SlideShare a Scribd company logo
1 of 32
Download to read offline
1. วัตถุดิบที่ใชในการเพาะเห็ดฟางมีอะไรบาง
2. สภาพอากาศในการเพาะเห็ดฟางเปนอยางไร
3. สถานที่เพาะเห็ดฟางควรเปนอยางไร
4. การเพาะเห็ดฟางมีกี่แบบ
5. ปจจัยสําคัญในการเพาะเห็ดฟาง
6. เชื้อเห็ดฟางที่ใชเพาะควรเปนอยางไร
1. ฟางขาวเปนวัตถุดิบที่ใชในการเพาะเห็ดฟาง
2. สภาพอากาศในการเพาะเห็ดฟาง 35-37 องศาเซลเซียส
3. สถานที่เพาะเห็ดฟางตองเปนบริเวณที่ไมมีสารฆาแมลง
4. การเพาะเห็ดฟางแบบกองเตี้ยเปนที่นิยม
5. แสงแดดไมใชปจจัยสําคัญในการเพาะเห็ดฟาง
6. เชื้อเห็ดควรเปนกอนมีเสนใยจึงจะสามารถเพาะเห็ดได
4.1 แหลงขอมูลที่จะไปศึกษา
1. สอบถามขอมูลจากบุคคล
2. ศึกษาคนควาจากวารสาร
3. ศึกษาคนควาจากหนังสือพิมพ
4. ศึกษาคนควาจากหนังสือ
5. ศึกษาคนควาจากสถานที่จริง
4.2 หัวขอยอยที่จะศึกษา
1. ลักษณะในการเพาะเห็ดฟาง
2. สิ่งจําเปนในการเพาะเห็ดฟาง
3. ปจจัยสําคัญในการเห็ดฟาง
4. วิธีการดูแลเห็ดฟางแบบกองเตี้ย
5. ขั้นตอนในการเพาะเห็ดฟางแบบกองเตี้ย
6. การดูแลรักษา
5.1 การสอบถามจากบุคคล
1. นายมานพ พริ้งกลาง
2. นางบุญมา รักดานกลาง
3. นายสมาน ทิพยนางรอง
4. นางหมุ เชื่อมกลาง
ไดสอบถามจากบุคคลที่ 1 ชื่อ นายมานพ พริ้งกลาง ความวา
การที่จะเพาะเห็ดฟางได ตองดูแลสภาพอากาศในบานเราหรือ
ที่เราจะทําการเพาะกอนวาเหมาะสมหรือไม โดยสภาพอากาศ
หรืออุณหภูมิที่เหมาะสมในการเพาะเห็ดฟางคือ อุณหภูมิ 35-37
องศาเซลเซียส จะขึ้นไดดีทั้งในฤดูฝนและฤดูรอน แตถาในฤดูหนาว
จะไมคอยดีนัก เพราะอากาศจะเย็นเกินไป ไมเอื้ออํานวยตอการ
เจริญเติบโต
ไดสอบถามจากบุคคลที่ 2 ชื่อ นางหมุ เชื่อมกลาง
ความวา การเพาะเห็ดฟางไมตองลงทุนอะไรมาก เปนการ
ลงทุนที่ต่ํา ที่ไดผลกําไรที่งอกงามเยอะสวนมากคนที่เพาะเห็ด
ฟางจะเปนเกษตรกร ทํานา ทําสวน ปลูกพืชไร เพราะสวนใหญ
จะปลูกไวทําอาหารทานเองที่บาน สวนที่เหลือก็เก็บไปขาย หรือ
แจกจายใหบานใกล เรือนเคียงเพราะเห็ดฟางเปนที่ชื่นชอบของ
ทุกคน ดวยรสชาติที่หวาน อรอย ราคาไมแพง และหาทานได
งาย จึงเปนที่ตองการของตลาด
5.2 การศึกษาคนควาจากวารสาร
ไดศึกษาคนควาจากวารสาร ชื่อ การเพาะเห็ดฟาง
หนาที่ 1 ฉบับที่ 14 พบวา การเพาะเห็ดฟางแบบกองเตี้ย หลังจากเก็บ
เกี่ยวขาวเสร็จแลว เราจะมีฟางขาวที่เหลือจากการเก็บเกี่ยวจํานวนมาก
การเพาะเห็ดฟางจึงเปนการใชฟางที่มีอยูใหเกิดประโยชน การเพาะเห็ดฟาง
แบบกองเตี้ย เปนวิธีการประยุกตมาจากการเพาะเห็ดฟางแบบกองสูง ซึ่งมี
ขอดีคือสามารถใชวัสดุเพาะไดหลายอยาง เชน ฟาง ผักตบชวา ตนถั่ว
ตนกลวย ขี้เลื่อยที่ผุแลว ชานออย เมื่อเห็ดออกดอกแลวใชระยะเวลาสั้นใน
การเก็บเกี่ยวผลผลิตทั้งหมด จึงเหมาะสมกับการทําเปนอาชีพ
5.3 การศึกษาคนควาจากหนังสือพิมพ
ไดศึกษาคนควาจากหนังสือพิมพ ชื่อ เห็ดฟาง-เรื่องนารู
ฉบับวันที่ 22 กุมภาพันธ พ.ศ. 2556 หนา 5 พบวา การเพาะเห็ดฟางมี
ปจจัยในการเพาะดังนี้
1. สภาพอากาศที่เหมาะสมในการเพาะ เห็ดฟางชอบอากาศรอน อุณหภูมิ
35-37 องศาเซลเซียส ขึ้นไดดีในฤดูรอนกับฤดูฝน แตภาคใตจะขึ้นได
ทุกฤดูกาล
2. เรื่องความชื้น เปนสวนสําคัญในการเพาะเห็ดฟางมากเปนตัวกําหนด
ความเจริญของเสนใย ถาความชื้นมีนอยเสนใยเห็ดจะเดินชา
3. แสงแดด เห็ดฟางไมชอบแสงแดดโดยตรง ถาแดดสูงเกินไปเสนใยอาจ
ตายไดและผลผลิตอาจไมเปนที่ตองการของตลาด
5.4 การศึกษาคนควาจากหนังสือ
ไดศึกษาคนควาจากหนังสือ ชื่อ การเพาะเห็ดฟาง
หนาที่ 1 ฉบับที่ 24 พบวา
การเพาะเห็ดฟาง ลักษณะของการเพาะเห็ดฟางในปจจุบันมีอยูหลายวิธี
คือ การเพาะเห็ดฟางแบบกองสูง, การเพาะเห็ดฟางแบบกองเตี้ย, การเพาะเห็ด
ฟางจากเปลือกฝกถั่ว, การเพาะเห็ดฟางแบบโรงเรือนหรืออุตสาหกรรม เปนตน
ซึ่งในการเพาะเห็ดฟางมีสิ่งที่จําเปนหลายอยาง รวมถึงปจจัยสําคัญที่ตองรูในการ
เพาะเห็ดฟาง และวิธีการเพาะเห็ดฟางที่ถูกตอง จึงจําเปนตองศึกษาการเพาะ
กอนลงมือปฏิบัติจริงเพื่อใหไดผลผลิตที่เปนที่ตองการของตลาดและนารับประทาน
5.5 การศึกษาคนควาจากอินเทอรเน็ต
การเพาะเห็ดฟาง , การเพาะเห็ดฟางแบบกองเตี้ย
https://sites.google.com
http:// www.phetphichit.com
https://biofram.wordpress.com/about/
www.rakbankerd.com
www.phetphichit.com
การเพาะเห็ดฟาง…
ลักษณะในการเพาะเห็ดฟาง
ลักษณะของการเพาะเห็ดฟางในปจจุบัน มีอยูหลายวิธี คือ การ
เพาะเห็ดฟางแบบกองสูง, การเพาะเห็ดฟางแบบกองเตี้ย, การเพาะเห็ด
ฟางจากเปลือกฝกถั่ว, การเพาะเห็ดฟางแบบ โรงเรือน หรืออุตสาหกรรม
เปนตนการเพาะเห็ดฟางแบบกองสูงนั้น ในปจจุบันไมเปนที่นิยมทํากันนัก
เพราะใชเวลาการเพาะนาน อีกทั้งตองเสียเวลา ในการดูแลรักษานานอีก
ดวยสวนวิธีการเพาะเห็ดฟางแบบกองเตี้ยนั้น กําลังเปนที่นิยมมากเพราะมี
วิธีการทําที่งาย ทั้งวัสดุที่ใชเพาะก็หาไดงาย และผลผลิตที่ไดอยูในเกณฑที่
นาพอใจ ในที่นี้จะกลาวรายละเอียดเฉพาะการเพาะแบบกองเตี้ยเทานั้น
สิ่งจําเปนในการเพาะเห็ดฟาง
วัตถุดิบที่ใชในการเพาะ ใชฟางตากแหงสนิทซึ่งเก็บไวโดยไมเปยก
ชื้นหรือขึ้นรามากอน ใชไดทั้งฟางขาวเหนียว ฟางขาวจาว ฟางขาว ที่นวดเอา
เมล็ดออกแลว และสวนของตอซังเกี่ยวหรือถอนก็ใชไดดีถาเปรียบเทียบวัสดุ
ที่ใชในการ เพาะตาง ๆ แลว ตอซังจะ ดีกวาปลายฟางขาวนวดและวัสดุอื่น ๆ
มาก เนื่องจากตอซังมีอาหารมากกวาและอุมน้ําไดดี กวาปลายฟาง
อาหารเสริม การใสอาหารเสริมเปนสวนชวยใหเสนใยของเห็ดฟาง
เจริญไดดี และทําใหไดดอกเห็ดมากกวาที่ ไมไดใสถึงประมาณ เทาตัว
อาหารเสริมที่นิยมใชอยูเปนประจําไดแก ละอองขาว ปุยมูลสัตวหรือปุยคอก
แหง ไสนุน ไสฝาย ผักตบชวาตากแหงแลวสับ ใหเปนชิ้นเล็ก ๆ จอกแหง และ
เศษพืชชิ้นเล็ก ๆ ที่นิ่มและอุมน้ําไดดี เหลานี้ก็มีสวนใชเปน อาหารเสริมได
เชนกัน
เชื้อเห็ดฟาง ที่จะใชเพาะ การเลือกซื้อเชื้อเห็ดฟางเพื่อใหไดเชื้อเห็ดที่มี
คุณภาพดีและเหมาะสมกับราคามี หลักเกณฑการพิจารณา ประกอบดังนี้ คือ- เมื่อ
จับดูที่ถุงเชื้อเห็ด ควรจะตองมีลักษณะเปนกอนแนนมีเสนใยของเชื้อเห็ดเดินเต็มกอน
แลว- ไมมีเชื้อราชนิดอื่น ๆ หรือเปนพวกแมลง หนอน หรือตัวไร เหลานี้เจือปน และ
ไมควรจะมีน้ําอยูกนถุง ซึ่งแสดงวาชื้นเกินไป ความงอกจะไมดี- ไมมีดอกเห็ดอยูในถุง
เชื้อเห็ดนั้น เพราะนั่นหมายความวาเชื้อเริ่มแกเกินไปแลว- ควรผลิตจากปุยหมักของ
เปลือกเมล็ดบัวผสมกับขี้มา หรือไสนุนกับขี้มา- เสนใยไมฟูจัดหรือละเอียดเล็กเปน
ฝอยจนผิดธรรมดาลักษณะของเสนใยควรเปนสีขาวนวล เจริญคลุมทั่วทั้งกอนเชื้อเห็ด
นั้น- ตองมีกลิ่นหอมของเห็ดฟางดวย จึงจะเปนกอนเชื้อเห็ดฟางที่ดี- เชื้อเห็ดฟางที่
ซื้อตองไมถูกแดด หรือรอการขายไวนานจนเกินไป- เชื้อเห็ดฟางที่ซื้อมานั้น ควรจะทํา
การเพาะภายใน 7 วัน- อยาหลงเชื่อคําโฆษณาใด ๆ ของผูขาย ควรสอบถามจากผูที่
เคยทดลองเพาะมากอนจะดีกวา นอกจากนี้ควร มีการตรวจสอบ เชื้อเห็ดฟางจาก
หลายยี่หอ เชื้อเห็ดฟางยี่หอใดใหผลผลิตสูงก็ควรเลือกใชยี่หอนั้นมาเพาะจะดีกวา-
ราคาของเชื้อเห็ดฟางไมควรจะแพงจนเกินไป ควรสืบราคาจากเชื้อเห็ดหลาย ๆ ยี่หอ
เพื่อเปรียบเทียบดูดวย
สถานที่เพาะเห็ด เนื่องจากการเพาะเห็ดฟางเปนการเพาะบน
ดิน ดังนั้นเราตองคํานึงถึงสภาพแวดลอมแปลงเพาะนั้นดวยเปนอยางยิ่ง
โดยเฉพาะตองเปนบริเวณที่ไมมียาฆาแมลงหรือยากันเชื้อรา น้ําไมทวม
ขัง มีการระบายน้ําไดดีและตองเปนที่ไมเคยใชเพาะเห็ดฟาง มากอน ถา
เคยเพาะเห็ดฟางมากอนก็ควรจะทําความสะอาดที่บริเวณนั้น โดยการ
ขุดผลึกดินตากแดดจัด ๆ ไวสัก 1 อาทิตยเพื่อฆา เชื้อโรค ตาง ๆ บนดิน
ที่จะเปนพาหะของโรคและแมลงตอเชื้อเห็ดที่เราจะเพาะในที่ดินนั้นไดดี
ขึ้นสรุปแลวที่กองเพาะเห็ดควรเปนสถานที่ที่โลงแจง
และที่สําคัญอีกประการหนึ่งก็คือ
สภาพดินบริเวณนั้นจะตองไมเค็ม
เพราะความเค็ม ของดินจะทําให
เสนใยรวมตัวได
ไมแบบ ไมแบบที่ใชในการเพาะเห็ดฟางกองเตี้ย ทําจากไมกระดานตอกเปน
กรอบแบบลังไมรูปสี่เหลี่ยมคางหมูขนาดของไมแบบ หรือ กรอบลังไมนี้ไมควรใหญหรือ
เล็กจนเกินไป ขนาดของไมแบบหรือกรอบลังไมที่ปกติใชกันก็คือมีฐานกวาง 35-40
เซนติเมตร ดานบนกวาง 25-30 เซนติเมตร สูง 35-40 เซนติเมตร ความยาวของแบบ
พิมพ กรอบไมนี้ควรจะมีขนาด 1-1.5 เมตรผาพลาสติก เพื่อใชในการคลุมกองเห็ด
สวนมากมักจะใชผาพลาสติกใส เพราะราคาถูกและประหยัดดี ซื้อครั้งเดียวก็ใชได หลาย
ครั้งบัวรดน้ํา จะเปนบัวพลาสติกหรือบัวสังกะสีก็ใชไดทั้งนั้นขอใหใชตักน้ําไดและรดน้ํา
แลวไดน้ําเปนฝอย ๆ ก็ใชไดแลว ปจจุบันที่ทํา มาก ๆ จะใชเครื่องสูบไดโวหรือเครื่องสูบ
น้ําฉีดน้ําเปนฝอยรดกองฟางใหเปยกชุมกอนเริ่มการหมักไดก็จะสะดวกดี
ปจจัยที่สําคัญในการเพาะเห็ดฟาง
1. สภาพอากาศที่เหมาะสมในการเพาะเห็ดฟาง เห็ดฟางชอบอากาศรอน อุณหภูมิ 35-37
องศาเซลเซียส ขึ้นไดดีทั้งในฤดูฝนและ ในฤดูรอน เพราะอากาศรอนจะชวยเรงการเจริญเติบโตของดอกเห็ดได
ดีอยูแลว สวนในชวงอากาศหนาวไมคอยจะดีนัก เพราะอากาศ ที่เย็นเกินไปไมเอื้ออํานวยตอการเติบโตของ
ดอกเห็ดฟาง สําหรับทางภาคใตก็สามารถจะเพาะเห็ดฟางไดตลอดทั้งป ถามีฝนตกไมมาก เกินไปนัก จึงเห็น
ไดวา การเพาะเห็ดฟางของประเทศไทยเราสามารถเพาะไดตลอดป แตหนาหนาวผลผลิตจะลดนอยลง
เนื่องจาก อุณหภูมิต่ํา จึงทําใหราคาสูง หลังฤดูเกี่ยวขาวอากาศรอน ฟางและแรงงานมีมากมีคนเพาะมาก จึง
เปนธรรมดาที่เห็ดจะมีราคาต่ําลง ในฤดูฝนชาวนาสวนมากทํานา การเพาะเห็ดนอยลง ราคาเห็ดฟางนั้นก็จะดี
ขึ้น
2.เรื่องความชื้น ความชื้นเปนสวนสําคัญในการเพาะเห็ดฟางมากเปนตัวกําหนดการเจริญของ
เสนใยเห็ดที่สําคัญถาความชื้นมีนอย เกินไป เสนใยของเห็ดจะเดินชา และรวมตัวเปนดอกไมได ถาความชื้น
มากเกินไปการระบายอากาศภายในกองไมดี ถาเสนใยขาด ออกซิเจน ก็จะทําใหเสนใยฝอหรือเนาตายไปน้ําที่
จะแชหรือทําใหฟางชุมควรตองเปนน้ําสะอาด ไมมีเกลือเจือปนหรือเค็ม หรือเปน น้ําเนาเสียที่หมักอยูในบอ
นาน ๆ จนมีกลิ่นเหม็น ก็ไมควรจะนํามาใชในการเพาะเห็ดฟางที่ดีนั้น น้ําที่ใชในการงอกเสนใยเห็ดจะมาจาก
ในฟางที่อุมเอาไวและความชื้นจากพื้นแปลงเพาะนั้นก็เพียงพอแลว ปกติขณะที่เพาะไวเปนกองเรียบรอยแลว
นั้นจึงไมควรจะมีการ ใหน้ํา อีก ควรจะรดเพียงครั้งเดียวคือระหวางการหมักฟางเพาะทํากองเทานั้น หรือ
อาจจะชวยบางเฉพาะในกรณีที่ความชื้นมีนอยหรือ แหงจนเกินไป การใหความชื้นนี้โดยการโปรยน้ําจากฝกบัว
รอบบริเวณขาง ๆ แปลงเพาะเทานั้นก็พอ
3.แสงแดด เห็ดฟางไมชอบแสงแดดโดยตรงนัก ถาถูกแสงแดดมากเกินไปเสนใยเห็ดอาจจะตาย
ไดงาย กองเห็ดฟางเพาะเห็ดหลัง จาก ทํากองเพาะเรียบรอยแลว จึงควรจะทําการคลุมกองดวยผาพลาสติก
และใชฟางแหง หรือหญาคาปดคลุมทับอีกเพื่อพรางแสงแดด ใหดวยดอกเห็ดฟางที่ไมโดนแสงแดดจัดมีสีขาว
นวลสวย ถาดอกเห็ดฟางโดนแดดแลวจะเปลี่ยนจากสีขาวเปนสีดําเร็วขึ้นกวาปกติ
วิธีการเพาะเห็ดฟางแบบกองเตี้ย
1. เตรียมดินใหเรียบ พลิกหนาดินตากแดดไว 3-4 วัน เพื่อฆาเชื้อโรค
2. การเพาะเห็ดฟางแบบกองเตี้ยใชไดทั้งตอซังและปลายฟางถาเปนตอซังแชน้ําพอ
ออนตัวก็นํามาเพาะได ปกติประมาณ 1 ชั่วโมง แตถาเปนปลายฟางแข็ง ๆ ควรแช
น้ําประมาณ 1-2 วัน หรือจุมน้ําแลวนํามากองสุมกันไว ประมาณ 1 คืนใหอิ่มตัวนิ่ม
ดีเสียกอนจึงจะ ใชไดดี ถาเปนผักตบชวาหรือตนกลวยจะสับหรือไมสับก็ได แตตอง
แชน้ําพอนิ่ม ปกติแชน้ําประมาณ 1-2 ชั่วโมงแลวนํามาใชกอง ไดเลย
3. ลังจากแชน้ําวัสดุที่จะใชเพาะไดที่แลว ใหนําวัสดุที่ใชเพาะนั้น ใสลงในกะบะไมที่วาง
เอาดานกวางซึ่งมีลักษณะปานลงสัมผัสพื้น ใหดานแคบอยูขางบนใสใหสูงประมาณ
4-6 นิ้ว ถาเปนตอซังใหวางโคนตอซังหันออกดานนอกสวนปลายอยูดานใน ใชมือ
กดฟาง ใหแนนพอสมควร แตถาเปนปลายฟางควรขึ้นไปย่ําพรอมทั้งรดน้ําใหชุม ขอ
ควรระวังอยาใหแฉะหรือแหงจนเกินไป
4. นําอาหารเสริมที่ชุบน้ําแลวโรยเปนแถบกวางประมาณ 2 นิ้ว รอบ ๆ ดานทั้งสี่ดาน
หนาประมาณ 1 นิ้ว
5. แบงเชื้อเห็ดฟางจากถุงซึ่งปกติเชื้อเห็ดฟาง 1 ถุง หนักประมาณ 200 กรัม ออกเปน
3-4 สวน เทา ๆ กันจากนั้นโรยเชื้อเห็ดฟาง 1 สวน โดยโรยลงบนอาหารเสริมใหทั่ว
และชิดกับขอบของแบบไมทั้งสี่ดานก็เปนการเสร็จชั้นที่ 1
6. ทําชั้นที่ 2 และ 3 หรือ 4 ตอไปก็ทําเชนเดียวกับชั้นที่ 1 ทุกอยาง เมื่อทํามาถึงขั้นสุดทาย
ใหโรยอาหารเสริมและเชื้อเห็ดใหเต็ม ทั่วหลังแปลง
7. นําฟางที่แชน้ํามาปดทับใหหนา 1-2 นิ้ว แลวเอาแบบไมออกโดยใชมือขางหนึ่งกดกอง
ฟางไวและทํากองอื่นตอ ๆ ไป
8. ทํากองอื่น ๆ ตอไปใหขนานกบกองแรก โดยเวนระยะหางประมาณ 6-12 นิ้ว
9. ชองวางระหวางกองแตละกองสามารถใชใหเกิดประโยชนในการเพิ่มผลผลิตไดอีก โดย
อาจจะโรยเชื้อเห็ดฟางลงไปบนชองวาง ระหวาง กอง เพราะบริเวณนี้ก็สามารถทําใหเกิด
ดอกเห็ดได จากนั้น รดน้ําดินรอบ ๆ กองใหเปยกชื้น
10. คลุมกองฟางดวยผาพลาสติก โดยใช 2 ผืนเกยทับกันตรงกลางคลุมใหสูงกวากองฟาง
เล็กนอยโดยคลุมเปนแถว ๆ ถาอากาศรอน ใหคลุมหาง อากาศเย็นใหคลุมชิดหรืออาจคลุม
ติดกองเลย ในกรณี อากาศเย็นจัด การคลุมพลาสติกเปนเรื่องสําคัญที่แตละแหงใน แตละ
ฤดูจะตองดัดแปลงไปตามความตองการของเห็ด คือ ชวงระยะแรก ราววันที่ 1-2 เชื้อเห็ด
ตองการอุณหภูมิประมาณ 35-38องศาเซลเซียส และ ในวันตอ ๆ มาตองการอุณหภูม
ต่ําลงเรื่อย ๆ จนราววันที่ 8-10 ซึ่ง เปนวันที่เก็บผลผลิตนั้นตองการอุณหภูมิราว 30 องศา
เซล เซียส
11. นําฟางแหงมาคลุม ทับผาพลาสติกอีกครั้งหนึ่งจนมิดเพื่อปองกันแสงแดด แลวใชของ
หนัก ๆ ทับปลายผาใหติดพื้นกันลมตี
วิธีการดูแลรักษาเห็ดฟาง
การดูแลรักษากองเห็ด ใหใชผาพลาสติกใสหรือสีก็ได ถา เปนผา
พลาสติกยิ่งเกาก็ยิ่งดีคลุม แลวใชฟางแหงคลุมกันแดดกันลม ใหอีกชั้นหนึ่ง ควร
ระวังในชวงวันที่ 1-3 หลังการกองเพาะเห็ด ถา ภายในกองรอนเกินไปใหเปดผา
พลาสติกเพื่อระบายความรอนที่รอน จัดจนเกินไป และใหอากาศถายเทไดสะดวก
ขึ้น ดูแลใหดีก็จะเก็บ ดอกเห็ดไดประมาณในวันที่ 8-10 โดยไมตองรดน้ําเลย
ผลผลิต โดยเฉลี่ยจะไดดอกเห็ดประมาณ 1-2 กิโลกรัมตอกองการตรวจดูความ
รอนในกองเห็ด โดยปกติเราจะรักษา อุณหภูมิในกองเห็ดโดยเปดตากลม 5-10
นาที แลวปดตามเดิมทุกวันเชา เย็น ถาวันไหนแดดจัดอุณหภูมิสูงความรอนในกอง
เห็ดมาก ก็ควรเปดชายผาพลาสติกใหนานหนอย เพื่อระบายความรอนใน กองเห็ด
วิธีตรวจสอบความชื้นทําไดไดยดึงฟางออกจากกองเพาะ แลวลองบิดดู ถาน้ําไหล
ออกมาเปนสายแสดงวาแฉะไป แตถากองฟาง แหงไปเวลาบิดจะไมมีน้ําซึมออกมา
เลย ถาพบวากองเห็ดแหงเกินไปก็ควรเพิ่มความชื้นโดยใชบัวรดน้ําเปนฝอยเพียง
เบา ๆ ใหชื้น หลังจากทําการเพาะเห็ดประมาณ 1อาทิตย จะเริ่มมีตุมดอกเห็ดสีขาว
เล็ก ๆ ในชวงนี้ตองงดการใหน้ําโดยตรงกับดอกเห็ด ถาดอกเห็ด ถูกน้ําในชวงนี้
ดอกเห็ดจะฝอและเนาเสียหาย ใหรดน้ําที่ดินรอบกอง
การเก็บเห็ดฟาง
เมื่อกองฟางเพาะเห็ดไปแลว 5-7 วัน จะเริ่มเห็นตุมสีขาวเล็ก ๆ เกิดขึ้น
ตุมสีขาวเหลานี้จะเจริญเติบโตเปนเห็ดตอไปเกษตรกรจะเริ่ม เก็บเห็ด ไดเมื่อเพาะ
ไปแลวประมาณ 7-10 วัน แลวแตความรอน และการที่จะเก็บเห็ดไดเร็วหรือชา
ขึ้นอยูกับวิธีการเพาะและฤดูกาล คือ ฤดูรอนและฤดูฝนจะเก็บเห็ดไดเร็วกวาฤดู
หนาว เพราะความรอน ชวยเรงการเจรญเติบโตของเห็ดนอกจากนั้น ถาใสอาหาร
เสริมดวย แลว จะทําใหเกิดดอกเห็ดเร็วกวาไมใสอีกดวย
ดอกเห็ดที่ขึ้นเปนกระจุก มีทั้งออนและแก ถามีดอกเล็ก ๆ
มากกวาดอกใหญ ควรรอเก็บเมื่อดอกเล็กโต
หรือรอเก็บชุดหลัง เก็บดอกเห็ดขึ้นทั้ง
กระจุกโดยใชมือจับ ทั้งกระจุกอยางเบาๆ
แลวหมุนซายและขวาเล็กนอย ดึงขึ้นมา
พยายามอยาใหเสนใยกระทบกระเทือน
ศัตรูของเห็ดฟางและการป้ องกันกําจัดแมลง
เช่น มด ปลวก ไรเห็ด วิธีแก้ไขโดยใช้สารเคมีพวก เซฟวินโรยรอบๆ
กอง ห่างประมาณ 1 ศอก อย่าโรยในกองทําประมาณ 1 สัปดาห์ ก่อนเริม
กองเห็ดและควรจะโรยสารเคมีนีประมาณ 1 สัปดาห์ ก่อนทีจะเริมกองเห็ด
แต่อย่าโรยภายในกองเพราะจะมีผล ต่อการ ออกดอก ทังยังมีสารพิษ
ตกค้างในดอกเห็ดซึงเกิดอันตรายต่อผู้กินเห็ดคู่แข่ง คือเห็ดทีเราไม่ได้เพาะ
แต่ขึนมาด้วย หรือเชือโรค อืนๆ ทีเป็นศัตรูของเห็ดฟาง เช่น พวกราต่าง ๆ
วิธีแก้คือการเก็บ ฟางไม่ควรให้ถูกฝน และถ้ามีราขึนให้หยิบฟางขยุ้มนันทิง
ให้ไกลกองเพาะ
ขอแนะนําเพิ่มเติม
1. ในการเพาะเห็ดฟางแบบกองเตื้ยนั้น หากมีการเพาะหลาย ๆ กองเรียงกันแลว จะสามารถ
ใชประโยชนจากเนื้อที่ระหวางกอง แตละกองไดอีกดวย เนื่องจากขณะรดน้ําก็จะมีธาตุอาหาร อาหาร
เสริม เสนใยเห็ดที่ถูกน้ําชะไหลลงไปรวมอยูบริเวณพื้นที่ระหวางกอง จึง ทําใหบริเวณนั้นมีอาหาร
ครบถวนตอการเกิดดอกเห็ด และยิ่งถาให ความเอาใจใสดูแลอยางดี หมั่นตรวจดูความชื้น อุณหภูมิ ให
เหมาะสม ตอการเกิดดอกดวยแลว พื้นที่ระหวางกองนั้นก็จะใหดอกเห็ดได อีกดวย
2. ฟางที่จะใชสําหรับการเพาะนั้นจะใชตอซัง หรือจะใชฟางที่ ไดจากเครื่องนวดขาวก็ได
3. หลังจากเก็บดอกเห็ดหมดแลว ควรเอากองเห็ดหลาย ๆ กอง มาสุมรวมกันเปนกองใหมให
กวางประมาณ 80 ซม. ทําแบบการเพาะ เห็ดกองสูง แลวรดน้ําพอชุมคลุมฟางไดสัก 6-8 วัน ก็จะเกิด
ดอกเห็ด ไดอีกมากพอสมควรเก็บไดประมาณ 10-15 วันจึงจะหมด วัสดุที่ใชนี้ หลังจากเพาะเห็ดฟางแลว
สามารถนําไปเพาะเห็ดอยางอื่นไดอีกดวยโดยแทบไมตองผสมอาหารเสริมอื่น ๆ ลงไปอีกเลย หรือจะใช
เปน ปุยหมักสําหรับตนไมก็ได มีคุณสมบัติใกลเคียงกับปุยอินทรียที่ กทม. ขายอยูนั้นมาก
4. เมื่อเก็บดอกเห็ดหมดแลว นําฟางจากกองเห็ดเกานี้ไปหมักเปนปุยหมักใชกับพืชอื่น ๆ
ตอไป หรือนําฟางที่ไดจากการเพาะเห็ด ไปเพาะเห็ดนางรม เปาฮื้อ ก็ได
5. การขุดดินตากแดด 1 สัปดาห ยอยใหดินรวนละเอียด จะทําใหผลผลิตเห็ดไดมากกวาเดิม
อีก 10-20% เพราะเห็ดเกิดบนดิน รอบ ๆ ฟางได
6. การเปลี่ยนวิธีคลุมกองเห็ดตั้งแตวันที่ 4 นับจากการเพาะ เปนตนไป ใหเปนแบบหลังคา
ประทุนเรือจะทําใหไดเห็ดเพิ่มขึ้น
คุณค่าทางอาหาร เห็ด ฟางสด เห็ดฟางแห้ง
โปรตีน 3.40% 49.04%
ไขมัน 1.80% 20.63%
คาร์โบไฮเดรท 3.90% 17.03%
เถ้า - 13.30%
พลังงาน 44 แคลอรี 4170 แคลอรี
แคลเซียม 8 มิลลิกรัม 2.35% ของเถ้า
เหล็ก 1.1 มิลลิกรัม 0.99% ของเถ้า
ฟอสฟอรัส - 30.14% ของเถ้า
ค
7.1 สามารถประกอบเปนอาชีพได
7.2 ทําเงินใหกับครอบครัว
7.3 ปลูกเห็ดไวกินเอง
7.4 นําไปเผยแพรใหสังคมไดทราบ
การเพาะเห็ดฟางแบบกองเตี้ย Is

More Related Content

What's hot

เห็ดนางฟ้า
เห็ดนางฟ้าเห็ดนางฟ้า
เห็ดนางฟ้าACHRPMM
 
การดำรงพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต
การดำรงพันธุ์ของสิ่งมีชีวิตการดำรงพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต
การดำรงพันธุ์ของสิ่งมีชีวิตKan Pan
 
การขยายพันธุ์พืช
การขยายพันธุ์พืชการขยายพันธุ์พืช
การขยายพันธุ์พืชHataitip Suwanachote
 
การตอบสนองของพืช Oui60
การตอบสนองของพืช Oui60การตอบสนองของพืช Oui60
การตอบสนองของพืช Oui60Oui Nuchanart
 
บทที่ 4 การขยายพันธุ์พืชผักสวนครัว
บทที่ 4 การขยายพันธุ์พืชผักสวนครัวบทที่ 4 การขยายพันธุ์พืชผักสวนครัว
บทที่ 4 การขยายพันธุ์พืชผักสวนครัวBenjamart2534
 
โครงงานเทคโนโลยี ปุ๋ยคอกปุ๋ยเคมี
โครงงานเทคโนโลยี ปุ๋ยคอกปุ๋ยเคมี โครงงานเทคโนโลยี ปุ๋ยคอกปุ๋ยเคมี
โครงงานเทคโนโลยี ปุ๋ยคอกปุ๋ยเคมี Thitaree Permthongchuchai
 
หน่วยที่3การขยายพันธุ์พืช
หน่วยที่3การขยายพันธุ์พืชหน่วยที่3การขยายพันธุ์พืช
หน่วยที่3การขยายพันธุ์พืชvarut
 
การเจริญเติบโตของพืช
การเจริญเติบโตของพืชการเจริญเติบโตของพืช
การเจริญเติบโตของพืชkookoon11
 
ตอบสนองพืช
ตอบสนองพืชตอบสนองพืช
ตอบสนองพืชWichai Likitponrak
 
หน่วยที่3การขยายพันธุ์พืช
หน่วยที่3การขยายพันธุ์พืชหน่วยที่3การขยายพันธุ์พืช
หน่วยที่3การขยายพันธุ์พืชHataitip Suwanachote
 
Power point ped.1
Power point  ped.1Power point  ped.1
Power point ped.1juckit009
 
วิทย์เข้มข้น1 หน่วยที่ 1
วิทย์เข้มข้น1 หน่วยที่ 1วิทย์เข้มข้น1 หน่วยที่ 1
วิทย์เข้มข้น1 หน่วยที่ 1Thanyamon Chat.
 
การงอกของเมล็ด
การงอกของเมล็ดการงอกของเมล็ด
การงอกของเมล็ดNokko Bio
 
เอกสารประกอบการบรรยาย การฝึกไฮโดรไฮโดรโปนิกส์ โดย อ.เสถียร ณ วันที่ 19-20 ก.พ...
เอกสารประกอบการบรรยาย การฝึกไฮโดรไฮโดรโปนิกส์ โดย อ.เสถียร ณ วันที่ 19-20 ก.พ...เอกสารประกอบการบรรยาย การฝึกไฮโดรไฮโดรโปนิกส์ โดย อ.เสถียร ณ วันที่ 19-20 ก.พ...
เอกสารประกอบการบรรยาย การฝึกไฮโดรไฮโดรโปนิกส์ โดย อ.เสถียร ณ วันที่ 19-20 ก.พ...ibtik
 

What's hot (20)

เห็ดนางฟ้า
เห็ดนางฟ้าเห็ดนางฟ้า
เห็ดนางฟ้า
 
การดำรงพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต
การดำรงพันธุ์ของสิ่งมีชีวิตการดำรงพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต
การดำรงพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต
 
การขยายพันธุ์พืช
การขยายพันธุ์พืชการขยายพันธุ์พืช
การขยายพันธุ์พืช
 
การตอบสนองของพืช Oui60
การตอบสนองของพืช Oui60การตอบสนองของพืช Oui60
การตอบสนองของพืช Oui60
 
M6 144 60_5
M6 144 60_5M6 144 60_5
M6 144 60_5
 
บทที่ 4 การขยายพันธุ์พืชผักสวนครัว
บทที่ 4 การขยายพันธุ์พืชผักสวนครัวบทที่ 4 การขยายพันธุ์พืชผักสวนครัว
บทที่ 4 การขยายพันธุ์พืชผักสวนครัว
 
โครงงานเทคโนโลยี ปุ๋ยคอกปุ๋ยเคมี
โครงงานเทคโนโลยี ปุ๋ยคอกปุ๋ยเคมี โครงงานเทคโนโลยี ปุ๋ยคอกปุ๋ยเคมี
โครงงานเทคโนโลยี ปุ๋ยคอกปุ๋ยเคมี
 
หน่วยที่3การขยายพันธุ์พืช
หน่วยที่3การขยายพันธุ์พืชหน่วยที่3การขยายพันธุ์พืช
หน่วยที่3การขยายพันธุ์พืช
 
การเจริญเติบโตของพืช
การเจริญเติบโตของพืชการเจริญเติบโตของพืช
การเจริญเติบโตของพืช
 
ตอบสนองพืช
ตอบสนองพืชตอบสนองพืช
ตอบสนองพืช
 
หน่วยที่3การขยายพันธุ์พืช
หน่วยที่3การขยายพันธุ์พืชหน่วยที่3การขยายพันธุ์พืช
หน่วยที่3การขยายพันธุ์พืช
 
29 08-56
29 08-5629 08-56
29 08-56
 
M6 125 60_8
M6 125 60_8M6 125 60_8
M6 125 60_8
 
M6 144 60_2
M6 144 60_2M6 144 60_2
M6 144 60_2
 
Power point ped.1
Power point  ped.1Power point  ped.1
Power point ped.1
 
วิทย์เข้มข้น1 หน่วยที่ 1
วิทย์เข้มข้น1 หน่วยที่ 1วิทย์เข้มข้น1 หน่วยที่ 1
วิทย์เข้มข้น1 หน่วยที่ 1
 
M6 125 60_10
M6 125 60_10M6 125 60_10
M6 125 60_10
 
11111
1111111111
11111
 
การงอกของเมล็ด
การงอกของเมล็ดการงอกของเมล็ด
การงอกของเมล็ด
 
เอกสารประกอบการบรรยาย การฝึกไฮโดรไฮโดรโปนิกส์ โดย อ.เสถียร ณ วันที่ 19-20 ก.พ...
เอกสารประกอบการบรรยาย การฝึกไฮโดรไฮโดรโปนิกส์ โดย อ.เสถียร ณ วันที่ 19-20 ก.พ...เอกสารประกอบการบรรยาย การฝึกไฮโดรไฮโดรโปนิกส์ โดย อ.เสถียร ณ วันที่ 19-20 ก.พ...
เอกสารประกอบการบรรยาย การฝึกไฮโดรไฮโดรโปนิกส์ โดย อ.เสถียร ณ วันที่ 19-20 ก.พ...
 

Similar to การเพาะเห็ดฟางแบบกองเตี้ย Is

การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืช
การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืชการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืช
การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืชdnavaroj
 
Ipmแมลงศัตรูผัก
IpmแมลงศัตรูผักIpmแมลงศัตรูผัก
IpmแมลงศัตรูผักKaemkaem Kanyamas
 
โครงงานเกษตรตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
โครงงานเกษตรตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงโครงงานเกษตรตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
โครงงานเกษตรตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเจื๋อง เมืองลื้อ
 
การทำเกษตรอินทรีย์ [โหมดความเข้ากันได้]
การทำเกษตรอินทรีย์ [โหมดความเข้ากันได้]การทำเกษตรอินทรีย์ [โหมดความเข้ากันได้]
การทำเกษตรอินทรีย์ [โหมดความเข้ากันได้]อบต. เหล่าโพนค้อ
 
รูปแบบข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.5
รูปแบบข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.5รูปแบบข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.5
รูปแบบข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.5Nattayaporn Dokbua
 
วิธีการเพาะเห็ดฟางแบบกองเตี้ย
วิธีการเพาะเห็ดฟางแบบกองเตี้ยวิธีการเพาะเห็ดฟางแบบกองเตี้ย
วิธีการเพาะเห็ดฟางแบบกองเตี้ยjokercoke
 
Present โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
Present โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพPresent โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
Present โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพศิริวรรณ นามสวัสดิ์
 
ออกแบบและการวางแผนการทำโครงงาน2
ออกแบบและการวางแผนการทำโครงงาน2ออกแบบและการวางแผนการทำโครงงาน2
ออกแบบและการวางแผนการทำโครงงาน2Naddanai Sumranbumrung
 
หน่วยที่5การป้องกันกำจัดศัตรูพืช
หน่วยที่5การป้องกันกำจัดศัตรูพืชหน่วยที่5การป้องกันกำจัดศัตรูพืช
หน่วยที่5การป้องกันกำจัดศัตรูพืชvarut
 
เกษตรกรรมบ้านนางแล
เกษตรกรรมบ้านนางแลเกษตรกรรมบ้านนางแล
เกษตรกรรมบ้านนางแลIammonsicha
 
ข้อสอบกรงานฯPre onet ม 6-2555 for-student
ข้อสอบกรงานฯPre onet ม 6-2555 for-studentข้อสอบกรงานฯPre onet ม 6-2555 for-student
ข้อสอบกรงานฯPre onet ม 6-2555 for-studentKo Kung
 
การปลูกสมุนไพร (Herb)
การปลูกสมุนไพร (Herb)การปลูกสมุนไพร (Herb)
การปลูกสมุนไพร (Herb)Press Trade
 
การเลี้ยงหมูหลุม2554
การเลี้ยงหมูหลุม2554การเลี้ยงหมูหลุม2554
การเลี้ยงหมูหลุม2554Lsilapakean
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกการสืบพันธุ์ของพืชดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกNokko Bio
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Daranpop Doungdetch
 

Similar to การเพาะเห็ดฟางแบบกองเตี้ย Is (20)

การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืช
การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืชการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืช
การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืช
 
Ipmแมลงศัตรูผัก
IpmแมลงศัตรูผักIpmแมลงศัตรูผัก
Ipmแมลงศัตรูผัก
 
โครงงานเกษตรตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
โครงงานเกษตรตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงโครงงานเกษตรตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
โครงงานเกษตรตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
การทำเกษตรอินทรีย์ [โหมดความเข้ากันได้]
การทำเกษตรอินทรีย์ [โหมดความเข้ากันได้]การทำเกษตรอินทรีย์ [โหมดความเข้ากันได้]
การทำเกษตรอินทรีย์ [โหมดความเข้ากันได้]
 
การเพาะเห็ดขอนขาว
การเพาะเห็ดขอนขาวการเพาะเห็ดขอนขาว
การเพาะเห็ดขอนขาว
 
รูปแบบข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.5
รูปแบบข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.5รูปแบบข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.5
รูปแบบข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.5
 
วิธีการเพาะเห็ดฟางแบบกองเตี้ย
วิธีการเพาะเห็ดฟางแบบกองเตี้ยวิธีการเพาะเห็ดฟางแบบกองเตี้ย
วิธีการเพาะเห็ดฟางแบบกองเตี้ย
 
Present โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
Present โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพPresent โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
Present โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
 
ออกแบบและการวางแผนการทำโครงงาน2
ออกแบบและการวางแผนการทำโครงงาน2ออกแบบและการวางแผนการทำโครงงาน2
ออกแบบและการวางแผนการทำโครงงาน2
 
หน่วยที่5การป้องกันกำจัดศัตรูพืช
หน่วยที่5การป้องกันกำจัดศัตรูพืชหน่วยที่5การป้องกันกำจัดศัตรูพืช
หน่วยที่5การป้องกันกำจัดศัตรูพืช
 
เกษตรกรรมบ้านนางแล
เกษตรกรรมบ้านนางแลเกษตรกรรมบ้านนางแล
เกษตรกรรมบ้านนางแล
 
Untitled
UntitledUntitled
Untitled
 
Is สมบ รณ ๆ
Is สมบ รณ ๆIs สมบ รณ ๆ
Is สมบ รณ ๆ
 
ข้อสอบกรงานฯPre onet ม 6-2555 for-student
ข้อสอบกรงานฯPre onet ม 6-2555 for-studentข้อสอบกรงานฯPre onet ม 6-2555 for-student
ข้อสอบกรงานฯPre onet ม 6-2555 for-student
 
การปลูกสมุนไพร (Herb)
การปลูกสมุนไพร (Herb)การปลูกสมุนไพร (Herb)
การปลูกสมุนไพร (Herb)
 
การเลี้ยงหมูหลุม2554
การเลี้ยงหมูหลุม2554การเลี้ยงหมูหลุม2554
การเลี้ยงหมูหลุม2554
 
การสืบพันธุ์ของพืช2
การสืบพันธุ์ของพืช2การสืบพันธุ์ของพืช2
การสืบพันธุ์ของพืช2
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกการสืบพันธุ์ของพืชดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอก
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
Gap
GapGap
Gap
 

การเพาะเห็ดฟางแบบกองเตี้ย Is

  • 1.
  • 2.
  • 3.
  • 4.
  • 5.
  • 6. 1. วัตถุดิบที่ใชในการเพาะเห็ดฟางมีอะไรบาง 2. สภาพอากาศในการเพาะเห็ดฟางเปนอยางไร 3. สถานที่เพาะเห็ดฟางควรเปนอยางไร 4. การเพาะเห็ดฟางมีกี่แบบ 5. ปจจัยสําคัญในการเพาะเห็ดฟาง 6. เชื้อเห็ดฟางที่ใชเพาะควรเปนอยางไร
  • 7. 1. ฟางขาวเปนวัตถุดิบที่ใชในการเพาะเห็ดฟาง 2. สภาพอากาศในการเพาะเห็ดฟาง 35-37 องศาเซลเซียส 3. สถานที่เพาะเห็ดฟางตองเปนบริเวณที่ไมมีสารฆาแมลง 4. การเพาะเห็ดฟางแบบกองเตี้ยเปนที่นิยม 5. แสงแดดไมใชปจจัยสําคัญในการเพาะเห็ดฟาง 6. เชื้อเห็ดควรเปนกอนมีเสนใยจึงจะสามารถเพาะเห็ดได
  • 8. 4.1 แหลงขอมูลที่จะไปศึกษา 1. สอบถามขอมูลจากบุคคล 2. ศึกษาคนควาจากวารสาร 3. ศึกษาคนควาจากหนังสือพิมพ 4. ศึกษาคนควาจากหนังสือ 5. ศึกษาคนควาจากสถานที่จริง
  • 9. 4.2 หัวขอยอยที่จะศึกษา 1. ลักษณะในการเพาะเห็ดฟาง 2. สิ่งจําเปนในการเพาะเห็ดฟาง 3. ปจจัยสําคัญในการเห็ดฟาง 4. วิธีการดูแลเห็ดฟางแบบกองเตี้ย 5. ขั้นตอนในการเพาะเห็ดฟางแบบกองเตี้ย 6. การดูแลรักษา
  • 10. 5.1 การสอบถามจากบุคคล 1. นายมานพ พริ้งกลาง 2. นางบุญมา รักดานกลาง 3. นายสมาน ทิพยนางรอง 4. นางหมุ เชื่อมกลาง
  • 11. ไดสอบถามจากบุคคลที่ 1 ชื่อ นายมานพ พริ้งกลาง ความวา การที่จะเพาะเห็ดฟางได ตองดูแลสภาพอากาศในบานเราหรือ ที่เราจะทําการเพาะกอนวาเหมาะสมหรือไม โดยสภาพอากาศ หรืออุณหภูมิที่เหมาะสมในการเพาะเห็ดฟางคือ อุณหภูมิ 35-37 องศาเซลเซียส จะขึ้นไดดีทั้งในฤดูฝนและฤดูรอน แตถาในฤดูหนาว จะไมคอยดีนัก เพราะอากาศจะเย็นเกินไป ไมเอื้ออํานวยตอการ เจริญเติบโต
  • 12. ไดสอบถามจากบุคคลที่ 2 ชื่อ นางหมุ เชื่อมกลาง ความวา การเพาะเห็ดฟางไมตองลงทุนอะไรมาก เปนการ ลงทุนที่ต่ํา ที่ไดผลกําไรที่งอกงามเยอะสวนมากคนที่เพาะเห็ด ฟางจะเปนเกษตรกร ทํานา ทําสวน ปลูกพืชไร เพราะสวนใหญ จะปลูกไวทําอาหารทานเองที่บาน สวนที่เหลือก็เก็บไปขาย หรือ แจกจายใหบานใกล เรือนเคียงเพราะเห็ดฟางเปนที่ชื่นชอบของ ทุกคน ดวยรสชาติที่หวาน อรอย ราคาไมแพง และหาทานได งาย จึงเปนที่ตองการของตลาด
  • 13. 5.2 การศึกษาคนควาจากวารสาร ไดศึกษาคนควาจากวารสาร ชื่อ การเพาะเห็ดฟาง หนาที่ 1 ฉบับที่ 14 พบวา การเพาะเห็ดฟางแบบกองเตี้ย หลังจากเก็บ เกี่ยวขาวเสร็จแลว เราจะมีฟางขาวที่เหลือจากการเก็บเกี่ยวจํานวนมาก การเพาะเห็ดฟางจึงเปนการใชฟางที่มีอยูใหเกิดประโยชน การเพาะเห็ดฟาง แบบกองเตี้ย เปนวิธีการประยุกตมาจากการเพาะเห็ดฟางแบบกองสูง ซึ่งมี ขอดีคือสามารถใชวัสดุเพาะไดหลายอยาง เชน ฟาง ผักตบชวา ตนถั่ว ตนกลวย ขี้เลื่อยที่ผุแลว ชานออย เมื่อเห็ดออกดอกแลวใชระยะเวลาสั้นใน การเก็บเกี่ยวผลผลิตทั้งหมด จึงเหมาะสมกับการทําเปนอาชีพ
  • 14. 5.3 การศึกษาคนควาจากหนังสือพิมพ ไดศึกษาคนควาจากหนังสือพิมพ ชื่อ เห็ดฟาง-เรื่องนารู ฉบับวันที่ 22 กุมภาพันธ พ.ศ. 2556 หนา 5 พบวา การเพาะเห็ดฟางมี ปจจัยในการเพาะดังนี้ 1. สภาพอากาศที่เหมาะสมในการเพาะ เห็ดฟางชอบอากาศรอน อุณหภูมิ 35-37 องศาเซลเซียส ขึ้นไดดีในฤดูรอนกับฤดูฝน แตภาคใตจะขึ้นได ทุกฤดูกาล 2. เรื่องความชื้น เปนสวนสําคัญในการเพาะเห็ดฟางมากเปนตัวกําหนด ความเจริญของเสนใย ถาความชื้นมีนอยเสนใยเห็ดจะเดินชา 3. แสงแดด เห็ดฟางไมชอบแสงแดดโดยตรง ถาแดดสูงเกินไปเสนใยอาจ ตายไดและผลผลิตอาจไมเปนที่ตองการของตลาด
  • 15. 5.4 การศึกษาคนควาจากหนังสือ ไดศึกษาคนควาจากหนังสือ ชื่อ การเพาะเห็ดฟาง หนาที่ 1 ฉบับที่ 24 พบวา การเพาะเห็ดฟาง ลักษณะของการเพาะเห็ดฟางในปจจุบันมีอยูหลายวิธี คือ การเพาะเห็ดฟางแบบกองสูง, การเพาะเห็ดฟางแบบกองเตี้ย, การเพาะเห็ด ฟางจากเปลือกฝกถั่ว, การเพาะเห็ดฟางแบบโรงเรือนหรืออุตสาหกรรม เปนตน ซึ่งในการเพาะเห็ดฟางมีสิ่งที่จําเปนหลายอยาง รวมถึงปจจัยสําคัญที่ตองรูในการ เพาะเห็ดฟาง และวิธีการเพาะเห็ดฟางที่ถูกตอง จึงจําเปนตองศึกษาการเพาะ กอนลงมือปฏิบัติจริงเพื่อใหไดผลผลิตที่เปนที่ตองการของตลาดและนารับประทาน
  • 16. 5.5 การศึกษาคนควาจากอินเทอรเน็ต การเพาะเห็ดฟาง , การเพาะเห็ดฟางแบบกองเตี้ย https://sites.google.com http:// www.phetphichit.com https://biofram.wordpress.com/about/ www.rakbankerd.com www.phetphichit.com
  • 17. การเพาะเห็ดฟาง… ลักษณะในการเพาะเห็ดฟาง ลักษณะของการเพาะเห็ดฟางในปจจุบัน มีอยูหลายวิธี คือ การ เพาะเห็ดฟางแบบกองสูง, การเพาะเห็ดฟางแบบกองเตี้ย, การเพาะเห็ด ฟางจากเปลือกฝกถั่ว, การเพาะเห็ดฟางแบบ โรงเรือน หรืออุตสาหกรรม เปนตนการเพาะเห็ดฟางแบบกองสูงนั้น ในปจจุบันไมเปนที่นิยมทํากันนัก เพราะใชเวลาการเพาะนาน อีกทั้งตองเสียเวลา ในการดูแลรักษานานอีก ดวยสวนวิธีการเพาะเห็ดฟางแบบกองเตี้ยนั้น กําลังเปนที่นิยมมากเพราะมี วิธีการทําที่งาย ทั้งวัสดุที่ใชเพาะก็หาไดงาย และผลผลิตที่ไดอยูในเกณฑที่ นาพอใจ ในที่นี้จะกลาวรายละเอียดเฉพาะการเพาะแบบกองเตี้ยเทานั้น
  • 18. สิ่งจําเปนในการเพาะเห็ดฟาง วัตถุดิบที่ใชในการเพาะ ใชฟางตากแหงสนิทซึ่งเก็บไวโดยไมเปยก ชื้นหรือขึ้นรามากอน ใชไดทั้งฟางขาวเหนียว ฟางขาวจาว ฟางขาว ที่นวดเอา เมล็ดออกแลว และสวนของตอซังเกี่ยวหรือถอนก็ใชไดดีถาเปรียบเทียบวัสดุ ที่ใชในการ เพาะตาง ๆ แลว ตอซังจะ ดีกวาปลายฟางขาวนวดและวัสดุอื่น ๆ มาก เนื่องจากตอซังมีอาหารมากกวาและอุมน้ําไดดี กวาปลายฟาง อาหารเสริม การใสอาหารเสริมเปนสวนชวยใหเสนใยของเห็ดฟาง เจริญไดดี และทําใหไดดอกเห็ดมากกวาที่ ไมไดใสถึงประมาณ เทาตัว อาหารเสริมที่นิยมใชอยูเปนประจําไดแก ละอองขาว ปุยมูลสัตวหรือปุยคอก แหง ไสนุน ไสฝาย ผักตบชวาตากแหงแลวสับ ใหเปนชิ้นเล็ก ๆ จอกแหง และ เศษพืชชิ้นเล็ก ๆ ที่นิ่มและอุมน้ําไดดี เหลานี้ก็มีสวนใชเปน อาหารเสริมได เชนกัน
  • 19. เชื้อเห็ดฟาง ที่จะใชเพาะ การเลือกซื้อเชื้อเห็ดฟางเพื่อใหไดเชื้อเห็ดที่มี คุณภาพดีและเหมาะสมกับราคามี หลักเกณฑการพิจารณา ประกอบดังนี้ คือ- เมื่อ จับดูที่ถุงเชื้อเห็ด ควรจะตองมีลักษณะเปนกอนแนนมีเสนใยของเชื้อเห็ดเดินเต็มกอน แลว- ไมมีเชื้อราชนิดอื่น ๆ หรือเปนพวกแมลง หนอน หรือตัวไร เหลานี้เจือปน และ ไมควรจะมีน้ําอยูกนถุง ซึ่งแสดงวาชื้นเกินไป ความงอกจะไมดี- ไมมีดอกเห็ดอยูในถุง เชื้อเห็ดนั้น เพราะนั่นหมายความวาเชื้อเริ่มแกเกินไปแลว- ควรผลิตจากปุยหมักของ เปลือกเมล็ดบัวผสมกับขี้มา หรือไสนุนกับขี้มา- เสนใยไมฟูจัดหรือละเอียดเล็กเปน ฝอยจนผิดธรรมดาลักษณะของเสนใยควรเปนสีขาวนวล เจริญคลุมทั่วทั้งกอนเชื้อเห็ด นั้น- ตองมีกลิ่นหอมของเห็ดฟางดวย จึงจะเปนกอนเชื้อเห็ดฟางที่ดี- เชื้อเห็ดฟางที่ ซื้อตองไมถูกแดด หรือรอการขายไวนานจนเกินไป- เชื้อเห็ดฟางที่ซื้อมานั้น ควรจะทํา การเพาะภายใน 7 วัน- อยาหลงเชื่อคําโฆษณาใด ๆ ของผูขาย ควรสอบถามจากผูที่ เคยทดลองเพาะมากอนจะดีกวา นอกจากนี้ควร มีการตรวจสอบ เชื้อเห็ดฟางจาก หลายยี่หอ เชื้อเห็ดฟางยี่หอใดใหผลผลิตสูงก็ควรเลือกใชยี่หอนั้นมาเพาะจะดีกวา- ราคาของเชื้อเห็ดฟางไมควรจะแพงจนเกินไป ควรสืบราคาจากเชื้อเห็ดหลาย ๆ ยี่หอ เพื่อเปรียบเทียบดูดวย
  • 20. สถานที่เพาะเห็ด เนื่องจากการเพาะเห็ดฟางเปนการเพาะบน ดิน ดังนั้นเราตองคํานึงถึงสภาพแวดลอมแปลงเพาะนั้นดวยเปนอยางยิ่ง โดยเฉพาะตองเปนบริเวณที่ไมมียาฆาแมลงหรือยากันเชื้อรา น้ําไมทวม ขัง มีการระบายน้ําไดดีและตองเปนที่ไมเคยใชเพาะเห็ดฟาง มากอน ถา เคยเพาะเห็ดฟางมากอนก็ควรจะทําความสะอาดที่บริเวณนั้น โดยการ ขุดผลึกดินตากแดดจัด ๆ ไวสัก 1 อาทิตยเพื่อฆา เชื้อโรค ตาง ๆ บนดิน ที่จะเปนพาหะของโรคและแมลงตอเชื้อเห็ดที่เราจะเพาะในที่ดินนั้นไดดี ขึ้นสรุปแลวที่กองเพาะเห็ดควรเปนสถานที่ที่โลงแจง และที่สําคัญอีกประการหนึ่งก็คือ สภาพดินบริเวณนั้นจะตองไมเค็ม เพราะความเค็ม ของดินจะทําให เสนใยรวมตัวได
  • 21. ไมแบบ ไมแบบที่ใชในการเพาะเห็ดฟางกองเตี้ย ทําจากไมกระดานตอกเปน กรอบแบบลังไมรูปสี่เหลี่ยมคางหมูขนาดของไมแบบ หรือ กรอบลังไมนี้ไมควรใหญหรือ เล็กจนเกินไป ขนาดของไมแบบหรือกรอบลังไมที่ปกติใชกันก็คือมีฐานกวาง 35-40 เซนติเมตร ดานบนกวาง 25-30 เซนติเมตร สูง 35-40 เซนติเมตร ความยาวของแบบ พิมพ กรอบไมนี้ควรจะมีขนาด 1-1.5 เมตรผาพลาสติก เพื่อใชในการคลุมกองเห็ด สวนมากมักจะใชผาพลาสติกใส เพราะราคาถูกและประหยัดดี ซื้อครั้งเดียวก็ใชได หลาย ครั้งบัวรดน้ํา จะเปนบัวพลาสติกหรือบัวสังกะสีก็ใชไดทั้งนั้นขอใหใชตักน้ําไดและรดน้ํา แลวไดน้ําเปนฝอย ๆ ก็ใชไดแลว ปจจุบันที่ทํา มาก ๆ จะใชเครื่องสูบไดโวหรือเครื่องสูบ น้ําฉีดน้ําเปนฝอยรดกองฟางใหเปยกชุมกอนเริ่มการหมักไดก็จะสะดวกดี
  • 22. ปจจัยที่สําคัญในการเพาะเห็ดฟาง 1. สภาพอากาศที่เหมาะสมในการเพาะเห็ดฟาง เห็ดฟางชอบอากาศรอน อุณหภูมิ 35-37 องศาเซลเซียส ขึ้นไดดีทั้งในฤดูฝนและ ในฤดูรอน เพราะอากาศรอนจะชวยเรงการเจริญเติบโตของดอกเห็ดได ดีอยูแลว สวนในชวงอากาศหนาวไมคอยจะดีนัก เพราะอากาศ ที่เย็นเกินไปไมเอื้ออํานวยตอการเติบโตของ ดอกเห็ดฟาง สําหรับทางภาคใตก็สามารถจะเพาะเห็ดฟางไดตลอดทั้งป ถามีฝนตกไมมาก เกินไปนัก จึงเห็น ไดวา การเพาะเห็ดฟางของประเทศไทยเราสามารถเพาะไดตลอดป แตหนาหนาวผลผลิตจะลดนอยลง เนื่องจาก อุณหภูมิต่ํา จึงทําใหราคาสูง หลังฤดูเกี่ยวขาวอากาศรอน ฟางและแรงงานมีมากมีคนเพาะมาก จึง เปนธรรมดาที่เห็ดจะมีราคาต่ําลง ในฤดูฝนชาวนาสวนมากทํานา การเพาะเห็ดนอยลง ราคาเห็ดฟางนั้นก็จะดี ขึ้น 2.เรื่องความชื้น ความชื้นเปนสวนสําคัญในการเพาะเห็ดฟางมากเปนตัวกําหนดการเจริญของ เสนใยเห็ดที่สําคัญถาความชื้นมีนอย เกินไป เสนใยของเห็ดจะเดินชา และรวมตัวเปนดอกไมได ถาความชื้น มากเกินไปการระบายอากาศภายในกองไมดี ถาเสนใยขาด ออกซิเจน ก็จะทําใหเสนใยฝอหรือเนาตายไปน้ําที่ จะแชหรือทําใหฟางชุมควรตองเปนน้ําสะอาด ไมมีเกลือเจือปนหรือเค็ม หรือเปน น้ําเนาเสียที่หมักอยูในบอ นาน ๆ จนมีกลิ่นเหม็น ก็ไมควรจะนํามาใชในการเพาะเห็ดฟางที่ดีนั้น น้ําที่ใชในการงอกเสนใยเห็ดจะมาจาก ในฟางที่อุมเอาไวและความชื้นจากพื้นแปลงเพาะนั้นก็เพียงพอแลว ปกติขณะที่เพาะไวเปนกองเรียบรอยแลว นั้นจึงไมควรจะมีการ ใหน้ํา อีก ควรจะรดเพียงครั้งเดียวคือระหวางการหมักฟางเพาะทํากองเทานั้น หรือ อาจจะชวยบางเฉพาะในกรณีที่ความชื้นมีนอยหรือ แหงจนเกินไป การใหความชื้นนี้โดยการโปรยน้ําจากฝกบัว รอบบริเวณขาง ๆ แปลงเพาะเทานั้นก็พอ 3.แสงแดด เห็ดฟางไมชอบแสงแดดโดยตรงนัก ถาถูกแสงแดดมากเกินไปเสนใยเห็ดอาจจะตาย ไดงาย กองเห็ดฟางเพาะเห็ดหลัง จาก ทํากองเพาะเรียบรอยแลว จึงควรจะทําการคลุมกองดวยผาพลาสติก และใชฟางแหง หรือหญาคาปดคลุมทับอีกเพื่อพรางแสงแดด ใหดวยดอกเห็ดฟางที่ไมโดนแสงแดดจัดมีสีขาว นวลสวย ถาดอกเห็ดฟางโดนแดดแลวจะเปลี่ยนจากสีขาวเปนสีดําเร็วขึ้นกวาปกติ
  • 23. วิธีการเพาะเห็ดฟางแบบกองเตี้ย 1. เตรียมดินใหเรียบ พลิกหนาดินตากแดดไว 3-4 วัน เพื่อฆาเชื้อโรค 2. การเพาะเห็ดฟางแบบกองเตี้ยใชไดทั้งตอซังและปลายฟางถาเปนตอซังแชน้ําพอ ออนตัวก็นํามาเพาะได ปกติประมาณ 1 ชั่วโมง แตถาเปนปลายฟางแข็ง ๆ ควรแช น้ําประมาณ 1-2 วัน หรือจุมน้ําแลวนํามากองสุมกันไว ประมาณ 1 คืนใหอิ่มตัวนิ่ม ดีเสียกอนจึงจะ ใชไดดี ถาเปนผักตบชวาหรือตนกลวยจะสับหรือไมสับก็ได แตตอง แชน้ําพอนิ่ม ปกติแชน้ําประมาณ 1-2 ชั่วโมงแลวนํามาใชกอง ไดเลย 3. ลังจากแชน้ําวัสดุที่จะใชเพาะไดที่แลว ใหนําวัสดุที่ใชเพาะนั้น ใสลงในกะบะไมที่วาง เอาดานกวางซึ่งมีลักษณะปานลงสัมผัสพื้น ใหดานแคบอยูขางบนใสใหสูงประมาณ 4-6 นิ้ว ถาเปนตอซังใหวางโคนตอซังหันออกดานนอกสวนปลายอยูดานใน ใชมือ กดฟาง ใหแนนพอสมควร แตถาเปนปลายฟางควรขึ้นไปย่ําพรอมทั้งรดน้ําใหชุม ขอ ควรระวังอยาใหแฉะหรือแหงจนเกินไป 4. นําอาหารเสริมที่ชุบน้ําแลวโรยเปนแถบกวางประมาณ 2 นิ้ว รอบ ๆ ดานทั้งสี่ดาน หนาประมาณ 1 นิ้ว 5. แบงเชื้อเห็ดฟางจากถุงซึ่งปกติเชื้อเห็ดฟาง 1 ถุง หนักประมาณ 200 กรัม ออกเปน 3-4 สวน เทา ๆ กันจากนั้นโรยเชื้อเห็ดฟาง 1 สวน โดยโรยลงบนอาหารเสริมใหทั่ว และชิดกับขอบของแบบไมทั้งสี่ดานก็เปนการเสร็จชั้นที่ 1
  • 24. 6. ทําชั้นที่ 2 และ 3 หรือ 4 ตอไปก็ทําเชนเดียวกับชั้นที่ 1 ทุกอยาง เมื่อทํามาถึงขั้นสุดทาย ใหโรยอาหารเสริมและเชื้อเห็ดใหเต็ม ทั่วหลังแปลง 7. นําฟางที่แชน้ํามาปดทับใหหนา 1-2 นิ้ว แลวเอาแบบไมออกโดยใชมือขางหนึ่งกดกอง ฟางไวและทํากองอื่นตอ ๆ ไป 8. ทํากองอื่น ๆ ตอไปใหขนานกบกองแรก โดยเวนระยะหางประมาณ 6-12 นิ้ว 9. ชองวางระหวางกองแตละกองสามารถใชใหเกิดประโยชนในการเพิ่มผลผลิตไดอีก โดย อาจจะโรยเชื้อเห็ดฟางลงไปบนชองวาง ระหวาง กอง เพราะบริเวณนี้ก็สามารถทําใหเกิด ดอกเห็ดได จากนั้น รดน้ําดินรอบ ๆ กองใหเปยกชื้น 10. คลุมกองฟางดวยผาพลาสติก โดยใช 2 ผืนเกยทับกันตรงกลางคลุมใหสูงกวากองฟาง เล็กนอยโดยคลุมเปนแถว ๆ ถาอากาศรอน ใหคลุมหาง อากาศเย็นใหคลุมชิดหรืออาจคลุม ติดกองเลย ในกรณี อากาศเย็นจัด การคลุมพลาสติกเปนเรื่องสําคัญที่แตละแหงใน แตละ ฤดูจะตองดัดแปลงไปตามความตองการของเห็ด คือ ชวงระยะแรก ราววันที่ 1-2 เชื้อเห็ด ตองการอุณหภูมิประมาณ 35-38องศาเซลเซียส และ ในวันตอ ๆ มาตองการอุณหภูม ต่ําลงเรื่อย ๆ จนราววันที่ 8-10 ซึ่ง เปนวันที่เก็บผลผลิตนั้นตองการอุณหภูมิราว 30 องศา เซล เซียส 11. นําฟางแหงมาคลุม ทับผาพลาสติกอีกครั้งหนึ่งจนมิดเพื่อปองกันแสงแดด แลวใชของ หนัก ๆ ทับปลายผาใหติดพื้นกันลมตี
  • 25.
  • 26. วิธีการดูแลรักษาเห็ดฟาง การดูแลรักษากองเห็ด ใหใชผาพลาสติกใสหรือสีก็ได ถา เปนผา พลาสติกยิ่งเกาก็ยิ่งดีคลุม แลวใชฟางแหงคลุมกันแดดกันลม ใหอีกชั้นหนึ่ง ควร ระวังในชวงวันที่ 1-3 หลังการกองเพาะเห็ด ถา ภายในกองรอนเกินไปใหเปดผา พลาสติกเพื่อระบายความรอนที่รอน จัดจนเกินไป และใหอากาศถายเทไดสะดวก ขึ้น ดูแลใหดีก็จะเก็บ ดอกเห็ดไดประมาณในวันที่ 8-10 โดยไมตองรดน้ําเลย ผลผลิต โดยเฉลี่ยจะไดดอกเห็ดประมาณ 1-2 กิโลกรัมตอกองการตรวจดูความ รอนในกองเห็ด โดยปกติเราจะรักษา อุณหภูมิในกองเห็ดโดยเปดตากลม 5-10 นาที แลวปดตามเดิมทุกวันเชา เย็น ถาวันไหนแดดจัดอุณหภูมิสูงความรอนในกอง เห็ดมาก ก็ควรเปดชายผาพลาสติกใหนานหนอย เพื่อระบายความรอนใน กองเห็ด วิธีตรวจสอบความชื้นทําไดไดยดึงฟางออกจากกองเพาะ แลวลองบิดดู ถาน้ําไหล ออกมาเปนสายแสดงวาแฉะไป แตถากองฟาง แหงไปเวลาบิดจะไมมีน้ําซึมออกมา เลย ถาพบวากองเห็ดแหงเกินไปก็ควรเพิ่มความชื้นโดยใชบัวรดน้ําเปนฝอยเพียง เบา ๆ ใหชื้น หลังจากทําการเพาะเห็ดประมาณ 1อาทิตย จะเริ่มมีตุมดอกเห็ดสีขาว เล็ก ๆ ในชวงนี้ตองงดการใหน้ําโดยตรงกับดอกเห็ด ถาดอกเห็ด ถูกน้ําในชวงนี้ ดอกเห็ดจะฝอและเนาเสียหาย ใหรดน้ําที่ดินรอบกอง
  • 27. การเก็บเห็ดฟาง เมื่อกองฟางเพาะเห็ดไปแลว 5-7 วัน จะเริ่มเห็นตุมสีขาวเล็ก ๆ เกิดขึ้น ตุมสีขาวเหลานี้จะเจริญเติบโตเปนเห็ดตอไปเกษตรกรจะเริ่ม เก็บเห็ด ไดเมื่อเพาะ ไปแลวประมาณ 7-10 วัน แลวแตความรอน และการที่จะเก็บเห็ดไดเร็วหรือชา ขึ้นอยูกับวิธีการเพาะและฤดูกาล คือ ฤดูรอนและฤดูฝนจะเก็บเห็ดไดเร็วกวาฤดู หนาว เพราะความรอน ชวยเรงการเจรญเติบโตของเห็ดนอกจากนั้น ถาใสอาหาร เสริมดวย แลว จะทําใหเกิดดอกเห็ดเร็วกวาไมใสอีกดวย ดอกเห็ดที่ขึ้นเปนกระจุก มีทั้งออนและแก ถามีดอกเล็ก ๆ มากกวาดอกใหญ ควรรอเก็บเมื่อดอกเล็กโต หรือรอเก็บชุดหลัง เก็บดอกเห็ดขึ้นทั้ง กระจุกโดยใชมือจับ ทั้งกระจุกอยางเบาๆ แลวหมุนซายและขวาเล็กนอย ดึงขึ้นมา พยายามอยาใหเสนใยกระทบกระเทือน
  • 28. ศัตรูของเห็ดฟางและการป้ องกันกําจัดแมลง เช่น มด ปลวก ไรเห็ด วิธีแก้ไขโดยใช้สารเคมีพวก เซฟวินโรยรอบๆ กอง ห่างประมาณ 1 ศอก อย่าโรยในกองทําประมาณ 1 สัปดาห์ ก่อนเริม กองเห็ดและควรจะโรยสารเคมีนีประมาณ 1 สัปดาห์ ก่อนทีจะเริมกองเห็ด แต่อย่าโรยภายในกองเพราะจะมีผล ต่อการ ออกดอก ทังยังมีสารพิษ ตกค้างในดอกเห็ดซึงเกิดอันตรายต่อผู้กินเห็ดคู่แข่ง คือเห็ดทีเราไม่ได้เพาะ แต่ขึนมาด้วย หรือเชือโรค อืนๆ ทีเป็นศัตรูของเห็ดฟาง เช่น พวกราต่าง ๆ วิธีแก้คือการเก็บ ฟางไม่ควรให้ถูกฝน และถ้ามีราขึนให้หยิบฟางขยุ้มนันทิง ให้ไกลกองเพาะ
  • 29. ขอแนะนําเพิ่มเติม 1. ในการเพาะเห็ดฟางแบบกองเตื้ยนั้น หากมีการเพาะหลาย ๆ กองเรียงกันแลว จะสามารถ ใชประโยชนจากเนื้อที่ระหวางกอง แตละกองไดอีกดวย เนื่องจากขณะรดน้ําก็จะมีธาตุอาหาร อาหาร เสริม เสนใยเห็ดที่ถูกน้ําชะไหลลงไปรวมอยูบริเวณพื้นที่ระหวางกอง จึง ทําใหบริเวณนั้นมีอาหาร ครบถวนตอการเกิดดอกเห็ด และยิ่งถาให ความเอาใจใสดูแลอยางดี หมั่นตรวจดูความชื้น อุณหภูมิ ให เหมาะสม ตอการเกิดดอกดวยแลว พื้นที่ระหวางกองนั้นก็จะใหดอกเห็ดได อีกดวย 2. ฟางที่จะใชสําหรับการเพาะนั้นจะใชตอซัง หรือจะใชฟางที่ ไดจากเครื่องนวดขาวก็ได 3. หลังจากเก็บดอกเห็ดหมดแลว ควรเอากองเห็ดหลาย ๆ กอง มาสุมรวมกันเปนกองใหมให กวางประมาณ 80 ซม. ทําแบบการเพาะ เห็ดกองสูง แลวรดน้ําพอชุมคลุมฟางไดสัก 6-8 วัน ก็จะเกิด ดอกเห็ด ไดอีกมากพอสมควรเก็บไดประมาณ 10-15 วันจึงจะหมด วัสดุที่ใชนี้ หลังจากเพาะเห็ดฟางแลว สามารถนําไปเพาะเห็ดอยางอื่นไดอีกดวยโดยแทบไมตองผสมอาหารเสริมอื่น ๆ ลงไปอีกเลย หรือจะใช เปน ปุยหมักสําหรับตนไมก็ได มีคุณสมบัติใกลเคียงกับปุยอินทรียที่ กทม. ขายอยูนั้นมาก 4. เมื่อเก็บดอกเห็ดหมดแลว นําฟางจากกองเห็ดเกานี้ไปหมักเปนปุยหมักใชกับพืชอื่น ๆ ตอไป หรือนําฟางที่ไดจากการเพาะเห็ด ไปเพาะเห็ดนางรม เปาฮื้อ ก็ได 5. การขุดดินตากแดด 1 สัปดาห ยอยใหดินรวนละเอียด จะทําใหผลผลิตเห็ดไดมากกวาเดิม อีก 10-20% เพราะเห็ดเกิดบนดิน รอบ ๆ ฟางได 6. การเปลี่ยนวิธีคลุมกองเห็ดตั้งแตวันที่ 4 นับจากการเพาะ เปนตนไป ใหเปนแบบหลังคา ประทุนเรือจะทําใหไดเห็ดเพิ่มขึ้น
  • 30. คุณค่าทางอาหาร เห็ด ฟางสด เห็ดฟางแห้ง โปรตีน 3.40% 49.04% ไขมัน 1.80% 20.63% คาร์โบไฮเดรท 3.90% 17.03% เถ้า - 13.30% พลังงาน 44 แคลอรี 4170 แคลอรี แคลเซียม 8 มิลลิกรัม 2.35% ของเถ้า เหล็ก 1.1 มิลลิกรัม 0.99% ของเถ้า ฟอสฟอรัส - 30.14% ของเถ้า ค
  • 31. 7.1 สามารถประกอบเปนอาชีพได 7.2 ทําเงินใหกับครอบครัว 7.3 ปลูกเห็ดไวกินเอง 7.4 นําไปเผยแพรใหสังคมไดทราบ