกลายเป็นหินตะกอน
• หินทุกชนิดเมื่อถูกกดดัน หรือทาให้ร้อน เนื้อแร่จะตกผลึกใหม่ กลายเป็นหินแปร
• หินทุกชนิดเมื่อหลอมละลาย จะกลายเป็นแมกมา เมื่อมันแทรกตัวขึ้นสู่เปลือกโลก จะเย็นตัวลง
กลายเป็นหินอัคนี
นักธรณีวิทยาจะแบ่งเวลาในอดีตของโลกออกเป็น 3 บรมยุค
แต่ในบรมยุคอาร์คีโอโซอิกและโพรเทอโรโซอิกมีแต่สิ่งมีชีวิต
ชั้นต่าขนาดเล็ก และไม่มีหลักฐานฟอสซิลปรากฏมากนัก เนื่องจาก
กระบวนการธรณีแปรสัณฐาน (Plate Tectonics) ทาให้เกิดวัฏจักร
การสร้างและทาลายแผ่นเปลือกโลก หินบนโลกส่วนใหญ่จึงมีอายุ
ไม่เกิน 500 ล้านปี นักธรณีวิทยาจึงเรียกช่วงเวลาของสองบรมยุคนี้
ว่า พรีแคมเบียน(Precambian period) ซึ่งหมายถึง ช่วงเวลาก่อน
ที่จะถึงยุคแคมเบียน (Cambian) และแบ่งช่วงเวลาของบรมยุคฟาเนอโรโซอิกออกเป็น 3
มหายุค ซึ่งแบ่งย่อยเป็น 11 ยุค โดยพิจารณาจากประเภทของฟอสซิลซึ่งแตกต่างกันอย่างชัดเจน
กว่าจะมาเป็นโลก
Click เพื่อชมคลิปการกาเนิดโลก
Credit
:https://www.youtube.com/watch?v=_18Vvk4I1ew&list=PL
32avq2iRz66utHIoXpO6jKVtxDv0-n8S
เวลาทางธรณีวิทยา
บรมโพรเทอโรโซอิก
บรมยุคอาร์คีโอโซอิก
พรีแคมเบียน (Precambrian)
เป็นช่วงเวลานับตั้งแต่โลกถือกาเนิดขึ้นมาจนถึง 545 ล้านปีก่อน ในบรมยุคอาร์คี
โอโซอิกและโพรเทอโรโซอิกซึ่งปรากฏฟอสซิลให้เห็นน้อยมาก หินตะกอนที่เก่าแก่ที่สุด
พบที่กรีนแลนด์มีอายุ 3,800 พันล้านปี ฟอสซิลที่ดึกดาบรรพ์ที่สุดคือ แบคทีเรีย
โบราณอายุ 3.5 พันล้านปี
บรมยุคฟาเนอโรโซอิก
มหายุคพาลีโอโซอิก
(paleozoic era)
แคมเบรียน (Cambrian)
เป็นยุคแรกของมหายุคพาเลโอโซอิก (Paleozoic) ในช่วง 545 – 490 ล้าน
ปีก่อน เกิดทวีปใหญ่รวมตัวกันทางขั้วโลกใต้ เป็นยุคของแบคทีเรียและสาหร่ายสีเขียว
บนพื้นดินยังว่างเปล่า สัตว์มีกระดองอาศัยอยู่ในทะเล ได้แก่ ไทร์โลไบต์ หอยสอง
ฝา ฟองน้า และหอยทาก พืชส่วนใหญ่เป็นสาหร่ายทะเล เป็นต้น
ออร์โดวิเชียน (Ordovician)
อยู่ในช่วง 490 – 443 ล้านปีก่อน ปริมาณคาร์บอนไดออกไซด์เพิ่มขึ้นอย่าง
รวดเร็ว สโตรมาโทไลต์ลดน้อยลง เกิดประการัง ไบรโอซัว และปลาหมึก สัตว์ทะเล
แพร่พันธุ์ขึ้นสู่บริเวณน้าตื้น เกิดสัตว์มีกระดูกสันหลังขึ้นเป็นครั้งแรกคือ ปลาไม่มี
ขากรรไกร เกิดสปอร์ของพืชบกขึ้นครั้งแรก
ไซลูเรียน (Silurian)
อยู่ในช่วง 443 – 417 ล้านปีก่อน เกิดสิ่งมีชีวิตใต้ทะเลลึกซึ่งใช้พลังงานเคมี
จากภูเขาไฟใต้ทะเล (Hydrothermal) เป็นธาตุอาหาร เกิดปลามีขากรรไกรและ
สัตว์บกขึ้นเป็นครั้งแรก บนบกมีพืชที่ขยายพันธุ์ด้วยสปอร์
ดีโวเนียน (Devonian)
อยู่ในช่วง 417 – 354 ล้านปีก่อน อเมริกาเหนือ กรีนแลนด์ สก็อต
แลนด์ รวมตัวกับยุโรป เป็นยุคของปลาดึกดาบรรพ์ ปลามีเหงือกแพร่พันธุ์เป็นจานวน
มาก เกิดปลามีกระดอง ปลาฉลาม หอยฝาเดียว (Ammonite) และแมลงขึ้นเป็นครั้ง
แรก บนบกเริ่มมีพืชที่ขยายพันธุ์ด้วยเมล็ดและมีป่าเกิดขึ้น
คาร์บอนิเฟอรัส (Carboniferous)
อยู่ในช่วง 354 – 295 ล้านปีก่อน เป็นยุคของป่าเฟินขนาดยักษ์ปกคลุม
ห้วย หนอง คลองบึง ซึ่งกลายเป็นแหล่งน้ามันดิบที่สาคัญในปัจจุบัน มีการแพร่พันธุ์
ของแมลง และสัตว์ครึ่งบกครึ่งน้า เริ่มมีวิวัฒนาการของสัตว์เลื้อยคลาน กาเนิดไม้
ตระกูลสน
เพอร์เมียน (Permian)
เป็นยุคสุดท้ายของมหายุคพาเลโอโซอิก ในช่วง 295 – 248 ล้านปีก่อน เปลือก
โลกทวีปรวมตัวกันเป็นทวีปขนาดใหญ่ชื่อ "พันเจีย" (Pangaea) ในทะเลมีแนว
ประการังและไบโอซัวร์ บนบกเกิดการแพร่พันธุ์ของสัตว์เลื้อยคลานที่มีลักษณะคล้ายสัตว์
เลี้ยงลูกด้วยนม ในปลายยุคเพอร์เมียนได้เกิดการสูญพันธุ์ครั้งยิ่งใหญ่ (Mass
extinction) สิ่งมีชีวิตทั้งบนบกและในทะเลหายไปร้อยละ 96 ของสปีชีส์ นับเป็นการ
ปิดมหายุคพาเลโอโซอิก
มหายุคมีโซโซอิก
(Mesozoic Era)
ไทรแอสสิก (Triassic)
เป็นยุคแรกของมหายุคเมโสโซอิก ในช่วง 248 – 205 ล้านปีก่อน เป็นการ
เริ่มต้นของสัตว์พวกใหม่ๆ สัตว์เลื้อยคลานที่มีลักษณะคล้ายสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม ถูก
แทนที่ด้วยสัตว์ที่เป็นต้นตระกูลไดโนเสาร์ ผืนแผ่นดินไม่อุดมสมบูรณ์ต่อการ
เจริญเติบโตของพืช พืชพรรณส่วนใหญ่จึงเต็มไปด้วยสน ปรง และเฟิร์น
จูแรสสิก (Jurassic)
เป็นยุคกลางของมหายุคเมโสโซอิก ในช่วง 205 – 144 ล้านปีก่อน เป็นยุคที่
ไดโนเสาร์ครองโลก ไดโนเสาร์บินได้เริ่มพัฒนาเป็นสัตว์ปีกจาพวกนก ไม้ในป่ายังเป็น
พืชไร้ดอก หอยแอมโมไนต์พัฒนาแพร่หลายและวิวัฒนาการไปเป็นสัตว์จาพวกปลาหมึก
เครเทเชียส (Cretaceous)
เป็นยุคสุดท้ายของมหายุคเมโสโซอิก
ในช่วง 144 – 65 ล้านปีก่อน สิ่งมีชีวิตที่เกิดขึ้น
ใหม่ ได้แก่ งู นก และพืชมีดอก ไดโนเสาร์
วิวัฒนาการให้มีนอ ครีบหลัง และผิวหนัง
หนาสาหรับป้องกันตัว ในปลายคาบครีเทเชียส
ได้เกิดการสูญพันธุ์ครั้งยิ่งใหญ่ ไดโนเสาร์สูญพันธุ์ไปหมดสิ้น สิ่งมีชีวิตอื่นสูญพันธุ์ไป
ประมาณร้อยละ 70 ของสปีชีส์ สันนิษฐานว่า ดาวหางพุ่งชนโลกที่คาบสมุทรยูคาทาน
ในอ่าวเม็กซิโก เหตุการณ์นี้เรียกว่า "K-T Boundary" ซึ่งหมายถึงรอยต่อระหว่าง
ยุคเครเทเชียสและยุคเทอเชียรี
มหายุคซีโนโซอิก
(Cenozoic Era)
เทอเชียรี (Tertiary)
เป็นยุคแรกของมหายุคเซโนโซอิก อยู่ในช่วง 65 - 1.8 ล้านปีก่อน แผ่นธรณี
อเมริกาเคลื่อนเข้าหากัน แผ่นธรณีอินเดียเคลื่อนที่เข้าหาแผ่นธรณีเอเซียทาให้เกิดเทือกเขา
หิมาลัยและที่ราบสูงทิเบต ยุคเทอเชียรีแบ่งออกเป็น 2 สมัยคือ พาลีโอจีนและนีโอจีน
• พาลีโอจีน (Paleogene) เป็นสมัยแรกของยุคเซโนโซอิก อยู่ในช่วง 65 –
24 ล้านปีก่อน สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมแพร่พันธุ์แทนที่ไดโนเสาร์ มีทั้งพวกกินพืชและ
กินเนื้อ บนบกเต็มไปด้วยป่าและทุ่งหญ้า ในทะเลมีปลาวาฬ
• นีโอจีน (Neogene) อยู่ในช่วง 24 – 1.8 ล้านปีก่อน เป็นช่วงเวลาของสัตว์รุ่น
ใหม่ซึ่งเป็นบรรพบุรุษของสัตว์ในปัจจุบัน รวมทั้งลิงยืนสองขาซึ่งเป็นบรรพบุรุษของ
มนุษย์ (Homo erectus)
ควอเทอนารี (Quaternary)
เป็นยุคสุดท้ายของยุคโซโนโซอิก อยู่ในช่วง 1.8 ล้านปีก่อน จนถึงปัจจุบัน แบ่งออกเป็น 2
สมัยคือ ไพลส์โตซีนและโฮโลซีน
• ไพลส์โตซีน (Pleistocene) อยู่ในช่วง 1.8 ล้านปี – 1 หมื่นปี เกิดยุคน้าแข็ง ร้อย
ละ 30 ของซีกโลกเหนือปกคลุมด้วยน้าแข็ง ทาให้ไซบีเรียและอลาสกาเชื่อมต่อกัน มีเสือเขี้ยว
โค้ง ช้างแมมมอท และหมีถ้า บรรพบุรุษของมนุษย์ได้อุบัติขึ้นในสายพันธุ์โฮโมเซ
เปียนส์ (Homo sapiens) เมื่อประมาณสองแสนปีที่แล้ว
• โฮโลซีน (Holocene) นับตั้งแต่สิ้นสุดยุคน้าแข็งเมื่อ 1 หมื่นปีที่แล้วจนถึงปัจจุบัน เป็นสมัย
ที่มนุษย์รู้จัการทาเกษตรกรรม เลี้ยงสัตว์ และอุตสาหกรรม ป่าในยุโรปถูกทาลายหมดสิ้น ป่า
ฝนเขตร้อนกาลังจะหมดไป
THANK YOU
แหล่งอ้างอิง
นาข้อมูลมาจาก Web Site
1.)https://sites.google.com/site/earthkrupongchaicr/thrni-prawati
2.)http://www.lesa.biz/earth/lithosphere/geologic-time/fossil
3.)http://portal.edu.chula.ac.th/lesa_cd/assets/document/LESA212
/8/rocks/properties/rocks_properties.html

More Related Content

What's hot

ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)สำเร็จ นางสีคุณ
 
โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ
โลก  ดาราศาสตร์ และอวกาศโลก  ดาราศาสตร์ และอวกาศ
โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศพัน พัน
 
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 2 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 2 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณีโลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 2 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 2 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณีsoysuwanyuennan
 
Astronomy 03
Astronomy 03Astronomy 03
Astronomy 03Chay Kung
 
วิชา ดาราศาสตร์ บทที่ 1 2 3
วิชา ดาราศาสตร์ บทที่ 1 2 3 วิชา ดาราศาสตร์ บทที่ 1 2 3
วิชา ดาราศาสตร์ บทที่ 1 2 3 น้ำ' เพชร
 
สรุป วิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ
สรุป วิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศสรุป วิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ
สรุป วิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศสิปป์แสง สุขผล
 
1วิวัฒนาการ
1วิวัฒนาการ1วิวัฒนาการ
1วิวัฒนาการWan Ngamwongwan
 
การทดลองภูเขาไฟระเบิด
การทดลองภูเขาไฟระเบิดการทดลองภูเขาไฟระเบิด
การทดลองภูเขาไฟระเบิดTaweesak Poochai
 
หินอัคนี หินแปร หินตะกอน
หินอัคนี หินแปร หินตะกอนหินอัคนี หินแปร หินตะกอน
หินอัคนี หินแปร หินตะกอนwebsite22556
 
การเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลก
การเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลกการเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลก
การเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลกKankamol Kunrat
 
แร่ธาตุ
แร่ธาตุแร่ธาตุ
แร่ธาตุbabyoam
 

What's hot (20)

บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
 
โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ
โลก  ดาราศาสตร์ และอวกาศโลก  ดาราศาสตร์ และอวกาศ
โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ
 
แบบฝึกหัด เรื่อง ธรณีภาค
แบบฝึกหัด เรื่อง ธรณีภาคแบบฝึกหัด เรื่อง ธรณีภาค
แบบฝึกหัด เรื่อง ธรณีภาค
 
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 2 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 2 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณีโลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 2 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 2 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี
 
Earthscience
EarthscienceEarthscience
Earthscience
 
Astronomy 03
Astronomy 03Astronomy 03
Astronomy 03
 
วิชา ดาราศาสตร์ บทที่ 1 2 3
วิชา ดาราศาสตร์ บทที่ 1 2 3 วิชา ดาราศาสตร์ บทที่ 1 2 3
วิชา ดาราศาสตร์ บทที่ 1 2 3
 
สรุป วิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ
สรุป วิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศสรุป วิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ
สรุป วิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ
 
1วิวัฒนาการ
1วิวัฒนาการ1วิวัฒนาการ
1วิวัฒนาการ
 
Change e2009 1
Change e2009 1Change e2009 1
Change e2009 1
 
นำเสนอโลก
นำเสนอโลกนำเสนอโลก
นำเสนอโลก
 
การทดลองภูเขาไฟระเบิด
การทดลองภูเขาไฟระเบิดการทดลองภูเขาไฟระเบิด
การทดลองภูเขาไฟระเบิด
 
หินอัคนี หินแปร หินตะกอน
หินอัคนี หินแปร หินตะกอนหินอัคนี หินแปร หินตะกอน
หินอัคนี หินแปร หินตะกอน
 
โลกของเรา (The Earth)
โลกของเรา (The Earth)โลกของเรา (The Earth)
โลกของเรา (The Earth)
 
ดาราศาสตร์
ดาราศาสตร์ดาราศาสตร์
ดาราศาสตร์
 
การเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลก
การเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลกการเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลก
การเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลก
 
nam
namnam
nam
 
แร่ธาตุ
แร่ธาตุแร่ธาตุ
แร่ธาตุ
 
Kingdom monera
Kingdom moneraKingdom monera
Kingdom monera
 

Similar to ธรณีกาล605 1

งานนำเสนLlอ32
งานนำเสนLlอ32งานนำเสนLlอ32
งานนำเสนLlอ32Papawadee Yatra
 
การสำรวจปิโตรเลียม
การสำรวจปิโตรเลียมการสำรวจปิโตรเลียม
การสำรวจปิโตรเลียมSutisa Tantikulwijit
 
โลกดาราศาสตร์ เรื่อง การเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลก
โลกดาราศาสตร์ เรื่อง การเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลกโลกดาราศาสตร์ เรื่อง การเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลก
โลกดาราศาสตร์ เรื่อง การเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลกMoukung'z Cazino
 
การเปลี่ยนแปลงเชิงภูมิศาสตร์ธรณี
การเปลี่ยนแปลงเชิงภูมิศาสตร์ธรณีการเปลี่ยนแปลงเชิงภูมิศาสตร์ธรณี
การเปลี่ยนแปลงเชิงภูมิศาสตร์ธรณีคุณครู กดชะกอน
 
โครงงานเปิดโลกปิโตรเลียม
โครงงานเปิดโลกปิโตรเลียมโครงงานเปิดโลกปิโตรเลียม
โครงงานเปิดโลกปิโตรเลียมfirstnarak
 
แบบฝึกหัด1772555
แบบฝึกหัด1772555แบบฝึกหัด1772555
แบบฝึกหัด1772555Kroo Mngschool
 
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 1 โครงสร้างโลก
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 1 โครงสร้างโลกโลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 1 โครงสร้างโลก
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 1 โครงสร้างโลกsoysuwanyuennan
 
กำเนิดปิโตรเลียม
กำเนิดปิโตรเลียมกำเนิดปิโตรเลียม
กำเนิดปิโตรเลียมBoom Rattamanee Boom
 
กำเนิดปิโตรเลียม
กำเนิดปิโตรเลียมกำเนิดปิโตรเลียม
กำเนิดปิโตรเลียมBoom Rattamanee Boom
 
โลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงโลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงnasanunwittayakom
 
โลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงโลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงkalita123
 
โลกดาราศาสตร์ เรื่อง ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับโลก
โลกดาราศาสตร์ เรื่อง ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับโลกโลกดาราศาสตร์ เรื่อง ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับโลก
โลกดาราศาสตร์ เรื่อง ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับโลกMoukung'z Cazino
 
ทรัพยากรดิน
ทรัพยากรดินทรัพยากรดิน
ทรัพยากรดินJiraporn
 
โครงงานเรื่องภาวะโลกร้อน
โครงงานเรื่องภาวะโลกร้อนโครงงานเรื่องภาวะโลกร้อน
โครงงานเรื่องภาวะโลกร้อนsongpol
 

Similar to ธรณีกาล605 1 (17)

Physical geology 1 3
Physical geology 1 3Physical geology 1 3
Physical geology 1 3
 
Pim
PimPim
Pim
 
ธรณีวิทยา(1)
ธรณีวิทยา(1)ธรณีวิทยา(1)
ธรณีวิทยา(1)
 
งานนำเสนLlอ32
งานนำเสนLlอ32งานนำเสนLlอ32
งานนำเสนLlอ32
 
การสำรวจปิโตรเลียม
การสำรวจปิโตรเลียมการสำรวจปิโตรเลียม
การสำรวจปิโตรเลียม
 
โลกดาราศาสตร์ เรื่อง การเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลก
โลกดาราศาสตร์ เรื่อง การเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลกโลกดาราศาสตร์ เรื่อง การเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลก
โลกดาราศาสตร์ เรื่อง การเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลก
 
การเปลี่ยนแปลงเชิงภูมิศาสตร์ธรณี
การเปลี่ยนแปลงเชิงภูมิศาสตร์ธรณีการเปลี่ยนแปลงเชิงภูมิศาสตร์ธรณี
การเปลี่ยนแปลงเชิงภูมิศาสตร์ธรณี
 
โครงงานเปิดโลกปิโตรเลียม
โครงงานเปิดโลกปิโตรเลียมโครงงานเปิดโลกปิโตรเลียม
โครงงานเปิดโลกปิโตรเลียม
 
แบบฝึกหัด1772555
แบบฝึกหัด1772555แบบฝึกหัด1772555
แบบฝึกหัด1772555
 
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 1 โครงสร้างโลก
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 1 โครงสร้างโลกโลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 1 โครงสร้างโลก
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 1 โครงสร้างโลก
 
กำเนิดปิโตรเลียม
กำเนิดปิโตรเลียมกำเนิดปิโตรเลียม
กำเนิดปิโตรเลียม
 
กำเนิดปิโตรเลียม
กำเนิดปิโตรเลียมกำเนิดปิโตรเลียม
กำเนิดปิโตรเลียม
 
โลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงโลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลง
 
โลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงโลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลง
 
โลกดาราศาสตร์ เรื่อง ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับโลก
โลกดาราศาสตร์ เรื่อง ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับโลกโลกดาราศาสตร์ เรื่อง ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับโลก
โลกดาราศาสตร์ เรื่อง ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับโลก
 
ทรัพยากรดิน
ทรัพยากรดินทรัพยากรดิน
ทรัพยากรดิน
 
โครงงานเรื่องภาวะโลกร้อน
โครงงานเรื่องภาวะโลกร้อนโครงงานเรื่องภาวะโลกร้อน
โครงงานเรื่องภาวะโลกร้อน
 

ธรณีกาล605 1

  • 2. ผู้จัดทา 1.) น.ส. รุจิรา นาราช ชั้น ม. 6/5 เลขที่ 13
  • 3. 2.) น.ส. ณัฐกาล ฉันทะกิจ ชั้น ม. 6/5 เลขที่ 23 ผู้จัดทา
  • 4. ที่มาและความสาคัญของโครงงาน โลกได้กาเนิดขึ้นมาแล้วหลายพันล้านปี และมีสิ่งมีชีวิตที่มีวิวัฒนาการต่างๆ อย่าง ต่อเนื่องตั้งแต่แบคทีเรีย พืชชั้นต่ําต่างๆ จนพัฒนากลายมาเป็นมนุษย์ และมี ปรากฏการณ์ต่างๆทางธรรมชาติที่ส่งผลต่อโครงสร้างของโลกที่น่าสนใจมากมาย ด้วย เหตุนี้คณะผู้จัดทาจึงมีความสนใจที่จะศึกษาถึงความเป็นมา และ วิวัฒนาการของ สิ่งมีชีวิตบนโลกเพื่อนาความรู้ที่มีอยู่ไปต่อยอด และ พัฒนาต่อไป
  • 6. ผลที่คาดว่าจะได้รับ - คณะผู้จัดทาเข้าใจเนื้อหาที่ได้ศึกษาอย่างลึกซึ้ง และ สามารถเผยแพร่ข้อมูล แก่บุคคลอื่นอย่างถูกต้อง - คณะผู้จัดทาสามารถนาความรู้ที่ได้รับไปศึกษาเพิ่มเติม และประยุกต์ใช้ได้อย่างเหมาะสม - ผู้ที่ศึกษาโครงงานเกิดความเข้าใจและมีความรู้ที่สามารถ นาไปเผยแพร่ต่อได้
  • 9. อายุเปรียบเทียบ(Relative Age) คืออายุทางธรณีวิทยาของซากดึกดาบรรพ์ หิน ลักษณะทางธรณีวิทยา หรือเหตุการณ์ ทางธรณีวิทยา เมื่อเปรียบเทียบกับซากดึกดาบรรพ์ หิน ลักษณะทางธรณีวิทยา หรือ เหตุการณ์ทางธรณีวิทยาอื่น ๆแทนที่จะบ่งบอกเป็นจานวนปี ดังนั้นการบอกอายุของหิน แบบนี้จึงบอกได้แต่เพียงว่าอายุแก่กว่าหรืออ่อนกว่าหิน หรือซากดึกดาบรรพ์ อีกชุด หนึ่งเท่านั้น โดยอาศัยตาแหน่งการวางตัวของหินตะกอนเป็นตัวบ่งบอก( Index fossil) เป็นส่วนใหญ่ BACK
  • 10. อายุสัมบูรณ์( Absolute age ) หมายถึงอายุซากดึกดาบรรพ์ของหิน ลักษณะหรือเหตุการณ์ทางธรณีวิทยา(โดยมากวัดเป็น ปี เช่น พันปี ล้านปี) โดยทั่วไปหมายถึงอายุที่คานวณหาได้จากไอโซโทปของธาตุ กัมมันตรังสี ขึ้นอยู่กับวิธีการและช่วงเวลาครึ่งชีวิต(Half life period) ของธาตุนั้น ๆ
  • 11. การใช้ธาตุกัมมันตรังสีเพื่อหาอายุหิน หรือ ฟอสซิล นั้น ใช้หลักการสาคัญคือการ เปรียบเทียบอัตราส่วนของธาตุกัมมันตรังสีที่เหลืออยู่( End product) ที่เกิดขึ้นกับ ไอโซโทปของธาตุกัมมันตรังสีตั้งต้น(Parent isotope)แล้วคานวณโดยใช้เวลาครึ่ง ชีวิตมาช่วยด้วยก็จะได้อายุของชั้นหิน หรือ ซากดึกดาบรรพ์ นั้น ๆ เช่น วิธีการ Uranium 238 - Lead 206 วิธีการ Uranium 235 - Lead 207 BACK
  • 12. ซากดึกดาบรรพ์( Fossil) ซากดึกดาบรรพ์ หมายถึง ซากและร่องรอยของบรรพชีวิน(Ancient life)ที่ ประทับอยู่ในหิน บางแห่งเป็นรอยพิมพ์ บางแห่งก็มีซากเดิมปรากฏอยู่ รอยตีนสัตว์ มูลสัตว์ ถ่านหิน ไม้กลายเป็นหิน รวมอยู่ในหมู่ซากดึกดา-บรรพ์นี้เหมือนกัน ถ้าเป็น ไฟลัมหรือชั้นของชีวินดึกดาบรรพ์ใดที่สามารถใช้บ่งบอกอายุหินได้ เรียกว่า ซากดึกดา บรรพ์ดรรชนี(Index fossil)
  • 13. กลุ่มชีวินดึกดาบรรพ์(Fossil Assemblage) ได้แก่ 1. กลุ่มชีวิน : กลุ่มของสิ่งมีชีวิตที่ประกอบด้วยสัตว์หรือพืชชนิดเดียวกันหรือใกล้เคียงกัน หรือกลุ่ม ของซากดึกดาบรรพ์ที่ปรากฏอยู่ในลาดับชั้นหินชั้นเดียวกันในพื้นที่ใดพื้นที่หนี่ง 2. กลุ่มแร่ : แร่ต่าง ๆที่ประกอบกันขึ้นเป็นหินแต่ละชนิด โดยเฉพาะหินอัคนีและหินแปร ชั้นกลุ่มชีวิน(Assemblage zone; Cenozone ) หมายถึงกลุ่มชั้นหินซึ่งประกอบด้วยซาก ดึกดาบรรพ์ที่มีลักษณะเด่นชัดเฉพาะกลุ่มนั้น ๆซึ่งแตกต่างจากส่วนชั้นหินใกล้เคียง ส่วนชั้นกลุ่ม ชีวินนี้ใช้ประโยชน์เป็นตัวบ่งชี้ถึงสภาพแวดล้อมในอดีตและใช้ในการเทียบชั้นหิน
  • 14. ขั้นตอนการเกิดซากดึกดาบรรพ์ ได้ดังนี้ 1. สัตว์หรือพืชตายลงจมลงสู่ก้นทะเลและส่วนที่เหลือจะค่อยๆถูกฝังลงในชั้นของตะกอน 2. ตะกอนชั้นล่าง ๆได้กลายเป็นหินและส่วนที่เหลืออยู่จะแข็งตัวกลายเป็นซากดึกดาบรรพ์ 3. หินถูกดันขึ้นไปมาและถูกกัดเซาะ 4. ซากดึกดาบรรพ์โผล่ขึ้นสู่ชั้นผิวโลก
  • 15. การลาดับชั้นหิน การลาดับชั้นหิน การเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นตั้งแต่ในอดีตจนถึงปัจจุบัน ล้วนถูก บันทึกอยู่ในแผ่นหิน จึงได้มีผู้กล่าวว่า “หินเสมือนเป็นสมุดบันทึกประวัติศาสตร์โลก” ดังนั้น การ เปลี่ยนแปลงต่าง ๆ ทั้งรูปแบบและตาแหน่งที่ตั้งจะปรากฏร่องรอยอยู่บนเปลือกโลก การศึกษา การลาดับชั้นหิน จึงสามารถบอกบอกประวัติความเป็นมาของพื้นที่นั้น ๆ ได้ โลกเมื่อกาเนิดขึ้นมาแล้วก็มีการเปลี่ยนแปลงไปตามกระบวนการและปรากฎการณ์ต่างๆทาง ธรณีวิทยา ทางธรณีวิทยาจึงเสนอว่า "ปรากฎการณ์ทางธรณีวิทยาที่เกิดขึ้นในปัจจุบันล้วนเคยเกิดขึ้นมาแล้วในอดีต“ ปัจจุบันคือกุญแจไขไปสู่อดีต (Present is the key to understand the past)
  • 16.
  • 19. หินอัคนี (Igneous rocks) หินอัคนี เป็นหินที่เกิดจากการแข็งตัวของหินหนืด (Magma) จากชั้นแมนเทิลที่โผล่ขึ้นมา เราแบ่งหินอัคนีตามแหล่งที่มาออกเป็น 2 ประเภท คือ หินอัคนีแทรกซอน (Intrusive igneous rocks) เป็นหินที่เกิดจากหินหนืดที่เย็นตัวลง ภายในเปลือกโลกอย่างช้าๆ ทาให้ผลึกแร่มีขนาดใหญ่ และเนื้อหยาบ เช่น หินแกรนิต หิน ไดออไรต์ และหินแกบโบร หินอัคนีพุ (Extrusive ingneous rocks) บางทีเรียกว่า หินภูเขาไฟ เป็นหินหนืดที่ เกิดจากลาวาบนพื้นผิวโลกเย็นตัวอย่างรวดเร็ว ทาให้ผลึกมีขนาดเล็ก และเนื้อละเอียด เช่น หินบะซอลต์ หินไรออไรต์ และหินแอนดีไซต์
  • 21. หินตะกอน (Sedimentary rocks) แม้ว่าหินจะเป็นของแข็ง แต่มันก็มิสามารถดารงอยู่ได้อย่างถาวร หินเมื่อถูก แสงแดด ลมฟ้าอากาศ และน้า หรือ ถูกกระแทก ก็แตกเป็นก้อนเล็กๆ หรือผุกร่อน เสื่อมสภาพลง เศษหินที่ผุพังทั้งอนุภาคใหญ่และเล็กถูกพัดพาไปสะสมอัดตัวกัน เป็นชั้นๆ เกิดความกดดันและปฏิกิริยาเคมีจนกลับกลายเป็นหินอีกครั้ง หินที่เกิดใหม่นี้เราเรียกว่า “หินตะกอน” หรือ “หินชั้น”
  • 22. กว่าจะมาเป็นหินตะกอน การผุพัง (Weathering) คือ การที่หินผุพังทาลายลง (อยู่กับที่) ด้วยกรรมวิธี ต่างๆ จากลมฟ้าอากาศ สารละลาย และรวมทั้งการกระทาของต้นไม้ แบคทีเรีย ตลอดจนการแตกตัวทางกลศาสตร์ มีการเพิ่มอุณหภูมิและลดอุณหภูมิสลับกันเป็นต้น ภาพที่ 5 แสดงให้เห็นถึงการผุพังของหินชั้นบน ประกอบกับการดันตัวจากใต้เปลือก โลก ทาให้เกิดภูเขาหินแกรนิต
  • 23. การกร่อน (Erosion) หมายถึง กระบวนการที่ทาให้สารเปลือกโลกหลุด ละลายไป หรือกร่อนไป (โดยมีการเคลื่อนที่กระจัดกระจายไปจากที่เดิม) โดยมีต้นเหตุคือตัวการ ธรรมชาติ ซึ่งได้แก่ ลมฟ้าอากาศ กระแสน้า ธารน้าแข็ง การครูดถู ภายใต้อิทธิพล ของแรงโน้มถ่วง
  • 24. การพัดพา (Transportation) หมายถึง การเคลื่อนที่ของมวลหิน ดิน ทราย โดยกระแสน้า กระแสลม หรือธารน้าแข็ง ภายใต้แรงดึงดูดของโลก อนุภาคขนาดเล็กจะถูกพัดพาให้เคลื่อนที่ไปได้ไกลกว่าอนุภาคขนาดใหญ่
  • 25. การทับถม (Deposit) เกิดขึ้นเมื่อตัวกลางซึ่งทาให้เกิดการพัดพา เช่น กระแสน้า กระแสลม หรือธาร น้าแข็ง อ่อนกาลังลงและยุติลง ตะกอนที่ถูกพัดพาจะสะสมตัวทับถมกัน ทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทาง อุณหภูมิ ความกดดัน ปฏิกิริยาเคมี และเกิดการตกผลึก หินตะกอนที่อยู่ชั้นล่างจะมีความหนาแน่นสูงและ มีเนื้อละเอียดกว่าชั้นบน เนื่องจากแรงกดดันซึ่งเกิดขึ้นจากน้าหนักตัวทับถมกันเป็นชั้นๆ (หมายเหตุ: การทับถมบางครั้งเกิดจากการระเหยของสารละลาย ส่วนที่เป็นน้าระเหยไปในอากาศทิ้งสารที่เหลือให้ตก ผลึกไว้เช่นเดียวกับการทานาเกลือ)
  • 26. การกลับคืนเป็นหิน (Lithification) เมื่อเศษตะกอนทับถมกันจะเกิดโพรงขึ้นประมาณ 20 – 40% ของเนื้อตะกอน น้าพาสารละลายเข้ามาแทนที่อากาศในโพรง เมื่อเกิดการทับถมกัน จนมีน้าหนักมากขึ้น เนื้อตะกอนจะถูกทาให้เรียงชิดติดกันทาให้โพรงจะมีขนาดเล็กลง จนน้าที่เคยมี อยู่ถูกขับไล่ออกไป สารที่ตกค้างอยู่ทาหน้าที่เป็นซีเมนต์เชื่อมตะกอนเข้าด้วยกันกลับเป็นหินอีกครั้ง
  • 28. หินตะกอนอนุภาค (Clastic rocks) o หินกรวดมน (Congromorate) เป็นหินเนื้อหยาบเกิดจากตะกอนซึ่งเป็นหิน กรวด ทราย ที่ถูกกระแสน้าพัดพามาอยู่รวมกัน สารละลายในน้าใต้ดินทาตัวเป็นซิเมนต์ประสานให้อนุภาคใหญ่ เล็กเหล่านี้ เกาะตัวกันเป็นก้อนหิน o หินทราย (Sandstone) เป็นหินตะกอนเนื้อละเอียดปานกลาง เกิดจากการทับถมตัวของ ทราย มีองค์ประกอบหลักเป็นแร่ควอรตซ์ คนโบราณใช้หินทรายแกะสลัก สร้างปราสาท และทา หินลับมีด o หินดินดาน (Shale) เป็นหินตะกอนเนื้อละเอียดมาก เนื่องจากประกอบด้วยอนุภาคทรายแป้ง และอนุภาคดินเหนียวทับถมกันเป็นชั้นบางๆ ขนานกัน เมื่อทุบหินจะแตกตัวตามรอยชั้น (ฟอสซิล มีอยู่ในหินดินดาน) ดินเหนียวที่เกิดดินดานใช้ทาเครื่องปั้นดินเผา
  • 29. หินตะกอนเคมี (Chemical sedimentary rocks) o หินปูน (Limestone) เป็นหินตะกอนคาร์บอเนต เกิดจากการทับถมของตะกอน คาร์บอเนตในท้องทะเล ทั้งจากสารอนินทรีย์ และซากสิ่งมีชีวิต เช่น ปะการัง และกระดองของ สัตว์ทะเล ซึ่งถับถมกันภายใต้ความกดดันและตกผลึกใหม่เป็นแร่แคลไซต์จึงทาปฏิกิริยากับกรด หินปูนใช้ทาเป็นปูนซิเมนต์ และใช้ในการก่อสร้าง o หินเชิร์ต (Chert) หินตะกอนเนื้อแน่น แข็ง เกิดจากการตกผลึกใหม่ เนื่องจากน้าพา สารละลายซิลิกาเข้าไปแล้วระเหยออก ทาให้เกิดผลึกซิลิกาแทนที่เนื้อหินเดิม หินเชิร์ตมักเกิดขึ้นใต้ ท้องทะเล เนื่องจากแพลงตอนที่มีเปลือกเป็นซิลิกาตายลง เปลือกของมันจะจมลงทับถมกัน หินเชิร์ ตจึงปะปะอยู่ในหินปูน
  • 30. 3. หินตะกอนอินทรีย์ (Organic sedimentary rocks ) o ถ่านหิน (Coal) เกิดจากการทับถมของซากพืชที่ยังไม่เน่าเปื่อยไปหมดเนื่องจากสภาวะ ออกซิเจนต่า สภาวะเช่นนี้เกิดตามห้วยหนองคลองบึง ในแถบภูมิอากาศแบบเส้นศูนย์สูตร การ ทับถมทาให้เกิดการแรงกดดันที่จะระเหยขับไล่น้าและสารละลายอื่นๆออกไป ยิ่งมีปริมาณคาร์บอน มากขึ้นถ่านหินจะยิ่งมีสีดา ลิกไนต์ (Lignite) เป็นถ่านหินคุณภาพปานกลาง มีมากที่เหมืองแม่ เมาะ จ.ลาปาง แอนทราไซต์ (Anthracite) เป็นถ่านหินคุณภาพสูง ต้องนาเข้าจาก ต่างประเทศ
  • 31. หินแปร (Metamorphic rocks) หินแปร คือ หินที่แปรสภาพไปจากโดยการกระทาของความร้อน แรงดัน และปฏิกิริยาเคมี หิน แปรบางชนิดยังแสดงเค้าเดิม บางชนิดผิดไปจากเดิมมากจนต้องอาศัยดูรายละเอียดของเนื้อใน หรือสภาพสิ่งแวดล้อมจึงจะทราบที่มา อย่างไรก็ตามหินแปรชนิดหนึ่งๆ จะมีองค์ประกอบเดียวกัน กับหินต้นกาเนิด แต่อาจจะมีการตกผลึกของแร่ใหม่ เช่น หินชนวนแปรมาจากหินดินดาน หิน อ่อนแปรมาจากหินปูน เป็นต้น
  • 32. การแปรสภาพสัมผัส (Contact metamorphism) เป็นการแปรสภาพเพราะความ ร้อน เกิดขึ้น ณ บริเวณที่หินหนืดหรือลาวาแทรกดันขึ้นมาสัมผัสกับหินท้องที่ ความ ร้อนและสารจากหินหนืดหรือลาวาทาให้หินท้องที่ในบริเวณนั้นแปรเปลี่ยนสภาพผิดไป จากเดิม
  • 33. การแปรสภาพบริเวณไพศาล (Regional metamophic) เป็นการแปรสภาพของหินซึ่งเกิดเป็นบริเวณกว้างใหญ่ไพศาลเนื่องจากอุณหภูมิและความ กดดัน โดยปกติการเปรสภาพแบบนี้จะไม่มีความเกี่ยวพันกับมวลหินอัคนี และมักจะมี “ริ้วขนาน” (Foliation) จนแลดูเป็นแถบลายสลับสี บิดย้วยแบบลูกคลื่น ซึ่งพบใน หินชีสต์ หินไนส์ ทั้งนี้เป็นผลมาจากการการตกผลึกใหม่ของแร่ในหิน ทั้งนี้ริ้วขนาน อาจจะแยกออกได้เป็นแผ่นๆ และมีผิวหน้าเรียบเนียน เช่น หินชนวน
  • 34. วัฏจักรหิน (Rock cycle) นักธรณีวิทยาแบ่งหินออกเป็น 3 ประเภท ตามลักษณะการเกิดคือ หินอัคนี หินตะกอน และหิน แปร เมื่อหินหนืดร้อนภายในโลก (Magma) และ หินหนืดร้อนบนพื้นผิวโลก (Lava) เย็นตัว ลงกลายเป็น “หินอัคนี” ลมฟ้าอากาศ น้า และแสงแดด ทาให้หินผุพังสึกกร่อนเป็นตะกอน ทับ ถมกันเป็นเวลานานหลายล้านปี แรงดันและปฏิกิริยาเคมีทาให้เกิดการรวมตัวเป็น “หินตะกอน” หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า “หินชั้น” การเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลกและความร้อนจากแมนเทิล ข้างล่าง ทาให้เกิดการแปรสภาพเป็น “หินแปร”
  • 35.
  • 36. บทสรุปของวัฏจักรหิน • แมกมาในชั้นแมนเทิล แทรกตัวขึ้นสู่เปลือกโลก เนื่องจากมีอุณหภูมิสูง ความหนาแน่นต่าํ แรงดันสูง แมกมาที่ตกผลึกภายในเปลือกโลกกลายเป็นหินอัคนีแทรกซอน (มีผลึกขนาดใหญ่) ส่วนแมกมาที่เย็นตัวบนพื้นผิวกลายเป็นหินอัคนีพุ (มีผลึกขนาดเล็ก) • หินทุกชนิดเมื่อผุพัง สึกกร่อน จะถูกพัดพาให้เป็นตะกอน ทับถม และกลายเป็นหินตะกอน • หินทุกชนิดเมื่อถูกกดดัน หรือทาให้ร้อน เนื้อแร่จะตกผลึกใหม่ กลายเป็นหินแปร • หินทุกชนิดเมื่อหลอมละลาย จะกลายเป็นแมกมา เมื่อมันแทรกตัวขึ้นสู่เปลือกโลก จะเย็นตัวลง กลายเป็นหินอัคนี
  • 37.
  • 38. นักธรณีวิทยาจะแบ่งเวลาในอดีตของโลกออกเป็น 3 บรมยุค แต่ในบรมยุคอาร์คีโอโซอิกและโพรเทอโรโซอิกมีแต่สิ่งมีชีวิต ชั้นต่าขนาดเล็ก และไม่มีหลักฐานฟอสซิลปรากฏมากนัก เนื่องจาก กระบวนการธรณีแปรสัณฐาน (Plate Tectonics) ทาให้เกิดวัฏจักร การสร้างและทาลายแผ่นเปลือกโลก หินบนโลกส่วนใหญ่จึงมีอายุ ไม่เกิน 500 ล้านปี นักธรณีวิทยาจึงเรียกช่วงเวลาของสองบรมยุคนี้ ว่า พรีแคมเบียน(Precambian period) ซึ่งหมายถึง ช่วงเวลาก่อน ที่จะถึงยุคแคมเบียน (Cambian) และแบ่งช่วงเวลาของบรมยุคฟาเนอโรโซอิกออกเป็น 3 มหายุค ซึ่งแบ่งย่อยเป็น 11 ยุค โดยพิจารณาจากประเภทของฟอสซิลซึ่งแตกต่างกันอย่างชัดเจน กว่าจะมาเป็นโลก
  • 42. พรีแคมเบียน (Precambrian) เป็นช่วงเวลานับตั้งแต่โลกถือกาเนิดขึ้นมาจนถึง 545 ล้านปีก่อน ในบรมยุคอาร์คี โอโซอิกและโพรเทอโรโซอิกซึ่งปรากฏฟอสซิลให้เห็นน้อยมาก หินตะกอนที่เก่าแก่ที่สุด พบที่กรีนแลนด์มีอายุ 3,800 พันล้านปี ฟอสซิลที่ดึกดาบรรพ์ที่สุดคือ แบคทีเรีย โบราณอายุ 3.5 พันล้านปี
  • 45. แคมเบรียน (Cambrian) เป็นยุคแรกของมหายุคพาเลโอโซอิก (Paleozoic) ในช่วง 545 – 490 ล้าน ปีก่อน เกิดทวีปใหญ่รวมตัวกันทางขั้วโลกใต้ เป็นยุคของแบคทีเรียและสาหร่ายสีเขียว บนพื้นดินยังว่างเปล่า สัตว์มีกระดองอาศัยอยู่ในทะเล ได้แก่ ไทร์โลไบต์ หอยสอง ฝา ฟองน้า และหอยทาก พืชส่วนใหญ่เป็นสาหร่ายทะเล เป็นต้น
  • 46. ออร์โดวิเชียน (Ordovician) อยู่ในช่วง 490 – 443 ล้านปีก่อน ปริมาณคาร์บอนไดออกไซด์เพิ่มขึ้นอย่าง รวดเร็ว สโตรมาโทไลต์ลดน้อยลง เกิดประการัง ไบรโอซัว และปลาหมึก สัตว์ทะเล แพร่พันธุ์ขึ้นสู่บริเวณน้าตื้น เกิดสัตว์มีกระดูกสันหลังขึ้นเป็นครั้งแรกคือ ปลาไม่มี ขากรรไกร เกิดสปอร์ของพืชบกขึ้นครั้งแรก
  • 47. ไซลูเรียน (Silurian) อยู่ในช่วง 443 – 417 ล้านปีก่อน เกิดสิ่งมีชีวิตใต้ทะเลลึกซึ่งใช้พลังงานเคมี จากภูเขาไฟใต้ทะเล (Hydrothermal) เป็นธาตุอาหาร เกิดปลามีขากรรไกรและ สัตว์บกขึ้นเป็นครั้งแรก บนบกมีพืชที่ขยายพันธุ์ด้วยสปอร์
  • 48. ดีโวเนียน (Devonian) อยู่ในช่วง 417 – 354 ล้านปีก่อน อเมริกาเหนือ กรีนแลนด์ สก็อต แลนด์ รวมตัวกับยุโรป เป็นยุคของปลาดึกดาบรรพ์ ปลามีเหงือกแพร่พันธุ์เป็นจานวน มาก เกิดปลามีกระดอง ปลาฉลาม หอยฝาเดียว (Ammonite) และแมลงขึ้นเป็นครั้ง แรก บนบกเริ่มมีพืชที่ขยายพันธุ์ด้วยเมล็ดและมีป่าเกิดขึ้น
  • 49. คาร์บอนิเฟอรัส (Carboniferous) อยู่ในช่วง 354 – 295 ล้านปีก่อน เป็นยุคของป่าเฟินขนาดยักษ์ปกคลุม ห้วย หนอง คลองบึง ซึ่งกลายเป็นแหล่งน้ามันดิบที่สาคัญในปัจจุบัน มีการแพร่พันธุ์ ของแมลง และสัตว์ครึ่งบกครึ่งน้า เริ่มมีวิวัฒนาการของสัตว์เลื้อยคลาน กาเนิดไม้ ตระกูลสน
  • 50. เพอร์เมียน (Permian) เป็นยุคสุดท้ายของมหายุคพาเลโอโซอิก ในช่วง 295 – 248 ล้านปีก่อน เปลือก โลกทวีปรวมตัวกันเป็นทวีปขนาดใหญ่ชื่อ "พันเจีย" (Pangaea) ในทะเลมีแนว ประการังและไบโอซัวร์ บนบกเกิดการแพร่พันธุ์ของสัตว์เลื้อยคลานที่มีลักษณะคล้ายสัตว์ เลี้ยงลูกด้วยนม ในปลายยุคเพอร์เมียนได้เกิดการสูญพันธุ์ครั้งยิ่งใหญ่ (Mass extinction) สิ่งมีชีวิตทั้งบนบกและในทะเลหายไปร้อยละ 96 ของสปีชีส์ นับเป็นการ ปิดมหายุคพาเลโอโซอิก
  • 52. ไทรแอสสิก (Triassic) เป็นยุคแรกของมหายุคเมโสโซอิก ในช่วง 248 – 205 ล้านปีก่อน เป็นการ เริ่มต้นของสัตว์พวกใหม่ๆ สัตว์เลื้อยคลานที่มีลักษณะคล้ายสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม ถูก แทนที่ด้วยสัตว์ที่เป็นต้นตระกูลไดโนเสาร์ ผืนแผ่นดินไม่อุดมสมบูรณ์ต่อการ เจริญเติบโตของพืช พืชพรรณส่วนใหญ่จึงเต็มไปด้วยสน ปรง และเฟิร์น
  • 53. จูแรสสิก (Jurassic) เป็นยุคกลางของมหายุคเมโสโซอิก ในช่วง 205 – 144 ล้านปีก่อน เป็นยุคที่ ไดโนเสาร์ครองโลก ไดโนเสาร์บินได้เริ่มพัฒนาเป็นสัตว์ปีกจาพวกนก ไม้ในป่ายังเป็น พืชไร้ดอก หอยแอมโมไนต์พัฒนาแพร่หลายและวิวัฒนาการไปเป็นสัตว์จาพวกปลาหมึก
  • 54. เครเทเชียส (Cretaceous) เป็นยุคสุดท้ายของมหายุคเมโสโซอิก ในช่วง 144 – 65 ล้านปีก่อน สิ่งมีชีวิตที่เกิดขึ้น ใหม่ ได้แก่ งู นก และพืชมีดอก ไดโนเสาร์ วิวัฒนาการให้มีนอ ครีบหลัง และผิวหนัง หนาสาหรับป้องกันตัว ในปลายคาบครีเทเชียส ได้เกิดการสูญพันธุ์ครั้งยิ่งใหญ่ ไดโนเสาร์สูญพันธุ์ไปหมดสิ้น สิ่งมีชีวิตอื่นสูญพันธุ์ไป ประมาณร้อยละ 70 ของสปีชีส์ สันนิษฐานว่า ดาวหางพุ่งชนโลกที่คาบสมุทรยูคาทาน ในอ่าวเม็กซิโก เหตุการณ์นี้เรียกว่า "K-T Boundary" ซึ่งหมายถึงรอยต่อระหว่าง ยุคเครเทเชียสและยุคเทอเชียรี
  • 56. เทอเชียรี (Tertiary) เป็นยุคแรกของมหายุคเซโนโซอิก อยู่ในช่วง 65 - 1.8 ล้านปีก่อน แผ่นธรณี อเมริกาเคลื่อนเข้าหากัน แผ่นธรณีอินเดียเคลื่อนที่เข้าหาแผ่นธรณีเอเซียทาให้เกิดเทือกเขา หิมาลัยและที่ราบสูงทิเบต ยุคเทอเชียรีแบ่งออกเป็น 2 สมัยคือ พาลีโอจีนและนีโอจีน • พาลีโอจีน (Paleogene) เป็นสมัยแรกของยุคเซโนโซอิก อยู่ในช่วง 65 – 24 ล้านปีก่อน สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมแพร่พันธุ์แทนที่ไดโนเสาร์ มีทั้งพวกกินพืชและ กินเนื้อ บนบกเต็มไปด้วยป่าและทุ่งหญ้า ในทะเลมีปลาวาฬ • นีโอจีน (Neogene) อยู่ในช่วง 24 – 1.8 ล้านปีก่อน เป็นช่วงเวลาของสัตว์รุ่น ใหม่ซึ่งเป็นบรรพบุรุษของสัตว์ในปัจจุบัน รวมทั้งลิงยืนสองขาซึ่งเป็นบรรพบุรุษของ มนุษย์ (Homo erectus)
  • 57.
  • 58. ควอเทอนารี (Quaternary) เป็นยุคสุดท้ายของยุคโซโนโซอิก อยู่ในช่วง 1.8 ล้านปีก่อน จนถึงปัจจุบัน แบ่งออกเป็น 2 สมัยคือ ไพลส์โตซีนและโฮโลซีน • ไพลส์โตซีน (Pleistocene) อยู่ในช่วง 1.8 ล้านปี – 1 หมื่นปี เกิดยุคน้าแข็ง ร้อย ละ 30 ของซีกโลกเหนือปกคลุมด้วยน้าแข็ง ทาให้ไซบีเรียและอลาสกาเชื่อมต่อกัน มีเสือเขี้ยว โค้ง ช้างแมมมอท และหมีถ้า บรรพบุรุษของมนุษย์ได้อุบัติขึ้นในสายพันธุ์โฮโมเซ เปียนส์ (Homo sapiens) เมื่อประมาณสองแสนปีที่แล้ว • โฮโลซีน (Holocene) นับตั้งแต่สิ้นสุดยุคน้าแข็งเมื่อ 1 หมื่นปีที่แล้วจนถึงปัจจุบัน เป็นสมัย ที่มนุษย์รู้จัการทาเกษตรกรรม เลี้ยงสัตว์ และอุตสาหกรรม ป่าในยุโรปถูกทาลายหมดสิ้น ป่า ฝนเขตร้อนกาลังจะหมดไป