SlideShare a Scribd company logo
1 of 21
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑เรื่องสื่อสารด้วยคา
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย รหัส ท๑๓๑๐๑
ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๓ เวลา๕ชั่วโมง
๑. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด
สาระที่
สาระที่ ๑การอ่าน
สาระที่ ๒การเขียน
สาระที่ ๓ การฟัง การดู และการพูด
สาระที่ ๔ หลักการใช้ภาษา
สาระที่ ๕ วรรณคดีและวรรณกรรม
มาตรฐาน
มาตรฐาน ท ๑.๑
ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิดในการตัดสินใจ แก้ปัญหา
ในการดาเนินชีวิต และมีนิสัยรักการอ่าน
มาตรฐาน ท ๒.๑ ใช้กระบวนการเขียนสื่อสาร เขียนเรียงความ
ย่อความ และเขียนเรื่องราว
ในรูปแบบต่าง ๆ
เขียนรายงานข้อมูลสารสนเทศและรายงานการศึกษาค้นคว้า
อย่างมีประสิทธิภาพ
มาตรฐาน ท ๓.๑ สามารถเลือกฟังและดูอย่างมีวิจารณญาณ
และพูดแสดงความรู้ ความคิด และ
ความรู้สึกในโอกาสต่าง ๆ อย่างมีวิจารณญาณและสร้างสรรค์
มาตรฐาน ท ๔.๑ เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย
การเปลี่ยนแปลงของภาษาและพลัง
ของภาษา ภูมิปัญญาทางภาษา
และรักษาภาษาไทยไว้เป็นสมบัติของชาติ
มาตรฐาน ท ๕.๑ เข้าใจและแสดงความคิดเห็น
วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมไทยอย่างเห็น
คุณค่าและนามาประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง
ตัวชี้วัด
ท๒.๑ ป.๓/๑คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัด
ท๒.๑ ป.๓/๖ มีมารยาทในการเขียน
ท๓.๑ ป.๓/๕ พูดสื่อสารได้ชัดเจนตรงตามวัตถุประสงค์
ท๓.๑ ป.๓/๖มีมารยาทในการฟัง การดู และการพูด
ท๔.๑ ป.๓/๑ เขียนสะกดคาและบอกความหมายของคา
ท๔.๑ ป.๓/๒ ระบุชนิดและหน้าที่ของคาในประโยค
ท๔.๑ ป.๓/๓ ใช้พจนานุกรมค้นหาความหมายของคา
ท๔.๑ ป.๓/๔ แต่งประโยคง่ายๆ
ท๕.๑ ป.๓/๔
ท่องจาบทอาขยานตามที่กาหนดและบทร้อยกรองที่มีคุณค่าตามความสนใจ
๒. สาระสาคัญ/ความคิดรวบยอด
คา ประกอบด้วย พยัญชนะ สระ ตัวสะกด และวรรณยุกต์
การใช้คาในการสื่อสารจึงพิจารณาจากองค์ประกอบและความหมายของคา
ซึ่งจะต้องใช้ให้ถูกต้องตามองค์ประกอบและความหมายของคา
๓.สาระการเรียนรู้
๓.๑ ความรู้
๓.๑.๑การอ่านบทเพลง บทร้อยกรอง
๓.๑.๒พยัญชนะต้น ตัวสะกด สระและวรรณยุกต์
๓.๑.๓ การแจกลูกสะกดคา
๓.๒ ทักษะ/กระบวนการ
๓.๒.๑การรวบรวมข้อมูล
๓.๒.๒การเปรียบเทียบ จาแนก จัดกลุ่ม
๓.๒.๓การให้เหตุผล
๓.๒.๔การทางานกลุ่ม
๓.๓ เจตคติ
๓.๓.๑ สนุกกับการเรียนภาษาไทย
๔. สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน
๔.๑ ความสามารถในการสื่อสาร
๔.๒ ความสามารถในการคิด
๔.๓ ความสามารถในการแก้ปัญหา
๕. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
๕.๑ มีวินัย
๕.๒ ใฝ่เรียนรู้
๕.๓ มุ่งมั่นในการทางาน
๖. ชิ้นงาน/ภาระงาน
-
๗. การวัดและประเมินผล
วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ์
-
การสังเกตการร่วมกิจ
กรรม
-
แบบสังเกตการร่วมกิจ
กรรม
มีผลการประเมินในระดับดี
ขึ้นไป
หรือ มีค่าเฉลี่ย 2.00
ขึ้นไป
๘. กิจกรรม
๘.๑ ชั่วโมงที่ ๑
๑) จุดประสงค์การเรียนรู้
๑.พูดสอบถามหาข้อมูลตามวัตถุประสงค์ได้
๒. เขียนบันทึกข้อมูลได้
๓. คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัดได้
๒) กิจกรรมการเรียนรู้
๑. Brain Gym แสดงท่าทางประกอบบทร้องเล่น “ไก่เอ๋ยไก่”
๒. นักเรียนจับมือกันเป็นวงกลม ๒ วง ทุกคนร้องเพลง “เจอกัน”
และเดินรอบๆวงตามจังหวะเพลง
๓. นักเรียนเข้ากลุ่ม ทาความรู้จักกันในกลุ่ม
๔.
นักเรียนแต่ละกลุ่มพูดแนะนาตนเองและพูดแสดงความรู้สึกที่ได้เลื่อนชั้นใหม่
๕. นักเรียนเล่นเกมหาชื่อเพื่อนให้ได้มากที่สุดภายในเวลา ๕ นาที
๖. นักเรียนนาชื่อเพื่อนที่หาได้มาคัดลายมือ
ด้วยตัวบรรจงเต็มบรรทัดให้สวยงาม
๓) สื่อและแหล่งเรียนรู้
๑. บทร้องเล่น “ไก่เอ๋ยไก่”
๒. เพลง เจอกัน
๓. กระดาษ เอ ๔ มีเส้นบรรทัดสาหรับคัดลายมือ
๔) การวัดและเมินผล
วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ์
- การร่วมกิจกรรม
-
การพูดแนะนาตน
เอง
- การคัดลายมือ
-
แบบประเมินการร่วมกิจก
รรม
- แบบประเมินการพูด
-
แบบประเมินการคัดลายมื
อ
มีผลการประเมินในระดับดีขึ้
นไป
หรือ มีค่าเฉลี่ย 2.00 ขึ้นไป
๘.๒ ชั่วโมงที่ ๒
๑) จุดประสงค์การเรียนรู้
๑.อ่านเรื่องแล้วแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องที่อ่านได้
๒. ใช้เกณฑ์พยัญชนะต้นแล้วรวบรวมคาได้
๒) กิจกรรมการเรียนรู้
๑. Brain Gym แสดงท่าทางประกอบบทร้องเล่น “ไก่เอ๋ยไก่”
๒. ครูติดชื่อนิทาน “ต้นเถาวัลย์กับต้นตาล”
บนกระดานแล้วถามนามาสนทนาให้นักเรียนแสดงความคิดเห็นอิสระในประเ
ด็น
- อ่านชื่อเรื่องแล้วคิดอย่างไร
- คิดว่าต้นเถาวัลย์กับต้นตาลเหมือนหรือต่างกัน เพราะอะไร
- คิดว่าเรื่องราวจะเป็นอย่างไร
๓. ครูอ่านนิทานเรื่อง “ต้นเถาวัลย์กับต้นตาล” ให้นักเรียนฟัง
๔. ครูแจกนิทานให้นักเรียนอ่านพร้อมกัน อ่านกลุ่มใหญ่
อ่านกลุ่มย่อย อ่านรายบุคคล
๕.
นักเรียนพูดแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับตัวละครอย่างอิสระในประเด็น
- ลักษณะของตัวละคร
- การกระทาที่น่าเอาอย่างของตัวละคร
๖.
ครูชวนสนทนาให้นักเรียนสังเกตคาในนิทานที่มีพยัญชนะต้นเหมือนกัน เช่น
ตาลึง ต้นตาล
ตกชุก ต้มแกงจืด ต้องการ
๗. นักเรียนเข้ากลุ่ม ตัวแทนกลุ่มรับบัตรคาชี้แจง
พร้อมอุปกรณ์การทางานครูติดคาชี้แจง บนกระดาน
นักเรียนอ่านคาชี้แจงพร้อมกัน
๘. นักเรียนทุกกลุ่มลงมือปฏิบัติงาน
ครูเดินดูการทางานของนักเรียนแต่ละกลุ่มสังเกตวิธีคิดของ
นักเรียน
๙. ตัวแทนนักเรียนนาเสนอผลงาน พร้อมให้เหตุผลประกอบ
๑๐. ครูและนักเรียนช่วยกันทบทวนเรื่องพยัญชนะต้นอีกครั้ง
เลือกคาที่ชอบ ที่มีพยัญชนะต้น
เหมือนกันอย่างน้อยคนละ ๕ คา
๑๑.นักเรียนนาคาที่เลือกไปแต่งประโยคให้ได้จานวนมากและหลากหลาย
ที่สุด
๓) สื่อและแหล่งเรียนรู้
๑. บทร้องเล่น “ไก่เอ๋ยไก่”
๒. นิทานเรื่อง “ต้นเถาวัลย์กับต้นตาล”
๓. ป้ายคาชี้แจง
๔. อุปกรณ์การทางาน กระดาษ เอ ๔ มีเส้นบรรทัดสาหรับเขียนคา
๔) การวัดและเมินผล
วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ์
- การร่วมกิจกรรม
- การอ่านออกเสียง
-
การพูดแนะนาตนเอง
-
การบอกพยัญชนะต้น
ในคา
-
แบบประเมินการร่วมกิจ
กรรม
- แบบประเมินการอ่าน
- แบบประเมินการพูด
มีผลการประเมินในระดับดี
ขึ้นไป
หรือ มีค่าเฉลี่ย 2.00
ขึ้นไป
-
บอกพยัญชนะต้นในคาได้
คาชี้แจง 1.
นักเรียนแต่ละกลุ่มช่วยกันคิด/รวบรวมคาที่มีพยัญชนะต้นเหมือนกันให้
ได้มากที่สุด
2. นักเรียนจัดกลุ่มให้ได้หลากหลายวิธี
พร้อมเหตุผลในการจัดกลุ่ม ออกแบบการนาเสนอผลงาน เช่น
การนาเสนอในรูปตาราง แผนที่ความคิด แผนภูมิก้างปลา ฯลฯ
3. ตัวแทนกลุ่มนาเสนอผลงาน
๘.๓ ชั่วโมงที่ ๓
๑) จุดประสงค์การเรียนรู้
๑.รวบรวมคาตามลักษณะพยัญชนะต้นได้
๒. รวบรวมคาตามลักษณะสระและวรรณยุกต์ได้
๓. รวบรวมคาตามลักษณะมาตราตัวสะกดได้
๒) กิจกรรมการเรียนรู้
๑. Brain Gym แสดงท่าทางประกอบบทร้องเล่น “ไก่เอ๋ยไก่”
๒. ครูติดแผนภูมิบทอาขยาน “ไก่แจ้” บนกระดาน ครูอ่านบทอาขยาน
“ไก่แจ้” ให้นักเรียนฟัง
๑ รอบ
๓. ครูแจกบทอาขยาน “ไก่แจ้” ให้นักเรียนทุกคน นักเรียนอ่านพร้อมครู
อ่านกลุ่มใหญ่กลุ่มย่อย
๔. ครูชวนสนทนา นักเรียนแสดงความคิดเห็นอย่างอิสระ
จากบทร้องเล่น ในประเด็น
- เป็นเรื่องเกี่ยวกับอะไร
-รูปร่างลักษณะของไก่แจ้เป็นอย่างไร
-นิสัยไก่แจ้เป็นอย่างไร
-รู้ได้อย่างไร
๕. นักเรียนเข้ากลุ่ม ครูติดคาชี้แจง บนกระดาน
นักเรียนอ่านคาชี้แจงพร้อมกัน ตัวแทนกลุ่มรับอุปกรณ์ ได้แก่ กระดาษปรู๊ฟ
ปากกาเมจิก
๖. นักเรียนลงมือปฏิบัติงาน
ครูเดินดูการทางานของนักเรียนแต่ละกลุ่มโดยไม่แทรกแซง
แนวคิด แต่ใช้คาถามกระตุ้น เช่น
- จะจัดกลุ่มคาอย่างไรดี
- จะใช้เกณฑ์อย่างไรดี
- จัดแบบอื่นได้อีกไหม
๗. กลุ่มฝึกอ่านออกเสียงคาจนคล่องแคล่ว
๘. นักเรียนแต่ละกลุ่มนาเสนอ บอกเหตุผลในการเลือกคา
เกณฑ์ในการจัดกลุ่มคา
๙. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายสรุปในประเด็น
- เกณฑ์ที่ใช้พยัญชนะต้นเป็นอย่างไร
- เกณฑ์ที่ใช้สระและวรรณยุกต์เป็ นอย่างไร
คาชี้แจง ๑.
นักเรียนแต่ละกลุ่มเลือกคาจากบทอาขยานให้ได้จานวนมากที่สุด
แล้วช่วยกันหาวิธีจัดหมวดหมู่คา
โดยกาหนดเกณฑ์จากความเหมือน/ต่างกันของพยัญชนะต้น
ตัวสะกด สระ หรือวรรณยุกต์ ให้ได้หลากหลายกลุ่ม
๒. นักเรียนช่วยกันออกแบบการนาเสนอผลงาน เช่น
การนาเสนอในรูปตาราง แผนที่
ความคิด ฯลฯ พร้อมอธิบายเหตุผลประกอบ
- เกณฑ์ที่ใช้มาตราตัวสะกดเป็นอย่างไร
- มีวิธีตรวจสอบความถูกต้องได้อย่างไร
๓) สื่อและแหล่งเรียนรู้
๑. บทร้องเล่น “ไก่เอ๋ยไก่แจ้”
๒. ป้ายคาชี้แจง
๓. อุปกรณ์การทางาน
๔. กระดาษ เอ ๔ มีเส้นบรรทัดสาหรับเขียนคา
๔) การวัดและเมินผล
วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ์
- การร่วมกิจกรรม
- การทางานกลุ่ม
- การอ่านออกเสียง
-
การพูดนาเสนอผลงา
น
- การรวบรวมคา
- การจัดกลุ่มคา
-
การทาแบบฝึกเสริมทั
กษะ
-
แบบประเมินการร่วมกิจ
กรรม
-
แบบประเมินการทางาน
กลุ่ม
- แบบประเมินการอ่าน
- แบบประเมินการพูด
มีผลการประเมินในระดับดี
ขึ้นไป
หรือ มีค่าเฉลี่ย 2.00
ขึ้นไป
- จัดหมวดหมู่ของคาได้
-
ผ่านเกณฑ์การประเมินร้อย
ละ ๗๐ ขึ้นไป
๘.๔ ชั่วโมงที่ ๔
๑) จุดประสงค์การเรียนรู้
๑.รวบรวมคาที่มีตัวสะกดได้
๒. ใช้มาตราตัวสะกดกาหนดเกณฑ์การจัดหมวดหมู่คาได้
๓. จัดหมวดหมู่คาตามมาตราตัวสะกดได้
๒) กิจกรรมการเรียนรู้
๑. Brain Gym แสดงท่าทางประกอบบทร้องเล่น “ไก่เอ๋ยไก่”
๒. ทบทวนบทเรียนชั่วโมงที่อย่างมา
๓. ครูติดแผนภูมิเพลง“อิ่มอุ่น”บนกระดาน
ครูอ่านให้นักเรียนฟังนักเรียนอ่านตามครูทีละวรรคจนจบเพลง
๔. นักเรียนร้องเพลงตามครูทีละวรรค/ร้องเพลงพร้อมกัน
๕. นักเรียนเข้ากลุ่ม ตัวแทนกลุ่มรับอุปกรณ์ ได้แก่ บัตรว่าง
กระดาษปรู๊ฟ ปากกาเมจิก กระดาษกาวย่น ครูติดคาชี้แจง บนกระดาน
นักเรียนอ่านคาชี้แจงพร้อมกัน
คาชี้แจง ๑.
นักเรียนแต่ละกลุ่มเลือกคาที่มีตัวสะกดจากเพลงให้ได้มากที่สุด
๒. นักเรียนช่วยกันคิดเกณฑ์
จัดหมวดหมู่และนาคามาจัดหมวดหมู่ลงในกระดาษปรู๊ฟ
พร้อมเขียนอธิบายเหตุผลประกอบ
๓. นาเสนอผลงานกลุ่ม
๖. นักเรียนทุกกลุ่มลงมือปฏิบัติงาน
ครูสังเกตการทางานของนักเรียนแต่ละกลุ่มโดยใช้คาถาม
- มีเกณฑ์อย่างไรในการจัดหมวดหมู่
- จัดแบบอื่นได้อีกไหม
- มั่นใจได้อย่างไรว่าถูกต้อง
๗. นักเรียนแต่ละกลุ่มนาเสนอ บอกเหตุผลในการจัดหมวดหมู่คา
๘. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายสรุป ในประเด็น
- ลักษณะคาในแต่ละหมวดหมู่
- เกณฑ์การจัดหมวดหมู่คาโดยใช้มาตราตัวสะกด
๑๐. นักเรียนทาแบบฝึกเสริมทักษะเลือกคา ๕ คา
มาเขียนแจกลูกสะกดคา
๓) สื่อและแหล่งเรียนรู้
๑. แผนภูมิเพลง “อิ่มอุ่น”
๒. ใบงานการเขียนแจกลูกสะกดคา
๓. อุปกรณ์การทางาน
๔. ป้ายคาชี้แจง
๔) การวัดและเมินผล
วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ์
- การร่วมกิจกรรม
- การทางานกลุ่ม
-
การพูดนาเสนอผลงา
น
-
การอ่านแจกลูกสะกด
คา
- การรวบรวมคา
- การจัดหมวดหมู่คา
-
การทาแบบฝึกเสริมทั
กษะ
-
แบบประเมินการร่วมกิจ
กรรม
-
แบบประเมินการทางาน
กลุ่ม
- แบบประเมินการพูด
มีผลการประเมินในระดับดี
ขึ้นไป
หรือ มีค่าเฉลี่ย 2.00
ขึ้นไป
- อ่านแจกลูกสะกดคาได้
- จัดหมวดหมู่ของคาได้
-
ผ่านเกณฑ์การประเมินร้อย
ละ ๗๐ ขึ้นไป
๘.๕ ชั่วโมงที่ ๕
๑) จุดประสงค์การเรียนรู้
๑.รวบรวมคาได้ตามเกณฑ์
๒. ตรวจสอบลักษณะของคาได้
๓. อ่านแจกลูกสะกดคา
๔. ทางานเป็นกลุ่มได้
๒) กิจกรรมการเรียนรู้
๑.Brain Gym แสดงท่าทางประกอบบทร้องเล่น “ไก่เอ๋ยไก่”
2. ทบทวนบทเรียนชั่วโมงที่ผ่านมา
๓. ครูให้นักเรียนเล่นเกมปริศนาคาทาย
- อะไรเอ่ย สี่ตีนเดินมา หลังคามุงกระเบื้อง (เต่า)
- อะไรเอ่ย มีฟันมากมาย แต่กินไม่ได้ มีไว้ใช้กับผม (หวี)
- ครูสนทนาเกี่ยวกับปริศนาคาทาย มีคาตอบเกี่ยวกับอะไร
๔. ครู ติดบัตรคาบนกระดาน นักเรียนอ่านคาพร้อมกัน
อาชีพ สัตว์ สิ่งของ อาหาร ผัก ผลไม้
๕. นักเรียนเข้ากลุ่ม เป็น ๖ กลุ่ม ส่งตัวแทนรับอุปกรณ์ ได้แก่
บัตรว่าง ๑ ชุด กระดาษปรู๊ฟ ปากกาเมจิก จับสลากคาหลัก (อาชีพ สัตว์ สิ่งของ
อาหาร ผัก ผลไม้)
๖. ครูติดคาชี้แจง บนกระดาน นักเรียนช่วยกันอ่านคาชี้แจงพร้อมกัน
๗. นักเรียนลงมือปฏิบัติงาน
ครูสังเกตการทางานของนักเรียนแต่ละกลุ่มโดยไม่แทรกแซง
แนวคิด แต่ใช้คาถามกระตุ้น
- เป็นคาที่สัมพันธ์กับคาหลักไหม
- เป็นคาชนิดใด
- มีคาอื่นอีกไหม
- ออกแบบย่างไร ผลงานเป็นระบบดูง่าย และสวยงาม
๘. นักเรียนแต่ละกลุ่มนาเสนอผลงาน บอกเหตุผลในการเลือกคา
ครูและเพื่อนรับฟังการนาเสนอแต่ละกลุ่ม
โดยครูไม่แทรกแซงจนจบการนาเสนอ แล้วจึงซักถาม
อภิปรายแลกเปลี่ยนแนวคิด
๙. นักเรียนและครูช่วยกันอภิปรายในประเด็น
- เป็นคาหรือไม่ มั่นใจได้อย่างไร มีวิธีตรวจสอบสอบอย่างไร
- เป็นคาชนิดใด รู้ได้อย่างไร จะตรวจสอบอย่างไร
๑๐. นักเรียนจับคู่ เลือกคาจากผลงานนักเรียนที่จัดแสดงไว้ คู่ละ ๕-
๑๐ คา แล้วฝึกแจกลูกสะกดคาด้วยปากเปล่าพร้อมกัน ฝึกเป็นคู่
๑๑. ทาแบบฝึกเสริมทักษะ นักเรียนเลือกคาที่ชอบ ๕ คา
มาแต่งประโยค ให้ได้จานวนมากที่สุด
๓) สื่อและแหล่งเรียนรู้
๑. บทร้องเล่น “ไก่เอ๋ยไก่”
๒. บัตรคา
๓. กระดาษปรู๊ฟ
๔. อุปกรณ์การทางาน
๕. ป้ายคาชี้แจง
๔) การวัดและเมินผล
คาชี้แจง ๑.
นักเรียนแต่ละกลุ่มช่วยกันเขียนคาที่สัมพันธ์กับคาหลักที่ได้รับลงในบัต
รว่างให้ได้จานวนมากที่สุด
๒.
นักเรียนช่วยกันนาบัตรคามาหาวิธีจัดหมวดหมู่คาและช่วยกันออกแบบ
ให้เป็นระบบ ดูง่าย จัดลงในกระดาษปรู๊ฟ เช่น การนาเสนอในรูปตาราง
แผนที่ความคิด ฯลฯ
วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ์
- การร่วมกิจกรรม
- การทางานกลุ่ม
-
การพูดนาเสนอผลงา
น
-
การอ่านแจกลูกสะกด
คา
- การจัดหมวดหมู่คา
-
การทาแบบฝึกเสริมทั
กษะ
-
แบบประเมินการร่วมกิจ
กรรม
-
แบบประเมินการทางาน
กลุ่ม
- แบบประเมินการพูด
มีผลการประเมินในระดับดี
ขึ้นไป
หรือ มีค่าเฉลี่ย 2.00
ขึ้นไป
- อ่านแจกลูกสะกดคาได้
- จัดหมวดหมู่ของคาได้
-
ผ่านเกณฑ์การประเมินร้อย
ละ ๗๐ ขึ้นไป
ภาคผนวก
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑ ชั่วโมงที่ ๑
จากหนังสือสาเนียงเสียงสัตว์
ไก่ เอ๋ย ไก่
ภาพจากหนังสือ Best Practices แผนการสอนภาษาไทย
ประถมศึกษาตอนต้น
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑ ชั่วโมงที่ ๑
เพลงเจอกัน
ฉันและเธอเจอกัน
แทบทุกวันเลยเชียว
เมื่อเจอกัน เรารักกัน
ต่างสมานไมตรี
ยิ้มให้กันทีไร สุขฤทัย
เปรมปรีดิ์
ต่างพูดจาพาที สวัสดีเพื่อนเอย
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑ ชั่วโมงที่ ๒
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑ ชั่วโมงที่ ๓
ใบกิจกรรม เรื่อง การแยกส่วนประกอบของคา
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑ ชั่วโมงที่ ๓
***********************************************************************************
**********
ชื่อ.................................................................................
ชั้น.................................เลขที่..................
คาชี้แจง ให้นักเรียนเลือกคาที่ชอบ 10 คา
แล้วแยกส่วนประกอบของคาดังตัวอย่าง
คา พยัญชนะต้น สระ ตัวสะกด วรรณยุกต์
แป้ ง ป แ ง โท
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑ ชั่วโมงที่ ๔
เพลงอิ่มอุ่น
ผู้แต่ง :ศุ บุญเลี้ยง
อุ่นใดใดโลกนี้ไม่มีเทียบเทียม อุ่นอกอ้อมแขน
อ้อมกอดแม่ตระกอง
รักเจ้าจึงปลูก รักลูกแม่ย่อมห่วงใย
ไม่อยากจากไปไกล แม้เพียงครึ่งวัน
ให้กายเราใกล้กัน ให้ดวงตาใกล้ตา
ให้ดวงใจเราสองเชื่อมโยงผูกพัน
อิ่มใดใด โลกนี้ไม่มีเทียบเทียม อิ่มอกอิ่มใจ
อิ่มรักลูกหลับนอน
น้านมจากอก อาหารของความอาทร แม่พร่าเตือน
พร่าสอน สอนสั่ง
ให้เจ้าเป็ นเด็กดี ให้เจ้ามีพลัง ให้เจ้าเป็ น
ความหวังของแม่ต่อไป
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑ ชั่วโมงที่ ๕
บัตรคา
อาชีพ สัตว์ สิ่งของ
อาหาร ผัก ผลไม้
เกณฑ์การประเมิน
การร่วมกิจกรรม
รายการปร
ะเมิน
ระดับคุณภาพ
๓ ๒ ๑
๑.
ความตั้งใจ
มีความกระตือรือร้น
ในการเรียนไม่รีรอ
ตั้งใจเรียน ตั้งใจฝึก
รีบตอบคาถาม ซักถาม
เมื่อสงสัย
มีความกระตือรือร้น
ในการเรียนตั้งใจเรียน
ตั้งใจฝึกไม่กล้าซักถาม
รีรอในการตอบคาถาม
ขาดความ
กระตือรือ
ร้น
ในการเรีย
นไม่ตั้งใจ
ฝึก
ไม่กล้าซัก
ถาม
ไม่ตอบคา
ถาม
๒. รับผิดชอบงานที่ได้รับม รับผิดชอบงานที่ได้รับมอ ขาดความ
ความรับผิ
ดชอบ
อบหมายดี
ส่งงานทันเวลาทุกครั้ง
บหมาย
ส่งงานไม่ตรงเวลา
แก้ไขงานเสร็จ
หลังชั่วโมงเรียน
รับผิดชอบ
ทางานไม่เ
สร็จและ
ส่งงานไม่
ทันเวลา
แก้ไขงาน
ของตนเอ
งไม่ได้
๓.
การให้ควา
มร่วมมือ
ให้ความร่วมมือ
ในการเรียนอย่างเต็มคว
ามสามารถตลอดเวลา
ให้ความร่วมมือแต่ไม่ต่อ
เนื่อง
ต้องคอยตักเตือนบ้าง
ให้ความร่
วมมือ
ในการเรีย
นเมื่อถูกตั
กเตือน
๔.
การให้ควา
มช่วยเหลื
อเพื่อน
ให้ความช่วยเหลือเพื่อน
ทั้งในและนอกกลุ่มที่ขอ
ความช่วยเหลือ
ให้ความช่วยเหลือเพื่อนเ
ฉพาะกลุ่มตนเองหรือคน
ที่ชอบใจเท่านั้น
ไม่ให้ควา
มช่วยเหลื
อเพื่อน
ทางานลา
พัง
คนเดียว
การอ่าน
รายการป
ระเมิน
ระดับคุณภาพ
๓ ๒ ๑
๑.
อักขระถู
กต้อง
อ่านออกเสียงถูกต้อง
ชัดเจนร้อยละ 90
ของคาทั้งหมดขึ้นไป
อ่านออกเสียงถู
กต้อง
ชัดเจนมากว่าร้
อยละ 60
น้อยกว่าร้อยละ
90
ของคาทั้งหมด
ขึ้นไป
อ่านออกเสี
ยงถูกต้อง
ชัดเจนน้อย
ว่าร้อยละ
60
ของคาทั้งห
มด
๒.
เว้นวรรค
ตอนถูกต้
อง
อ่านเว้นวรรคตอนถูกต้อง ร้อยละ
90 ของคาทั้งหมดขึ้นไป
อ่านเว้นวรรคต
อนถูกต้อง
มากว่าร้อยละ
60
น้อยกว่าร้อยละ
90
ของคาทั้งหมด
ขึ้นไป
อ่านเว้นวร
รคตอนถูก
ต้อง
น้อยว่าร้อย
ละ 60
ของคาทั้งห
มด
๓. อ่านได้คล่องแคล่วหากอ่านพลาดส อ่านติดบางคา อ่านติดบ่อ
ความคล่
องแคล่ว
ามารถแก้ไขการอ่านให้ถูกต้องได้
รวดเร็ว
แต่สามารถแก้
ไขให้ถูกต้องไ
ด้เร็ว
ยๆ
แก้ไขให้ถู
กต้องได้ช้า
ต้องให้ผู้อื่น
บอก
การพูด
รายก
ารปร
ะเมิน
ระดับคุณภาพ
๓ ๒ ๑
๑.
พูดต
รงปร
ะเด็น
พูดตรงประเด็น
เรียงลาดับเรื่องราวได้เ
ป็นลาดับ ไม่วกวน
พูดตรงประเด็น
เรียงลาดับเรื่องราวไม่เ
รียงลาดับเหตุการณ์บ้า
งแต่ทาให้เข้าใจเรื่องรา
วได้
พูดออกนอกประเ
ด็น
เรียงลาดับเรื่องราว
วกวน
เข้าใจยาก
๒.
พูดมี
เหตุ
ผล
ให้เหตุผลในการพูดได้เ
หมาะสม
หรือยกตัวอย่างได้น่าเชื่
อถือ
ให้เหตุผลในการพูดได้
บ้าง
หรือยกตัวอย่างได้แต่ยั
งไม่เพียงพอในการให้เ
หตุผลนั้น
ให้เหตุผลในการพู
ดได้น้อยหรือยกตั
วอย่างได้ไม่น่าเชื่
อถือ
๓.
ควา
มคล่
องแ
คล่ว
พูดได้คล่องแคล่วหากพู
ดพลาดสามารถแก้ไขก
ารพูดให้ถูกต้องได้รวดเ
ร็ว
พูดติดขัดบ้าง
แต่สามารถแก้ไขการพู
ดให้ถูกต้องได้เร็ว
พูดผิดบ่อยๆ
แก้ไขให้ถูกต้องได้
ช้า
ต้องให้ผู้อื่นบอก
๔.
บุคลิ
กท่า
ทาง
ท่าทางในการพูดมีควา
มมั่นใจ
แสดงท่าทางประกอบก
ารพูดได้ดี สื่อความได้
ท่าทางในการพูดแสดง
ความไม่มั่นใจอยู่บ้าง
แสดงท่าทางประกอบก
ารพูดน้อย
ท่าทางในการพูดข
าดความมั่นใจ
ต้องคอยหาคนช่ว
ยอยู่เสมอ
ไม่แสดงท่าทางปร
ะกอบการพูด
การคัดลายมือ
รายการประเมิ
น
ระดับคุณภาพ
๓ ๒ ๑
๑. รูปแบบและขน รูปแบบและขนาดตั ส่วนใหญ่รูปแบบแล
ตัวอักษรและร
ะยะห่างของตัว
อักษร
าดตัวอักษรส
ม่าเสมอ
ระยะห่างของตั
วอักษรเท่ากัน
วอักษรไม่สม่าเสมอ
บางส่วน
ระยะห่างของตัวอัก
ษรไม่เท่ากันบ้าง
ะขนาดตัวอักษรไม่ส
ม่าเสมอ
ระยะห่างของตัวอัก
ษรไม่เท่ากัน
๒.
สะกดคาถูกต้อ
ง
เขียนสะกดคาไ
ด้ถูกต้องทุกคา
เขียนสะกดคาได้ถูก
ต้อง มากว่าร้อยละ
๘0
ของคาทั้งหมดขึ้นไ
ป
เขียนสะกดคาได้ถูก
ต้อง น้อยว่าร้อยละ
๘0 ของคาทั้งหมด
๓.
ความสะอาดเป็
นระเบียบ
เขียนสม่าเสมอ
เป็นระเบียบสะ
อาด
มีการแก้ไขคา
ผิดทาได้สะอา
ด
เขียนไม่สม่าเสมอ
แต่เป็นระเบียบสะอ
าด
มีการแก้ไขคาผิดไม่
สะอาดบ้าง
เขียนไม่สม่าเสมอ
มีรอยแก้ไขคาผิดไม่
สะอาด
การทางานกลุ่ม
รายการ
ประเมิน
ระดับคุณภาพ
๓ ๒ ๑
๑.
การให้ค
วามร่วม
มือ
ให้ความร่วมมือ
ในการเรียนอย่างเต็ม
ความสามารถตลอดเว
ลา
ให้ความร่วมมือแต่ไม่
ต่อเนื่องตลอดเวลา
ไม่ให้ความร่วม
มือ
ในการเรียน
๒.
ความรับ
ผิดชอบ
รับผิดชอบงานที่ได้รั
บมอบหมายดี
ส่งงานทันเวลาทุกครั้ง
รับผิดชอบงานที่ได้รับ
มอบหมาย
ส่งงานไม่ตรงเวลา
แก้ไขงานเสร็จ
หลังชั่วโมงเรียน
ขาดความรับผิด
ชอบ
ทางานไม่เสร็จแ
ละ
ส่งงานไม่ทันเวล
า
แก้ไขงานของต
นเองไม่ได้
๓.
การช่วยเ
หลือเพื่อ
นในกลุ่ม
ให้ความช่วยเหลือเพื่อ
นทั้งในและนอกกลุ่ม
ที่ขอความช่วยเหลือ
ให้ความช่วยเหลือเพื่อ
นเฉพาะกลุ่มตนเองหรื
อคนที่ชอบใจเท่านั้น
ไม่ให้ความช่วยเ
หลือเพื่อน
ทางานลาพัง
คนเดียว
๔.
การแสด
งความคิ
ดเห็น
กล้าแสดงความคิดเห็
น
มีเหตุผลและมีมารยา
ท
ในการนาเสนอ
ความคิดเห็น
กล้าแสดงความคิดเห็น
แต่บางครั้งขาดเหตุผล
ไม่เสนอความคิด
เห็น
ของตนเอง
๕.
การรับฟั
งความคิ
ดเห็น
รับฟังและยอมรับ
ความคิดเห็นของคน
ส่วนใหญ่ให้ความร่ว
มมือและปฏิบัติตามเสี
ยง
ส่วนใหญ่
รับฟังและยอมรับ
ความคิดเห็นของคน
ส่วนใหญ่แต่บางครั้งที่
ไม่พอใจก็แสดงออก
โดยการไม่ปฏิบัติตาม
ไม่ยอมรับความ
คิดเห็นของเพื่อน
ไม่พอใจเมื่อควา
มคิดเห็นของตน
ไม่เป็นที่ยอมรับ

More Related Content

What's hot

แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง อาชีพ
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง อาชีพแผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง อาชีพ
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง อาชีพProud N. Boonrak
 
บทที่ 2วิจัยการอ่าน
บทที่ 2วิจัยการอ่านบทที่ 2วิจัยการอ่าน
บทที่ 2วิจัยการอ่านKanjana Pothinam
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมร
แผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมรแผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมร
แผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมรitnogkamix
 
แผน 1 the curious boy and the fish
แผน 1 the curious boy and the fishแผน 1 the curious boy and the fish
แผน 1 the curious boy and the fishTeacher Sophonnawit
 
การพูดแสดงทรรศนะ
การพูดแสดงทรรศนะการพูดแสดงทรรศนะ
การพูดแสดงทรรศนะsasithorn woralee
 
ใบกิจกรรม ใบความรู้
ใบกิจกรรม ใบความรู้ใบกิจกรรม ใบความรู้
ใบกิจกรรม ใบความรู้kruruttika
 
แผนการอ่าน
แผนการอ่านแผนการอ่าน
แผนการอ่านSerena Sunisa
 
1ความรู้เกี่ยวกับห้องสมุดpdf
1ความรู้เกี่ยวกับห้องสมุดpdf1ความรู้เกี่ยวกับห้องสมุดpdf
1ความรู้เกี่ยวกับห้องสมุดpdfkrujee
 
แผนการเรียนรู้ที่ 1
แผนการเรียนรู้ที่ 1แผนการเรียนรู้ที่ 1
แผนการเรียนรู้ที่ 1krusu01
 
การใช้สื่อสังคมออนไลน์ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (SMEDU)
การใช้สื่อสังคมออนไลน์ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (SMEDU)การใช้สื่อสังคมออนไลน์ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (SMEDU)
การใช้สื่อสังคมออนไลน์ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (SMEDU)Teacher Sophonnawit
 
ตัวอย่างแผนการสอน
ตัวอย่างแผนการสอนตัวอย่างแผนการสอน
ตัวอย่างแผนการสอนParichart Ampon
 
แผนสื่อสาร
แผนสื่อสารแผนสื่อสาร
แผนสื่อสารkrunoony
 
แผนการจัดการาเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการาเรียนรู้ที่  1แผนการจัดการาเรียนรู้ที่  1
แผนการจัดการาเรียนรู้ที่ 1kruruttika
 
เล่มที่ 1 เรื่อง Occupations
เล่มที่ 1 เรื่อง Occupationsเล่มที่ 1 เรื่อง Occupations
เล่มที่ 1 เรื่อง OccupationsChamchuree88
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง Animals
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง Animals แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง Animals
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง Animals Kartinee
 

What's hot (19)

แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง อาชีพ
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง อาชีพแผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง อาชีพ
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง อาชีพ
 
บทที่ 2วิจัยการอ่าน
บทที่ 2วิจัยการอ่านบทที่ 2วิจัยการอ่าน
บทที่ 2วิจัยการอ่าน
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมร
แผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมรแผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมร
แผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมร
 
B slim
B slim B slim
B slim
 
Chi p.1
Chi p.1Chi p.1
Chi p.1
 
แผน 1 the curious boy and the fish
แผน 1 the curious boy and the fishแผน 1 the curious boy and the fish
แผน 1 the curious boy and the fish
 
การพูดแสดงทรรศนะ
การพูดแสดงทรรศนะการพูดแสดงทรรศนะ
การพูดแสดงทรรศนะ
 
ใบกิจกรรม ใบความรู้
ใบกิจกรรม ใบความรู้ใบกิจกรรม ใบความรู้
ใบกิจกรรม ใบความรู้
 
แผนการอ่าน
แผนการอ่านแผนการอ่าน
แผนการอ่าน
 
1ความรู้เกี่ยวกับห้องสมุดpdf
1ความรู้เกี่ยวกับห้องสมุดpdf1ความรู้เกี่ยวกับห้องสมุดpdf
1ความรู้เกี่ยวกับห้องสมุดpdf
 
แผนการเรียนรู้ที่ 1
แผนการเรียนรู้ที่ 1แผนการเรียนรู้ที่ 1
แผนการเรียนรู้ที่ 1
 
การใช้สื่อสังคมออนไลน์ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (SMEDU)
การใช้สื่อสังคมออนไลน์ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (SMEDU)การใช้สื่อสังคมออนไลน์ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (SMEDU)
การใช้สื่อสังคมออนไลน์ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (SMEDU)
 
ตัวอย่างแผนการสอน
ตัวอย่างแผนการสอนตัวอย่างแผนการสอน
ตัวอย่างแผนการสอน
 
ภาษาไทย ปลาย
ภาษาไทย ปลายภาษาไทย ปลาย
ภาษาไทย ปลาย
 
แผนสื่อสาร
แผนสื่อสารแผนสื่อสาร
แผนสื่อสาร
 
แผนการจัดการาเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการาเรียนรู้ที่  1แผนการจัดการาเรียนรู้ที่  1
แผนการจัดการาเรียนรู้ที่ 1
 
Ppp+มิ้น+..
Ppp+มิ้น+..Ppp+มิ้น+..
Ppp+มิ้น+..
 
เล่มที่ 1 เรื่อง Occupations
เล่มที่ 1 เรื่อง Occupationsเล่มที่ 1 เรื่อง Occupations
เล่มที่ 1 เรื่อง Occupations
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง Animals
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง Animals แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง Animals
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง Animals
 

Similar to ภาษาไทยBbl ป3ภาค1

หน่วยการเรียนรู้ประถม
หน่วยการเรียนรู้ประถมหน่วยการเรียนรู้ประถม
หน่วยการเรียนรู้ประถมPignoi Chimpong
 
มาตราแม่ กน
มาตราแม่ กนมาตราแม่ กน
มาตราแม่ กนkhemmarat
 
3.แผนการเรียนรู้ backward
3.แผนการเรียนรู้ backward3.แผนการเรียนรู้ backward
3.แผนการเรียนรู้ backwardparichat441
 
แบบทดสอบ ป.1
แบบทดสอบ ป.1แบบทดสอบ ป.1
แบบทดสอบ ป.1krumildsarakam25
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1Itnog Kamix
 
ใบงานที่ 1 แบบสำรวจประวัติของ1
ใบงานที่ 1 แบบสำรวจประวัติของ1ใบงานที่ 1 แบบสำรวจประวัติของ1
ใบงานที่ 1 แบบสำรวจประวัติของ1superglag
 
ตัวอย่างแผนการสอน
ตัวอย่างแผนการสอนตัวอย่างแผนการสอน
ตัวอย่างแผนการสอนParichart Ampon
 
Is โสรยา ประวัติส่วนตัว
Is โสรยา ประวัติส่วนตัวIs โสรยา ประวัติส่วนตัว
Is โสรยา ประวัติส่วนตัวKaembum Soraya
 
แผนการเรียนรู้1
แผนการเรียนรู้1แผนการเรียนรู้1
แผนการเรียนรู้10871885581
 
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดยุทธกิจ สัตยาวุธ
 
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยมาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยBoonlert Aroonpiboon
 
หลักสูตรwin win1
หลักสูตรwin win1หลักสูตรwin win1
หลักสูตรwin win1kruthailand
 
แผนดนตรีส่งพี่ทัศน์ใหม่จ้า55
แผนดนตรีส่งพี่ทัศน์ใหม่จ้า55แผนดนตรีส่งพี่ทัศน์ใหม่จ้า55
แผนดนตรีส่งพี่ทัศน์ใหม่จ้า55Yatphirun Phuangsuwan
 
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนาหน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนาtassanee chaicharoen
 

Similar to ภาษาไทยBbl ป3ภาค1 (20)

หน่วยการเรียนรู้ประถม
หน่วยการเรียนรู้ประถมหน่วยการเรียนรู้ประถม
หน่วยการเรียนรู้ประถม
 
มาตราแม่ กน
มาตราแม่ กนมาตราแม่ กน
มาตราแม่ กน
 
3.แผนการเรียนรู้ backward
3.แผนการเรียนรู้ backward3.แผนการเรียนรู้ backward
3.แผนการเรียนรู้ backward
 
แบบทดสอบ ป.1
แบบทดสอบ ป.1แบบทดสอบ ป.1
แบบทดสอบ ป.1
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
 
ใบงานที่ 1 แบบสำรวจประวัติของ1
ใบงานที่ 1 แบบสำรวจประวัติของ1ใบงานที่ 1 แบบสำรวจประวัติของ1
ใบงานที่ 1 แบบสำรวจประวัติของ1
 
ตัวอย่างแผนการสอน
ตัวอย่างแผนการสอนตัวอย่างแผนการสอน
ตัวอย่างแผนการสอน
 
Is โสรยา ประวัติส่วนตัว
Is โสรยา ประวัติส่วนตัวIs โสรยา ประวัติส่วนตัว
Is โสรยา ประวัติส่วนตัว
 
แผนการเรียนรู้1
แผนการเรียนรู้1แผนการเรียนรู้1
แผนการเรียนรู้1
 
Sci 2009 03
Sci 2009 03Sci 2009 03
Sci 2009 03
 
01 หน่วย 1
01 หน่วย 101 หน่วย 1
01 หน่วย 1
 
ภาษาอังกฤษ ม.ต้น
ภาษาอังกฤษ ม.ต้น ภาษาอังกฤษ ม.ต้น
ภาษาอังกฤษ ม.ต้น
 
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
 
บทที่ 3.ใหม่
บทที่ 3.ใหม่บทที่ 3.ใหม่
บทที่ 3.ใหม่
 
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยมาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
 
หลักสูตรwin win1
หลักสูตรwin win1หลักสูตรwin win1
หลักสูตรwin win1
 
ม.5 เทอม 1 หน่วย 1
ม.5 เทอม 1 หน่วย 1ม.5 เทอม 1 หน่วย 1
ม.5 เทอม 1 หน่วย 1
 
10
1010
10
 
แผนดนตรีส่งพี่ทัศน์ใหม่จ้า55
แผนดนตรีส่งพี่ทัศน์ใหม่จ้า55แผนดนตรีส่งพี่ทัศน์ใหม่จ้า55
แผนดนตรีส่งพี่ทัศน์ใหม่จ้า55
 
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนาหน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา
 

ภาษาไทยBbl ป3ภาค1

  • 1. หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑เรื่องสื่อสารด้วยคา กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย รหัส ท๑๓๑๐๑ ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๓ เวลา๕ชั่วโมง ๑. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด สาระที่ สาระที่ ๑การอ่าน สาระที่ ๒การเขียน สาระที่ ๓ การฟัง การดู และการพูด สาระที่ ๔ หลักการใช้ภาษา สาระที่ ๕ วรรณคดีและวรรณกรรม มาตรฐาน มาตรฐาน ท ๑.๑ ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิดในการตัดสินใจ แก้ปัญหา ในการดาเนินชีวิต และมีนิสัยรักการอ่าน มาตรฐาน ท ๒.๑ ใช้กระบวนการเขียนสื่อสาร เขียนเรียงความ ย่อความ และเขียนเรื่องราว ในรูปแบบต่าง ๆ เขียนรายงานข้อมูลสารสนเทศและรายงานการศึกษาค้นคว้า อย่างมีประสิทธิภาพ มาตรฐาน ท ๓.๑ สามารถเลือกฟังและดูอย่างมีวิจารณญาณ และพูดแสดงความรู้ ความคิด และ ความรู้สึกในโอกาสต่าง ๆ อย่างมีวิจารณญาณและสร้างสรรค์ มาตรฐาน ท ๔.๑ เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษาและพลัง ของภาษา ภูมิปัญญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไว้เป็นสมบัติของชาติ มาตรฐาน ท ๕.๑ เข้าใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมไทยอย่างเห็น คุณค่าและนามาประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง ตัวชี้วัด ท๒.๑ ป.๓/๑คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัด ท๒.๑ ป.๓/๖ มีมารยาทในการเขียน ท๓.๑ ป.๓/๕ พูดสื่อสารได้ชัดเจนตรงตามวัตถุประสงค์ ท๓.๑ ป.๓/๖มีมารยาทในการฟัง การดู และการพูด ท๔.๑ ป.๓/๑ เขียนสะกดคาและบอกความหมายของคา ท๔.๑ ป.๓/๒ ระบุชนิดและหน้าที่ของคาในประโยค ท๔.๑ ป.๓/๓ ใช้พจนานุกรมค้นหาความหมายของคา ท๔.๑ ป.๓/๔ แต่งประโยคง่ายๆ ท๕.๑ ป.๓/๔ ท่องจาบทอาขยานตามที่กาหนดและบทร้อยกรองที่มีคุณค่าตามความสนใจ
  • 2. ๒. สาระสาคัญ/ความคิดรวบยอด คา ประกอบด้วย พยัญชนะ สระ ตัวสะกด และวรรณยุกต์ การใช้คาในการสื่อสารจึงพิจารณาจากองค์ประกอบและความหมายของคา ซึ่งจะต้องใช้ให้ถูกต้องตามองค์ประกอบและความหมายของคา ๓.สาระการเรียนรู้ ๓.๑ ความรู้ ๓.๑.๑การอ่านบทเพลง บทร้อยกรอง ๓.๑.๒พยัญชนะต้น ตัวสะกด สระและวรรณยุกต์ ๓.๑.๓ การแจกลูกสะกดคา ๓.๒ ทักษะ/กระบวนการ ๓.๒.๑การรวบรวมข้อมูล ๓.๒.๒การเปรียบเทียบ จาแนก จัดกลุ่ม ๓.๒.๓การให้เหตุผล ๓.๒.๔การทางานกลุ่ม ๓.๓ เจตคติ ๓.๓.๑ สนุกกับการเรียนภาษาไทย ๔. สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน ๔.๑ ความสามารถในการสื่อสาร ๔.๒ ความสามารถในการคิด ๔.๓ ความสามารถในการแก้ปัญหา ๕. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๕.๑ มีวินัย ๕.๒ ใฝ่เรียนรู้ ๕.๓ มุ่งมั่นในการทางาน ๖. ชิ้นงาน/ภาระงาน - ๗. การวัดและประเมินผล วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ์ - การสังเกตการร่วมกิจ กรรม - แบบสังเกตการร่วมกิจ กรรม มีผลการประเมินในระดับดี ขึ้นไป หรือ มีค่าเฉลี่ย 2.00 ขึ้นไป ๘. กิจกรรม ๘.๑ ชั่วโมงที่ ๑ ๑) จุดประสงค์การเรียนรู้ ๑.พูดสอบถามหาข้อมูลตามวัตถุประสงค์ได้ ๒. เขียนบันทึกข้อมูลได้ ๓. คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัดได้ ๒) กิจกรรมการเรียนรู้
  • 3. ๑. Brain Gym แสดงท่าทางประกอบบทร้องเล่น “ไก่เอ๋ยไก่” ๒. นักเรียนจับมือกันเป็นวงกลม ๒ วง ทุกคนร้องเพลง “เจอกัน” และเดินรอบๆวงตามจังหวะเพลง ๓. นักเรียนเข้ากลุ่ม ทาความรู้จักกันในกลุ่ม ๔. นักเรียนแต่ละกลุ่มพูดแนะนาตนเองและพูดแสดงความรู้สึกที่ได้เลื่อนชั้นใหม่ ๕. นักเรียนเล่นเกมหาชื่อเพื่อนให้ได้มากที่สุดภายในเวลา ๕ นาที ๖. นักเรียนนาชื่อเพื่อนที่หาได้มาคัดลายมือ ด้วยตัวบรรจงเต็มบรรทัดให้สวยงาม ๓) สื่อและแหล่งเรียนรู้ ๑. บทร้องเล่น “ไก่เอ๋ยไก่” ๒. เพลง เจอกัน ๓. กระดาษ เอ ๔ มีเส้นบรรทัดสาหรับคัดลายมือ ๔) การวัดและเมินผล วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ์ - การร่วมกิจกรรม - การพูดแนะนาตน เอง - การคัดลายมือ - แบบประเมินการร่วมกิจก รรม - แบบประเมินการพูด - แบบประเมินการคัดลายมื อ มีผลการประเมินในระดับดีขึ้ นไป หรือ มีค่าเฉลี่ย 2.00 ขึ้นไป ๘.๒ ชั่วโมงที่ ๒ ๑) จุดประสงค์การเรียนรู้ ๑.อ่านเรื่องแล้วแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องที่อ่านได้ ๒. ใช้เกณฑ์พยัญชนะต้นแล้วรวบรวมคาได้ ๒) กิจกรรมการเรียนรู้ ๑. Brain Gym แสดงท่าทางประกอบบทร้องเล่น “ไก่เอ๋ยไก่” ๒. ครูติดชื่อนิทาน “ต้นเถาวัลย์กับต้นตาล” บนกระดานแล้วถามนามาสนทนาให้นักเรียนแสดงความคิดเห็นอิสระในประเ ด็น - อ่านชื่อเรื่องแล้วคิดอย่างไร - คิดว่าต้นเถาวัลย์กับต้นตาลเหมือนหรือต่างกัน เพราะอะไร - คิดว่าเรื่องราวจะเป็นอย่างไร ๓. ครูอ่านนิทานเรื่อง “ต้นเถาวัลย์กับต้นตาล” ให้นักเรียนฟัง ๔. ครูแจกนิทานให้นักเรียนอ่านพร้อมกัน อ่านกลุ่มใหญ่ อ่านกลุ่มย่อย อ่านรายบุคคล ๕. นักเรียนพูดแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับตัวละครอย่างอิสระในประเด็น
  • 4. - ลักษณะของตัวละคร - การกระทาที่น่าเอาอย่างของตัวละคร ๖. ครูชวนสนทนาให้นักเรียนสังเกตคาในนิทานที่มีพยัญชนะต้นเหมือนกัน เช่น ตาลึง ต้นตาล ตกชุก ต้มแกงจืด ต้องการ ๗. นักเรียนเข้ากลุ่ม ตัวแทนกลุ่มรับบัตรคาชี้แจง พร้อมอุปกรณ์การทางานครูติดคาชี้แจง บนกระดาน นักเรียนอ่านคาชี้แจงพร้อมกัน ๘. นักเรียนทุกกลุ่มลงมือปฏิบัติงาน ครูเดินดูการทางานของนักเรียนแต่ละกลุ่มสังเกตวิธีคิดของ นักเรียน ๙. ตัวแทนนักเรียนนาเสนอผลงาน พร้อมให้เหตุผลประกอบ ๑๐. ครูและนักเรียนช่วยกันทบทวนเรื่องพยัญชนะต้นอีกครั้ง เลือกคาที่ชอบ ที่มีพยัญชนะต้น เหมือนกันอย่างน้อยคนละ ๕ คา ๑๑.นักเรียนนาคาที่เลือกไปแต่งประโยคให้ได้จานวนมากและหลากหลาย ที่สุด ๓) สื่อและแหล่งเรียนรู้ ๑. บทร้องเล่น “ไก่เอ๋ยไก่” ๒. นิทานเรื่อง “ต้นเถาวัลย์กับต้นตาล” ๓. ป้ายคาชี้แจง ๔. อุปกรณ์การทางาน กระดาษ เอ ๔ มีเส้นบรรทัดสาหรับเขียนคา ๔) การวัดและเมินผล วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ์ - การร่วมกิจกรรม - การอ่านออกเสียง - การพูดแนะนาตนเอง - การบอกพยัญชนะต้น ในคา - แบบประเมินการร่วมกิจ กรรม - แบบประเมินการอ่าน - แบบประเมินการพูด มีผลการประเมินในระดับดี ขึ้นไป หรือ มีค่าเฉลี่ย 2.00 ขึ้นไป - บอกพยัญชนะต้นในคาได้ คาชี้แจง 1. นักเรียนแต่ละกลุ่มช่วยกันคิด/รวบรวมคาที่มีพยัญชนะต้นเหมือนกันให้ ได้มากที่สุด 2. นักเรียนจัดกลุ่มให้ได้หลากหลายวิธี พร้อมเหตุผลในการจัดกลุ่ม ออกแบบการนาเสนอผลงาน เช่น การนาเสนอในรูปตาราง แผนที่ความคิด แผนภูมิก้างปลา ฯลฯ 3. ตัวแทนกลุ่มนาเสนอผลงาน
  • 5. ๘.๓ ชั่วโมงที่ ๓ ๑) จุดประสงค์การเรียนรู้ ๑.รวบรวมคาตามลักษณะพยัญชนะต้นได้ ๒. รวบรวมคาตามลักษณะสระและวรรณยุกต์ได้ ๓. รวบรวมคาตามลักษณะมาตราตัวสะกดได้ ๒) กิจกรรมการเรียนรู้ ๑. Brain Gym แสดงท่าทางประกอบบทร้องเล่น “ไก่เอ๋ยไก่” ๒. ครูติดแผนภูมิบทอาขยาน “ไก่แจ้” บนกระดาน ครูอ่านบทอาขยาน “ไก่แจ้” ให้นักเรียนฟัง ๑ รอบ ๓. ครูแจกบทอาขยาน “ไก่แจ้” ให้นักเรียนทุกคน นักเรียนอ่านพร้อมครู อ่านกลุ่มใหญ่กลุ่มย่อย ๔. ครูชวนสนทนา นักเรียนแสดงความคิดเห็นอย่างอิสระ จากบทร้องเล่น ในประเด็น - เป็นเรื่องเกี่ยวกับอะไร -รูปร่างลักษณะของไก่แจ้เป็นอย่างไร -นิสัยไก่แจ้เป็นอย่างไร -รู้ได้อย่างไร ๕. นักเรียนเข้ากลุ่ม ครูติดคาชี้แจง บนกระดาน นักเรียนอ่านคาชี้แจงพร้อมกัน ตัวแทนกลุ่มรับอุปกรณ์ ได้แก่ กระดาษปรู๊ฟ ปากกาเมจิก ๖. นักเรียนลงมือปฏิบัติงาน ครูเดินดูการทางานของนักเรียนแต่ละกลุ่มโดยไม่แทรกแซง แนวคิด แต่ใช้คาถามกระตุ้น เช่น - จะจัดกลุ่มคาอย่างไรดี - จะใช้เกณฑ์อย่างไรดี - จัดแบบอื่นได้อีกไหม ๗. กลุ่มฝึกอ่านออกเสียงคาจนคล่องแคล่ว ๘. นักเรียนแต่ละกลุ่มนาเสนอ บอกเหตุผลในการเลือกคา เกณฑ์ในการจัดกลุ่มคา ๙. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายสรุปในประเด็น - เกณฑ์ที่ใช้พยัญชนะต้นเป็นอย่างไร - เกณฑ์ที่ใช้สระและวรรณยุกต์เป็ นอย่างไร คาชี้แจง ๑. นักเรียนแต่ละกลุ่มเลือกคาจากบทอาขยานให้ได้จานวนมากที่สุด แล้วช่วยกันหาวิธีจัดหมวดหมู่คา โดยกาหนดเกณฑ์จากความเหมือน/ต่างกันของพยัญชนะต้น ตัวสะกด สระ หรือวรรณยุกต์ ให้ได้หลากหลายกลุ่ม ๒. นักเรียนช่วยกันออกแบบการนาเสนอผลงาน เช่น การนาเสนอในรูปตาราง แผนที่ ความคิด ฯลฯ พร้อมอธิบายเหตุผลประกอบ
  • 6. - เกณฑ์ที่ใช้มาตราตัวสะกดเป็นอย่างไร - มีวิธีตรวจสอบความถูกต้องได้อย่างไร ๓) สื่อและแหล่งเรียนรู้ ๑. บทร้องเล่น “ไก่เอ๋ยไก่แจ้” ๒. ป้ายคาชี้แจง ๓. อุปกรณ์การทางาน ๔. กระดาษ เอ ๔ มีเส้นบรรทัดสาหรับเขียนคา ๔) การวัดและเมินผล วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ์ - การร่วมกิจกรรม - การทางานกลุ่ม - การอ่านออกเสียง - การพูดนาเสนอผลงา น - การรวบรวมคา - การจัดกลุ่มคา - การทาแบบฝึกเสริมทั กษะ - แบบประเมินการร่วมกิจ กรรม - แบบประเมินการทางาน กลุ่ม - แบบประเมินการอ่าน - แบบประเมินการพูด มีผลการประเมินในระดับดี ขึ้นไป หรือ มีค่าเฉลี่ย 2.00 ขึ้นไป - จัดหมวดหมู่ของคาได้ - ผ่านเกณฑ์การประเมินร้อย ละ ๗๐ ขึ้นไป ๘.๔ ชั่วโมงที่ ๔ ๑) จุดประสงค์การเรียนรู้ ๑.รวบรวมคาที่มีตัวสะกดได้ ๒. ใช้มาตราตัวสะกดกาหนดเกณฑ์การจัดหมวดหมู่คาได้ ๓. จัดหมวดหมู่คาตามมาตราตัวสะกดได้ ๒) กิจกรรมการเรียนรู้ ๑. Brain Gym แสดงท่าทางประกอบบทร้องเล่น “ไก่เอ๋ยไก่” ๒. ทบทวนบทเรียนชั่วโมงที่อย่างมา ๓. ครูติดแผนภูมิเพลง“อิ่มอุ่น”บนกระดาน ครูอ่านให้นักเรียนฟังนักเรียนอ่านตามครูทีละวรรคจนจบเพลง ๔. นักเรียนร้องเพลงตามครูทีละวรรค/ร้องเพลงพร้อมกัน ๕. นักเรียนเข้ากลุ่ม ตัวแทนกลุ่มรับอุปกรณ์ ได้แก่ บัตรว่าง กระดาษปรู๊ฟ ปากกาเมจิก กระดาษกาวย่น ครูติดคาชี้แจง บนกระดาน นักเรียนอ่านคาชี้แจงพร้อมกัน คาชี้แจง ๑. นักเรียนแต่ละกลุ่มเลือกคาที่มีตัวสะกดจากเพลงให้ได้มากที่สุด ๒. นักเรียนช่วยกันคิดเกณฑ์ จัดหมวดหมู่และนาคามาจัดหมวดหมู่ลงในกระดาษปรู๊ฟ พร้อมเขียนอธิบายเหตุผลประกอบ ๓. นาเสนอผลงานกลุ่ม
  • 7. ๖. นักเรียนทุกกลุ่มลงมือปฏิบัติงาน ครูสังเกตการทางานของนักเรียนแต่ละกลุ่มโดยใช้คาถาม - มีเกณฑ์อย่างไรในการจัดหมวดหมู่ - จัดแบบอื่นได้อีกไหม - มั่นใจได้อย่างไรว่าถูกต้อง ๗. นักเรียนแต่ละกลุ่มนาเสนอ บอกเหตุผลในการจัดหมวดหมู่คา ๘. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายสรุป ในประเด็น - ลักษณะคาในแต่ละหมวดหมู่ - เกณฑ์การจัดหมวดหมู่คาโดยใช้มาตราตัวสะกด ๑๐. นักเรียนทาแบบฝึกเสริมทักษะเลือกคา ๕ คา มาเขียนแจกลูกสะกดคา ๓) สื่อและแหล่งเรียนรู้ ๑. แผนภูมิเพลง “อิ่มอุ่น” ๒. ใบงานการเขียนแจกลูกสะกดคา ๓. อุปกรณ์การทางาน ๔. ป้ายคาชี้แจง ๔) การวัดและเมินผล วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ์ - การร่วมกิจกรรม - การทางานกลุ่ม - การพูดนาเสนอผลงา น - การอ่านแจกลูกสะกด คา - การรวบรวมคา - การจัดหมวดหมู่คา - การทาแบบฝึกเสริมทั กษะ - แบบประเมินการร่วมกิจ กรรม - แบบประเมินการทางาน กลุ่ม - แบบประเมินการพูด มีผลการประเมินในระดับดี ขึ้นไป หรือ มีค่าเฉลี่ย 2.00 ขึ้นไป - อ่านแจกลูกสะกดคาได้ - จัดหมวดหมู่ของคาได้ - ผ่านเกณฑ์การประเมินร้อย ละ ๗๐ ขึ้นไป ๘.๕ ชั่วโมงที่ ๕ ๑) จุดประสงค์การเรียนรู้ ๑.รวบรวมคาได้ตามเกณฑ์ ๒. ตรวจสอบลักษณะของคาได้ ๓. อ่านแจกลูกสะกดคา ๔. ทางานเป็นกลุ่มได้ ๒) กิจกรรมการเรียนรู้ ๑.Brain Gym แสดงท่าทางประกอบบทร้องเล่น “ไก่เอ๋ยไก่” 2. ทบทวนบทเรียนชั่วโมงที่ผ่านมา
  • 8. ๓. ครูให้นักเรียนเล่นเกมปริศนาคาทาย - อะไรเอ่ย สี่ตีนเดินมา หลังคามุงกระเบื้อง (เต่า) - อะไรเอ่ย มีฟันมากมาย แต่กินไม่ได้ มีไว้ใช้กับผม (หวี) - ครูสนทนาเกี่ยวกับปริศนาคาทาย มีคาตอบเกี่ยวกับอะไร ๔. ครู ติดบัตรคาบนกระดาน นักเรียนอ่านคาพร้อมกัน อาชีพ สัตว์ สิ่งของ อาหาร ผัก ผลไม้ ๕. นักเรียนเข้ากลุ่ม เป็น ๖ กลุ่ม ส่งตัวแทนรับอุปกรณ์ ได้แก่ บัตรว่าง ๑ ชุด กระดาษปรู๊ฟ ปากกาเมจิก จับสลากคาหลัก (อาชีพ สัตว์ สิ่งของ อาหาร ผัก ผลไม้) ๖. ครูติดคาชี้แจง บนกระดาน นักเรียนช่วยกันอ่านคาชี้แจงพร้อมกัน ๗. นักเรียนลงมือปฏิบัติงาน ครูสังเกตการทางานของนักเรียนแต่ละกลุ่มโดยไม่แทรกแซง แนวคิด แต่ใช้คาถามกระตุ้น - เป็นคาที่สัมพันธ์กับคาหลักไหม - เป็นคาชนิดใด - มีคาอื่นอีกไหม - ออกแบบย่างไร ผลงานเป็นระบบดูง่าย และสวยงาม ๘. นักเรียนแต่ละกลุ่มนาเสนอผลงาน บอกเหตุผลในการเลือกคา ครูและเพื่อนรับฟังการนาเสนอแต่ละกลุ่ม โดยครูไม่แทรกแซงจนจบการนาเสนอ แล้วจึงซักถาม อภิปรายแลกเปลี่ยนแนวคิด ๙. นักเรียนและครูช่วยกันอภิปรายในประเด็น - เป็นคาหรือไม่ มั่นใจได้อย่างไร มีวิธีตรวจสอบสอบอย่างไร - เป็นคาชนิดใด รู้ได้อย่างไร จะตรวจสอบอย่างไร ๑๐. นักเรียนจับคู่ เลือกคาจากผลงานนักเรียนที่จัดแสดงไว้ คู่ละ ๕- ๑๐ คา แล้วฝึกแจกลูกสะกดคาด้วยปากเปล่าพร้อมกัน ฝึกเป็นคู่ ๑๑. ทาแบบฝึกเสริมทักษะ นักเรียนเลือกคาที่ชอบ ๕ คา มาแต่งประโยค ให้ได้จานวนมากที่สุด ๓) สื่อและแหล่งเรียนรู้ ๑. บทร้องเล่น “ไก่เอ๋ยไก่” ๒. บัตรคา ๓. กระดาษปรู๊ฟ ๔. อุปกรณ์การทางาน ๕. ป้ายคาชี้แจง ๔) การวัดและเมินผล คาชี้แจง ๑. นักเรียนแต่ละกลุ่มช่วยกันเขียนคาที่สัมพันธ์กับคาหลักที่ได้รับลงในบัต รว่างให้ได้จานวนมากที่สุด ๒. นักเรียนช่วยกันนาบัตรคามาหาวิธีจัดหมวดหมู่คาและช่วยกันออกแบบ ให้เป็นระบบ ดูง่าย จัดลงในกระดาษปรู๊ฟ เช่น การนาเสนอในรูปตาราง แผนที่ความคิด ฯลฯ
  • 9. วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ์ - การร่วมกิจกรรม - การทางานกลุ่ม - การพูดนาเสนอผลงา น - การอ่านแจกลูกสะกด คา - การจัดหมวดหมู่คา - การทาแบบฝึกเสริมทั กษะ - แบบประเมินการร่วมกิจ กรรม - แบบประเมินการทางาน กลุ่ม - แบบประเมินการพูด มีผลการประเมินในระดับดี ขึ้นไป หรือ มีค่าเฉลี่ย 2.00 ขึ้นไป - อ่านแจกลูกสะกดคาได้ - จัดหมวดหมู่ของคาได้ - ผ่านเกณฑ์การประเมินร้อย ละ ๗๐ ขึ้นไป ภาคผนวก หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑ ชั่วโมงที่ ๑ จากหนังสือสาเนียงเสียงสัตว์ ไก่ เอ๋ย ไก่
  • 10. ภาพจากหนังสือ Best Practices แผนการสอนภาษาไทย ประถมศึกษาตอนต้น หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑ ชั่วโมงที่ ๑ เพลงเจอกัน ฉันและเธอเจอกัน แทบทุกวันเลยเชียว เมื่อเจอกัน เรารักกัน ต่างสมานไมตรี ยิ้มให้กันทีไร สุขฤทัย เปรมปรีดิ์ ต่างพูดจาพาที สวัสดีเพื่อนเอย
  • 12.
  • 14. ใบกิจกรรม เรื่อง การแยกส่วนประกอบของคา หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑ ชั่วโมงที่ ๓ *********************************************************************************** ********** ชื่อ................................................................................. ชั้น.................................เลขที่.................. คาชี้แจง ให้นักเรียนเลือกคาที่ชอบ 10 คา แล้วแยกส่วนประกอบของคาดังตัวอย่าง คา พยัญชนะต้น สระ ตัวสะกด วรรณยุกต์ แป้ ง ป แ ง โท
  • 15. หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑ ชั่วโมงที่ ๔ เพลงอิ่มอุ่น ผู้แต่ง :ศุ บุญเลี้ยง อุ่นใดใดโลกนี้ไม่มีเทียบเทียม อุ่นอกอ้อมแขน อ้อมกอดแม่ตระกอง รักเจ้าจึงปลูก รักลูกแม่ย่อมห่วงใย ไม่อยากจากไปไกล แม้เพียงครึ่งวัน ให้กายเราใกล้กัน ให้ดวงตาใกล้ตา ให้ดวงใจเราสองเชื่อมโยงผูกพัน อิ่มใดใด โลกนี้ไม่มีเทียบเทียม อิ่มอกอิ่มใจ อิ่มรักลูกหลับนอน น้านมจากอก อาหารของความอาทร แม่พร่าเตือน พร่าสอน สอนสั่ง ให้เจ้าเป็ นเด็กดี ให้เจ้ามีพลัง ให้เจ้าเป็ น ความหวังของแม่ต่อไป
  • 16. หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑ ชั่วโมงที่ ๕ บัตรคา อาชีพ สัตว์ สิ่งของ อาหาร ผัก ผลไม้
  • 17. เกณฑ์การประเมิน การร่วมกิจกรรม รายการปร ะเมิน ระดับคุณภาพ ๓ ๒ ๑ ๑. ความตั้งใจ มีความกระตือรือร้น ในการเรียนไม่รีรอ ตั้งใจเรียน ตั้งใจฝึก รีบตอบคาถาม ซักถาม เมื่อสงสัย มีความกระตือรือร้น ในการเรียนตั้งใจเรียน ตั้งใจฝึกไม่กล้าซักถาม รีรอในการตอบคาถาม ขาดความ กระตือรือ ร้น ในการเรีย นไม่ตั้งใจ ฝึก ไม่กล้าซัก ถาม ไม่ตอบคา ถาม ๒. รับผิดชอบงานที่ได้รับม รับผิดชอบงานที่ได้รับมอ ขาดความ
  • 18. ความรับผิ ดชอบ อบหมายดี ส่งงานทันเวลาทุกครั้ง บหมาย ส่งงานไม่ตรงเวลา แก้ไขงานเสร็จ หลังชั่วโมงเรียน รับผิดชอบ ทางานไม่เ สร็จและ ส่งงานไม่ ทันเวลา แก้ไขงาน ของตนเอ งไม่ได้ ๓. การให้ควา มร่วมมือ ให้ความร่วมมือ ในการเรียนอย่างเต็มคว ามสามารถตลอดเวลา ให้ความร่วมมือแต่ไม่ต่อ เนื่อง ต้องคอยตักเตือนบ้าง ให้ความร่ วมมือ ในการเรีย นเมื่อถูกตั กเตือน ๔. การให้ควา มช่วยเหลื อเพื่อน ให้ความช่วยเหลือเพื่อน ทั้งในและนอกกลุ่มที่ขอ ความช่วยเหลือ ให้ความช่วยเหลือเพื่อนเ ฉพาะกลุ่มตนเองหรือคน ที่ชอบใจเท่านั้น ไม่ให้ควา มช่วยเหลื อเพื่อน ทางานลา พัง คนเดียว การอ่าน รายการป ระเมิน ระดับคุณภาพ ๓ ๒ ๑ ๑. อักขระถู กต้อง อ่านออกเสียงถูกต้อง ชัดเจนร้อยละ 90 ของคาทั้งหมดขึ้นไป อ่านออกเสียงถู กต้อง ชัดเจนมากว่าร้ อยละ 60 น้อยกว่าร้อยละ 90 ของคาทั้งหมด ขึ้นไป อ่านออกเสี ยงถูกต้อง ชัดเจนน้อย ว่าร้อยละ 60 ของคาทั้งห มด ๒. เว้นวรรค ตอนถูกต้ อง อ่านเว้นวรรคตอนถูกต้อง ร้อยละ 90 ของคาทั้งหมดขึ้นไป อ่านเว้นวรรคต อนถูกต้อง มากว่าร้อยละ 60 น้อยกว่าร้อยละ 90 ของคาทั้งหมด ขึ้นไป อ่านเว้นวร รคตอนถูก ต้อง น้อยว่าร้อย ละ 60 ของคาทั้งห มด ๓. อ่านได้คล่องแคล่วหากอ่านพลาดส อ่านติดบางคา อ่านติดบ่อ
  • 19. ความคล่ องแคล่ว ามารถแก้ไขการอ่านให้ถูกต้องได้ รวดเร็ว แต่สามารถแก้ ไขให้ถูกต้องไ ด้เร็ว ยๆ แก้ไขให้ถู กต้องได้ช้า ต้องให้ผู้อื่น บอก การพูด รายก ารปร ะเมิน ระดับคุณภาพ ๓ ๒ ๑ ๑. พูดต รงปร ะเด็น พูดตรงประเด็น เรียงลาดับเรื่องราวได้เ ป็นลาดับ ไม่วกวน พูดตรงประเด็น เรียงลาดับเรื่องราวไม่เ รียงลาดับเหตุการณ์บ้า งแต่ทาให้เข้าใจเรื่องรา วได้ พูดออกนอกประเ ด็น เรียงลาดับเรื่องราว วกวน เข้าใจยาก ๒. พูดมี เหตุ ผล ให้เหตุผลในการพูดได้เ หมาะสม หรือยกตัวอย่างได้น่าเชื่ อถือ ให้เหตุผลในการพูดได้ บ้าง หรือยกตัวอย่างได้แต่ยั งไม่เพียงพอในการให้เ หตุผลนั้น ให้เหตุผลในการพู ดได้น้อยหรือยกตั วอย่างได้ไม่น่าเชื่ อถือ ๓. ควา มคล่ องแ คล่ว พูดได้คล่องแคล่วหากพู ดพลาดสามารถแก้ไขก ารพูดให้ถูกต้องได้รวดเ ร็ว พูดติดขัดบ้าง แต่สามารถแก้ไขการพู ดให้ถูกต้องได้เร็ว พูดผิดบ่อยๆ แก้ไขให้ถูกต้องได้ ช้า ต้องให้ผู้อื่นบอก ๔. บุคลิ กท่า ทาง ท่าทางในการพูดมีควา มมั่นใจ แสดงท่าทางประกอบก ารพูดได้ดี สื่อความได้ ท่าทางในการพูดแสดง ความไม่มั่นใจอยู่บ้าง แสดงท่าทางประกอบก ารพูดน้อย ท่าทางในการพูดข าดความมั่นใจ ต้องคอยหาคนช่ว ยอยู่เสมอ ไม่แสดงท่าทางปร ะกอบการพูด การคัดลายมือ รายการประเมิ น ระดับคุณภาพ ๓ ๒ ๑ ๑. รูปแบบและขน รูปแบบและขนาดตั ส่วนใหญ่รูปแบบแล
  • 20. ตัวอักษรและร ะยะห่างของตัว อักษร าดตัวอักษรส ม่าเสมอ ระยะห่างของตั วอักษรเท่ากัน วอักษรไม่สม่าเสมอ บางส่วน ระยะห่างของตัวอัก ษรไม่เท่ากันบ้าง ะขนาดตัวอักษรไม่ส ม่าเสมอ ระยะห่างของตัวอัก ษรไม่เท่ากัน ๒. สะกดคาถูกต้อ ง เขียนสะกดคาไ ด้ถูกต้องทุกคา เขียนสะกดคาได้ถูก ต้อง มากว่าร้อยละ ๘0 ของคาทั้งหมดขึ้นไ ป เขียนสะกดคาได้ถูก ต้อง น้อยว่าร้อยละ ๘0 ของคาทั้งหมด ๓. ความสะอาดเป็ นระเบียบ เขียนสม่าเสมอ เป็นระเบียบสะ อาด มีการแก้ไขคา ผิดทาได้สะอา ด เขียนไม่สม่าเสมอ แต่เป็นระเบียบสะอ าด มีการแก้ไขคาผิดไม่ สะอาดบ้าง เขียนไม่สม่าเสมอ มีรอยแก้ไขคาผิดไม่ สะอาด การทางานกลุ่ม รายการ ประเมิน ระดับคุณภาพ ๓ ๒ ๑ ๑. การให้ค วามร่วม มือ ให้ความร่วมมือ ในการเรียนอย่างเต็ม ความสามารถตลอดเว ลา ให้ความร่วมมือแต่ไม่ ต่อเนื่องตลอดเวลา ไม่ให้ความร่วม มือ ในการเรียน ๒. ความรับ ผิดชอบ รับผิดชอบงานที่ได้รั บมอบหมายดี ส่งงานทันเวลาทุกครั้ง รับผิดชอบงานที่ได้รับ มอบหมาย ส่งงานไม่ตรงเวลา แก้ไขงานเสร็จ หลังชั่วโมงเรียน ขาดความรับผิด ชอบ ทางานไม่เสร็จแ ละ ส่งงานไม่ทันเวล า แก้ไขงานของต นเองไม่ได้ ๓. การช่วยเ หลือเพื่อ นในกลุ่ม ให้ความช่วยเหลือเพื่อ นทั้งในและนอกกลุ่ม ที่ขอความช่วยเหลือ ให้ความช่วยเหลือเพื่อ นเฉพาะกลุ่มตนเองหรื อคนที่ชอบใจเท่านั้น ไม่ให้ความช่วยเ หลือเพื่อน ทางานลาพัง คนเดียว
  • 21. ๔. การแสด งความคิ ดเห็น กล้าแสดงความคิดเห็ น มีเหตุผลและมีมารยา ท ในการนาเสนอ ความคิดเห็น กล้าแสดงความคิดเห็น แต่บางครั้งขาดเหตุผล ไม่เสนอความคิด เห็น ของตนเอง ๕. การรับฟั งความคิ ดเห็น รับฟังและยอมรับ ความคิดเห็นของคน ส่วนใหญ่ให้ความร่ว มมือและปฏิบัติตามเสี ยง ส่วนใหญ่ รับฟังและยอมรับ ความคิดเห็นของคน ส่วนใหญ่แต่บางครั้งที่ ไม่พอใจก็แสดงออก โดยการไม่ปฏิบัติตาม ไม่ยอมรับความ คิดเห็นของเพื่อน ไม่พอใจเมื่อควา มคิดเห็นของตน ไม่เป็นที่ยอมรับ