SlideShare a Scribd company logo
1 of 2
Download to read offline
PHYSICS M.4

บทนำ

Lecture Date | Volume 1, Issue 1

1. การอธิบายปรากฏการณ์ ธรรมชาติ
มนุษย์ในสมัยโบราณพยายามอธิบาย
ปรากฏการณ์ธรรมชาติ เดิมเชื่อว่าเกิดจากการกระทา
ของเทพเจ้าหรือภูติผีปีศาจ การอธิบายเช่นนี้ยังไม่เป็น
เหตุผลแต่อย่างใด การศึกษาและอธิบายปรากฏการณ์
ธรรมชาติของมนุษย์ในยุคต่อ ๆ มาได้มีการพัฒนาขึ้น
เรื่อย ๆ โดยมีการสังเกตการบันทึกข้อมูลและการ
วิเคราะห์ข้อมูล เพื่อสรุปเป็นข้อความรู้และ
ความสัมพันธ์ของสิ่งต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกันการศึกษา
อย่างมีลาดับขั้นตอนเช่นนี้เราเรียกว่า “กระบวนการ
ทางวิทยาศาสตร์” ซึ่งเป็นกระบวนการแสวงหาความ
จริง ได้รับการยอมรับและน่าเชื่อถือ
ฟิสิกส์เป็นวิทยาศาสตร์แขนงหนึ่ง คาว่า
Physics มาจากคาในภาษากรีก ซึ่งหมายถึงธรรมชาติ
(Nature) ดังนั้นคาว่า Physics จึงเป็นคาที่ใช้ศึกษา
ปรากฏการณ์ในธรรมชาติมาตลอดจากการทางานของ
นักวิทยาศาสตร์ที่เฝ้าสังเกตและหาคาตอบอธิบาย
ทานาย หรือลงข้อสรุปถึงสาเหตุของปรากฏการณ์
ธรรมชาติเป็นผลทาให้เกิดทฤษฎีหรือกฏทางฟิสิกส์
และแขนงวิชาอื่น ๆ มากมาย ซึ่งทฤษฎีต่าง ๆ ที่
นักวิทยาศาสตร์ค้นพบจะมีเงื่อนไขและขอบเขตในการ
ประยุกต์ใช้แตกต่างกัน เช่น กฏการเคลื่อนที่ของ
นิวตันสามารถใช้อธิบายการเคลื่อนที่ของวัตถุในกรณีที่
วัตถุมีอัตราเร็วในการเคลื่อนที่ไม่สูงนัก แต่ทฤษฏี
สัมพัทธภาพพิเศษของไอน์สไตน์ใช้อธิบายการเคลื่อนที่
ของวัตถุ ในกรณีที่วัตถุมีอัตราเร็วในการเคลื่อนที่สูง

ปรากฏการณ์ตามธรรมชาติ
ในกรณีที่วัตถุมีอัตราเร็วในการเคลื่อนที่สูงเข้า
ใกล้อัตราเร็วแสง คือ ประมาณ 3 x 108 m /s เป็น
ต้น
ด้วยเหตุนี้ ฟิสิกส์ จึงหมายถึง วิทยาศาสตร์ที่ศึกษา
องค์ประกอบและปฏิสัมพันธ์ของสสารกับพลังงาน
ตลอดจนความสัมพันธ์ของปริมาณต่าง ๆ ในธรรมชาติ
เพื่อทาความเข้าใจอธิบาย และคาดการณ์ตาม
ธรรมชาติ รวมทั้งสามารถนาความรู้ไปประยุกต์ใช้ใน
การศึกษาค้นคว้าความรู้ในวิทยาศาสตร์สาขาอื่น ๆ
ต่อไปได้
ในการศึกษาข้อมูลทางฟิสิกส์นั้นที่ได้จากการ
สังเกต การทดลอง จาเป็นอย่างยิ่งต้องอาศัยข้อมูลที่
ละเอียด แม่นยาโดยมีฐานความคิดที่ใช้อธิบาย
ปรากฏการณ์ธรรมชาตินั้นได้ โดยใช้เครื่องมือทั้ง
ทางตรงและทางอ้อม หรือแปลออกเป็นปริมาณที่วัดได้
มีความหมายเฉพาะเจาะจงชัดเจนและถูกต้อง
ปริมาณฐาน(Base Quantity) ได้แก่ ความยาว มวล
เวลา กระแสไฟฟ้า ปริมาณสาร ความเข้มการส่อง
PHYSICS M4

หน่ วยวัดทางฟิ สิกส์
จากข้อมูลของหน่วยของการวัดจะพบว่าแต่ละ
ประเทศมีหน่วยในการวัดแตกต่างกันมานาน เช่น
ความยาว ประเทศไทยใช้นิ้ว , คืบ , ศอก ,วา , เส้น ,
โยทช์ แต่ประเทศอังกฤษใช้ นิ้ว , ฟุต , หลา อเมริกา
ใช้ เมตร หรือการวัดความจุ ประเทศไทยใช้ ลิตร ,
ทะนาน , ถัง , เกวียน ประเทศอังกฤษใช้ ลิตร , บา
เรน เป็นต้น จึงทาให้หน่วยของการวัดเกิดความ
แตกต่างกันออกไปซึ่งเป็นเหตุไม่เป็นมาตรฐานเดียวกัน
ดังนั้นในปี พ .ศ.2503 นักวิทยาศาสตร์ทั่วโลกร่วม
ประชุมตกลงเพื่อทาให้หน่วยของการวัดเป็นมาตรฐาน
เดียวกันทั่วโลก เรียกหน่วยปริมาณการวัดว่า หน่วย
ระหว่างชาติ (International System of Units) หรือ
(System International d’ Units) หรือ S.I Units
หน่วยอนุพัทธ์
เป็ นปริมาณที่ได้ จากปริมาณฐานตั้งแต่ 2 ปริมาณขึ้น
ไปมาสัมพันธ์ กัน ดังตัวอย่ างต่ อไปนี้

หน่วยเสริม (supplementary units) มี 2 หน่วย
Family Name
Radian เรเดียน rad มุมระนาบ
Street Address, Address City,
Steradian สตีเ235-0125 2,มตัน ST ZIP code
รเดียน sr มุ
Phone – (555)
ธรรมชาติของฟิสิกส์และการวัด
Fax – (555) 235-0125
E-mail address

PAGE 2

ระบบหน่วยวัดระหว่างชาติประกอบด้วยหน่วยฐาน
หน่วยเสริม หน่วยอนุพัทธ์ และคานาหน้าหน่วยแสดง
ปริมาณด้วยตัวเลขที่เรียกว่า คาอุปสรรค
หน่วยฐาน มี 7 หน่วยได้แก่

คาอุปสรรค
คาอุปสรรค (prefixes) เมื่อค่าในหน่วยฐานหรือหน่วยอนุ
พัทธ์น้อยหรือมากเกินไปเราอาจเขียนค่านั้นอยู่ในรูปตัวเลข
คูณ ด้วย ตัวพหุคูณ (ตัวพหุคูณ คือ เลขสิบยกกาลังบวก
หรือลบ)

We’re on the Web!
See us at: Web site address

More Related Content

Viewers also liked

ปิโตรเลียม
ปิโตรเลียมปิโตรเลียม
ปิโตรเลียมkritsadaporn
 
เซเรบอส Brands วิชาฟิสิกส์ (192 หน้า)
เซเรบอส Brands วิชาฟิสิกส์ (192 หน้า)เซเรบอส Brands วิชาฟิสิกส์ (192 หน้า)
เซเรบอส Brands วิชาฟิสิกส์ (192 หน้า)findgooodjob
 
การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของมนุษย์ l ชีวิตของเรา l วิทยาศาสตร์
การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของมนุษย์ l ชีวิตของเรา l วิทยาศาสตร์ การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของมนุษย์ l ชีวิตของเรา l วิทยาศาสตร์
การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของมนุษย์ l ชีวิตของเรา l วิทยาศาสตร์ SAM RANGSAM
 
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)Srion Janeprapapong
 
กิจกรรม การทดลอง ฟิสิกส์ สสวท.
กิจกรรม การทดลอง ฟิสิกส์ สสวท.กิจกรรม การทดลอง ฟิสิกส์ สสวท.
กิจกรรม การทดลอง ฟิสิกส์ สสวท.Worrachet Boonyong
 
เครื่องเคาะสัญญาณเวลา
เครื่องเคาะสัญญาณเวลาเครื่องเคาะสัญญาณเวลา
เครื่องเคาะสัญญาณเวลาWijitta DevilTeacher
 
01 intro physic 1 by kruaui
01 intro physic 1 by kruaui01 intro physic 1 by kruaui
01 intro physic 1 by kruauiwiriya kosit
 
โครงงานเปิดโลกปิโตรเลียม
โครงงานเปิดโลกปิโตรเลียมโครงงานเปิดโลกปิโตรเลียม
โครงงานเปิดโลกปิโตรเลียมfirstnarak
 
เคาะสัญญาณ
เคาะสัญญาณเคาะสัญญาณ
เคาะสัญญาณAui Ounjai
 
02 เคลื่อนที่แนวตรง
02 เคลื่อนที่แนวตรง02 เคลื่อนที่แนวตรง
02 เคลื่อนที่แนวตรงwiriya kosit
 
7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
7ทฤษฎีจลน์ของแก๊สWijitta DevilTeacher
 
สรุปเนื้อหาฟิสิกส์ 1 [ครูแดง Physics Plus Astronomy]
สรุปเนื้อหาฟิสิกส์ 1 [ครูแดง Physics Plus Astronomy]สรุปเนื้อหาฟิสิกส์ 1 [ครูแดง Physics Plus Astronomy]
สรุปเนื้อหาฟิสิกส์ 1 [ครูแดง Physics Plus Astronomy]Chanunya Chompoowong
 
บทที่1 บทนำ
บทที่1 บทนำบทที่1 บทนำ
บทที่1 บทนำthanakit553
 
บทที่ 2การเคลื่อนที่
บทที่ 2การเคลื่อนที่ บทที่ 2การเคลื่อนที่
บทที่ 2การเคลื่อนที่ thanakit553
 

Viewers also liked (20)

วิหคสีรุ้ง
วิหคสีรุ้งวิหคสีรุ้ง
วิหคสีรุ้ง
 
ทหารหาญ
ทหารหาญทหารหาญ
ทหารหาญ
 
ปิโตรเลียม
ปิโตรเลียมปิโตรเลียม
ปิโตรเลียม
 
เซเรบอส Brands วิชาฟิสิกส์ (192 หน้า)
เซเรบอส Brands วิชาฟิสิกส์ (192 หน้า)เซเรบอส Brands วิชาฟิสิกส์ (192 หน้า)
เซเรบอส Brands วิชาฟิสิกส์ (192 หน้า)
 
electric potential
electric potentialelectric potential
electric potential
 
บทนำ
บทนำบทนำ
บทนำ
 
การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของมนุษย์ l ชีวิตของเรา l วิทยาศาสตร์
การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของมนุษย์ l ชีวิตของเรา l วิทยาศาสตร์ การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของมนุษย์ l ชีวิตของเรา l วิทยาศาสตร์
การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของมนุษย์ l ชีวิตของเรา l วิทยาศาสตร์
 
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
 
กิจกรรม การทดลอง ฟิสิกส์ สสวท.
กิจกรรม การทดลอง ฟิสิกส์ สสวท.กิจกรรม การทดลอง ฟิสิกส์ สสวท.
กิจกรรม การทดลอง ฟิสิกส์ สสวท.
 
ใบความรู้ 7
ใบความรู้ 7ใบความรู้ 7
ใบความรู้ 7
 
เครื่องเคาะสัญญาณเวลา
เครื่องเคาะสัญญาณเวลาเครื่องเคาะสัญญาณเวลา
เครื่องเคาะสัญญาณเวลา
 
01 intro physic 1 by kruaui
01 intro physic 1 by kruaui01 intro physic 1 by kruaui
01 intro physic 1 by kruaui
 
โครงงานเปิดโลกปิโตรเลียม
โครงงานเปิดโลกปิโตรเลียมโครงงานเปิดโลกปิโตรเลียม
โครงงานเปิดโลกปิโตรเลียม
 
o net-2552
o net-2552o net-2552
o net-2552
 
เคาะสัญญาณ
เคาะสัญญาณเคาะสัญญาณ
เคาะสัญญาณ
 
02 เคลื่อนที่แนวตรง
02 เคลื่อนที่แนวตรง02 เคลื่อนที่แนวตรง
02 เคลื่อนที่แนวตรง
 
7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
 
สรุปเนื้อหาฟิสิกส์ 1 [ครูแดง Physics Plus Astronomy]
สรุปเนื้อหาฟิสิกส์ 1 [ครูแดง Physics Plus Astronomy]สรุปเนื้อหาฟิสิกส์ 1 [ครูแดง Physics Plus Astronomy]
สรุปเนื้อหาฟิสิกส์ 1 [ครูแดง Physics Plus Astronomy]
 
บทที่1 บทนำ
บทที่1 บทนำบทที่1 บทนำ
บทที่1 บทนำ
 
บทที่ 2การเคลื่อนที่
บทที่ 2การเคลื่อนที่ บทที่ 2การเคลื่อนที่
บทที่ 2การเคลื่อนที่
 

Similar to ฟิสิกส์ม42

เนื้อหาชีววิทยา
เนื้อหาชีววิทยาเนื้อหาชีววิทยา
เนื้อหาชีววิทยาDew Thamita
 
ขั้นตอนของวิธีการทางประวัติศาสตร์
ขั้นตอนของวิธีการทางประวัติศาสตร์ขั้นตอนของวิธีการทางประวัติศาสตร์
ขั้นตอนของวิธีการทางประวัติศาสตร์Kruorawan Kongpila
 
13แผน เรื่อง สมดุลกล
13แผน เรื่อง สมดุลกล13แผน เรื่อง สมดุลกล
13แผน เรื่อง สมดุลกลWijitta DevilTeacher
 
วิทยาศาสตร์เพื่อคุณภาพชีวิตครั้งที่ 1(20มิ ย 53)
วิทยาศาสตร์เพื่อคุณภาพชีวิตครั้งที่ 1(20มิ ย 53)วิทยาศาสตร์เพื่อคุณภาพชีวิตครั้งที่ 1(20มิ ย 53)
วิทยาศาสตร์เพื่อคุณภาพชีวิตครั้งที่ 1(20มิ ย 53)kulwadee
 
การสอนแบบสืบเสาะ
การสอนแบบสืบเสาะการสอนแบบสืบเสาะ
การสอนแบบสืบเสาะWeerachat Martluplao
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้eubeve
 
ประวัติ2
ประวัติ2ประวัติ2
ประวัติ2sangworn
 
08แผน เรื่อง การหมุน ความเร็วเชิงมุม และความเร่งเชิงมุม
08แผน เรื่อง การหมุน ความเร็วเชิงมุม และความเร่งเชิงมุม08แผน เรื่อง การหมุน ความเร็วเชิงมุม และความเร่งเชิงมุม
08แผน เรื่อง การหมุน ความเร็วเชิงมุม และความเร่งเชิงมุมWijitta DevilTeacher
 
14แผน เรื่อง สภาพยืดหยุ่น
14แผน เรื่อง สภาพยืดหยุ่น14แผน เรื่อง สภาพยืดหยุ่น
14แผน เรื่อง สภาพยืดหยุ่นWijitta DevilTeacher
 
การจัดการเรียนรู้แบบสืบสวนสอบสวน
การจัดการเรียนรู้แบบสืบสวนสอบสวนการจัดการเรียนรู้แบบสืบสวนสอบสวน
การจัดการเรียนรู้แบบสืบสวนสอบสวนNongruk Srisukha
 
Part1 ความเชื่อ และ วิทยาศาสตร์ ในสังคมไทย
Part1 ความเชื่อ และ วิทยาศาสตร์ ในสังคมไทยPart1 ความเชื่อ และ วิทยาศาสตร์ ในสังคมไทย
Part1 ความเชื่อ และ วิทยาศาสตร์ ในสังคมไทยwiriya kosit
 
06แผน เรื่อง การดล
06แผน เรื่อง การดล06แผน เรื่อง การดล
06แผน เรื่อง การดลWijitta DevilTeacher
 
01แผน เรื่อง งาน
01แผน เรื่อง งาน01แผน เรื่อง งาน
01แผน เรื่อง งานWijitta DevilTeacher
 
บทที่ 3 ความแตกต่างระหว่างปรัชญากับศาสนา
บทที่ 3 ความแตกต่างระหว่างปรัชญากับศาสนาบทที่ 3 ความแตกต่างระหว่างปรัชญากับศาสนา
บทที่ 3 ความแตกต่างระหว่างปรัชญากับศาสนาPadvee Academy
 
พุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์
พุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์พุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์
พุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์native
 
Pointสอนเรียนรู้วิทยาศาสตร์อย่างไร สอนออนไลน์
Pointสอนเรียนรู้วิทยาศาสตร์อย่างไร สอนออนไลน์Pointสอนเรียนรู้วิทยาศาสตร์อย่างไร สอนออนไลน์
Pointสอนเรียนรู้วิทยาศาสตร์อย่างไร สอนออนไลน์Attapon Phonkamchon
 

Similar to ฟิสิกส์ม42 (20)

เนื้อหาชีววิทยา
เนื้อหาชีววิทยาเนื้อหาชีววิทยา
เนื้อหาชีววิทยา
 
ฟิสิกส์วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ฟิสิกส์วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีฟิสิกส์วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ฟิสิกส์วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
 
Intro sciproject
Intro sciprojectIntro sciproject
Intro sciproject
 
ขั้นตอนของวิธีการทางประวัติศาสตร์
ขั้นตอนของวิธีการทางประวัติศาสตร์ขั้นตอนของวิธีการทางประวัติศาสตร์
ขั้นตอนของวิธีการทางประวัติศาสตร์
 
13แผน เรื่อง สมดุลกล
13แผน เรื่อง สมดุลกล13แผน เรื่อง สมดุลกล
13แผน เรื่อง สมดุลกล
 
วิทยาศาสตร์เพื่อคุณภาพชีวิตครั้งที่ 1(20มิ ย 53)
วิทยาศาสตร์เพื่อคุณภาพชีวิตครั้งที่ 1(20มิ ย 53)วิทยาศาสตร์เพื่อคุณภาพชีวิตครั้งที่ 1(20มิ ย 53)
วิทยาศาสตร์เพื่อคุณภาพชีวิตครั้งที่ 1(20มิ ย 53)
 
การสอนแบบสืบเสาะ
การสอนแบบสืบเสาะการสอนแบบสืบเสาะ
การสอนแบบสืบเสาะ
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้
 
ประวัติ2
ประวัติ2ประวัติ2
ประวัติ2
 
เอกสารประกอบการเรียน
เอกสารประกอบการเรียนเอกสารประกอบการเรียน
เอกสารประกอบการเรียน
 
03chap1
03chap103chap1
03chap1
 
08แผน เรื่อง การหมุน ความเร็วเชิงมุม และความเร่งเชิงมุม
08แผน เรื่อง การหมุน ความเร็วเชิงมุม และความเร่งเชิงมุม08แผน เรื่อง การหมุน ความเร็วเชิงมุม และความเร่งเชิงมุม
08แผน เรื่อง การหมุน ความเร็วเชิงมุม และความเร่งเชิงมุม
 
14แผน เรื่อง สภาพยืดหยุ่น
14แผน เรื่อง สภาพยืดหยุ่น14แผน เรื่อง สภาพยืดหยุ่น
14แผน เรื่อง สภาพยืดหยุ่น
 
การจัดการเรียนรู้แบบสืบสวนสอบสวน
การจัดการเรียนรู้แบบสืบสวนสอบสวนการจัดการเรียนรู้แบบสืบสวนสอบสวน
การจัดการเรียนรู้แบบสืบสวนสอบสวน
 
Part1 ความเชื่อ และ วิทยาศาสตร์ ในสังคมไทย
Part1 ความเชื่อ และ วิทยาศาสตร์ ในสังคมไทยPart1 ความเชื่อ และ วิทยาศาสตร์ ในสังคมไทย
Part1 ความเชื่อ และ วิทยาศาสตร์ ในสังคมไทย
 
06แผน เรื่อง การดล
06แผน เรื่อง การดล06แผน เรื่อง การดล
06แผน เรื่อง การดล
 
01แผน เรื่อง งาน
01แผน เรื่อง งาน01แผน เรื่อง งาน
01แผน เรื่อง งาน
 
บทที่ 3 ความแตกต่างระหว่างปรัชญากับศาสนา
บทที่ 3 ความแตกต่างระหว่างปรัชญากับศาสนาบทที่ 3 ความแตกต่างระหว่างปรัชญากับศาสนา
บทที่ 3 ความแตกต่างระหว่างปรัชญากับศาสนา
 
พุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์
พุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์พุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์
พุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์
 
Pointสอนเรียนรู้วิทยาศาสตร์อย่างไร สอนออนไลน์
Pointสอนเรียนรู้วิทยาศาสตร์อย่างไร สอนออนไลน์Pointสอนเรียนรู้วิทยาศาสตร์อย่างไร สอนออนไลน์
Pointสอนเรียนรู้วิทยาศาสตร์อย่างไร สอนออนไลน์
 

ฟิสิกส์ม42

  • 1. PHYSICS M.4 บทนำ Lecture Date | Volume 1, Issue 1 1. การอธิบายปรากฏการณ์ ธรรมชาติ มนุษย์ในสมัยโบราณพยายามอธิบาย ปรากฏการณ์ธรรมชาติ เดิมเชื่อว่าเกิดจากการกระทา ของเทพเจ้าหรือภูติผีปีศาจ การอธิบายเช่นนี้ยังไม่เป็น เหตุผลแต่อย่างใด การศึกษาและอธิบายปรากฏการณ์ ธรรมชาติของมนุษย์ในยุคต่อ ๆ มาได้มีการพัฒนาขึ้น เรื่อย ๆ โดยมีการสังเกตการบันทึกข้อมูลและการ วิเคราะห์ข้อมูล เพื่อสรุปเป็นข้อความรู้และ ความสัมพันธ์ของสิ่งต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกันการศึกษา อย่างมีลาดับขั้นตอนเช่นนี้เราเรียกว่า “กระบวนการ ทางวิทยาศาสตร์” ซึ่งเป็นกระบวนการแสวงหาความ จริง ได้รับการยอมรับและน่าเชื่อถือ ฟิสิกส์เป็นวิทยาศาสตร์แขนงหนึ่ง คาว่า Physics มาจากคาในภาษากรีก ซึ่งหมายถึงธรรมชาติ (Nature) ดังนั้นคาว่า Physics จึงเป็นคาที่ใช้ศึกษา ปรากฏการณ์ในธรรมชาติมาตลอดจากการทางานของ นักวิทยาศาสตร์ที่เฝ้าสังเกตและหาคาตอบอธิบาย ทานาย หรือลงข้อสรุปถึงสาเหตุของปรากฏการณ์ ธรรมชาติเป็นผลทาให้เกิดทฤษฎีหรือกฏทางฟิสิกส์ และแขนงวิชาอื่น ๆ มากมาย ซึ่งทฤษฎีต่าง ๆ ที่ นักวิทยาศาสตร์ค้นพบจะมีเงื่อนไขและขอบเขตในการ ประยุกต์ใช้แตกต่างกัน เช่น กฏการเคลื่อนที่ของ นิวตันสามารถใช้อธิบายการเคลื่อนที่ของวัตถุในกรณีที่ วัตถุมีอัตราเร็วในการเคลื่อนที่ไม่สูงนัก แต่ทฤษฏี สัมพัทธภาพพิเศษของไอน์สไตน์ใช้อธิบายการเคลื่อนที่ ของวัตถุ ในกรณีที่วัตถุมีอัตราเร็วในการเคลื่อนที่สูง ปรากฏการณ์ตามธรรมชาติ ในกรณีที่วัตถุมีอัตราเร็วในการเคลื่อนที่สูงเข้า ใกล้อัตราเร็วแสง คือ ประมาณ 3 x 108 m /s เป็น ต้น ด้วยเหตุนี้ ฟิสิกส์ จึงหมายถึง วิทยาศาสตร์ที่ศึกษา องค์ประกอบและปฏิสัมพันธ์ของสสารกับพลังงาน ตลอดจนความสัมพันธ์ของปริมาณต่าง ๆ ในธรรมชาติ เพื่อทาความเข้าใจอธิบาย และคาดการณ์ตาม ธรรมชาติ รวมทั้งสามารถนาความรู้ไปประยุกต์ใช้ใน การศึกษาค้นคว้าความรู้ในวิทยาศาสตร์สาขาอื่น ๆ ต่อไปได้ ในการศึกษาข้อมูลทางฟิสิกส์นั้นที่ได้จากการ สังเกต การทดลอง จาเป็นอย่างยิ่งต้องอาศัยข้อมูลที่ ละเอียด แม่นยาโดยมีฐานความคิดที่ใช้อธิบาย ปรากฏการณ์ธรรมชาตินั้นได้ โดยใช้เครื่องมือทั้ง ทางตรงและทางอ้อม หรือแปลออกเป็นปริมาณที่วัดได้ มีความหมายเฉพาะเจาะจงชัดเจนและถูกต้อง ปริมาณฐาน(Base Quantity) ได้แก่ ความยาว มวล เวลา กระแสไฟฟ้า ปริมาณสาร ความเข้มการส่อง
  • 2. PHYSICS M4 หน่ วยวัดทางฟิ สิกส์ จากข้อมูลของหน่วยของการวัดจะพบว่าแต่ละ ประเทศมีหน่วยในการวัดแตกต่างกันมานาน เช่น ความยาว ประเทศไทยใช้นิ้ว , คืบ , ศอก ,วา , เส้น , โยทช์ แต่ประเทศอังกฤษใช้ นิ้ว , ฟุต , หลา อเมริกา ใช้ เมตร หรือการวัดความจุ ประเทศไทยใช้ ลิตร , ทะนาน , ถัง , เกวียน ประเทศอังกฤษใช้ ลิตร , บา เรน เป็นต้น จึงทาให้หน่วยของการวัดเกิดความ แตกต่างกันออกไปซึ่งเป็นเหตุไม่เป็นมาตรฐานเดียวกัน ดังนั้นในปี พ .ศ.2503 นักวิทยาศาสตร์ทั่วโลกร่วม ประชุมตกลงเพื่อทาให้หน่วยของการวัดเป็นมาตรฐาน เดียวกันทั่วโลก เรียกหน่วยปริมาณการวัดว่า หน่วย ระหว่างชาติ (International System of Units) หรือ (System International d’ Units) หรือ S.I Units หน่วยอนุพัทธ์ เป็ นปริมาณที่ได้ จากปริมาณฐานตั้งแต่ 2 ปริมาณขึ้น ไปมาสัมพันธ์ กัน ดังตัวอย่ างต่ อไปนี้ หน่วยเสริม (supplementary units) มี 2 หน่วย Family Name Radian เรเดียน rad มุมระนาบ Street Address, Address City, Steradian สตีเ235-0125 2,มตัน ST ZIP code รเดียน sr มุ Phone – (555) ธรรมชาติของฟิสิกส์และการวัด Fax – (555) 235-0125 E-mail address PAGE 2 ระบบหน่วยวัดระหว่างชาติประกอบด้วยหน่วยฐาน หน่วยเสริม หน่วยอนุพัทธ์ และคานาหน้าหน่วยแสดง ปริมาณด้วยตัวเลขที่เรียกว่า คาอุปสรรค หน่วยฐาน มี 7 หน่วยได้แก่ คาอุปสรรค คาอุปสรรค (prefixes) เมื่อค่าในหน่วยฐานหรือหน่วยอนุ พัทธ์น้อยหรือมากเกินไปเราอาจเขียนค่านั้นอยู่ในรูปตัวเลข คูณ ด้วย ตัวพหุคูณ (ตัวพหุคูณ คือ เลขสิบยกกาลังบวก หรือลบ) We’re on the Web! See us at: Web site address