SlideShare a Scribd company logo
1 of 91
Download to read offline
ศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการ
                                  ทางการเคลื่อนไหว



                                               โดย นางสาวสุธิดา สัจจะหฤทัย 49050019
ศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว
ความเปนมาของโครงการ
พญ.ดารณี สุวพันธ ผูอํานวยการศูนยสิรินธรฯ กลาววา อุบัติการณของเด็กที่พิการแตกําเนิดมี
ประมาณ 0.9 คนตอพันของเด็กที่คลอดมีชีพ หรือประมาณ 1,500-2,000 คนตอเด็กไทยที่เกิดใหมใน
แตละป หากรวมยอดสะสมประมาณเปนแสนราย ทั้งนี้หากรวมถึงกลุมเด็กที่มีอาการพิการทางสมอง ซึ่ง
ทําใหเกิดการพิการทางการเคลื่อนไหวดวย หากรวมทั้ง 2 กลุมนี้คาดวาจะมีประมาณ 4-5 แสนคน แต
ทั้งนี้ยังไมเคยมีการเก็บขอมูลดังกลาววามีเด็กที่พิการที่แทจริงจํานวนเทาใด
ในปจจุบันประเทศไทยมีศูนยฟนฟูเฉพาะทางเกี่ยวกับการพิการทางการเคลื่อนไหวยังไมมีเฉพาะมีแต
ศูนยเวชศาสตรฟนฟูสวางนิวาส จ.สมุทรปราการ และศูนยสิรินธรเพื่อการฟนฟูสมรรถภาพทางการ
แพทยแหงชาติ จ.นนทบุรีและสวนมากจะเปนผูใหญมากกวาและอุปกรณและสิ่งอํานวยความสะดวก
ของเด็กก็มีไมเพียงพอตอความตองการของเด็กและศูนยฟนฟูก็ยังมีไมเพียงพอตอจํานวนเด็กพิการที่
มากขึ้นทุกปในทั้งนี้จึงเห็นวาควรทําศูนยฟนฟูตั้งแตยังเด็กเพราะเด็กยังสามารถมีพัฒนาการไดอีกแตถา
เปนผูใหญแลวจะทําใหการรักษาบําบัดทําเปนไปไดยาก


 ศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว
วัตถุประสงคของโครงการ

         1.เพื่อรักษาและบําบัดฟนฟูความพิการทางรางกายของเด็กตั้งแตอายุ 3-6 ป

         2.ใหบริการเปนศูนยกลางในการรักษาเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว

         3. เปนสถานฟนฟูที่ใหบรรยากาศเด็กรูสึกเหมือนอยูบาน

         4.ใหบริการเฉพาะในกรุงเทพและปริมณฑล

         5.เปนสถานที่เด็กไปกลับได


ศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว
วัตถุประสงคของการศึกษา
    1.เพื่อศึกษาถึงลักษณะของเด็กพิการทางการเคลื่อนไหวใหทราบถึงความตองการเพื่อตอบสนองตอ
    ความตองการและพฤติกรรมมาตรฐานตางๆ เพื่อนํามาใชแกปญหาที่เกิดขึ้นใหสามารถตอบสนอง
    ตอความตองการของผูใช

    2.เพื่อศึกษาถึงโครงการ หนวยงาน สภาพการณและปญหาที่เกี่ยวของกับคนพิการทางการ
    เคลื่อนไหว ในปจจุบันเพื่อเปนแนวทางการจัดตั้งโครงการ

    3.เพื่อศึกษาทางดานการออกแบบรายละเอียดสําหรับคนพิการทางการเคลื่อนไหวเพื่อใหเกิด
    บรรยายการที่ดีในการฟนฟู




ศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว
ขอบเขตการศึกษา
  เปนศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหวตั้งแตอายุ 3-6 ขวบ

 1.ศึกษาขอมูลพื้นฐานทั้งหมดที่เกี่ยวของกับการวิเคราะหการออกแบบ

 1.1 ศึกษาถึงเหตุผลและความเปนไปไดในดานตางๆ
 1.2 ศึกษาสภาพแวดลอมและปญหาความตองการที่เกี่ยวกับคนพิการทางการเคลื่อนไหว
 1.3 ศึกษาโครงการที่คลายคลึง เพื่อนํามาเปนแนวทางในการออกแบบ
 1.4 ศึกษาระบบโครงการทุกดานรวมถึงมาตรฐานที่เกี่ยวกับการออกแบบ
 1.5 ศึกษาถึงความเปนไปไดของที่ตั้ง และศึกษาถึงสภาพปญหาของพื้นที่เพื่อในมาประกอบ
 ในการออกแบบ
 1.6 ศึกษาถึงรายละเอียดโครงการ




ศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว
2.ศึกษาระบบตางๆที่ใชภายในอาคาร

     2.1ศึกษาระบบการสัญจร
     2.2 ศึกษาระบบการระบายน้ํา
     2.3 ศึกษาระบบสาธารณูปโภค-สาธารณูปการ


     3.ศึกษางานวางผังบริเวณโดยรอบ

     3.1 สวนบริหารและอํานวยการ
     3.2 สวนบําบัดฟนฟู
     3.3สวนนันทนาการ
     3.4สวนบริการและซอมบํารุง
     3.5สวนลานจอดรถ



ศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว
4.ศึกษาการออกแบบและรายละเอียดตางๆ
  4.1 ออกแบบรายละเอียดองคประกอบทางภูมิสถาปตยกรรม
  4.2 รายละเอียดของระบบตาง เชน ระบบระบายน้ํา ทางเทา
  4.3 ออกแบบการเลือกใชวัสดุกอสราง
  4.4 ออกแบบรายละเอียดพืชพรรณ




ศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว
ขั้นตอนและวิธีดําเนินการศึกษา
  แบงออกเปน 3 ขั้นตอน คือ

  งานขั้นเก็บรวบรวมขอมูล

            1.ศึกษาขอมูลของโครงการ

                      1.หนวยงานตางๆที่เกี่ยวของและรับผิดชอบตอคนพิการ
                      2.ลักษณะโครงการที่เหมาะสม
                      3.ศึกษาถึงบุคลากรที่เกี่ยวของกับเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว
                      4.ศึกษาถึงสาเหตุ ประเภท ลักษณะของการพิการทางการเคลื่อนไหว
                      5.ศึกษาขอมูลทางสถิติตางๆที่เกี่ยวของกับเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว
                      6.ศึกษาโครงการที่เกี่ยวของ



ศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว
1.2 ศึกษาถึงความเปนไปไดของโครงการ

                         1.2.1ศึกษางานดานการบริหารและดําเนินงานในโครงการ

    1.3 ศึกษาที่ตั้งของโครงการ

                        1.3.1 วิเคราะหทําเลที่เหมาะสม
                        1.3.2 ที่ตั้งโครงการและสภาพแวดลอม เชน ตําแหนง อาณาเขต ขนาดและรูปรางของ
                        พื้นที่ ฯลฯ
                         1.3.3 สภาพทั่วไปทางภูมิศาสตร เชน ภูมิประเทศ ภูมิอากาศ สภาพทั่วไปของดิน การ
                        ใชที่ดินพืชพันธในทองถิ่น ทัศนียภาพ




ศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว
1.4 ศึกษารายละเอียดของโครงการเพื่อนําขอมูลมาใชในการออกแบบ
                  1.4.1 วัตถุประสงคของโครงการ
                  1.4.2 การจัดรูปแบบของโครงสรางของโครงการ
                  1.4.3 กําหนดฐานะและรูปแบบโครงการ
                  1.4.4 โครงสรางการบริหาร

       1.5 งานศึกษาประเภทเดียวกัน หรือคลายคลึงกัน




ศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว
แนวทางการจัดกิจกรรมในเด็กกลุมบกพรองทางรางกายหรือสุขภาพชนิดตาง ๆ
1.เด็กสมองพิการแบบแข็งเกร็ง
ในการจัดกิจกรรมสําหรับเด็กในกลุมนี้สิ่งที่จะตองดูแล คือ
•การจัดทาทางที่เหมาะสม
•การนั่งบนเกาอี้จะตองจัดใหเด็กนั่งตัวตรง เทาทั้งสองขางวางราบกับพื้น มีสายรัดตัวเพื่อปองกันการตก มี
โตะวางดานหนาเพื่อรองรับแขนทั้งสองขาง
•การเลนไมควรใหอยูในทาใดทาหนึ่งนานเกิน 20 นาที
•การนั่งกับพื้นไมควรใหเด็กนั่งในทากบ หรือ W sitting เพราะจะสงเสริมใหเด็กเกิดความพิการผิดรูป ควร
แนะนําใหเด็กนั่งขัดสมาธิ นั่งพับเพียบ หรือนั่งเหยียดขา กิจกรรมที่ใหควรสงเสริมการเคลื่อนไหวของมุม
ขอตาง ๆ ใหกวางขึ้น เชน วางตําแหนงของกิจกรรมใหสูงขึ้น หรือวางใหหางจากลําตัวมากขึ้น เพื่อใหเด็ก
พัฒนาความสามารถในการเคลื่อนไหวในทุกทิศทาง
ของเลนหรือวัตถุตาง ๆ ที่ใชในการเลนควรมีขนาดใหพอเหมาะกับมือใหเด็กสามารถกําและปลอยไดงาย
ของเลนขนาดเล็กเกินไปเด็กจะตองใชความพยายามในการหยิบจับเนื่องจากเด็กมีการเกร็งกลามเนื้อ สวน
ของเลนที่ใหญเกินไปทําใหเด็กหยิบจับไดไมมั่นคง
 ศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว
2. เด็กสมองพิการแบบสั่นหรือไมสามารถควบคุมแขนและมือได
เด็กในกลุมนี้จะมีการเปลี่ยนแปลงความตึงตัวของกลามเนื้อไปมาทําใหบางครั้งเด็กไมสามารถที่จะควบคุม
การทํางานของแขนและมือใหอยูนิ่งได ดังนั้นแนวทางในการในชวยเหลือ คือ
• การจัดทาทางใหเหมาะสมดังที่กลาวในขางตน
• จัดวางตําแหนงของกิจกรรมใหอยูในแนวกึ่งกลางและดานของลําตัว เนื่องจากเด็กในกลุมนี้การ
      เคลื่อนไหวของแขนและมือจะเปะปะไปทั่ว
• ใชของเลนที่มีน้ําหนัก
• ใชถุงทรายหรือถุงน้ําหนักถวงบริเวณขอมือเพื่อลดการสั่นและใหเด็กสามารถควบคุมแขนและมือ
      ไดดีขึ้น
• เนนใหเด็กนําวัตถุไปยังเปาหมายตาง ๆ ใหแมนยํา




 ศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว
3. เด็กอัมพาตครึ่งซีก
 ภายหลังจากการที่เสียหนาที่ของสมองซีกใดซีกหนึ่งแลวจะสงผลใหการทํางานของรางกายดานตรงขาม
 สูญเสียการหนาที่ไปจึงทําใหเกิดการเสียสมดุลของรางกาย ขาดความสามารถในการใชมือ การเดินลด
 นอยลง ดังนั้น จึงมีวิธีการชวยเหลือเด็กในกลุมนี้ คือ
 •การจัดทานั่งใหเหมาะสม คือ จัดใหเด็กนั่งพับเพียบมาดานของแขนขางที่เปน (Effected side) โดยการ
 จัดใหมีการเหยียดแขน เหยียดศอก กระดกขอมือ นิ้วมือกางและวางราบกับพื้น และกระตุนใหมีการลง
 น้ําหนักมาทางแขนดานที่เสีย ดังรูป
 •จัดใหเด็กนั่งบนโตะ เกาอี้ควรมีความสูงพอเหมาะกับเด็ก มือทั้งสองขางวาวบนโตะ กระตุนใหเด็กใชทั้ง
 สองมือในการทํากิจกรรม ถาเด็กใชมือขางเดียวจะตองจัดทาของแขนขางที่เปนใหคลายตัวโดยจัดให
 ไหลโนมมาดานหนา วางขอศอกบนโตะ กางนิ้วมือวางบนโตะอยูเสมอ ดังรูป
 •เนนการจัดกิจกรรมที่ใชสองมือรวมกัน เชน การโยนบอลโดยใชมือสองขางการเลนของเลนที่ไขลาน
 •ใชผาขนหนูที่หยาบจนถึงละเอียด เช็ด ลูบ บริเวณผิวหนังดานที่เปนเพื่อกระตุนอวัยวะรับความรูสึกของ
 ผิวหนัง
 •จัดทาในการเลนซึ่งอาจะจัดในทายืนบนเขา ทายืน กระตุนใหเด็กมีการลงน้ําหนักมาทางดานที่เปน ฝก
 การทรงตัวในทาตาง ๆ มีการบิดตัวซายขวาเพื่อเปนกระตุนการรับรูความรูสึกจากเอ็นและขอ ดังรูป

ศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว
กลุมเด็กพิการทางกายและการเคลื่อนไหวที่นักกิจกรรมบําบัดเขาไปชวยเหลือ
1.   เด็กสมองพิการ (Cerebral Palsy) : CP
2.   เด็กที่มีพัฒนาการลาชากวาวัย (Delay development)
3.   เด็กที่มีการยึดติดของขอและกลามเนื้อ : AMC
4.   เด็กที่ไดรับบาดเจ็บทางไขสันหลัง : Spianl cord Injury
5.   เด็กไขสันหลังฝอ : SMA
6.   เด็กที่มีปญหาการรับรูทางสายตา
7.   เด็กที่มีปญหาในทักษะการใชดินสอและการเขียน
8.   เด็กที่ตองการอุปกรณชวยในการทํากิจวัตรประจําวัน




ศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว
เปาหมายการใหบริการทางกิจกรรมบําบัดในเด็กบกพรองทางรางกายหรือสุขภาพ
            เมื่อนักกิจกรรมบําบัดไดประเมินเด็กเพื่อคนหาปญหาของเด็กแลว ขั้นตอไป คือ การแจงปญหา
และการวางเปาหมายในการรักษา รวมทั้งวางแผนกิจกรรมที่จะใชเพื่อบําบัดรักษาปญหาของเด็กแตละคน
ซึ่งเปาหมายการรักษาจะครอบคลุมในหัวขอตอไปนี้
1. พัฒนาทักษะการทํางานของกลามเนื้อมัดใหญและกลามเนื้อมัดเล็ก (Improving gross and
     fine motor skill)
2. พัฒนาความสามารถในการทํากิจวัตรประจําวันดานตาง ๆ (Improving activitites of daily
  living)
3. พัฒนาความแข็งแรงและความทนทานของกลามเนื้อโดยเฉพาะกลามเนื้อแขนและมือ (Improving
 muscle strength / endurance)
4. พัฒนาความสามารถของรางกายโดยใชอุปกรณชวยและอุปกรณเสริม (Improving of
  adaptive equipment / devices)
5.    ปองกันความพิการที่อาจจะเกิดขึ้น (Prevention of further dysfunction)
6.    ปองกันความพิการผิดรูปของรางกาย (Prevention of deformities)
7.    พัฒนาชวงการเคลื่อนไหวของขอตอ (Improving range of motion)
8.    พัฒนาทักษะการเคี้ยว การกลืน และลดภาวะน้ําลายไหล

 ศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว
ศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว
ลูกบอล(Blowster ball)
  ใชฝกกระตุนพัฒนาการตางๆ เชนการกลิ้ง
การพลิกตะแคงตัว การนั่งการชันคอเพิ่มความ
แข็งแรงของกลามเนื้อหลัง ฝกการลงน้ําหนัก ฝกการ
ทรงตัวในทานั่ง กระตุนการรับรูและทิศทาง



                                                                                     ราวฝกเดิน
                                                ใชฝกการทรงตัวซึ่งมีความมั่นคงมากกวาอุปกรณ
                                               ชนิดอื่น เชนไมค้ํายัน เหมาะสําหรับการเริ่มฝกเดิน
                                               ชีวิตประจําวันชีวิตประจําวันเพื่อกระตุนพัฒนาการ
                                                           ทางดานการเคลื่อนไหว ฝกการทรงตัว
ศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว
ถุงหนังบรรจุเม็ดเหล็กกลม (Sand bag)
             ใชฝกรวมกับอุปกรณอื่นไดโดยมีน้ําหนักตั้งแต
       0.5 , 1 , 1.5 , 2 ,2.5 , 3 กิโลกรัม เพื่อใชถวงน้ําหนัก
       ในสวนตางๆของรางกาย ตามที่ตองการเพื่อเปนการ
       ฝกการทรงตัว เพิ่มความแข็งแรงของกลามเนื้อแขน
       และขา
                                                                           กระดานฝกกลามเนื้อขา
                                                         อุปกรณชิ้นนี้ใชรวมกับถุงทราย โดยใชเด็กนอน
                                                บนเตียงวางขาบนอุปกรณชิ้นนี้ ใหบริเวณขอพับชวงเขาอยู
                                                ตรงมุมแหลมสวนบนของอุปกรณ
                                                โดยใชถุงทรายผูกที่ขอเทาแลวเตะขาขึ้นโดยที่เขาวางที่เดิม
                                                 การเพิ่มระดับความยาก และเพิ่มความแข็งแรงของกลามเนื้อ
                                                สามารถทําไดโดยปรับมุมความสูงของกระดาน เพิ่มขนาด
                                                น้ําหนักของถุงทราย หรือเพิ่มจํานวนครั้งของการยก
ศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว
ศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว
ศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว
ศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว
ศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว
ศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว
ศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว
ศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว
ศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว
ศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว
ภาวะสมองพิการ ( Cerebral palsy )
             ภาวะสมองพิการเปนกลุมอาการที่มีสาเหตุจากความผิดปกติหรือมีการทําลายในสวน
 ของสมองของเด็กที่กําลังเจริญเติบโต       ซึ่งสามารถเกิดขึ้นไดกับเด็กในชวงนับตั้งแตอยูในครรภ
 มารดาจนกระทั่งเด็กอายุ 7 ป ซึ่งความผิดปกติของสมองที่เกิดขึ้นนี้จะไมมีการลุกลามมากขึ้น
 สาเหตุของการเกิดภาวะสมองพิการ
             ภาวะสมองพิการเกิดจากมีความผิดปกติของการเจริญเติบโตของสมอง หรือภาวะขาด
 เลือดไปเลี้ยงสมอง ตลอดจนสาเหตุใดๆ ก็ตามที่ทําใหมีการทําลายในสวนของสมอง ซึ่งอาจจะแบง
 สาเหตุของการเกิดภาวะสมองพิการออกไดเปน 3 ชวงระยะเวลา คือ
 1. ระยะกอนคลอด คือระยะที่ทารกยังอยูในครรภมารดาในชวง 3 เดือน และ 6 เดือนแรก
 ซึ่งสาเหตุของความพิการอาจเกิดจากตัวมารดาหรือทารกเอง
 2. ระยะระหวางคลอด คือ ระยะที่ทารกอยูในครรภมารดา ชวง 3 เดือนหลัง และระยะระหวางคลอด
 จนถึงเมื่อทารกอายุ 1 สัปดาหหลังคลอด สาเหตุของความพิการอาจเกิดได
  3. ระยะหลังคลอด คือ ระยะการเจริญเติบโตของเด็ก ตั้งแตอายุ 1 สัปดาหเปนตนไป สาเหตุของภาวะ
  สมองพิการในชวงระยะนี้

ศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว
ชนิดของภาวะสมองพิการในเด็ก
         การแบงชนิดของภาวะสมองพิการในเด็กสามารถแบงได ดังนี้
     1. แบงตามลักษณะความผิดปกติของกลามเนื้อและการเคลื่อนไหว
        1.1 ภาวะสมองพิการชนิดหดเกร็ง เปนลักษณะที่พบไดมากที่สุด คือ ประมาณสามในสี่ของผูเด็ก
สมองพิการทั้งหมด โดยจะพบอาการเกร็งกระตุกของกลามเนื้อ แขน ขา ลําตัว และมักจะมีปญหาแทรก
ซอนคือขอยึดติด
     1.2 ภาวะสมองพิการชนิดอะทีตอยด เด็กกลุมนี้จะมีการเคลื่อนไหวของแขน-ขาและลําตัวที่
          ผิดปกติ มีการเคลื่อนไหวของรางกายที่ควบคุมไมได ซึ่งจะเกิดกับสวนของศีรษะ ปลายแขน
          และปลายขามากกวาสวนอื่น ๆ
     1.3 ภาวะสมองพิการชนิดอะแท็กเซีย เด็กจะมีปญหาเกี่ยวกับการทํางานประสานกันของกลามเนื้อ
          เด็กจะมีอาการสั่น การทรงตัวไมคอยดี
     1.4 ภาวะสมองพิการชนิดออนปวกเปยก เปนอาการแสดงในเด็กที่มีอายุนอย เด็กจะมีลักษณะแขน
           ขา ลําตัวออนปวกเปยก แตเมื่อเด็กอายุเพิ่มขึ้น ความตึงตัวของกลามเนื้อจะเพิ่มขึ้น ดังนั้นจะทํา
           ใหเด็กมีอาการหดเกร็งหรืออาการอะทีตอยดตามมา

 ศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว
1.5 ภาวะสมองพิการแบบผสมเด็กบางรายอาจมีลักษณะผิดปกติดังกลาวเบื้องตน
    ปนกัน ที่พบบอยคือ แบบหดเกร็งรวมกับแบบอะทีตอยด
          1.6 ภาวะสมองพิการไฮเปอรไคเนเซีย เปนภาวะที่เด็กมีการเคลื่อนไหวมากกวา
    ปกติ เด็กจะไมอยูนิ่ง ทําอะไรเร็ว ๆ โดยขาดการควบคุม การใชมือไมดี มักโยนหรือ
    เหวี่ยงของเลน เด็กจะวิ่งมากกวา      เดิน ขณะวิ่งจะลมบอย เพราะการทรงตัวไมดี




ศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว
การดูแลรักษาเด็กสมองพิการ
             เนื่องจากเด็กมีความผิดปกติรวมกันหลายอยาง การรักษาเด็กสมองพิการจึงตองอาศัยการ
  ดูแลเปนพิเศษ เพื่อใหเด็กเติบโต และสามารถชวยเหลือตนเองไดมากที่สุด ซึ่งตองอาศัยความรวมมือ
  ในการรักษาระหวางแพทยผูเชี่ยวชาญหลายสาขา นักกายภาพบําบัด นักกิจกรรมบําบัด นักอรรถบําบัด
  นักสังคมสังเคราะห ครู และที่สําคัญที่สุดคือ ผูปกครองเด็กพิการ ซึ่งเปนผูที่มีบทบาทมากที่สุดในการ
  ดูแลรักษา โดยเนนที่การสรางความเขาใจและความสัมพันธที่ดีกับเด็ก รวมทั้งสรางสิ่งแวดลอมใน
  ครอบครัวใหเหมาะสมสําหรับเด็กพิการ

  หลักการดูแลรักษาเด็กสมองพิการ
  1. รักษาความพิการหรือปญหาทางกาย
  2. ฝกหรือกระตุนเด็กใหมีพัฒนาการใกลเคียงเด็กปกติมากที่สุด




ศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว
โรคไขสันหลัง ฝ อ                             ( Spinal Muscular Atrophy )

            โรคไขสันหลังฝอ เปนโรคทางพันธุกรรมที่พบไดไมบอยนัก เปนโรคที่มีการเสื่อมสลาย
 ของกลุมเซลลประสาทสวนหนาของไขสันหลัง           และบางครั้งอาจพบที่เซลลประสาทยนตของ
 เสนประสาทสมอง ผูปวยจะมีความตึงตัวของกลามเนื้อลดลงไปเรื่อย ๆ และมีการออนแรงของ
 กลามเนื้อ โดยมากมักจะเกิดการออนแรงของกลามเนื้อสวนปลายแขน ขา มากกวาสวนตนแขน ตน
 ขา แลขามักจะออนแรงมากกวาแขน สวนการรับรูสัมผัสจะปรกติ
            โรคไขสันหลังฝอ ถายทอดทางพันธุกรรม พบไดในเพศชายและเพศหญิงเทา ๆ กัน แต
 จะมีอาการรุนแรงมากในเพศชาย จะพบคนเปนโรคไขสันหลังฝอ 1 คน ในจํานวนคน 15,000 คน
 แตพบวาคนที่เปนพาหะของโรคมีจํานวนมากกวาคือพบ 1 คน ใน 80 คน




ศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว
การรักษา
•เนื่องจากเด็กที่เปนโรคไขสันหลังฝอ จะมีอาการออนแรงของกลามเนื้อ ทําใหเด็กไมสามารถใชงานใน
อวัยวะนั้นๆ ไดอยางเต็มที่ จึงมักเกิดการหดรั้งของกลามเนื้อตามมา โดยมากมักเกิดกับกลามเนื้องอขา
ดังนั้นจึงมีความจําเปนตองปองกันการยึดกลามเนื้อแขน และขา เปนประจํา และใหนอนคว่ําบอย ๆ
เพื่อยึดกลามเนื้องอสะโพก
•สงเสริมใหเด็กทํากิจกรรมตาง ๆ เทาที่เด็กมีศักยภาพที่จะทําได เพื่อคงกําลังของกลามเนื้อ และ
ความสามารถในการชวยเหลือตนเอง ทั้งในเรื่องของการเคลื่อนยายตัวเองและการทํากิจวัตรประจําวัน
•แนะนําและฝกการใชอุปกรณเครื่องชวยตาง ๆ เชน รถเข็น ประกับขา (เบรส)
•จัดทาทางที่เหมาะสมในทาตาง ๆ โดยเฉพาะทานั่ง เนื่องจากอาจเกิดหลังคดได จากการที่เด็กนั่งตัว
เอียง และหลังงอเปนเวลานาน




ศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว
โรคกระดูกออน                             ( Osteogenesis Imperfecta )

                โรคกระดูกออนเปนโรคที่ถายทอดทางพันธุกรรม ซึ่งสามารถพบไดทั้งในเพศหญิงและ
     เพศชาย โรคกระดูกออนเกิดขึ้น เนื่องจากความผิดปกติในการสรางเซลลของกระดูก ซึ่งผูที่เปนโรค
     นี้จะมีกระดูกที่เปราะบาง ไมแข็งแรง กระดูกเกิดการแตกหักงาย
     ระดับความรุนแรงของโรคกระดูกออน สามารถแบงได 3 ระดับ คือ
     1. ระดับที่มีความรุนแรงมากที่สุด พบวามีการแตกหรือหักของกระดูกในขณะที่เด็กอยูในครรภ ซึ่ง
         พบวาสามารถเปนอันตรายถึงชีวิตได
     2. ระดับที่มีความรุนแรงปานกลาง พบวามีการแตกหรือหักของกระดูกขณะที่มีอายุอยูในชวงวัยเด็ก
         เล็ก หรือวัยกอนเขาเรียน ซึ่งการแตกหรือหักมักพบในกระดูกทอนยาว ความผิดปกติที่พบคือ จะ
     เกิด การผิดรูปของกระดูกแขนหรือขา รางกายจะมีการเจริญเติบโตชากวาปกติเมื่อเทียบกับอายุ
     3. ระดับที่มีความรุนแรงนอยที่สุด พบวามีการแตกหรือหักของกระดูกขณะที่เด็กมีอายุในชวงวัย
     เรียน



ศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว
การรักษา
 ทางการแพทย
 •แกไขการผิดรูปของกระดูก
 •รักษาการแตกหรือหักของกระดูก
 •ใหเครื่องดามเพื่อแกไขการผิดรูปของกระดูก
 •ใหอุปกรณชวยหรืออุปกรณเสริม เชน เหล็กประกับขา เพื่อชวยในการเคลื่อนยายตัวเอง
 ทางกายภาพบําบัด
 •ออกกําลังกายเพื่อเพิ่มความแข็งแรงของกลามเนื้อ และเพิ่มชวงในการเคลื่อนไหว
 •ฝกเดินและการเคลื่อนยายตัวเอง
 •แนะนําวิธีการใชอุปกรณเสริมตาง ๆ เชน เหล็กประกับขา
 •ใชความรอนและความเย็นในการรักษา เพื่อชวยเพิ่มชวงการเคลื่อนไหวและลดบวม เชน หากเกิดการหัก
 ของกระดูก ควรจะใชแผนเย็นหรือน้ําแข็งประคบกอนเพื่อลดการคั่งของเลือด และลดบวม เมื่อกระดูกติด
 ดีแลวอาจใชแผนรอนหรือกระเปาไฟฟาประคบ เพื่อลดการปวดและชวยเพิ่มการเคลื่อนไหวของขอตอ
 •ธาราบําบัด เพื่อเพิ่มความแข็งแรงของกลามเนื้อและเพิ่มการเคลื่อนไหวของขอตอ
 •ใหคําแนะนําในการดูแลสําหรับครอบครัวอของเด็กที่เปนโรคกระดูกออน

ศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว
เด็กพิการแขน ขาแตกําเนิด
สาเหตุของแขนขาพิการแตกําเนิด
              ในการศึกษาถึงสาเหตุความพิการของแขน ขา แตกําเนิด เชื่อวาความพิการของแขนขาจะ
เกิดขึ้นในระยะที่เด็กเปนตัวออนอยูในครรภ หรือในระหวาง 8 สัปดาหหลังจากปฏิสนธิ ซึ่งเปนระยะที่
ตัวออนมีการแบงตัวและสรางเซลลตาง ๆ จากการรวบรวมขอมูล พอที่จะสรุปสาเหตุที่อาจทําใหเด็กเกิด
มาแขน ขาพิการได คือ
1. การที่มารดาไดรับสารเคมีหรือยาบางชนิดในขณะมีครรภ มารดาควรหลีกเลี่ยงการใชยาโดยไม
       จําเปน และหากมีความจําเปนตองใชยาควรจะปรึกษาแพทยกอน นอกจากนี้สารเคมีที่ปนเปอนมากับ
       ผัก หรือผลไม เชน สารปรอท สารตะกั่ว อาจเปนสาเหตุที่เกี่ยวของกับความพิการได
2. มารดามีอาการตกเลือดในระยะแรกของการมีครรภ
3. โรคติดเชื้อ เชน หัดเยอรมัน
4. มีความผิดปกติของฮอรโมนมารดา
5. มารดาไดรับสารกัมมันตภาพรังสี เชน รังสีเอกซ
6. อุบัติเหตุหรือการกระทบกระแทกโดยตรง
7. ความผิดปกติของยีนและโคโมโซน
8. ภาวะทุพโภชนาการของมารดา
ศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว
ลักษณะของแขนขาที่พิการแตกําเนิด
          สามารถแบงไดเปน 2 ลักษณะใหญ ๆ คือ
1. ลักษณะความพิการแบบแขนขาสวนปลายถูกตัดหายไป เปรียบคลายกับการถูกขวานฟน ทําใหแขน
   ขา สวนปลายขาดหายไป เหลือเพียงสวนตอแขน หรือตอขา
2. ลักษณะความพิการแบบแขน ขาบางสวนขาดหายไป แตสวนปลายลงไปยังเจริญเติบโต เปรียบ
   เหมือนกับถูกสัตวรายขบกัด ทําใหมีบางสวนขาดหายไป แตบางสวนยังเหลืออยู

 แนวทางในการใหการรักษาและฟนฟู
 •ผาตัดแกไขหรือตบแตงตอแขน หรือตอขา เพื่อสะดวกในการทําแขนเทียม หรือขาเทียม ซึ่งแพทยผูทํา
 การผาตัดจะพิจารณาถึงวิธีการเปนเฉพาะกรณีของผูพิการ
 •ฝกการใส และฝกการใชงานของแขน ขาเทียม
 •ฝกทักษะและความสามารถพิเศษ เชน ฝกการใชอวัยวะที่เหลืออยูในการทํางานทดแทนสวนที่ขาด
 หายไป
 •ฝกการชวยเหลือตนเองในการทํากิจวัตรประจําวัน

ศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว
การบาดเจ็บไขสันหลัง
                 ไขสันหลังเปรียบเสมือนสายโทรศัพท ที่ใชติดตอสั่งการและรับรูเรื่องราวตาง ๆ จากที่
    หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่ง เมื่อสายโทรศัพทขาดหรือชํารุดจึงทําใหไมสามารถรับหรือสงขอความได
    หรือรับสงไดแบบกระทอนกระแทน ไมชัดเจน ที่เปนเชนนี้เพราะไขสันหลังประกอบดวยใย
    ประสาทที่เชื่อมติดตอกับสมองที่เปนศูนยกลางของความคิดอานทําหนาที่รับรูและสั่งการมายัง
    เซลลประสาทที่อยูในไขสันหลัง ซึ่งเซลลประสาทเหลานี้มีใยประสาทสงตอไปควบคุมกลามเนื้อที่
    อวัยวะตาง ๆ ของรางกาย เมื่อทุกอยางปกติสมองสามารถรับความรูสึกจากผิวหนังได และสั่งการ
    ใหอวัยวะตาง ๆ ทํางานดังที่ใจนึก แตเมื่อใดไขสันหลังไดรับบาดเจ็บ ชอกช้ํา ใยประสาทรับ
    ความรูสึกขาด เราจะไมสามารถรับรูวามีสิ่งเรามากระทบผิวหนัง นั้นคือ หมดความรูสึก หรือ
    รับรูไดแตนอยกวาปกติที่เรียกวาชา สวนใยประสาทสั่งการหรือเซลลประสาทสั่งการที่ไขสันหลัง
    เมื่อไดรับบาดเจ็บหรือถูกทําลายสมองไมสามารถสั่งการใหกลามเนื้อหดตัว ขอไมเคลื่อนไหวอยาง
    ที่ตองการซึ่งเราเรียกสภาวะนี้วา เปนอัมพาต ถายังพอขยับเขยื้อนไดบางเรียกวา ออนแรง



ศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว
ความผิดปกติทางการพูด                         (Communication Disorders)

           หมายถึง ความผิดปกติซึ่งเกิดจากการพูดผิดปกติในดานความชัดเจนในเรื่องการเปลงเสียง
  สระ พยัญชนะ การใชเสียง จังหวะและความคลองในการพูด การใชภาษาและความเขาใจ ภาษาพูด
  ตลอดจนความผิดปกติที่เกี่ยวกับการไดยิน
  หมายเหตุ ความผิดปกติทางการพูดมีความหมายเชนเดียวกับความผิดปกติในการสื่อความหมาย




ศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว
ประเภทของความผิดปกติทางการพูด                 (Types of Speech Disorders)
 มี 5 ประเภท

   1. พูดชา (Delayed Speech) อายุในการพูดไมเหมาะสมกับวัย
   2. พูดไมชัด (Articulatory Disorders) การเปลงเสียง เชน กิน      อิน ฯลฯ
   3. เสียงผิดปกติ (Voice Disorders) ความผิดปกติที่เกี่ยวของกับการทํางานของสายเสียง เชน
      เสียง เสียงแหบ – หาว พูดไมมีเสียง เสียงแตก ฯลฯ
   4. ความผิดปกติทางภาษา (Language Disorders) เปนความผิดปกติทางการับรู และแปล
   ความหมายของคําพูด เชน ใชภาษาพูดไมถูกตองตามหลักไวยากรณ มีความผิดปกติในการรับฟง
   5. มีความผิดปกติเกี่ยวกับความคลองในการพูดและจังหวะ เชน พูดติดอาง




ศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว
ปญหาการพูดของเด็กสมองพิการ
    1. บางรายมีปญหาการควบคุมอวัยวะที่ใชเปลงเสียง ทําใหพูดลําบาก พูดไมชัด ฟงเขาใจยาก
    2. มีปญหาในการเขาใจคําพูด ทั้ง ๆ ที่หูไดยิน
    3. พูดไมไดทั้ง ๆ ที่เขาใจ สังเกตไดจากการที่ทําตามคําสั่งถูกตอง
    4. ถาพูดไดอาจพูดเหมือนเปนประโยค แตมีคําที่มีความหมายเพียงไมกี่คํา หรือ ใชคําสลับที่กัน




ศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว
การวิเคราะหโครงการ
  โครงการประเภทเดียวกันในประเทศ
              ศูนยสิรินธรเพื่อการฟนฟูสมรรถภาพทางการแพทยแหงชาติ

                  ศูนยฟนฟูสวางคนิวาส

  โครงการประเภทเดียวกันในตางประเทศ
                National Rehabittation Center For Disable
                Rehabittation roof garden Patricia Neal Rehabittation Center


ศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว
ศูนยสิรินธรเพื่อการฟนฟูสมรรถภาพทางการแพทยแหงชาติ

ที่ตั้ง : ซอยโรงพยาบาลบําราศนราดูร ถนนติวานนท อําเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี
บริเวณกระทรวงสาธารณสุข

พื้นที่ : 33 ไร

ลักษณะโครงการ
ศูนยสิรินธรเพื่อการฟนฟูสมรรถภาพทางการแพทยแหงชาติเปนหนวยงานระดับกอง
สังกัดกรมการแพทยกระทรวงสาธารณะสุข มีจุดหมายในการเปนศูนยกลางของ
ภาครัฐในการรับผิดชอบทางวิชาการและการประสานงาน เพื่อพัฒนางานฟนฟู
สมรรถภาพผูปวยและผูพิการของประเทศไทย โดยดําเนินการภายใตแผนพัฒนา
เศรษฐกิจ และ สังคมแหงชาติ และ แผนเเมบทการฟนฟูสมรรถภาพคนพิการแหงชาติ
ศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว
ภารกิจขององคกรแบงไดเปน 2 สวนคือ
•การวิจัยและพัฒนาองคความรู เทคโนโลยี รูปแบบ และ โปรแกรมการฟนฟู
สมรรถภาพผูปวย ผูพิการ ที่มีคุณภาพ ประสิทธิภาพ และ เหมาะสมกับสังคมไทย

•การสนับสนุนและการถายทอดทางวิชาการเพื่อการพัฒนาบริการฟนฟูสมรรถภาพ
ผูปวย ผูพิการในสวนภูมิภาค เพื่อใหเกิดการกระจายการบริการ จนผูปวย/ผูพิการที่
ตองการรับบริการสามารถเขาถึงได
เทาเทียมกัน ทั่วประเทศ




ศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว
สวนประกอบโครงการ
 •สวนอาคารผูปวยนอก
     สวนรักษาทางการแพทยและสวนบริหาร

   -โรงอาหาร รานคาสวัสดิการ                  -สวนกายภาพบําบัด กิจกรรมบําบัด
   -สวนอาชีวะบําบัด                           -สวนกายอุปกรณ
   -งานวิชาการ                                 -หอพักผูปวยหญิง
   -หอพักผูปวยชาย                            -อาคารโภชนาการกลาง
   -อาคารซอมบํารุง                            -หองเครื่องอาคารเก็บของ
   -อาคารซักฟอก                                -หองเก็บศพ
   -อาคารกีฬาในรม                             -สนามฟุตบอล



ศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว
ศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว
ลักษณะการวางผัง
   มีการจัดแบงพื้นที่ใชสอยเปน 2 สวน อยางชัดเจน คือสวนที่ทําการ บําบัด กับสวนที่พักผูปวย โดย
  แบงกลางดวยทางเดินหลัก กวาง 3 เมตร จัดกลุมตามลําดับการเขาถึง และ สะดวกตอการติดตอ เชน
  สวน service ที่สามารถติดตอโดยตรงกับสวนที่พักผูปวย โดยไมตองผานถนน และ สวนอื่น ๆ กอน
  จัดกลุมอาคารที่ใชสอยโดยผูปวยใหอยูในกลุมเดียวกัน มีทางสัญจรเชื่อมถึงกันโดยไมผานทางรถ
  (ยกเวนสวนของโรงอาหารที่สรางขึ้นมาทีหลัง ที่แยกตัวออกไปทําใหเกิดความยากลําบากในการ
  สัญจรของผูใช
      ( Wheelchair ) มีการเชื่อมตอ open space ของสนามกับสวนของโรงพยาบาลศรีธัญญา สราง
  มุมมองที่ดีใหกับบริเวณทาง สัญจรหลัก ผูปวยจะใชบริเวณทางสัญจรนี้เปนพื้นที่พักผอน อาน
  หนังสือ และ พบญาติมิตร ยังไมคอยมีการคํานึงถึงการสรางสภาพแวดลอมที่ดีมากนัก เชนทางรถที่
  ผานสวนที่พักผูปวยตลอดเวลา และการวาง สวน service ที่เกิดเสียงรบกวน (โภชนาการ) ไวใกล
  ผูปวยเกินไป



ศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว
รูปแบบการสัญจร
      ทางเดินสัญจรวางตัวในลักษณะเปนเสนแลวทางแยก อาจสะดวกในดาน orientation แตในแง
การติดตอกันจะไมสะดวกเพราะระยะทางที่ยืดยาว ตองเดินยอนกลับทางเดิมตลอดเวลา
      การขึ้นลงอาคารของผูปวย wheelchair เสนทางหลักคือ ramp ระหวางกึ่งกลางหมายเลข 1 และ
2 แตทDrop off รถยนตที่มีหลังคาคลุม อยูบริเวณหนาตึกผูปวยนอก ซึ่งไมสัมพันธกัน และ ramp ที่
       ี่
ขึ้นอาคาร บริเวณจุด drop off ก็มีความชันเกินมาตรฐานเนื่องจากไมไดออกแบบพื้นที่เผื่อไว
      การสัญจรทางตั้งระหวางชั้น และ สําหรับผูปวย wheelchair สวนใหญใชทาง ลิฟทซึ่งอยู
กึ่งกลางระหวางหอพักชายและหญิงเปนหลัก มีการทํา ramp เชื่อมในระดับความชัน 1 : 12 ที่ผูใช
wheelchair ที่ฝกหัดแลวสามารถขึ้นไดดวยตัวเอง แตเมื่อสังเกตการใชงานแลว ผูที่ใช ramp กลับเปน
คนปกติมากกวา อาคารเก็บศพวางตัวอยูที่ปลายสุดทางเดินที่จะไปอาคารกีฬาในรม ใหบรรยากาศไม
ดี




ศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว
ลักษณะรูปแบบการและการวางตัวอาคาร
  อาคารสวนใหญสูง 2 ชั้น วางอาคารตาม orientaion แนว ตอ – ตต. แตภายในอาคาร
  ยังไมคํานึงถึงกับการรับแสงธรรมชาติมากนัก
  ลักษณะอาคาร ที่ทําการบําบัด จัดวางแบบ open plan ยืดหยุนการใชงานของผูปวย
  อาคารที่พักผูปวย จัดแบบsingle corrdor รับลมธรรมชาติ พื้นที่ชั้นหนึ่งสูงขึ้นจาก
  พื้น 1 เมตร เพื่อปองกันน้ําทวม ทําใหดูตัดขาดจากพื้นดิน ผูปวยไมสามารถ ลงไปที่
  สนามที่เห็นอยูขางหนาโดยตรงได แตตองเดินออมไปลงที่อาคารกีฬาในรม
        การใชพื้นที่วางระหวางอาคาร มีการจัดวางตนไมประดับไว แตก็เปนไดเพียง
  เพื่อการมองเพียงอยางเดียวไมสามารถเขาถึงได




ศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว
หองฝงเข็ม                            ที่นั่งรอ




                                                         ทางเดินไปยังอาคารตางๆ
ศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว
หองกายภาพบําบัด   ทางเดินภายในอาคาร




                     หอพักผูปวยในชาย หญิง       สนามกีฬา
ศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว
ชองวางระหวางตึก   ทางลงจากตัวอาคาร




                           หองทํางาน           ทางขึ้นอาคาร
ศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว
หองกายภาพ          ที่หัดเดิน




                  ที่ฝกการใชชีวิตประจําวัน   ที่ฝกพัฒนาการพูด
ศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว
ศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว
ปญหาที่เกิดขึ้นในโครงการ

           สวนใหญเปนปญหาเรื่องการใชงานที่แตกตางกัน ของผูปวยใช wheelchair
    ผูปวยที่มีปญหาเรื่องกระดูกสันหลังและ ผูปวยที่ใชไมเทา เชน
           ระดับ dimension ของผูปวยที่นั่งเกาอี้จะต่ํากวาระดับปกติ ทําใหการออกแบบ
    เฉพาะสวน เชน ระดับเคาทเตอร ระดับเสียง ที่ต่ํากวาปกติ สรางปญหาใหผูปวยที่มี
    ปญหาเรื่องกระดูกสันหลัง ที่ไมสามารถกมตัวได
          การออกแบบพื้นที่เปลี่ยนระดับ ควรตองมีทั้ง ramp และบันไดไปพรอม ๆ กัน
    เพราะผูปวยที่ใชไมเทา สามารถขึ้นดวยบันไดสะดวกกวา ramp




ศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว
ศูนยฟนฟูสวางคนิวาส
ที่ตั้ง : ศูนยเวชศาสตรฟนฟูสวางนาคนิวาส หมู2 ถนนสุขุมวิท (สายเกา) ต.ทายบาน อ.
                                               
เมือง จ.สมุทรปราการ
การเดินทาง :นั่งรถสองแถววินรถ 36 เดินทางจากตลาดปากน้ํา ระยะทาง 6 กิโลเมตร
หรือขับรถยนตบนเสนทางสุขุมวิทสายเกาประมาณกิโลเมตรที่ 32
สิ่งที่นาสนใจสวางคนิวาส
เนนเรื่องการบริการสาธารณสุขเปนสวนใหญ และยังเปนที่พักผอนหยอนใจที่มีชื่อเสียง
มากที่สุดแหงหนึ่ง มีทั้งที่พักไวบริการดวยปจจุบันสวางคนิวาสซึ่งเปนสวนหนึ่งของ
โรงพยาบาลจุฬาฯ เปนที่ตั้งสถานีกาชาดที่ 3 ใหบริการผูปวยนอกและการสาธารณสุขทุก
อยาง และยังมีตึกผูปวยในไวเปนสถานพักฟนหลังการผาตัดของผูปวยจากโรงพยาบาล
จุฬาฯ และยังมีตึกสถานพักฟนคนชราสําหรับขายเปนหองๆ หรือจายเปนรายเดือน โดย
สวางคนิวาสจะมีบริการอาหาร กายภาพบําบัด และดูแบบอยางดี นอกจากนี้ยังมีหอง
ประชุมตางๆดวย
ศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว
แนวความคิดในการวางผัง
           เนื่องจากศูนยสวางคนิวาสเปนการนําเอาอาคารเกามาดัดแปลงทําจึงคอนขาง
มีขอจํากัดในแง Space การใชงาน การแบงพื้นที่ใชงานระหวาง Function ที่เกี่ยวของ
และไมเกี่ยวของไมเดนชัด




ศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว
แนวความคิดในดานการออกแบบประโยชนใชสอย
                     ศูนยฟนฟูสวางคนิวาสเดิมใชเปนสถานพักฟนอยางเดียวจนภายหลัง
 ไดเปลี่ยนแปลงและปรับปรุงเปนศูนยฟนฟูสวางคนิวาส ซึ่งรองรับคนพิการที่พนขีด
 อันตรายแลวจากโรงพยาบาลจุฬาฯ และในบางสวนยังตองไดรับการดูแลเปนระยะเวลา
 ยาวนาน การรักษามุงเนนเรื่องการฟนฟูสภาพของผูปวยใหกลับเปนปกติหรือใหดีที่สุด
 เทาที่จะทําได โดยมีอาคารตางๆดังนี้
                     อาคารสถานีกาชาดที่ 5 ทําหนาที่เปนอาคารตรวจโรคพรอมอุปกรณ
 ที่จะอํานวยความสะดวกในการตรวจรางกายโดยระเอียด รวมทั้งทําหนาที่เปนตึก
 อํานวยการดวย
                     ศูนยเวชศาสตรฟนฟู เปนอาคาร 4 ชั้น โดยอาคารนี้มีหองนอนเดี่ยว
 และหองน้ําสวนตัว 40 หอง สวนมากเปนคนไขหญิง และคนไขอัมพาตที่อาการ
 คอนขางมาก สวนคนไขที่เหลือเปนคนไขชาย จะไปอยูบริเวณตึก 9 ซึ่งเปนอาคาร 2 ชั้น
 โดยชั้นบนเปนที่พักเจาหนาที่
ศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว
แนวความคิดในการออกแบบรูปทรงสถาปตยกรรม

         เนื่องจากศูนยฟนฟูสวางคนิวาสเปนการนําเอาอาคารเกามาดัดแปลง ทําใหงาน
 สถาปตยกรรมที่ออกมามีการจํากัด Space ในแงการใชงาน ซึ่งปรากฎใหเห็นถึงความ
 คับแคบในการใชงานของเจาหนาที่และผูปวย นอกจากนี้ในการออกแบบอาคารเดิม
 ผูออกแบบไมไดพิจารณาความคิดเปนของเจาหนาที่ทางการแพทยทําใหลักษณะทั่วไป
 บางจุดไมสอดคลองกับการใชงาน




ศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว
โครงการในตางประเทศ
                                           National Rehabittion Center For Disable
ที่ตั้ง : 1 Namiki 4 – Chome Tokorozawa Coty Saitama Prefecture 359 Japan
พื้นที่ : 140 ไร
ลักษณะโครงการ
เปนศูนยฟนฟูสมรรถภาพคนพิการระดับชาติของญี่ปุน โดยมีกิจกรรมที่ใหบริการแบง
ออกเปน 4 สวนใหญ ๆ คือ
1. Comprehensive Rehabittation Services
การใหบริการฟนฟูสมรรถภาพคนพิการ โดยทีมผูเชี่ยวชาญทางดานตาง ๆ ที่เกี่ยวของ
กับการฟนฟูสมรรถภาพคนพิการ ซึ่งรวมทั้งคนพิการแขนขา ลําตัว คนตาบอด หูหนวก
เปนใบ จุดประสงคเพื่อใหสามารถกลับเขาสูสังคม
ได (Re – Entry into Society )
ศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว
ศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว
2.Research and Development of Rehabittation Technique

สวนบริการ มีหนาที่ทําการคนควาวิจัยและพัฒนาเทคนิคตาง ๆ ที่จะชวยในการฟนฟูผู
    พิการ

3.Training of Professional Staff

สวนของวิทยาลัย ทําหนาที่ผลิตบุคลากรทางการแพทย ที่เกี่ยวของกับผูพิการ

• Infotmation Service
เปนศูนยรวมขาวสารตาง ๆ ที่เกี่ยวกับการฟนฟูสมรรถภาพคนพิการในญี่ปุนและประเทศ
     ตาง ๆ ทั่วโลก

ศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว
สวนประกอบโครงการดานลักษณะอาคารและเนื้อที่ (ตารางเมตร)

     สวนโรงพยาบาล (Nursing )                  13,087

     สวนงานวิจัย                              3,108
     ศูนยฝก                                  7,655
     วิทยาลัย                                  2,314
     หอพักผูฝก (Non – nursing)               17,064
     หอพักนักศึกษา                             3,768
     โรงยิมเนเซียมและสระวายน้ําในรม          2,919
     สวนบริการ บริการ และ อื่น ๆ               22,050
     สวนกายอุปกรณเทียมและโรงงานผลิต          1,339

ศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว
ศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว
รูปแบบการวางผัง
          มีการจัดวางผังใหมีความสัมพันธกันตามความตองการการใชสอยและลําดับ
การเขาถึงอยางชัดเจน เชนการจัดวางผังแบงตาม พื้นที่ Public (Admin) Semi – public
(hospital vocational education active receation)และสวน Private (non – nursing
dorm service staff dorm) และ การจัดความสัมพันธของแตละสวน เชนสวน
Service ที่สามารถบริการสวนของโครงการไดคอนขางทั่วถึง สวนของที่พัก staff ที่จัด
ใหใกลสวนที่พักผูใชแบบNon – nursing ทําใหผูใชรูสึกปลอดภัย และปองกันในกรณี
ตองชวยผูใชซึ่งเปนผูพิการยามฉุกเฉิน เชน อุบัติเหตุไฟไหม สวนของ recreation ที่
สะดวกตอผูใชพิการและ ความเชื่อมโยงกับสวนบําบัด
          เนื่องจากสภาพพื้นที่ลอมรอบดวยถนน จึงมีการวางพื้นที่โดยกันสวนที่พัก
ผูปวยและสวนการบําบัดซึ่งตองการความสงบมากที่สุด ใหอยูหางจากถนนดวยพื้นที่ใช
สอยอื่นจัดสวน sport rectation ซึ่งเปน open – space ผืนใหญในโครงการใหมี
ความสัมพันธกับ พื้นที่ขาง ๆ ที่เปน Open space ผืนใหญใหตอเนื่องกัน
ศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว
รูปแบบการสัญจร
           เนื่องจากพื้นที่ขนาดใหญ และ ตองมีทาง service ของรถยนตเขาถึงโดยรอบ
    จึงมีทางเขาออกและทางสัญจรเปนจํานวนมาก
    มีการแยกระบบสัญจรของผูพิการกับรถออกจากกันโดยในสวนทางสัญจรของคนจะ
    เชื่อมดวย cover way ตลอดแตก็ยังมีการตัดกันของทางรถและคนในบางจุดซึ่งอาจ
    เกิดอันตรายไดเสนทางเดินมีลักษณะตรงไปตรงมา ซึ่งจะสะดวกตอผูใช wheelchair
    ผูพิการทางตา




ศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว
ลักษณะรูปแบบและการวางตัวอาคาร
สภาพอาคารสวนใหญเปนตึกสูงขนาดใหญ คลายโรงพยาบาลทั่วไป ใชลิฟทในการ
สัญจรทางตั้ง เพื่ออํานวยความสะดวกตอผูพิการ ซึ่งอาจไมคอยเหมาะสมในแงการ
ฟนฟูสุขภาพมากนัก มีการจัดกลุมอาคารใหลอมรอบ court ทําใหเกิดการไหลของ
open space อยางตอเนื่อง โดยมีสวนOutdoor training facitty เปน open – space
สีเขียวผืนใหญ ซึ่งเปนการเปดมุมมองที่ดีใหผูใชที่อยูในอาคาร




ศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว
ลักษณะรูปแบบและการวางตัวอาคาร




ศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว
Rehabittation roof garden Patricia Neal Rehabittation Center

  ที่ตั้ง : downtown Knoxville Tenessee

  พื้นที่ : 1,300 ตรม

  ลักษณะโครงการ
  เปนโครงการปรับปรุงหลังคาของโรงพยาบาลใหเปนสวนเพื่อการบําบัด ที่ชวยสงเสริม
  การฟนฟูสภาพผูปวย โดย
  มีแนวความคิดหลักคือการตอบสนองทางรางกาย อารมณ และ จิตวิญญาณตอผูปวย
  รวมทั้งญาติครอบครัวและเจาหนาที่ในโรงพยาบาล


ศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว
ศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว
สวนประกอบโครงการ
 มีการแบงพื้นที่หลังคารูปตัว L ออกเปน 5 สวน ที่มีความหลากหลายตางกัน เพื่อใหมี
 space ที่หลากหลายสามารถเลือกใชไดตามตองการ แลวเชื่อมสวนตาง ๆ เขาดวยกัน
 ดวยทางเดินรูปรางคดเคี้ยว ซึ่งแตละ spaceสามารถเชื่อมถึงกันดวยสายตาได โดยการ
 ออกแบบที่คํานึงถึงผูใชเกาอี้ลอเลื่อนเปนหลัก โดยมี sequence
 ในการเขาถึงโดยบริเวณ lifft (A) ซึ่งมีคนเขาถึงมากจะเปน active zone แลวคอย ๆ
 ลดความ active ลงมาเรื่อย ๆ




ศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว
การแกปญหาในงานออกแบบ
  1.ดานการรับน้ําหนัก เนื่องจากเปน สวนหลังคา จึงมีการคํานึงถึงความมั่นคงของโครงสราง โดยการ
  วางตําแหนงตนไมตามหัวเสา และ การเลือกใชวัสดุปลูกที่ลดน้ําหนักแลว
  2.ดานการระบายน้ํา ใชระบบการระบายน้ํา 3 ระบบดวยกัน คือ การระบายตามรองน้ํา และ
  การระบายน้ําออกจากผิวพื้นโดยตรงในกรณีฉุกเฉิน นอกจากนี้ยังมีการควบคุมระบบรดน้ําโดยการให
  น้ํา แบบอัตโนมัติตามอุณหภูมิ เพื่อควบคุมน้ําหนักที่จะรองรับ และ ใหน้ํามีปริมาณที่เหมาะสมกับ
  ตนไม

  การใชพืชพรรณ เนื่องจากบริเวณสวนถูกลอมรอบดวยอาคารสูง 4 – 6 ชั้น จึงตองมีการเลือกใชพืช
  พรรณใหเหมาะสมกับปริมาณแสงแดด โดยผูออกแบบไดเลือกใชพืชพรรณทองถิ่นที่ชอบรมเงาใน
  สวนที่รับแสงนอย

  พืชพรรณที่ใชเปนประเภท texture ละเอียด ซึ่งนอกจากจะไมดานลมแลวยังทําใหเห็นความ
  เคลื่อนไหวของใบที่พัดปลิวตามแรงลม ที่ดูมีชีวิตชีวา

ศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว
ศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว
รายละเอียดของประเภทและจํานวนผูใช
    โครงการศูนยฟนฟูฯ มีผูใช 3 กลุมหลักคือ
    1. คนไข Patient                           ไดแก patient ผูปวยใน
                                                      Out-patient ผูปวยนอก

    2. เจาหนาที่ Staff                       ไดแก แพทยทางดานเวชศาสตรฟนฟูและ
                                               กายภาพบําบัด พยาบาล และเจาหนาที่ทั่วไป


    3. ผูมาเยี่ยม Visitor                     ไดแก   ผูมาเยี่ยมผูปวย ผูมาติดตองานทั่วไป


ศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว
1. คนไข Patient
       ประเภทของคนไข คนไขที่มาทําการบําบัดในศูนย ไดแก ผูที่มีความเสื่อม หรือ
       สูญเสียการทํางานของอวัยวะบางสวน จากสาเหตุตางๆ เชน โรคภัยไขเจ็บ การ
       ผาตัด และการเปนมาแตกําเนิด ซึ่งตองการการบําบัดเพื่อฟนฟูสมรรถภาพใหใช
       การไดหรือดําเนินชีวิตไดตามปกติ อาจเปนผูพิการจริงหรือผูที่มีความบกพรองทาง
       รางกายและอวัยวะเปนการชั่วคราวที่สามารถฟนฟูใหดีดังเดิมได โดยทั้งผูปวยใน
       และนอกจะมีปญหาทางสมรรถภาพคลายคลึงกัน โดยสามารถแบงประเภทผูปวย
       ความจําเสื่อม สมรรถภาพทางรางกายได คือ ผูมีปญหาทางแขนขาและลําตัว
เมื่อดูจากสถิติ 10 อันดับของจํานวนผูปวยในและนอกของศูนยสิรนทรเพื่อการฟนฟูฯ
                                                                  ิ
       แลว ปรากฎวา ผูปวยสวนใหญนั้นเปนผูที่มีปญหาทางแขนขาและลําตัวเปนหลัก
       เชน ภาวะการเจ็บปวยของระบบกระดูกและกลามเนื้อ ภาวะอัมพาตครึ่งซีก ครึ่ง
       ทอนและทั้งตัว และผูพิการแขนขาขาด ซึ่งเปนประเภทที่มากที่สุดของผูพิการใน
       ภาคกลาง
ศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว
ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว4
ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว4
ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว4
ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว4
ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว4
ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว4
ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว4
ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว4
ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว4
ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว4
ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว4
ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว4
ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว4
ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว4
ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว4
ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว4

More Related Content

Similar to ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว4

เฟียเจท์
เฟียเจท์เฟียเจท์
เฟียเจท์
math015
 
เฟียเจท์
เฟียเจท์เฟียเจท์
เฟียเจท์
math015
 
เฟียเจท์
เฟียเจท์เฟียเจท์
เฟียเจท์
sofia-m15
 
เฟียเจท์
เฟียเจท์เฟียเจท์
เฟียเจท์
nurul027
 
เฟียเจท์
เฟียเจท์เฟียเจท์
เฟียเจท์
saleehah053
 
จุลสารโครงงานสุขภาพ
จุลสารโครงงานสุขภาพจุลสารโครงงานสุขภาพ
จุลสารโครงงานสุขภาพ
tassanee chaicharoen
 
การเคลื่อนไหวเบื้องต้น ชุดที่ 2
การเคลื่อนไหวเบื้องต้น ชุดที่ 2การเคลื่อนไหวเบื้องต้น ชุดที่ 2
การเคลื่อนไหวเบื้องต้น ชุดที่ 2
sonsukda
 
แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 3
แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 3แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 3
แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 3
tassanee chaicharoen
 
เรียนรวมบทที่ 3 แผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล [1 54]
เรียนรวมบทที่ 3 แผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล [1 54]เรียนรวมบทที่ 3 แผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล [1 54]
เรียนรวมบทที่ 3 แผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล [1 54]
CMRU
 
มาตรฐานปฐมวัย 11 มาตรฐาน 51 ตังบ่งชี้..
มาตรฐานปฐมวัย  11   มาตรฐาน  51  ตังบ่งชี้..มาตรฐานปฐมวัย  11   มาตรฐาน  51  ตังบ่งชี้..
มาตรฐานปฐมวัย 11 มาตรฐาน 51 ตังบ่งชี้..
Montree Jareeyanuwat
 
¡òã¨ñ´ãðººà¾×èí¾ñ²¹ò¡òãèö¡éò¢í§à´ç¡ Ld
¡òã¨ñ´ãðººà¾×èí¾ñ²¹ò¡òãèö¡éò¢í§à´ç¡ Ld¡òã¨ñ´ãðººà¾×èí¾ñ²¹ò¡òãèö¡éò¢í§à´ç¡ Ld
¡òã¨ñ´ãðººà¾×èí¾ñ²¹ò¡òãèö¡éò¢í§à´ç¡ Ld
panidda3355
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 7
สุขฯ ม.2 หน่วย 7สุขฯ ม.2 หน่วย 7
สุขฯ ม.2 หน่วย 7
supap6259
 
ความรู้สู่ชุมชน
ความรู้สู่ชุมชนความรู้สู่ชุมชน
ความรู้สู่ชุมชน
Anchalee Tanphet
 

Similar to ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว4 (20)

เฟียเจท์
เฟียเจท์เฟียเจท์
เฟียเจท์
 
เฟียเจท์
เฟียเจท์เฟียเจท์
เฟียเจท์
 
เฟียเจท์
เฟียเจท์เฟียเจท์
เฟียเจท์
 
เฟียเจท์
เฟียเจท์เฟียเจท์
เฟียเจท์
 
เฟียเจท์
เฟียเจท์เฟียเจท์
เฟียเจท์
 
จุลสารโครงงานสุขภาพ
จุลสารโครงงานสุขภาพจุลสารโครงงานสุขภาพ
จุลสารโครงงานสุขภาพ
 
การเคลื่อนไหวเบื้องต้น ชุดที่ 2
การเคลื่อนไหวเบื้องต้น ชุดที่ 2การเคลื่อนไหวเบื้องต้น ชุดที่ 2
การเคลื่อนไหวเบื้องต้น ชุดที่ 2
 
สรุป E 734
สรุป    E  734สรุป    E  734
สรุป E 734
 
ผู้บำเพ็ญประโยชน์
ผู้บำเพ็ญประโยชน์ผู้บำเพ็ญประโยชน์
ผู้บำเพ็ญประโยชน์
 
05chap3
05chap305chap3
05chap3
 
จุดเน้นที่ 4
จุดเน้นที่ 4จุดเน้นที่ 4
จุดเน้นที่ 4
 
แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 3
แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 3แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 3
แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 3
 
เรียนรวมบทที่ 3 แผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล [1 54]
เรียนรวมบทที่ 3 แผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล [1 54]เรียนรวมบทที่ 3 แผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล [1 54]
เรียนรวมบทที่ 3 แผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล [1 54]
 
มาตรฐานปฐมวัย 11 มาตรฐาน 51 ตังบ่งชี้..
มาตรฐานปฐมวัย  11   มาตรฐาน  51  ตังบ่งชี้..มาตรฐานปฐมวัย  11   มาตรฐาน  51  ตังบ่งชี้..
มาตรฐานปฐมวัย 11 มาตรฐาน 51 ตังบ่งชี้..
 
¡òã¨ñ´ãðººà¾×èí¾ñ²¹ò¡òãèö¡éò¢í§à´ç¡ Ld
¡òã¨ñ´ãðººà¾×èí¾ñ²¹ò¡òãèö¡éò¢í§à´ç¡ Ld¡òã¨ñ´ãðººà¾×èí¾ñ²¹ò¡òãèö¡éò¢í§à´ç¡ Ld
¡òã¨ñ´ãðººà¾×èí¾ñ²¹ò¡òãèö¡éò¢í§à´ç¡ Ld
 
บทบาทบริหารกิจการนักเรียน
บทบาทบริหารกิจการนักเรียนบทบาทบริหารกิจการนักเรียน
บทบาทบริหารกิจการนักเรียน
 
03+heap4+dltv54+แผนจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 1 3 ประถม 4-6
03+heap4+dltv54+แผนจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 1   3 ประถม 4-603+heap4+dltv54+แผนจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 1   3 ประถม 4-6
03+heap4+dltv54+แผนจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 1 3 ประถม 4-6
 
03+heap6+dltv54+แผนจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 1 3 ประถม 4-6
03+heap6+dltv54+แผนจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 1   3 ประถม 4-603+heap6+dltv54+แผนจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 1   3 ประถม 4-6
03+heap6+dltv54+แผนจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 1 3 ประถม 4-6
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 7
สุขฯ ม.2 หน่วย 7สุขฯ ม.2 หน่วย 7
สุขฯ ม.2 หน่วย 7
 
ความรู้สู่ชุมชน
ความรู้สู่ชุมชนความรู้สู่ชุมชน
ความรู้สู่ชุมชน
 

More from ss

ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว4
ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว4ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว4
ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว4
ss
 
ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว3
ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว3ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว3
ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว3
ss
 
ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว2
ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว2ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว2
ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว2
ss
 
ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว1
ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว1ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว1
ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว1
ss
 
ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว7
ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว7ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว7
ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว7
ss
 
ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว6
ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว6ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว6
ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว6
ss
 
ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว1
ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว1ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว1
ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว1
ss
 

More from ss (7)

ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว4
ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว4ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว4
ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว4
 
ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว3
ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว3ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว3
ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว3
 
ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว2
ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว2ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว2
ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว2
 
ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว1
ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว1ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว1
ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว1
 
ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว7
ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว7ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว7
ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว7
 
ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว6
ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว6ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว6
ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว6
 
ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว1
ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว1ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว1
ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว1
 

ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว4

  • 1. ศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการ ทางการเคลื่อนไหว โดย นางสาวสุธิดา สัจจะหฤทัย 49050019 ศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว
  • 2. ความเปนมาของโครงการ พญ.ดารณี สุวพันธ ผูอํานวยการศูนยสิรินธรฯ กลาววา อุบัติการณของเด็กที่พิการแตกําเนิดมี ประมาณ 0.9 คนตอพันของเด็กที่คลอดมีชีพ หรือประมาณ 1,500-2,000 คนตอเด็กไทยที่เกิดใหมใน แตละป หากรวมยอดสะสมประมาณเปนแสนราย ทั้งนี้หากรวมถึงกลุมเด็กที่มีอาการพิการทางสมอง ซึ่ง ทําใหเกิดการพิการทางการเคลื่อนไหวดวย หากรวมทั้ง 2 กลุมนี้คาดวาจะมีประมาณ 4-5 แสนคน แต ทั้งนี้ยังไมเคยมีการเก็บขอมูลดังกลาววามีเด็กที่พิการที่แทจริงจํานวนเทาใด ในปจจุบันประเทศไทยมีศูนยฟนฟูเฉพาะทางเกี่ยวกับการพิการทางการเคลื่อนไหวยังไมมีเฉพาะมีแต ศูนยเวชศาสตรฟนฟูสวางนิวาส จ.สมุทรปราการ และศูนยสิรินธรเพื่อการฟนฟูสมรรถภาพทางการ แพทยแหงชาติ จ.นนทบุรีและสวนมากจะเปนผูใหญมากกวาและอุปกรณและสิ่งอํานวยความสะดวก ของเด็กก็มีไมเพียงพอตอความตองการของเด็กและศูนยฟนฟูก็ยังมีไมเพียงพอตอจํานวนเด็กพิการที่ มากขึ้นทุกปในทั้งนี้จึงเห็นวาควรทําศูนยฟนฟูตั้งแตยังเด็กเพราะเด็กยังสามารถมีพัฒนาการไดอีกแตถา เปนผูใหญแลวจะทําใหการรักษาบําบัดทําเปนไปไดยาก ศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว
  • 3. วัตถุประสงคของโครงการ 1.เพื่อรักษาและบําบัดฟนฟูความพิการทางรางกายของเด็กตั้งแตอายุ 3-6 ป 2.ใหบริการเปนศูนยกลางในการรักษาเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว 3. เปนสถานฟนฟูที่ใหบรรยากาศเด็กรูสึกเหมือนอยูบาน 4.ใหบริการเฉพาะในกรุงเทพและปริมณฑล 5.เปนสถานที่เด็กไปกลับได ศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว
  • 4. วัตถุประสงคของการศึกษา 1.เพื่อศึกษาถึงลักษณะของเด็กพิการทางการเคลื่อนไหวใหทราบถึงความตองการเพื่อตอบสนองตอ ความตองการและพฤติกรรมมาตรฐานตางๆ เพื่อนํามาใชแกปญหาที่เกิดขึ้นใหสามารถตอบสนอง ตอความตองการของผูใช 2.เพื่อศึกษาถึงโครงการ หนวยงาน สภาพการณและปญหาที่เกี่ยวของกับคนพิการทางการ เคลื่อนไหว ในปจจุบันเพื่อเปนแนวทางการจัดตั้งโครงการ 3.เพื่อศึกษาทางดานการออกแบบรายละเอียดสําหรับคนพิการทางการเคลื่อนไหวเพื่อใหเกิด บรรยายการที่ดีในการฟนฟู ศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว
  • 5. ขอบเขตการศึกษา เปนศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหวตั้งแตอายุ 3-6 ขวบ 1.ศึกษาขอมูลพื้นฐานทั้งหมดที่เกี่ยวของกับการวิเคราะหการออกแบบ 1.1 ศึกษาถึงเหตุผลและความเปนไปไดในดานตางๆ 1.2 ศึกษาสภาพแวดลอมและปญหาความตองการที่เกี่ยวกับคนพิการทางการเคลื่อนไหว 1.3 ศึกษาโครงการที่คลายคลึง เพื่อนํามาเปนแนวทางในการออกแบบ 1.4 ศึกษาระบบโครงการทุกดานรวมถึงมาตรฐานที่เกี่ยวกับการออกแบบ 1.5 ศึกษาถึงความเปนไปไดของที่ตั้ง และศึกษาถึงสภาพปญหาของพื้นที่เพื่อในมาประกอบ ในการออกแบบ 1.6 ศึกษาถึงรายละเอียดโครงการ ศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว
  • 6. 2.ศึกษาระบบตางๆที่ใชภายในอาคาร 2.1ศึกษาระบบการสัญจร 2.2 ศึกษาระบบการระบายน้ํา 2.3 ศึกษาระบบสาธารณูปโภค-สาธารณูปการ 3.ศึกษางานวางผังบริเวณโดยรอบ 3.1 สวนบริหารและอํานวยการ 3.2 สวนบําบัดฟนฟู 3.3สวนนันทนาการ 3.4สวนบริการและซอมบํารุง 3.5สวนลานจอดรถ ศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว
  • 7. 4.ศึกษาการออกแบบและรายละเอียดตางๆ 4.1 ออกแบบรายละเอียดองคประกอบทางภูมิสถาปตยกรรม 4.2 รายละเอียดของระบบตาง เชน ระบบระบายน้ํา ทางเทา 4.3 ออกแบบการเลือกใชวัสดุกอสราง 4.4 ออกแบบรายละเอียดพืชพรรณ ศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว
  • 8. ขั้นตอนและวิธีดําเนินการศึกษา แบงออกเปน 3 ขั้นตอน คือ งานขั้นเก็บรวบรวมขอมูล 1.ศึกษาขอมูลของโครงการ 1.หนวยงานตางๆที่เกี่ยวของและรับผิดชอบตอคนพิการ 2.ลักษณะโครงการที่เหมาะสม 3.ศึกษาถึงบุคลากรที่เกี่ยวของกับเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว 4.ศึกษาถึงสาเหตุ ประเภท ลักษณะของการพิการทางการเคลื่อนไหว 5.ศึกษาขอมูลทางสถิติตางๆที่เกี่ยวของกับเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว 6.ศึกษาโครงการที่เกี่ยวของ ศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว
  • 9. 1.2 ศึกษาถึงความเปนไปไดของโครงการ 1.2.1ศึกษางานดานการบริหารและดําเนินงานในโครงการ 1.3 ศึกษาที่ตั้งของโครงการ 1.3.1 วิเคราะหทําเลที่เหมาะสม 1.3.2 ที่ตั้งโครงการและสภาพแวดลอม เชน ตําแหนง อาณาเขต ขนาดและรูปรางของ พื้นที่ ฯลฯ 1.3.3 สภาพทั่วไปทางภูมิศาสตร เชน ภูมิประเทศ ภูมิอากาศ สภาพทั่วไปของดิน การ ใชที่ดินพืชพันธในทองถิ่น ทัศนียภาพ ศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว
  • 10. 1.4 ศึกษารายละเอียดของโครงการเพื่อนําขอมูลมาใชในการออกแบบ 1.4.1 วัตถุประสงคของโครงการ 1.4.2 การจัดรูปแบบของโครงสรางของโครงการ 1.4.3 กําหนดฐานะและรูปแบบโครงการ 1.4.4 โครงสรางการบริหาร 1.5 งานศึกษาประเภทเดียวกัน หรือคลายคลึงกัน ศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว
  • 11. แนวทางการจัดกิจกรรมในเด็กกลุมบกพรองทางรางกายหรือสุขภาพชนิดตาง ๆ 1.เด็กสมองพิการแบบแข็งเกร็ง ในการจัดกิจกรรมสําหรับเด็กในกลุมนี้สิ่งที่จะตองดูแล คือ •การจัดทาทางที่เหมาะสม •การนั่งบนเกาอี้จะตองจัดใหเด็กนั่งตัวตรง เทาทั้งสองขางวางราบกับพื้น มีสายรัดตัวเพื่อปองกันการตก มี โตะวางดานหนาเพื่อรองรับแขนทั้งสองขาง •การเลนไมควรใหอยูในทาใดทาหนึ่งนานเกิน 20 นาที •การนั่งกับพื้นไมควรใหเด็กนั่งในทากบ หรือ W sitting เพราะจะสงเสริมใหเด็กเกิดความพิการผิดรูป ควร แนะนําใหเด็กนั่งขัดสมาธิ นั่งพับเพียบ หรือนั่งเหยียดขา กิจกรรมที่ใหควรสงเสริมการเคลื่อนไหวของมุม ขอตาง ๆ ใหกวางขึ้น เชน วางตําแหนงของกิจกรรมใหสูงขึ้น หรือวางใหหางจากลําตัวมากขึ้น เพื่อใหเด็ก พัฒนาความสามารถในการเคลื่อนไหวในทุกทิศทาง ของเลนหรือวัตถุตาง ๆ ที่ใชในการเลนควรมีขนาดใหพอเหมาะกับมือใหเด็กสามารถกําและปลอยไดงาย ของเลนขนาดเล็กเกินไปเด็กจะตองใชความพยายามในการหยิบจับเนื่องจากเด็กมีการเกร็งกลามเนื้อ สวน ของเลนที่ใหญเกินไปทําใหเด็กหยิบจับไดไมมั่นคง ศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว
  • 12. 2. เด็กสมองพิการแบบสั่นหรือไมสามารถควบคุมแขนและมือได เด็กในกลุมนี้จะมีการเปลี่ยนแปลงความตึงตัวของกลามเนื้อไปมาทําใหบางครั้งเด็กไมสามารถที่จะควบคุม การทํางานของแขนและมือใหอยูนิ่งได ดังนั้นแนวทางในการในชวยเหลือ คือ • การจัดทาทางใหเหมาะสมดังที่กลาวในขางตน • จัดวางตําแหนงของกิจกรรมใหอยูในแนวกึ่งกลางและดานของลําตัว เนื่องจากเด็กในกลุมนี้การ เคลื่อนไหวของแขนและมือจะเปะปะไปทั่ว • ใชของเลนที่มีน้ําหนัก • ใชถุงทรายหรือถุงน้ําหนักถวงบริเวณขอมือเพื่อลดการสั่นและใหเด็กสามารถควบคุมแขนและมือ ไดดีขึ้น • เนนใหเด็กนําวัตถุไปยังเปาหมายตาง ๆ ใหแมนยํา ศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว
  • 13. 3. เด็กอัมพาตครึ่งซีก ภายหลังจากการที่เสียหนาที่ของสมองซีกใดซีกหนึ่งแลวจะสงผลใหการทํางานของรางกายดานตรงขาม สูญเสียการหนาที่ไปจึงทําใหเกิดการเสียสมดุลของรางกาย ขาดความสามารถในการใชมือ การเดินลด นอยลง ดังนั้น จึงมีวิธีการชวยเหลือเด็กในกลุมนี้ คือ •การจัดทานั่งใหเหมาะสม คือ จัดใหเด็กนั่งพับเพียบมาดานของแขนขางที่เปน (Effected side) โดยการ จัดใหมีการเหยียดแขน เหยียดศอก กระดกขอมือ นิ้วมือกางและวางราบกับพื้น และกระตุนใหมีการลง น้ําหนักมาทางแขนดานที่เสีย ดังรูป •จัดใหเด็กนั่งบนโตะ เกาอี้ควรมีความสูงพอเหมาะกับเด็ก มือทั้งสองขางวาวบนโตะ กระตุนใหเด็กใชทั้ง สองมือในการทํากิจกรรม ถาเด็กใชมือขางเดียวจะตองจัดทาของแขนขางที่เปนใหคลายตัวโดยจัดให ไหลโนมมาดานหนา วางขอศอกบนโตะ กางนิ้วมือวางบนโตะอยูเสมอ ดังรูป •เนนการจัดกิจกรรมที่ใชสองมือรวมกัน เชน การโยนบอลโดยใชมือสองขางการเลนของเลนที่ไขลาน •ใชผาขนหนูที่หยาบจนถึงละเอียด เช็ด ลูบ บริเวณผิวหนังดานที่เปนเพื่อกระตุนอวัยวะรับความรูสึกของ ผิวหนัง •จัดทาในการเลนซึ่งอาจะจัดในทายืนบนเขา ทายืน กระตุนใหเด็กมีการลงน้ําหนักมาทางดานที่เปน ฝก การทรงตัวในทาตาง ๆ มีการบิดตัวซายขวาเพื่อเปนกระตุนการรับรูความรูสึกจากเอ็นและขอ ดังรูป ศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว
  • 14. กลุมเด็กพิการทางกายและการเคลื่อนไหวที่นักกิจกรรมบําบัดเขาไปชวยเหลือ 1. เด็กสมองพิการ (Cerebral Palsy) : CP 2. เด็กที่มีพัฒนาการลาชากวาวัย (Delay development) 3. เด็กที่มีการยึดติดของขอและกลามเนื้อ : AMC 4. เด็กที่ไดรับบาดเจ็บทางไขสันหลัง : Spianl cord Injury 5. เด็กไขสันหลังฝอ : SMA 6. เด็กที่มีปญหาการรับรูทางสายตา 7. เด็กที่มีปญหาในทักษะการใชดินสอและการเขียน 8. เด็กที่ตองการอุปกรณชวยในการทํากิจวัตรประจําวัน ศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว
  • 15. เปาหมายการใหบริการทางกิจกรรมบําบัดในเด็กบกพรองทางรางกายหรือสุขภาพ เมื่อนักกิจกรรมบําบัดไดประเมินเด็กเพื่อคนหาปญหาของเด็กแลว ขั้นตอไป คือ การแจงปญหา และการวางเปาหมายในการรักษา รวมทั้งวางแผนกิจกรรมที่จะใชเพื่อบําบัดรักษาปญหาของเด็กแตละคน ซึ่งเปาหมายการรักษาจะครอบคลุมในหัวขอตอไปนี้ 1. พัฒนาทักษะการทํางานของกลามเนื้อมัดใหญและกลามเนื้อมัดเล็ก (Improving gross and fine motor skill) 2. พัฒนาความสามารถในการทํากิจวัตรประจําวันดานตาง ๆ (Improving activitites of daily living) 3. พัฒนาความแข็งแรงและความทนทานของกลามเนื้อโดยเฉพาะกลามเนื้อแขนและมือ (Improving muscle strength / endurance) 4. พัฒนาความสามารถของรางกายโดยใชอุปกรณชวยและอุปกรณเสริม (Improving of adaptive equipment / devices) 5. ปองกันความพิการที่อาจจะเกิดขึ้น (Prevention of further dysfunction) 6. ปองกันความพิการผิดรูปของรางกาย (Prevention of deformities) 7. พัฒนาชวงการเคลื่อนไหวของขอตอ (Improving range of motion) 8. พัฒนาทักษะการเคี้ยว การกลืน และลดภาวะน้ําลายไหล ศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว
  • 17. ลูกบอล(Blowster ball) ใชฝกกระตุนพัฒนาการตางๆ เชนการกลิ้ง การพลิกตะแคงตัว การนั่งการชันคอเพิ่มความ แข็งแรงของกลามเนื้อหลัง ฝกการลงน้ําหนัก ฝกการ ทรงตัวในทานั่ง กระตุนการรับรูและทิศทาง ราวฝกเดิน ใชฝกการทรงตัวซึ่งมีความมั่นคงมากกวาอุปกรณ ชนิดอื่น เชนไมค้ํายัน เหมาะสําหรับการเริ่มฝกเดิน ชีวิตประจําวันชีวิตประจําวันเพื่อกระตุนพัฒนาการ ทางดานการเคลื่อนไหว ฝกการทรงตัว ศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว
  • 18. ถุงหนังบรรจุเม็ดเหล็กกลม (Sand bag) ใชฝกรวมกับอุปกรณอื่นไดโดยมีน้ําหนักตั้งแต 0.5 , 1 , 1.5 , 2 ,2.5 , 3 กิโลกรัม เพื่อใชถวงน้ําหนัก ในสวนตางๆของรางกาย ตามที่ตองการเพื่อเปนการ ฝกการทรงตัว เพิ่มความแข็งแรงของกลามเนื้อแขน และขา กระดานฝกกลามเนื้อขา อุปกรณชิ้นนี้ใชรวมกับถุงทราย โดยใชเด็กนอน บนเตียงวางขาบนอุปกรณชิ้นนี้ ใหบริเวณขอพับชวงเขาอยู ตรงมุมแหลมสวนบนของอุปกรณ โดยใชถุงทรายผูกที่ขอเทาแลวเตะขาขึ้นโดยที่เขาวางที่เดิม การเพิ่มระดับความยาก และเพิ่มความแข็งแรงของกลามเนื้อ สามารถทําไดโดยปรับมุมความสูงของกระดาน เพิ่มขนาด น้ําหนักของถุงทราย หรือเพิ่มจํานวนครั้งของการยก ศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว
  • 28. ภาวะสมองพิการ ( Cerebral palsy ) ภาวะสมองพิการเปนกลุมอาการที่มีสาเหตุจากความผิดปกติหรือมีการทําลายในสวน ของสมองของเด็กที่กําลังเจริญเติบโต ซึ่งสามารถเกิดขึ้นไดกับเด็กในชวงนับตั้งแตอยูในครรภ มารดาจนกระทั่งเด็กอายุ 7 ป ซึ่งความผิดปกติของสมองที่เกิดขึ้นนี้จะไมมีการลุกลามมากขึ้น สาเหตุของการเกิดภาวะสมองพิการ ภาวะสมองพิการเกิดจากมีความผิดปกติของการเจริญเติบโตของสมอง หรือภาวะขาด เลือดไปเลี้ยงสมอง ตลอดจนสาเหตุใดๆ ก็ตามที่ทําใหมีการทําลายในสวนของสมอง ซึ่งอาจจะแบง สาเหตุของการเกิดภาวะสมองพิการออกไดเปน 3 ชวงระยะเวลา คือ 1. ระยะกอนคลอด คือระยะที่ทารกยังอยูในครรภมารดาในชวง 3 เดือน และ 6 เดือนแรก ซึ่งสาเหตุของความพิการอาจเกิดจากตัวมารดาหรือทารกเอง 2. ระยะระหวางคลอด คือ ระยะที่ทารกอยูในครรภมารดา ชวง 3 เดือนหลัง และระยะระหวางคลอด จนถึงเมื่อทารกอายุ 1 สัปดาหหลังคลอด สาเหตุของความพิการอาจเกิดได 3. ระยะหลังคลอด คือ ระยะการเจริญเติบโตของเด็ก ตั้งแตอายุ 1 สัปดาหเปนตนไป สาเหตุของภาวะ สมองพิการในชวงระยะนี้ ศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว
  • 29. ชนิดของภาวะสมองพิการในเด็ก การแบงชนิดของภาวะสมองพิการในเด็กสามารถแบงได ดังนี้ 1. แบงตามลักษณะความผิดปกติของกลามเนื้อและการเคลื่อนไหว 1.1 ภาวะสมองพิการชนิดหดเกร็ง เปนลักษณะที่พบไดมากที่สุด คือ ประมาณสามในสี่ของผูเด็ก สมองพิการทั้งหมด โดยจะพบอาการเกร็งกระตุกของกลามเนื้อ แขน ขา ลําตัว และมักจะมีปญหาแทรก ซอนคือขอยึดติด 1.2 ภาวะสมองพิการชนิดอะทีตอยด เด็กกลุมนี้จะมีการเคลื่อนไหวของแขน-ขาและลําตัวที่ ผิดปกติ มีการเคลื่อนไหวของรางกายที่ควบคุมไมได ซึ่งจะเกิดกับสวนของศีรษะ ปลายแขน และปลายขามากกวาสวนอื่น ๆ 1.3 ภาวะสมองพิการชนิดอะแท็กเซีย เด็กจะมีปญหาเกี่ยวกับการทํางานประสานกันของกลามเนื้อ เด็กจะมีอาการสั่น การทรงตัวไมคอยดี 1.4 ภาวะสมองพิการชนิดออนปวกเปยก เปนอาการแสดงในเด็กที่มีอายุนอย เด็กจะมีลักษณะแขน ขา ลําตัวออนปวกเปยก แตเมื่อเด็กอายุเพิ่มขึ้น ความตึงตัวของกลามเนื้อจะเพิ่มขึ้น ดังนั้นจะทํา ใหเด็กมีอาการหดเกร็งหรืออาการอะทีตอยดตามมา ศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว
  • 30. 1.5 ภาวะสมองพิการแบบผสมเด็กบางรายอาจมีลักษณะผิดปกติดังกลาวเบื้องตน ปนกัน ที่พบบอยคือ แบบหดเกร็งรวมกับแบบอะทีตอยด 1.6 ภาวะสมองพิการไฮเปอรไคเนเซีย เปนภาวะที่เด็กมีการเคลื่อนไหวมากกวา ปกติ เด็กจะไมอยูนิ่ง ทําอะไรเร็ว ๆ โดยขาดการควบคุม การใชมือไมดี มักโยนหรือ เหวี่ยงของเลน เด็กจะวิ่งมากกวา เดิน ขณะวิ่งจะลมบอย เพราะการทรงตัวไมดี ศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว
  • 31. การดูแลรักษาเด็กสมองพิการ เนื่องจากเด็กมีความผิดปกติรวมกันหลายอยาง การรักษาเด็กสมองพิการจึงตองอาศัยการ ดูแลเปนพิเศษ เพื่อใหเด็กเติบโต และสามารถชวยเหลือตนเองไดมากที่สุด ซึ่งตองอาศัยความรวมมือ ในการรักษาระหวางแพทยผูเชี่ยวชาญหลายสาขา นักกายภาพบําบัด นักกิจกรรมบําบัด นักอรรถบําบัด นักสังคมสังเคราะห ครู และที่สําคัญที่สุดคือ ผูปกครองเด็กพิการ ซึ่งเปนผูที่มีบทบาทมากที่สุดในการ ดูแลรักษา โดยเนนที่การสรางความเขาใจและความสัมพันธที่ดีกับเด็ก รวมทั้งสรางสิ่งแวดลอมใน ครอบครัวใหเหมาะสมสําหรับเด็กพิการ หลักการดูแลรักษาเด็กสมองพิการ 1. รักษาความพิการหรือปญหาทางกาย 2. ฝกหรือกระตุนเด็กใหมีพัฒนาการใกลเคียงเด็กปกติมากที่สุด ศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว
  • 32. โรคไขสันหลัง ฝ อ ( Spinal Muscular Atrophy ) โรคไขสันหลังฝอ เปนโรคทางพันธุกรรมที่พบไดไมบอยนัก เปนโรคที่มีการเสื่อมสลาย ของกลุมเซลลประสาทสวนหนาของไขสันหลัง และบางครั้งอาจพบที่เซลลประสาทยนตของ เสนประสาทสมอง ผูปวยจะมีความตึงตัวของกลามเนื้อลดลงไปเรื่อย ๆ และมีการออนแรงของ กลามเนื้อ โดยมากมักจะเกิดการออนแรงของกลามเนื้อสวนปลายแขน ขา มากกวาสวนตนแขน ตน ขา แลขามักจะออนแรงมากกวาแขน สวนการรับรูสัมผัสจะปรกติ โรคไขสันหลังฝอ ถายทอดทางพันธุกรรม พบไดในเพศชายและเพศหญิงเทา ๆ กัน แต จะมีอาการรุนแรงมากในเพศชาย จะพบคนเปนโรคไขสันหลังฝอ 1 คน ในจํานวนคน 15,000 คน แตพบวาคนที่เปนพาหะของโรคมีจํานวนมากกวาคือพบ 1 คน ใน 80 คน ศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว
  • 33. การรักษา •เนื่องจากเด็กที่เปนโรคไขสันหลังฝอ จะมีอาการออนแรงของกลามเนื้อ ทําใหเด็กไมสามารถใชงานใน อวัยวะนั้นๆ ไดอยางเต็มที่ จึงมักเกิดการหดรั้งของกลามเนื้อตามมา โดยมากมักเกิดกับกลามเนื้องอขา ดังนั้นจึงมีความจําเปนตองปองกันการยึดกลามเนื้อแขน และขา เปนประจํา และใหนอนคว่ําบอย ๆ เพื่อยึดกลามเนื้องอสะโพก •สงเสริมใหเด็กทํากิจกรรมตาง ๆ เทาที่เด็กมีศักยภาพที่จะทําได เพื่อคงกําลังของกลามเนื้อ และ ความสามารถในการชวยเหลือตนเอง ทั้งในเรื่องของการเคลื่อนยายตัวเองและการทํากิจวัตรประจําวัน •แนะนําและฝกการใชอุปกรณเครื่องชวยตาง ๆ เชน รถเข็น ประกับขา (เบรส) •จัดทาทางที่เหมาะสมในทาตาง ๆ โดยเฉพาะทานั่ง เนื่องจากอาจเกิดหลังคดได จากการที่เด็กนั่งตัว เอียง และหลังงอเปนเวลานาน ศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว
  • 34. โรคกระดูกออน ( Osteogenesis Imperfecta ) โรคกระดูกออนเปนโรคที่ถายทอดทางพันธุกรรม ซึ่งสามารถพบไดทั้งในเพศหญิงและ เพศชาย โรคกระดูกออนเกิดขึ้น เนื่องจากความผิดปกติในการสรางเซลลของกระดูก ซึ่งผูที่เปนโรค นี้จะมีกระดูกที่เปราะบาง ไมแข็งแรง กระดูกเกิดการแตกหักงาย ระดับความรุนแรงของโรคกระดูกออน สามารถแบงได 3 ระดับ คือ 1. ระดับที่มีความรุนแรงมากที่สุด พบวามีการแตกหรือหักของกระดูกในขณะที่เด็กอยูในครรภ ซึ่ง พบวาสามารถเปนอันตรายถึงชีวิตได 2. ระดับที่มีความรุนแรงปานกลาง พบวามีการแตกหรือหักของกระดูกขณะที่มีอายุอยูในชวงวัยเด็ก เล็ก หรือวัยกอนเขาเรียน ซึ่งการแตกหรือหักมักพบในกระดูกทอนยาว ความผิดปกติที่พบคือ จะ เกิด การผิดรูปของกระดูกแขนหรือขา รางกายจะมีการเจริญเติบโตชากวาปกติเมื่อเทียบกับอายุ 3. ระดับที่มีความรุนแรงนอยที่สุด พบวามีการแตกหรือหักของกระดูกขณะที่เด็กมีอายุในชวงวัย เรียน ศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว
  • 35. การรักษา ทางการแพทย •แกไขการผิดรูปของกระดูก •รักษาการแตกหรือหักของกระดูก •ใหเครื่องดามเพื่อแกไขการผิดรูปของกระดูก •ใหอุปกรณชวยหรืออุปกรณเสริม เชน เหล็กประกับขา เพื่อชวยในการเคลื่อนยายตัวเอง ทางกายภาพบําบัด •ออกกําลังกายเพื่อเพิ่มความแข็งแรงของกลามเนื้อ และเพิ่มชวงในการเคลื่อนไหว •ฝกเดินและการเคลื่อนยายตัวเอง •แนะนําวิธีการใชอุปกรณเสริมตาง ๆ เชน เหล็กประกับขา •ใชความรอนและความเย็นในการรักษา เพื่อชวยเพิ่มชวงการเคลื่อนไหวและลดบวม เชน หากเกิดการหัก ของกระดูก ควรจะใชแผนเย็นหรือน้ําแข็งประคบกอนเพื่อลดการคั่งของเลือด และลดบวม เมื่อกระดูกติด ดีแลวอาจใชแผนรอนหรือกระเปาไฟฟาประคบ เพื่อลดการปวดและชวยเพิ่มการเคลื่อนไหวของขอตอ •ธาราบําบัด เพื่อเพิ่มความแข็งแรงของกลามเนื้อและเพิ่มการเคลื่อนไหวของขอตอ •ใหคําแนะนําในการดูแลสําหรับครอบครัวอของเด็กที่เปนโรคกระดูกออน ศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว
  • 36. เด็กพิการแขน ขาแตกําเนิด สาเหตุของแขนขาพิการแตกําเนิด ในการศึกษาถึงสาเหตุความพิการของแขน ขา แตกําเนิด เชื่อวาความพิการของแขนขาจะ เกิดขึ้นในระยะที่เด็กเปนตัวออนอยูในครรภ หรือในระหวาง 8 สัปดาหหลังจากปฏิสนธิ ซึ่งเปนระยะที่ ตัวออนมีการแบงตัวและสรางเซลลตาง ๆ จากการรวบรวมขอมูล พอที่จะสรุปสาเหตุที่อาจทําใหเด็กเกิด มาแขน ขาพิการได คือ 1. การที่มารดาไดรับสารเคมีหรือยาบางชนิดในขณะมีครรภ มารดาควรหลีกเลี่ยงการใชยาโดยไม จําเปน และหากมีความจําเปนตองใชยาควรจะปรึกษาแพทยกอน นอกจากนี้สารเคมีที่ปนเปอนมากับ ผัก หรือผลไม เชน สารปรอท สารตะกั่ว อาจเปนสาเหตุที่เกี่ยวของกับความพิการได 2. มารดามีอาการตกเลือดในระยะแรกของการมีครรภ 3. โรคติดเชื้อ เชน หัดเยอรมัน 4. มีความผิดปกติของฮอรโมนมารดา 5. มารดาไดรับสารกัมมันตภาพรังสี เชน รังสีเอกซ 6. อุบัติเหตุหรือการกระทบกระแทกโดยตรง 7. ความผิดปกติของยีนและโคโมโซน 8. ภาวะทุพโภชนาการของมารดา ศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว
  • 37. ลักษณะของแขนขาที่พิการแตกําเนิด สามารถแบงไดเปน 2 ลักษณะใหญ ๆ คือ 1. ลักษณะความพิการแบบแขนขาสวนปลายถูกตัดหายไป เปรียบคลายกับการถูกขวานฟน ทําใหแขน ขา สวนปลายขาดหายไป เหลือเพียงสวนตอแขน หรือตอขา 2. ลักษณะความพิการแบบแขน ขาบางสวนขาดหายไป แตสวนปลายลงไปยังเจริญเติบโต เปรียบ เหมือนกับถูกสัตวรายขบกัด ทําใหมีบางสวนขาดหายไป แตบางสวนยังเหลืออยู แนวทางในการใหการรักษาและฟนฟู •ผาตัดแกไขหรือตบแตงตอแขน หรือตอขา เพื่อสะดวกในการทําแขนเทียม หรือขาเทียม ซึ่งแพทยผูทํา การผาตัดจะพิจารณาถึงวิธีการเปนเฉพาะกรณีของผูพิการ •ฝกการใส และฝกการใชงานของแขน ขาเทียม •ฝกทักษะและความสามารถพิเศษ เชน ฝกการใชอวัยวะที่เหลืออยูในการทํางานทดแทนสวนที่ขาด หายไป •ฝกการชวยเหลือตนเองในการทํากิจวัตรประจําวัน ศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว
  • 38. การบาดเจ็บไขสันหลัง ไขสันหลังเปรียบเสมือนสายโทรศัพท ที่ใชติดตอสั่งการและรับรูเรื่องราวตาง ๆ จากที่ หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่ง เมื่อสายโทรศัพทขาดหรือชํารุดจึงทําใหไมสามารถรับหรือสงขอความได หรือรับสงไดแบบกระทอนกระแทน ไมชัดเจน ที่เปนเชนนี้เพราะไขสันหลังประกอบดวยใย ประสาทที่เชื่อมติดตอกับสมองที่เปนศูนยกลางของความคิดอานทําหนาที่รับรูและสั่งการมายัง เซลลประสาทที่อยูในไขสันหลัง ซึ่งเซลลประสาทเหลานี้มีใยประสาทสงตอไปควบคุมกลามเนื้อที่ อวัยวะตาง ๆ ของรางกาย เมื่อทุกอยางปกติสมองสามารถรับความรูสึกจากผิวหนังได และสั่งการ ใหอวัยวะตาง ๆ ทํางานดังที่ใจนึก แตเมื่อใดไขสันหลังไดรับบาดเจ็บ ชอกช้ํา ใยประสาทรับ ความรูสึกขาด เราจะไมสามารถรับรูวามีสิ่งเรามากระทบผิวหนัง นั้นคือ หมดความรูสึก หรือ รับรูไดแตนอยกวาปกติที่เรียกวาชา สวนใยประสาทสั่งการหรือเซลลประสาทสั่งการที่ไขสันหลัง เมื่อไดรับบาดเจ็บหรือถูกทําลายสมองไมสามารถสั่งการใหกลามเนื้อหดตัว ขอไมเคลื่อนไหวอยาง ที่ตองการซึ่งเราเรียกสภาวะนี้วา เปนอัมพาต ถายังพอขยับเขยื้อนไดบางเรียกวา ออนแรง ศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว
  • 39. ความผิดปกติทางการพูด (Communication Disorders) หมายถึง ความผิดปกติซึ่งเกิดจากการพูดผิดปกติในดานความชัดเจนในเรื่องการเปลงเสียง สระ พยัญชนะ การใชเสียง จังหวะและความคลองในการพูด การใชภาษาและความเขาใจ ภาษาพูด ตลอดจนความผิดปกติที่เกี่ยวกับการไดยิน หมายเหตุ ความผิดปกติทางการพูดมีความหมายเชนเดียวกับความผิดปกติในการสื่อความหมาย ศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว
  • 40. ประเภทของความผิดปกติทางการพูด (Types of Speech Disorders) มี 5 ประเภท 1. พูดชา (Delayed Speech) อายุในการพูดไมเหมาะสมกับวัย 2. พูดไมชัด (Articulatory Disorders) การเปลงเสียง เชน กิน อิน ฯลฯ 3. เสียงผิดปกติ (Voice Disorders) ความผิดปกติที่เกี่ยวของกับการทํางานของสายเสียง เชน เสียง เสียงแหบ – หาว พูดไมมีเสียง เสียงแตก ฯลฯ 4. ความผิดปกติทางภาษา (Language Disorders) เปนความผิดปกติทางการับรู และแปล ความหมายของคําพูด เชน ใชภาษาพูดไมถูกตองตามหลักไวยากรณ มีความผิดปกติในการรับฟง 5. มีความผิดปกติเกี่ยวกับความคลองในการพูดและจังหวะ เชน พูดติดอาง ศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว
  • 41. ปญหาการพูดของเด็กสมองพิการ 1. บางรายมีปญหาการควบคุมอวัยวะที่ใชเปลงเสียง ทําใหพูดลําบาก พูดไมชัด ฟงเขาใจยาก 2. มีปญหาในการเขาใจคําพูด ทั้ง ๆ ที่หูไดยิน 3. พูดไมไดทั้ง ๆ ที่เขาใจ สังเกตไดจากการที่ทําตามคําสั่งถูกตอง 4. ถาพูดไดอาจพูดเหมือนเปนประโยค แตมีคําที่มีความหมายเพียงไมกี่คํา หรือ ใชคําสลับที่กัน ศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว
  • 42. การวิเคราะหโครงการ โครงการประเภทเดียวกันในประเทศ ศูนยสิรินธรเพื่อการฟนฟูสมรรถภาพทางการแพทยแหงชาติ ศูนยฟนฟูสวางคนิวาส โครงการประเภทเดียวกันในตางประเทศ National Rehabittation Center For Disable Rehabittation roof garden Patricia Neal Rehabittation Center ศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว
  • 43. ศูนยสิรินธรเพื่อการฟนฟูสมรรถภาพทางการแพทยแหงชาติ ที่ตั้ง : ซอยโรงพยาบาลบําราศนราดูร ถนนติวานนท อําเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี บริเวณกระทรวงสาธารณสุข พื้นที่ : 33 ไร ลักษณะโครงการ ศูนยสิรินธรเพื่อการฟนฟูสมรรถภาพทางการแพทยแหงชาติเปนหนวยงานระดับกอง สังกัดกรมการแพทยกระทรวงสาธารณะสุข มีจุดหมายในการเปนศูนยกลางของ ภาครัฐในการรับผิดชอบทางวิชาการและการประสานงาน เพื่อพัฒนางานฟนฟู สมรรถภาพผูปวยและผูพิการของประเทศไทย โดยดําเนินการภายใตแผนพัฒนา เศรษฐกิจ และ สังคมแหงชาติ และ แผนเเมบทการฟนฟูสมรรถภาพคนพิการแหงชาติ ศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว
  • 44. ภารกิจขององคกรแบงไดเปน 2 สวนคือ •การวิจัยและพัฒนาองคความรู เทคโนโลยี รูปแบบ และ โปรแกรมการฟนฟู สมรรถภาพผูปวย ผูพิการ ที่มีคุณภาพ ประสิทธิภาพ และ เหมาะสมกับสังคมไทย •การสนับสนุนและการถายทอดทางวิชาการเพื่อการพัฒนาบริการฟนฟูสมรรถภาพ ผูปวย ผูพิการในสวนภูมิภาค เพื่อใหเกิดการกระจายการบริการ จนผูปวย/ผูพิการที่ ตองการรับบริการสามารถเขาถึงได เทาเทียมกัน ทั่วประเทศ ศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว
  • 45. สวนประกอบโครงการ •สวนอาคารผูปวยนอก สวนรักษาทางการแพทยและสวนบริหาร -โรงอาหาร รานคาสวัสดิการ -สวนกายภาพบําบัด กิจกรรมบําบัด -สวนอาชีวะบําบัด -สวนกายอุปกรณ -งานวิชาการ -หอพักผูปวยหญิง -หอพักผูปวยชาย -อาคารโภชนาการกลาง -อาคารซอมบํารุง -หองเครื่องอาคารเก็บของ -อาคารซักฟอก -หองเก็บศพ -อาคารกีฬาในรม -สนามฟุตบอล ศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว
  • 47. ลักษณะการวางผัง มีการจัดแบงพื้นที่ใชสอยเปน 2 สวน อยางชัดเจน คือสวนที่ทําการ บําบัด กับสวนที่พักผูปวย โดย แบงกลางดวยทางเดินหลัก กวาง 3 เมตร จัดกลุมตามลําดับการเขาถึง และ สะดวกตอการติดตอ เชน สวน service ที่สามารถติดตอโดยตรงกับสวนที่พักผูปวย โดยไมตองผานถนน และ สวนอื่น ๆ กอน จัดกลุมอาคารที่ใชสอยโดยผูปวยใหอยูในกลุมเดียวกัน มีทางสัญจรเชื่อมถึงกันโดยไมผานทางรถ (ยกเวนสวนของโรงอาหารที่สรางขึ้นมาทีหลัง ที่แยกตัวออกไปทําใหเกิดความยากลําบากในการ สัญจรของผูใช ( Wheelchair ) มีการเชื่อมตอ open space ของสนามกับสวนของโรงพยาบาลศรีธัญญา สราง มุมมองที่ดีใหกับบริเวณทาง สัญจรหลัก ผูปวยจะใชบริเวณทางสัญจรนี้เปนพื้นที่พักผอน อาน หนังสือ และ พบญาติมิตร ยังไมคอยมีการคํานึงถึงการสรางสภาพแวดลอมที่ดีมากนัก เชนทางรถที่ ผานสวนที่พักผูปวยตลอดเวลา และการวาง สวน service ที่เกิดเสียงรบกวน (โภชนาการ) ไวใกล ผูปวยเกินไป ศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว
  • 48. รูปแบบการสัญจร ทางเดินสัญจรวางตัวในลักษณะเปนเสนแลวทางแยก อาจสะดวกในดาน orientation แตในแง การติดตอกันจะไมสะดวกเพราะระยะทางที่ยืดยาว ตองเดินยอนกลับทางเดิมตลอดเวลา การขึ้นลงอาคารของผูปวย wheelchair เสนทางหลักคือ ramp ระหวางกึ่งกลางหมายเลข 1 และ 2 แตทDrop off รถยนตที่มีหลังคาคลุม อยูบริเวณหนาตึกผูปวยนอก ซึ่งไมสัมพันธกัน และ ramp ที่ ี่ ขึ้นอาคาร บริเวณจุด drop off ก็มีความชันเกินมาตรฐานเนื่องจากไมไดออกแบบพื้นที่เผื่อไว การสัญจรทางตั้งระหวางชั้น และ สําหรับผูปวย wheelchair สวนใหญใชทาง ลิฟทซึ่งอยู กึ่งกลางระหวางหอพักชายและหญิงเปนหลัก มีการทํา ramp เชื่อมในระดับความชัน 1 : 12 ที่ผูใช wheelchair ที่ฝกหัดแลวสามารถขึ้นไดดวยตัวเอง แตเมื่อสังเกตการใชงานแลว ผูที่ใช ramp กลับเปน คนปกติมากกวา อาคารเก็บศพวางตัวอยูที่ปลายสุดทางเดินที่จะไปอาคารกีฬาในรม ใหบรรยากาศไม ดี ศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว
  • 49. ลักษณะรูปแบบการและการวางตัวอาคาร อาคารสวนใหญสูง 2 ชั้น วางอาคารตาม orientaion แนว ตอ – ตต. แตภายในอาคาร ยังไมคํานึงถึงกับการรับแสงธรรมชาติมากนัก ลักษณะอาคาร ที่ทําการบําบัด จัดวางแบบ open plan ยืดหยุนการใชงานของผูปวย อาคารที่พักผูปวย จัดแบบsingle corrdor รับลมธรรมชาติ พื้นที่ชั้นหนึ่งสูงขึ้นจาก พื้น 1 เมตร เพื่อปองกันน้ําทวม ทําใหดูตัดขาดจากพื้นดิน ผูปวยไมสามารถ ลงไปที่ สนามที่เห็นอยูขางหนาโดยตรงได แตตองเดินออมไปลงที่อาคารกีฬาในรม การใชพื้นที่วางระหวางอาคาร มีการจัดวางตนไมประดับไว แตก็เปนไดเพียง เพื่อการมองเพียงอยางเดียวไมสามารถเขาถึงได ศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว
  • 50. หองฝงเข็ม ที่นั่งรอ ทางเดินไปยังอาคารตางๆ ศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว
  • 51. หองกายภาพบําบัด ทางเดินภายในอาคาร หอพักผูปวยในชาย หญิง สนามกีฬา ศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว
  • 52. ชองวางระหวางตึก ทางลงจากตัวอาคาร หองทํางาน ทางขึ้นอาคาร ศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว
  • 53. หองกายภาพ ที่หัดเดิน ที่ฝกการใชชีวิตประจําวัน ที่ฝกพัฒนาการพูด ศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว
  • 55. ปญหาที่เกิดขึ้นในโครงการ สวนใหญเปนปญหาเรื่องการใชงานที่แตกตางกัน ของผูปวยใช wheelchair ผูปวยที่มีปญหาเรื่องกระดูกสันหลังและ ผูปวยที่ใชไมเทา เชน ระดับ dimension ของผูปวยที่นั่งเกาอี้จะต่ํากวาระดับปกติ ทําใหการออกแบบ เฉพาะสวน เชน ระดับเคาทเตอร ระดับเสียง ที่ต่ํากวาปกติ สรางปญหาใหผูปวยที่มี ปญหาเรื่องกระดูกสันหลัง ที่ไมสามารถกมตัวได การออกแบบพื้นที่เปลี่ยนระดับ ควรตองมีทั้ง ramp และบันไดไปพรอม ๆ กัน เพราะผูปวยที่ใชไมเทา สามารถขึ้นดวยบันไดสะดวกกวา ramp ศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว
  • 56. ศูนยฟนฟูสวางคนิวาส ที่ตั้ง : ศูนยเวชศาสตรฟนฟูสวางนาคนิวาส หมู2 ถนนสุขุมวิท (สายเกา) ต.ทายบาน อ.  เมือง จ.สมุทรปราการ การเดินทาง :นั่งรถสองแถววินรถ 36 เดินทางจากตลาดปากน้ํา ระยะทาง 6 กิโลเมตร หรือขับรถยนตบนเสนทางสุขุมวิทสายเกาประมาณกิโลเมตรที่ 32 สิ่งที่นาสนใจสวางคนิวาส เนนเรื่องการบริการสาธารณสุขเปนสวนใหญ และยังเปนที่พักผอนหยอนใจที่มีชื่อเสียง มากที่สุดแหงหนึ่ง มีทั้งที่พักไวบริการดวยปจจุบันสวางคนิวาสซึ่งเปนสวนหนึ่งของ โรงพยาบาลจุฬาฯ เปนที่ตั้งสถานีกาชาดที่ 3 ใหบริการผูปวยนอกและการสาธารณสุขทุก อยาง และยังมีตึกผูปวยในไวเปนสถานพักฟนหลังการผาตัดของผูปวยจากโรงพยาบาล จุฬาฯ และยังมีตึกสถานพักฟนคนชราสําหรับขายเปนหองๆ หรือจายเปนรายเดือน โดย สวางคนิวาสจะมีบริการอาหาร กายภาพบําบัด และดูแบบอยางดี นอกจากนี้ยังมีหอง ประชุมตางๆดวย ศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว
  • 57. แนวความคิดในการวางผัง เนื่องจากศูนยสวางคนิวาสเปนการนําเอาอาคารเกามาดัดแปลงทําจึงคอนขาง มีขอจํากัดในแง Space การใชงาน การแบงพื้นที่ใชงานระหวาง Function ที่เกี่ยวของ และไมเกี่ยวของไมเดนชัด ศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว
  • 58. แนวความคิดในดานการออกแบบประโยชนใชสอย ศูนยฟนฟูสวางคนิวาสเดิมใชเปนสถานพักฟนอยางเดียวจนภายหลัง ไดเปลี่ยนแปลงและปรับปรุงเปนศูนยฟนฟูสวางคนิวาส ซึ่งรองรับคนพิการที่พนขีด อันตรายแลวจากโรงพยาบาลจุฬาฯ และในบางสวนยังตองไดรับการดูแลเปนระยะเวลา ยาวนาน การรักษามุงเนนเรื่องการฟนฟูสภาพของผูปวยใหกลับเปนปกติหรือใหดีที่สุด เทาที่จะทําได โดยมีอาคารตางๆดังนี้ อาคารสถานีกาชาดที่ 5 ทําหนาที่เปนอาคารตรวจโรคพรอมอุปกรณ ที่จะอํานวยความสะดวกในการตรวจรางกายโดยระเอียด รวมทั้งทําหนาที่เปนตึก อํานวยการดวย ศูนยเวชศาสตรฟนฟู เปนอาคาร 4 ชั้น โดยอาคารนี้มีหองนอนเดี่ยว และหองน้ําสวนตัว 40 หอง สวนมากเปนคนไขหญิง และคนไขอัมพาตที่อาการ คอนขางมาก สวนคนไขที่เหลือเปนคนไขชาย จะไปอยูบริเวณตึก 9 ซึ่งเปนอาคาร 2 ชั้น โดยชั้นบนเปนที่พักเจาหนาที่ ศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว
  • 59. แนวความคิดในการออกแบบรูปทรงสถาปตยกรรม เนื่องจากศูนยฟนฟูสวางคนิวาสเปนการนําเอาอาคารเกามาดัดแปลง ทําใหงาน สถาปตยกรรมที่ออกมามีการจํากัด Space ในแงการใชงาน ซึ่งปรากฎใหเห็นถึงความ คับแคบในการใชงานของเจาหนาที่และผูปวย นอกจากนี้ในการออกแบบอาคารเดิม ผูออกแบบไมไดพิจารณาความคิดเปนของเจาหนาที่ทางการแพทยทําใหลักษณะทั่วไป บางจุดไมสอดคลองกับการใชงาน ศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว
  • 60. โครงการในตางประเทศ National Rehabittion Center For Disable ที่ตั้ง : 1 Namiki 4 – Chome Tokorozawa Coty Saitama Prefecture 359 Japan พื้นที่ : 140 ไร ลักษณะโครงการ เปนศูนยฟนฟูสมรรถภาพคนพิการระดับชาติของญี่ปุน โดยมีกิจกรรมที่ใหบริการแบง ออกเปน 4 สวนใหญ ๆ คือ 1. Comprehensive Rehabittation Services การใหบริการฟนฟูสมรรถภาพคนพิการ โดยทีมผูเชี่ยวชาญทางดานตาง ๆ ที่เกี่ยวของ กับการฟนฟูสมรรถภาพคนพิการ ซึ่งรวมทั้งคนพิการแขนขา ลําตัว คนตาบอด หูหนวก เปนใบ จุดประสงคเพื่อใหสามารถกลับเขาสูสังคม ได (Re – Entry into Society ) ศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว
  • 62. 2.Research and Development of Rehabittation Technique สวนบริการ มีหนาที่ทําการคนควาวิจัยและพัฒนาเทคนิคตาง ๆ ที่จะชวยในการฟนฟูผู พิการ 3.Training of Professional Staff สวนของวิทยาลัย ทําหนาที่ผลิตบุคลากรทางการแพทย ที่เกี่ยวของกับผูพิการ • Infotmation Service เปนศูนยรวมขาวสารตาง ๆ ที่เกี่ยวกับการฟนฟูสมรรถภาพคนพิการในญี่ปุนและประเทศ ตาง ๆ ทั่วโลก ศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว
  • 63. สวนประกอบโครงการดานลักษณะอาคารและเนื้อที่ (ตารางเมตร) สวนโรงพยาบาล (Nursing ) 13,087 สวนงานวิจัย 3,108 ศูนยฝก 7,655 วิทยาลัย 2,314 หอพักผูฝก (Non – nursing) 17,064 หอพักนักศึกษา 3,768 โรงยิมเนเซียมและสระวายน้ําในรม 2,919 สวนบริการ บริการ และ อื่น ๆ 22,050 สวนกายอุปกรณเทียมและโรงงานผลิต 1,339 ศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว
  • 65. รูปแบบการวางผัง มีการจัดวางผังใหมีความสัมพันธกันตามความตองการการใชสอยและลําดับ การเขาถึงอยางชัดเจน เชนการจัดวางผังแบงตาม พื้นที่ Public (Admin) Semi – public (hospital vocational education active receation)และสวน Private (non – nursing dorm service staff dorm) และ การจัดความสัมพันธของแตละสวน เชนสวน Service ที่สามารถบริการสวนของโครงการไดคอนขางทั่วถึง สวนของที่พัก staff ที่จัด ใหใกลสวนที่พักผูใชแบบNon – nursing ทําใหผูใชรูสึกปลอดภัย และปองกันในกรณี ตองชวยผูใชซึ่งเปนผูพิการยามฉุกเฉิน เชน อุบัติเหตุไฟไหม สวนของ recreation ที่ สะดวกตอผูใชพิการและ ความเชื่อมโยงกับสวนบําบัด เนื่องจากสภาพพื้นที่ลอมรอบดวยถนน จึงมีการวางพื้นที่โดยกันสวนที่พัก ผูปวยและสวนการบําบัดซึ่งตองการความสงบมากที่สุด ใหอยูหางจากถนนดวยพื้นที่ใช สอยอื่นจัดสวน sport rectation ซึ่งเปน open – space ผืนใหญในโครงการใหมี ความสัมพันธกับ พื้นที่ขาง ๆ ที่เปน Open space ผืนใหญใหตอเนื่องกัน ศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว
  • 66. รูปแบบการสัญจร เนื่องจากพื้นที่ขนาดใหญ และ ตองมีทาง service ของรถยนตเขาถึงโดยรอบ จึงมีทางเขาออกและทางสัญจรเปนจํานวนมาก มีการแยกระบบสัญจรของผูพิการกับรถออกจากกันโดยในสวนทางสัญจรของคนจะ เชื่อมดวย cover way ตลอดแตก็ยังมีการตัดกันของทางรถและคนในบางจุดซึ่งอาจ เกิดอันตรายไดเสนทางเดินมีลักษณะตรงไปตรงมา ซึ่งจะสะดวกตอผูใช wheelchair ผูพิการทางตา ศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว
  • 67. ลักษณะรูปแบบและการวางตัวอาคาร สภาพอาคารสวนใหญเปนตึกสูงขนาดใหญ คลายโรงพยาบาลทั่วไป ใชลิฟทในการ สัญจรทางตั้ง เพื่ออํานวยความสะดวกตอผูพิการ ซึ่งอาจไมคอยเหมาะสมในแงการ ฟนฟูสุขภาพมากนัก มีการจัดกลุมอาคารใหลอมรอบ court ทําใหเกิดการไหลของ open space อยางตอเนื่อง โดยมีสวนOutdoor training facitty เปน open – space สีเขียวผืนใหญ ซึ่งเปนการเปดมุมมองที่ดีใหผูใชที่อยูในอาคาร ศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว
  • 69. Rehabittation roof garden Patricia Neal Rehabittation Center ที่ตั้ง : downtown Knoxville Tenessee พื้นที่ : 1,300 ตรม ลักษณะโครงการ เปนโครงการปรับปรุงหลังคาของโรงพยาบาลใหเปนสวนเพื่อการบําบัด ที่ชวยสงเสริม การฟนฟูสภาพผูปวย โดย มีแนวความคิดหลักคือการตอบสนองทางรางกาย อารมณ และ จิตวิญญาณตอผูปวย รวมทั้งญาติครอบครัวและเจาหนาที่ในโรงพยาบาล ศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว
  • 71. สวนประกอบโครงการ มีการแบงพื้นที่หลังคารูปตัว L ออกเปน 5 สวน ที่มีความหลากหลายตางกัน เพื่อใหมี space ที่หลากหลายสามารถเลือกใชไดตามตองการ แลวเชื่อมสวนตาง ๆ เขาดวยกัน ดวยทางเดินรูปรางคดเคี้ยว ซึ่งแตละ spaceสามารถเชื่อมถึงกันดวยสายตาได โดยการ ออกแบบที่คํานึงถึงผูใชเกาอี้ลอเลื่อนเปนหลัก โดยมี sequence ในการเขาถึงโดยบริเวณ lifft (A) ซึ่งมีคนเขาถึงมากจะเปน active zone แลวคอย ๆ ลดความ active ลงมาเรื่อย ๆ ศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว
  • 72. การแกปญหาในงานออกแบบ 1.ดานการรับน้ําหนัก เนื่องจากเปน สวนหลังคา จึงมีการคํานึงถึงความมั่นคงของโครงสราง โดยการ วางตําแหนงตนไมตามหัวเสา และ การเลือกใชวัสดุปลูกที่ลดน้ําหนักแลว 2.ดานการระบายน้ํา ใชระบบการระบายน้ํา 3 ระบบดวยกัน คือ การระบายตามรองน้ํา และ การระบายน้ําออกจากผิวพื้นโดยตรงในกรณีฉุกเฉิน นอกจากนี้ยังมีการควบคุมระบบรดน้ําโดยการให น้ํา แบบอัตโนมัติตามอุณหภูมิ เพื่อควบคุมน้ําหนักที่จะรองรับ และ ใหน้ํามีปริมาณที่เหมาะสมกับ ตนไม การใชพืชพรรณ เนื่องจากบริเวณสวนถูกลอมรอบดวยอาคารสูง 4 – 6 ชั้น จึงตองมีการเลือกใชพืช พรรณใหเหมาะสมกับปริมาณแสงแดด โดยผูออกแบบไดเลือกใชพืชพรรณทองถิ่นที่ชอบรมเงาใน สวนที่รับแสงนอย พืชพรรณที่ใชเปนประเภท texture ละเอียด ซึ่งนอกจากจะไมดานลมแลวยังทําใหเห็นความ เคลื่อนไหวของใบที่พัดปลิวตามแรงลม ที่ดูมีชีวิตชีวา ศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว
  • 74. รายละเอียดของประเภทและจํานวนผูใช โครงการศูนยฟนฟูฯ มีผูใช 3 กลุมหลักคือ 1. คนไข Patient ไดแก patient ผูปวยใน Out-patient ผูปวยนอก 2. เจาหนาที่ Staff ไดแก แพทยทางดานเวชศาสตรฟนฟูและ กายภาพบําบัด พยาบาล และเจาหนาที่ทั่วไป 3. ผูมาเยี่ยม Visitor ไดแก ผูมาเยี่ยมผูปวย ผูมาติดตองานทั่วไป ศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว
  • 75. 1. คนไข Patient ประเภทของคนไข คนไขที่มาทําการบําบัดในศูนย ไดแก ผูที่มีความเสื่อม หรือ สูญเสียการทํางานของอวัยวะบางสวน จากสาเหตุตางๆ เชน โรคภัยไขเจ็บ การ ผาตัด และการเปนมาแตกําเนิด ซึ่งตองการการบําบัดเพื่อฟนฟูสมรรถภาพใหใช การไดหรือดําเนินชีวิตไดตามปกติ อาจเปนผูพิการจริงหรือผูที่มีความบกพรองทาง รางกายและอวัยวะเปนการชั่วคราวที่สามารถฟนฟูใหดีดังเดิมได โดยทั้งผูปวยใน และนอกจะมีปญหาทางสมรรถภาพคลายคลึงกัน โดยสามารถแบงประเภทผูปวย ความจําเสื่อม สมรรถภาพทางรางกายได คือ ผูมีปญหาทางแขนขาและลําตัว เมื่อดูจากสถิติ 10 อันดับของจํานวนผูปวยในและนอกของศูนยสิรนทรเพื่อการฟนฟูฯ ิ แลว ปรากฎวา ผูปวยสวนใหญนั้นเปนผูที่มีปญหาทางแขนขาและลําตัวเปนหลัก เชน ภาวะการเจ็บปวยของระบบกระดูกและกลามเนื้อ ภาวะอัมพาตครึ่งซีก ครึ่ง ทอนและทั้งตัว และผูพิการแขนขาขาด ซึ่งเปนประเภทที่มากที่สุดของผูพิการใน ภาคกลาง ศูนยฟนฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว