SlideShare a Scribd company logo
1 of 17
บทที่บทที่ 22
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี
การศึกษาการศึกษาโดย
553050054-8 นางสาวกัลยาณี ทองทับ
553050090-4 นางสาวภัทรสุดา ประสาน
พันธ์
553050102-3 นางสาวศศิธร พลไธสง
ภารกิจภารกิจ 1 :1 :วิเคราะห์แนวคิดวิธีการวิเคราะห์แนวคิดวิธีการ
จัดการเรียนการสอนของครูสมศรีจัดการเรียนการสอนของครูสมศรี
ไม่สอดคล้องกับยุคปฏิรูปการศึกษาที่เน้นผู้เรียนเป็น
สำาคัญ เพราะการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็น
สำาคัญ คือ การจัดการให้ผู้เรียนสร้างความรู้ใหม่โดย
ผ่านกระบวนการคิดด้วยตนเอง ทำาให้ผู้เรียนได้เรียนรู้
ด้วยการลงมือปฏิบัติ เกิดความเข้าใจ และสามารถนำา
ความรู้ไปบูรณาการใช้ในชีวิตประจำาวัน
ส่วนครูสมศรีมักจะสอนหรือบรรยายให้นักเรียนซึ่ง
เป็นการยึดตัวเองและเนื้อหาเป็นสำาคัญ เพราะเชื่อว่า
สามารถทำาให้นักเรียนจำาเนื้อหา เรื่องราวในบทเรียน
ได้มากที่สุด แต่ในความเป็นจริงเมื่อนักเรียนเรียนผ่าน
มาได้ไม่นานก็ทำาให้ลืมเนื้อหาที่เคยเรียนมา ไม่สามารถ
คิดได้ด้วยตนเองและไม่สามารถที่จะนำามาใช้แก้ปัญหา
ในชีวิตประจำาวันได้
วิเคราะห์การใช้สื่อการสอนของครูสมศรีวิเคราะห์การใช้สื่อการสอนของครูสมศรี
ไม่สอดคล้องกับยุคปฏิรูปการศึกษาที่
เน้นผู้เรียนเป็นสำาคัญ เพราะสื่อที่ดีควรเป็น
สื่อที่ให้ผู้เรียนได้มีส่วนร่วม ต้องเปิดโอกาส
ให้นักเรียนเป็นผู้เลือกหรือตัดสินใจใน
เนื้อหาสาระที่สนใจ ไม่ใช่และสื่อการสอนที่
เน้นการถ่ายทอดความรู้ ไม่ว่าจะเป็น
หนังสือเรียน, การสอนบนกระดาน หรือแม้
กระทั่งวิดีโอที่นามาเปิดให้นักเรียนได้เรียน
วิเคราะห์วิธีการเรียนรู้ของนักเรียนวิเคราะห์วิธีการเรียนรู้ของนักเรียน
ไม่สอดคล้องกับยุคปฏิรูปการศึกษาที่เน้นผู้
เรียนเป็นสำาคัญ เพราะตัวบ่งชี้ที่บอกถึงลักษณะ
การเรียนรู้ของผู้เรียนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำาคัญ จะ
ประกอบด้วย
1. การเรียนรู้อย่างมีความสุข
2. การเรียนรู้จากการได้คิดและลงมือปฏิบัติ
จริง หรือกล่าวอีกลักษณะหนึ่งคือ “เรียนด้วย
สมองและสองมือ”
3. การเรียนรู้จากแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลาย
และเรียนรู้ร่วมกับบุคคลอื่น
4. การเรียนรู้แบบองค์รวมหรือบูรณาการ
เป็นการเรียนรู้ที่ผสมผสานสาระความรู้ด้าน
ต่างๆ ได้สัดส่วนกัน รวมทั้งปลูกฝังคุณธรรม
ความดีงาม และคุณลักษณะอันพึง
ประสงค์ในทุกวิชาที่จัดให้เรียนรู้
5. การเรียนรู้ด้วยกระบวนการเรียนรู้ของ
ตนเอง เป็นผลสืบเนื่องมาจากความเข้าใจของผู้
จัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำาคัญว่า ทุกคน
เรียนรู้ได้และเป้าหมายที่สำาคัญคือ พัฒนาผู้เรียน
ให้มีความสามารถที่จะแสวงหาความรู้ได้ด้วย
ตนเอง
แต่นักเรียนของครูสมศรีรอรับเอาความรู้จากครู
แต่เพียงอย่างเดียว ดำาเนินกิจกรรมการเรียน
ตามที่ครูกำาหนดทั้งหมด เรียนได้ไม่นานก็เบื่อ
ไม่กระตือรือร้นที่จะหาความรู้เพิ่มเติมจากนอก
ห้องเรียน
ภารกิจที่ภารกิจที่ 22
วิเคราะห์เกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงทางการวิเคราะห์เกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงทางการ
ศึกษามาสู่ยุคการปฏิรูปการเรียนรู้ว่ามีการศึกษามาสู่ยุคการปฏิรูปการเรียนรู้ว่ามีการ
เปลี่ยนแปลงทางด้านใดบ้าง พร้อมอธิบายเปลี่ยนแปลงทางด้านใดบ้าง พร้อมอธิบาย
เหตุผลสนับสนุนเหตุผลสนับสนุน
การเปลี่ยนแปลงด้านกระบวนการการเรียนการเปลี่ยนแปลงด้านกระบวนการการเรียน
การสอนการสอน
ยุคปฏิรูปการศึกษาจะเน้นที่ผู้เรียนเป็นสำาคัญ ดังนั้นยุคปฏิรูปการศึกษาจะเน้นที่ผู้เรียนเป็นสำาคัญ ดังนั้น
จึงจะต้องให้ความสำาคัญของผู้เรียนโดยการมีส่วนจึงจะต้องให้ความสำาคัญของผู้เรียนโดยการมีส่วน
ร่วมในการเรียนการสอน ผู้เรียนจะต้องเป็นมนุษย์ที่ร่วมในการเรียนการสอน ผู้เรียนจะต้องเป็นมนุษย์ที่
สมบูรณ์ ต้องรู้จักคิด รู้จักทำาเป็น รู้จักแก้ปัญหาได้สมบูรณ์ ต้องรู้จักคิด รู้จักทำาเป็น รู้จักแก้ปัญหาได้
และปฏิบัติในวิถีทางที่เหมาะสมจึงจะมีกระบวนการและปฏิบัติในวิถีทางที่เหมาะสมจึงจะมีกระบวนการ
เรียนการสอนที่ได้นำาเทคโนโลยีเข้ามีส่วนช่วยในเรียนการสอนที่ได้นำาเทคโนโลยีเข้ามีส่วนช่วยใน
การเรียนรู้การเรียนรู้ ซึ่งเทคโนโลยีจะเป็นสื่อที่ทำาให้ผู้เรียนซึ่งเทคโนโลยีจะเป็นสื่อที่ทำาให้ผู้เรียน
รู้จักค้นคว้าและศึกษาด้วยตัวเองได้รู้จักค้นคว้าและศึกษาด้วยตัวเองได้
ในปัจจุบันได้มีเทคโนโลยีและนวัตกรรมการในปัจจุบันได้มีเทคโนโลยีและนวัตกรรมการ
ศึกษาเข้ามาเป็นสื่อในกระบวนการเรียนรู้ซึ่งสิ่งเหล่าศึกษาเข้ามาเป็นสื่อในกระบวนการเรียนรู้ซึ่งสิ่งเหล่า
นี้ทำาให้ผู้เรียนสามารถจดจำาและเรียนรู้ได้อย่างมีนี้ทำาให้ผู้เรียนสามารถจดจำาและเรียนรู้ได้อย่างมี
ประสิทธิภาพและรู้จักคิดหาความรู้และสร้างสรรค์ประสิทธิภาพและรู้จักคิดหาความรู้และสร้างสรรค์
ความคิดใหม่ๆเพิ่มได้ความคิดใหม่ๆเพิ่มได้
การเปลี่ยนแปลงด้านผู้การเปลี่ยนแปลงด้านผู้
สอนและผู้เรียนสอนและผู้เรียน
ในปัจจุบันผู้เรียนมีความ
ต้องการที่จะเรียนรู้เพิ่มมากขึ้น
ทำาให้กล้าที่จะอยากรู้ อยาก
เห็น อยากแสดงความคิดเห็น
อยากทดลอง ซึ่งสิ่งเหล่านี้ผู้
สอนต้องเข้าใจในตัวผู้เรียน
และต้องมีความรู้ในเรื่องของ
เทคโนโลยีและนวัตกรรมใหม่ๆ
ด้วย เพราะต้องนำาไปตอบ
สนองความต้องการของผู้เรียน
ที่มีไม่จำากัดและควรมีเทคนิค
วิธีการ ที่จะทำาให้ผู้เรียนสนใจ
ในเรื่องนั้นจะทำาให้น่าศึกษายิ่ง
ขึ้น
ภารกิจที่ภารกิจที่ 33
ครูควรบรรยายโดยใช้เรื่องเล่า หรือเชื่อมโยงเนื้อหาให้เป็น
เรื่องราว เพิ่มความสนุก จะทำาให้เด็กเข้าใจและจำาได้ เพราะวิชา
สังคมศึกษา เป็นวิชาที่มีรายละเอียดเยอะ หากบรรยายเฉพาะเนื้อหา
ล้วนๆก็ค่อนข้างน่าเบื่อ เด็กบางคนอาจจะไม่ใส่เลยก็ได้
ครูควรบรรยายโดยใช้เรื่องเล่า หรือเชื่อมโยงเนื้อหาให้เป็น
เรื่องราว เพิ่มความสนุก จะทำาให้เด็กเข้าใจและจำาได้ เพราะวิชา
สังคมศึกษา เป็นวิชาที่มีรายละเอียดเยอะ หากบรรยายเฉพาะเนื้อหา
ล้วนๆก็ค่อนข้างน่าเบื่อ เด็กบางคนอาจจะไม่ใส่เลยก็ได้
ควรเน้นให้เด็กเป็นศูนย์กลาง มีการแลกเปลี่ยน เปิดโอกาส
ให้เด็กได้ซักถาม หรืออธิบายแนวความคิดของตนเองต่อเรื่องนั้นๆ
ควรเน้นให้เด็กเป็นศูนย์กลาง มีการแลกเปลี่ยน เปิดโอกาส
ให้เด็กได้ซักถาม หรืออธิบายแนวความคิดของตนเองต่อเรื่องนั้นๆ
หากสังเกตเห็นว่าเด็กเริ่มเบื่อและไม่สนใจ ครูควรจะเล่า
เรื่องทั่วไปที่ไม่เกี่ยวกับเนื้อหา เพื่อกระตุ้นให้เด็กสนใจฟัง และนำา
เรื่องเล่าเหล่านั้นมาเชื่อมโยงเข้าสู่เนื้อหาที่ครูกำาลังสอน
หากสังเกตเห็นว่าเด็กเริ่มเบื่อและไม่สนใจ ครูควรจะเล่า
เรื่องทั่วไปที่ไม่เกี่ยวกับเนื้อหา เพื่อกระตุ้นให้เด็กสนใจฟัง และนำา
เรื่องเล่าเหล่านั้นมาเชื่อมโยงเข้าสู่เนื้อหาที่ครูกำาลังสอน
ให้เด็กได้ลงมือปฏิบัติ สรุปความเข้าใจด้วยตนเองหรือ
รวมกลุ่มระดมสมอง ออกมาในรูปแบบที่สร้างสรรค์ สวยงาม
เช่น แผนผังความคิด การวาดภาพ การแสดง บอกเล่าหน้า
ชั้นเรียน ซึ่งนอกจากเด็กจะตั้งใจเรียนแล้ว ยังสามารถสรุป
ความคิดรวบยอดของคาบเรียนนั้นๆได้อีกด้วย
ให้เด็กได้ลงมือปฏิบัติ สรุปความเข้าใจด้วยตนเองหรือ
รวมกลุ่มระดมสมอง ออกมาในรูปแบบที่สร้างสรรค์ สวยงาม
เช่น แผนผังความคิด การวาดภาพ การแสดง บอกเล่าหน้า
ชั้นเรียน ซึ่งนอกจากเด็กจะตั้งใจเรียนแล้ว ยังสามารถสรุป
ความคิดรวบยอดของคาบเรียนนั้นๆได้อีกด้วย
ครูควรนำาเสนอสื่อประกอบการเรียนการสอนที่น่า
สนใจ อาจจะทำาบอร์ดที่สรุปสั้นๆ อ่านง่าย ตกแต่งด้วยรูป
การ์ตูน ให้น่าสนใจ
ครูควรนำาเสนอสื่อประกอบการเรียนการสอนที่น่า
สนใจ อาจจะทำาบอร์ดที่สรุปสั้นๆ อ่านง่าย ตกแต่งด้วยรูป
การ์ตูน ให้น่าสนใจ
ในระหว่างการเรียนอาจจะมีการเปิดวิดีทัศน์ที่เป็นภาพ
เคลื่อนไหว ก็จะทำาให้เด็กสนใจ และเข้าใจเนื้อหาได้ง่ายขึ้น
ในระหว่างการเรียนอาจจะมีการเปิดวิดีทัศน์ที่เป็นภาพ
เคลื่อนไหว ก็จะทำาให้เด็กสนใจ และเข้าใจเนื้อหาได้ง่ายขึ้น
ครูควรจะยกตัวอย่างเหตุการณ์ หรือเรื่องราวต่างๆที่อยู่
รอบตัวเด็กมาประกอบการสอน แล้วให้เด็กกลับไปหาคำาตอบ
โดยคำาตอบนั้นต้องเปิดกว้าง
ครูควรจะยกตัวอย่างเหตุการณ์ หรือเรื่องราวต่างๆที่อยู่
รอบตัวเด็กมาประกอบการสอน แล้วให้เด็กกลับไปหาคำาตอบ
โดยคำาตอบนั้นต้องเปิดกว้าง
ครูควรจะสอนอย่างสนุกสนาน อาจจะมีอุปกรณ์
ให้เด็กใช้ประกอบการตอบคำาถามของครู
เปิดวิดีทัศน์เกี่ยวกับเนื้อหาที่สอน ประกอบการ
อธิบาย
นำาสื่อหรือออุปกรณ์มาใช้ประกอบการสอน และในขณะที่
สอนอาจจะให้เด็กออกมาถ่ายทอดความรู้ตามความเข้าใจแก่
เพื่อนในชั้นเรียน
ทำำสื่อประกอบกำรเรียนกำรสอนที่สมจริง สวยงำม
ก็จะช่วยดึงดูดควำมสนใจ และทำำให้กำรเรียนกำร
สอนไม่น่ำเบื่อ
ให้นักเรียนสรุปควำมเข้ำใจในเนื้อหำ
แล้วนำำเสนอออกมำในรูปแบบ
ต่ำงๆ จะทำำให้เด็กได้ทบทวนควำมรู้
และหำข้อมูลเพิ่มเติม และได้ใช้ควำม
คิดสร้ำงสรรค์ด้วย

More Related Content

What's hot

บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้Natcha Wannakot
 
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี.pptx
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี.pptxการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี.pptx
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี.pptxAiijoo Yume
 
การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา2
การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา2การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา2
การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา2Prachyanun Nilsook
 
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อ และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อ และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อ และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อ และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้panisa thepthawat
 
Media&tech2learn 003 - Part 3
Media&tech2learn 003 - Part 3Media&tech2learn 003 - Part 3
Media&tech2learn 003 - Part 3Kittipun Udomseth
 
เค้าโครงวิจัยปริญญาเอก
เค้าโครงวิจัยปริญญาเอกเค้าโครงวิจัยปริญญาเอก
เค้าโครงวิจัยปริญญาเอกarunrat bamrungchit
 
Smart learning environment
Smart learning environmentSmart learning environment
Smart learning environmentTar Bt
 
โครงร่างวิทยานิพนธ์ นายปรัชญา จันตา
โครงร่างวิทยานิพนธ์ นายปรัชญา จันตาโครงร่างวิทยานิพนธ์ นายปรัชญา จันตา
โครงร่างวิทยานิพนธ์ นายปรัชญา จันตาKUSMP
 
การพัฒนานวัตกรรมด้านหลักสูตรและการสอน
การพัฒนานวัตกรรมด้านหลักสูตรและการสอนการพัฒนานวัตกรรมด้านหลักสูตรและการสอน
การพัฒนานวัตกรรมด้านหลักสูตรและการสอนDrsek Sai
 
Chapter6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
Chapter6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้Chapter6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
Chapter6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้Prakaidao Suebwong
 
โครงงานค่ายคณิตศาสตร์
โครงงานค่ายคณิตศาสตร์โครงงานค่ายคณิตศาสตร์
โครงงานค่ายคณิตศาสตร์guest897da
 
คุณภาพการศึกษา ยุคประเทศไทย 4.0
คุณภาพการศึกษา ยุคประเทศไทย 4.0คุณภาพการศึกษา ยุคประเทศไทย 4.0
คุณภาพการศึกษา ยุคประเทศไทย 4.0Pattie Pattie
 
การจัดการหลักสูตรทางเลือก ดรุณสิกขาลัย
การจัดการหลักสูตรทางเลือก ดรุณสิกขาลัย การจัดการหลักสูตรทางเลือก ดรุณสิกขาลัย
การจัดการหลักสูตรทางเลือก ดรุณสิกขาลัย Kanyarat Sirimathep
 
Online active learning
Online active learningOnline active learning
Online active learningTar Bt
 

What's hot (20)

บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
 
Learning platform
Learning platformLearning platform
Learning platform
 
241203 chapter02
241203 chapter02241203 chapter02
241203 chapter02
 
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี.pptx
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี.pptxการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี.pptx
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี.pptx
 
การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา2
การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา2การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา2
การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา2
 
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อ และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อ และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อ และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อ และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
 
Media&tech2learn 003 - Part 3
Media&tech2learn 003 - Part 3Media&tech2learn 003 - Part 3
Media&tech2learn 003 - Part 3
 
Utq 2128 1-pdf
Utq 2128 1-pdfUtq 2128 1-pdf
Utq 2128 1-pdf
 
Flipped Learning-Research
Flipped Learning-ResearchFlipped Learning-Research
Flipped Learning-Research
 
เค้าโครงวิจัยปริญญาเอก
เค้าโครงวิจัยปริญญาเอกเค้าโครงวิจัยปริญญาเอก
เค้าโครงวิจัยปริญญาเอก
 
Smart learning environment
Smart learning environmentSmart learning environment
Smart learning environment
 
Chapter 10
Chapter 10Chapter 10
Chapter 10
 
โครงร่างวิทยานิพนธ์ นายปรัชญา จันตา
โครงร่างวิทยานิพนธ์ นายปรัชญา จันตาโครงร่างวิทยานิพนธ์ นายปรัชญา จันตา
โครงร่างวิทยานิพนธ์ นายปรัชญา จันตา
 
Flipped 2014
Flipped 2014Flipped 2014
Flipped 2014
 
การพัฒนานวัตกรรมด้านหลักสูตรและการสอน
การพัฒนานวัตกรรมด้านหลักสูตรและการสอนการพัฒนานวัตกรรมด้านหลักสูตรและการสอน
การพัฒนานวัตกรรมด้านหลักสูตรและการสอน
 
Chapter6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
Chapter6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้Chapter6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
Chapter6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
 
โครงงานค่ายคณิตศาสตร์
โครงงานค่ายคณิตศาสตร์โครงงานค่ายคณิตศาสตร์
โครงงานค่ายคณิตศาสตร์
 
คุณภาพการศึกษา ยุคประเทศไทย 4.0
คุณภาพการศึกษา ยุคประเทศไทย 4.0คุณภาพการศึกษา ยุคประเทศไทย 4.0
คุณภาพการศึกษา ยุคประเทศไทย 4.0
 
การจัดการหลักสูตรทางเลือก ดรุณสิกขาลัย
การจัดการหลักสูตรทางเลือก ดรุณสิกขาลัย การจัดการหลักสูตรทางเลือก ดรุณสิกขาลัย
การจัดการหลักสูตรทางเลือก ดรุณสิกขาลัย
 
Online active learning
Online active learningOnline active learning
Online active learning
 

Viewers also liked

บทที่8 การผลิตกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
บทที่8 การผลิตกราฟิกเพื่อการเรียนการสอนบทที่8 การผลิตกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
บทที่8 การผลิตกราฟิกเพื่อการเรียนการสอนKanatip Sriwarom
 
9 7-เปิดประตู
9 7-เปิดประตู 9 7-เปิดประตู
9 7-เปิดประตู patmalya
 
การสมัครเข้ารับการอบรมทักษะการรู้สารสนเทศที่ KKU library
การสมัครเข้ารับการอบรมทักษะการรู้สารสนเทศที่ KKU libraryการสมัครเข้ารับการอบรมทักษะการรู้สารสนเทศที่ KKU library
การสมัครเข้ารับการอบรมทักษะการรู้สารสนเทศที่ KKU libraryRachanee Inlek
 
บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้Kanatip Sriwarom
 
สื่อการสอน
สื่อการสอนสื่อการสอน
สื่อการสอนWanidchaya Ongsara
 

Viewers also liked (6)

บทที่8 การผลิตกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
บทที่8 การผลิตกราฟิกเพื่อการเรียนการสอนบทที่8 การผลิตกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
บทที่8 การผลิตกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
 
9 7-เปิดประตู
9 7-เปิดประตู 9 7-เปิดประตู
9 7-เปิดประตู
 
การสมัครเข้ารับการอบรมทักษะการรู้สารสนเทศที่ KKU library
การสมัครเข้ารับการอบรมทักษะการรู้สารสนเทศที่ KKU libraryการสมัครเข้ารับการอบรมทักษะการรู้สารสนเทศที่ KKU library
การสมัครเข้ารับการอบรมทักษะการรู้สารสนเทศที่ KKU library
 
บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
 
สื่อการสอน
สื่อการสอนสื่อการสอน
สื่อการสอน
 
สื่อการสอน
สื่อการสอนสื่อการสอน
สื่อการสอน
 

Similar to บทที่สองนวัตกรรม

คำตอบตามสถาณการณืปัญหา บทที่ 2
คำตอบตามสถาณการณืปัญหา บทที่ 2คำตอบตามสถาณการณืปัญหา บทที่ 2
คำตอบตามสถาณการณืปัญหา บทที่ 2Kanlayanee Thongthab
 
บทที่สองนวัตกรรม22
บทที่สองนวัตกรรม22บทที่สองนวัตกรรม22
บทที่สองนวัตกรรม22Bome Fado
 
ภารกิจ บทที่ 2 การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
ภารกิจ บทที่ 2 การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษาภารกิจ บทที่ 2 การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
ภารกิจ บทที่ 2 การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษาB'nust Thaporn
 
งานนำเสนอChapter 2 ^^
งานนำเสนอChapter 2 ^^งานนำเสนอChapter 2 ^^
งานนำเสนอChapter 2 ^^Vi Mengdie
 
บทที่ 2 เซค 1
บทที่  2 เซค 1บทที่  2 เซค 1
บทที่ 2 เซค 1yaowalakMathEd
 
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา Chapter2
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา Chapter2การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา Chapter2
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา Chapter2เนตร นภา
 
สถานการณ์ บทที่2
สถานการณ์ บทที่2สถานการณ์ บทที่2
สถานการณ์ บทที่2Popeep Popy
 
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์Albert Sigum
 
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์Albert Sigum
 
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็นอย่างไร
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็นอย่างไรกระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็นอย่างไร
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็นอย่างไรAlbert Sigum
 

Similar to บทที่สองนวัตกรรม (20)

คำตอบตามสถาณการณืปัญหา บทที่ 2
คำตอบตามสถาณการณืปัญหา บทที่ 2คำตอบตามสถาณการณืปัญหา บทที่ 2
คำตอบตามสถาณการณืปัญหา บทที่ 2
 
บทที่สองนวัตกรรม22
บทที่สองนวัตกรรม22บทที่สองนวัตกรรม22
บทที่สองนวัตกรรม22
 
ภารกิจ บทที่ 2 การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
ภารกิจ บทที่ 2 การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษาภารกิจ บทที่ 2 การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
ภารกิจ บทที่ 2 การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
 
Chapter2 2003
Chapter2 2003Chapter2 2003
Chapter2 2003
 
งานบทที่ 2
งานบทที่ 2งานบทที่ 2
งานบทที่ 2
 
งานนำเสนอChapter 2 ^^
งานนำเสนอChapter 2 ^^งานนำเสนอChapter 2 ^^
งานนำเสนอChapter 2 ^^
 
Chapter2
Chapter2Chapter2
Chapter2
 
Chapter
Chapter   Chapter
Chapter
 
Chapter 2#
Chapter 2#Chapter 2#
Chapter 2#
 
Chapter 2
Chapter 2Chapter 2
Chapter 2
 
บทที่ 2 เซค 1
บทที่  2 เซค 1บทที่  2 เซค 1
บทที่ 2 เซค 1
 
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา Chapter2
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา Chapter2การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา Chapter2
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา Chapter2
 
สถานการณ์ บทที่2
สถานการณ์ บทที่2สถานการณ์ บทที่2
สถานการณ์ บทที่2
 
Chapter4 (1)
Chapter4 (1)Chapter4 (1)
Chapter4 (1)
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
ครูฝึกหัด
ครูฝึกหัดครูฝึกหัด
ครูฝึกหัด
 
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 6 new2
แผนบริหารการสอนประจำบทที่  6 new2แผนบริหารการสอนประจำบทที่  6 new2
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 6 new2
 
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์
 
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์
 
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็นอย่างไร
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็นอย่างไรกระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็นอย่างไร
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็นอย่างไร
 

บทที่สองนวัตกรรม