SlideShare a Scribd company logo
1 of 66
Download to read offline
สื่อการสอน
สื่อการสอนคืออะไร?
สื่อการสอน (Instruction Media) หมายถึง วัสดุ
อุปกรณ์ หรือวิธีการใด ๆ ก็ตามที่เป็นตัวกลางหรือพาหะ
ในการถ่ายทอดความรู้ ทัศนคติ ทักษะและประสบการณ์ไปสู่
ผู้เรียน สื่อการสอนแต่ละชนิดจะมีคุณสมบัติพิเศษและมี
คุณค่าในตัวของมันเองในการเก็บและแสดงความหมายที่
เหมาะสมกับเนื้อหาและเทคนิควิธีการใช้อย่างมีระบบ
ความหมายของสื่อการสอน 

ความหมายของสื่อการสอน สื่อการสอน (Instructional
Media) หมายถึงสิ่งต่าง ๆ ที่ใช้เป็นเครื่องมือ หรือช่องทางสําหรับทําให้
การสอนของครูไปถึงผู้เรียน และทําให้ผู้เรียนเรียนรู้
ตามจุดประสงค์ หรือจุดมุ่งหมายที่วางไว้เป็นอย่างดี สื่อที่ใช้ในการสอนนี้
อาจจะเป็นวัตถุสิ่งของที่มีตัวตน หรือไม่มีตัวตนก็ได้ เช่น
- สิ่งของตามธรรมชาติ

- ปรากฎการณ์ตามธรรมชาติ

- วัตถุสิ่งของที่คิดประดิษฐ์หรือสร้างขึ้นสําหรับ
การสอน
ความหมายของสื่อการสอน(ต่อ)
- คําพูดท่าทาง

- วัสดุ และเครื่องมือสื่อสาร

- กิจกรรมหรือกระบวนการถ่ายทอดความรู้ต่าง ๆ
ประเภทของสื่อการเรียนการสอน
สื่อการสอนนั้นมีมากมายและได้พัฒนาให้เกิดขึ้นใหม่
อยู่เสมอตามความเจริญก้าวหน้าทางด้านวิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยี นักเทคโนโลยีการศึกษา ได้กําหนดและแบ่ง
ประเภทของสื่อการสอนไว้ หลายท่านด้วยกัน 
สรุปจากการที่นักเทคโนโลยีการศึกษาได้แบ่งประเภท
ของสื่อการสอนไว้นั้น พอจะสรุปได้เป็น 3 ประเภท ดังนี้
1. ประเภทวัสดุ ( Material or Software ) เป็นสื่ออยู่ในรูปของ
ภาพ เสียง หรือตัวอักษร แยกได้เป็น 2 ชนิด คือ
1.1 ชนิดที่สามารถสื่อความหมายได้ด้วยตัวของมันเอง เช่น
รูปภาพ แผนภูมิ ภาพวาด หนังสือ เป็นต้น
1.2 ชนิดที่ต้องอาศัยเครื่องมือเสนอเรื่องราวไปสู่
ผู้เรียน เช่น ภาพโปร่งแสง สไลด์ แถบบันทึกเสียง 
ฟิล์มภาพยนตร์ เป็นต้น
1. ประเภทวัสดุ(ต่อ)
2. ประเภทเครื่องมือ (Hardware or Equipment)
หมายถึง เครื่องมือที่เป็นตัวกลางส่งผ่านความรู้ไปสู่
ผู้เรียน เช่น เครื่องฉายชนิดต่าง ๆ เครื่องเสียงชนิดต่าง ๆ เครื่อง
รับและส่งวิทยุและโทรทัศน์ ซึ่งต้องอาศัยวัสดุประกอบเช่น ฟิล์ม
แถบบันทึกเสียง แถบบันทึกภาพ เป็นต้น
3. ประเภทเทคนิคหรือวิธีการ (Technique or Method) 
หมายถึง เทคนิคหรือวิธีการที่จะใช้ร่วมกับวัสดุและ
เครื่องมือ หรือใช้เพียงลําพังในการจัดการเรียนการสอนได้แก่ 
การสาธิต การทดลอง การแสดงละคร การจัดนิทรรศการ เป็นต้น
สื่อประสบการตรง สื่อประสบการจําลอง
เป็นประสบการณ์ที่เป็นรากฐานของ
ประสบการณ์ทั้งปวง เพราะได้เรียนรู้
จากประสบการณ์จริง ได้ยิน ได้้เห็น
ได้สัมผัสด้วยตนเอง เช่น การเรียนจาก
ของจริง การเรียนด้วยการลงมือทํา
จากข้อจํากัดที่ไม่สามารถจัดการ
เรียนการสอนจากประสบการณ์จริง
ให้แก่ผู้เรียนได้ เช่น ของจริงมีขนาด
ใหญ่หรือเล็กเกินไป มีความซับซ้อน 
มีอันตรายจึงใช้ประสบการณ์จําลอง
แทน เช่น การใช้หุ่นจําลอง
สื่อประสบการณ์นาฏการ
จะจัดขึ้นแทนประสบการณ์จริงที่เป็น
อดีตไปแล้วหรือเป็นนามธรรมที่ยาก
เกินกว่าจะเข้าใจสามารถใช้
ประสบการณ์จําลองได้ เช่น 
การละเล่น ประเพณี
สื่อสาธิต คือ การอธิบายข้อเท็จจริง
และกระบวนการที่สําคัญด้วยการ
แสดงให้เห็นลําดับขั้น อาจใช้
ภาพยนต์ สไลด์ แสดงการสาธิต
ในเนื้อหาที่ต้องการสาธิต
ทัศนศึกษานอกสถานที่
การพานักเรียนไปศึกษายังแหล่ง
ความรู้นอกห้องเรียน เพื่อเปิดโอกาส
ให้นักเรียนรู้หลายๆด้าน
เช่น โบราณสถาน โรงงาน ฯลฯ
สื่อนิทรรศการ
การจัดแสดงสิ่งต่างๆ รวมทั้งมีการ
สาธิตและการฉายภาพยนต์ประกอบ
เพื่อให้ประสบการณ์ในการเรียนรู้แก่
ผู้เรียนหลายด้าน ได้แก่ การจัดป้าย
นิทรรศการ การจัดแสดงผลงาน
นักเรียน
สื่อกิจกรรม
กิจกรรมที่ใช้ในการเรียนการ
สอนมักจัดขึ้นเพื่อร่วมกระทํา
ทรัพยากรอื่นๆหรือเทคนิควิธีการ
พิเศษเพื่อการเรียนการสอน 
เช่น เกม การสัมมนา 
การจัดทัศนศึกษา โดยมีการใช้วัสดุ
การเรียนเฉพาะแต่ละวิชา
สื่อคน
ตามความหมายของการประยุกต์ใช้
ได้แก่คนที่ทํางานหรือมีความชํานาญ
ในงานคนเหล่านี้เป็นผู้"เชี่ยวชาญ"
เช่น ศิลปิน นักการเมือง นักธุรกิจฯลฯ
สื่ออาคารสถานที่
ห้องสมุด หอประชุม โรงงาน ตลาด
สถานที่ทางประวัติศาสตร์ฯลฯ
หลักการใช้สื่อการสอน
1. การวางแผน (Planning) การใช้สื่อการสอนต้องมี
การวางแผน โดยในขั้นของการวางแผนคือการพิจารณาว่าจะเลือก
ใช้สื่อใดในการเรียนการสอน
2. การเตรียมการ (Preparation) เมื่อได้วางแผนเลือกใช้สื่อ
การสอนแล้ว ขั้นต่อมาคือการเตรียมการสิ่งต่างๆ เพื่อให้การใช้สื่อการ
สอนเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและตรงตามวัตถุประสงค์ ก่อนใช้สื่อการ
สอน ผู้ใช้ควรเตรียมความพร้อมในสิ่งต่างๆ ดังนี้
2.1 การเตรียมความพร้อมของผู้สอน
2.2 การเตรียมความพร้อมให้ผู้เรียน
2.3 การเตรียมความพร้อมของสื่อและอุปกรณ์หรือเครื่องมือที่
ใช้ร่วมกัน
2.4 การเตรียมความพร้อมของสภาพแวดล้อมและห้องสอน
3. ช่วง ได้แก่ ช่วงนําเข้าสู่บทเรียน ช่วงสอนเนื้อหาบทเรียน และ
ช่วงสรุป
ในทุกช่วงเวลาสามารถนําสื่อการสอนเข้ามาใช้อํานวยความ
สะดวกให้ผู้เรียนเกิดการรับรู้หรือการเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ผู้เลือก
ใช้สื่อการสอนควรมีความเข้าใจว่าสื่อการสอนที่นํามาใช้ในแต่ละช่วงเวลา
ใช้เพื่อวัตถุประสงค์ใด
1. ช่วงนําเข้าสู่บทเรียน
2. ช่วงสอนเนื้อหาบทเรียน
3. ช่วงสรุปบทเรียน
4. ทํากิจกรรมต่าง ๆ ประกอบการใช้สื่อการสอนตาม 
ขั้นตอนที่วางแผนไว้
5. การนําเสนอควรมีจุดเน้นและอธิบายรายละเอียด
ในส่วนที่สําคัญ ในขณะนําเสนอ
4. การติดตามผล (Follow - up) ภายหลังการใช้สื่อการ
สอนแล้ว ผู้สอนควรทําการซักถาม ตอบคําถามผู้เรียน หรืออภิปรายเกี่ยว
กับเนื้อหาของสื่อที่ได้นําเสนอไปแล้ว เพื่อสรุปถึงประสบการณ์ที่ผู้เรียน
ได้รับ และเพื่อทําการประเมินผู้เรียนว่ามีความเข้าใจบทเรียนเพียงใด และ
เพื่อประเมินประสิทธิภาพของสื่อการสอน ตลอดจนวิธีการใช้สื่อการสอน
ของครูว่า มีข้อดี ข้อบกพร่อง หรือสิ่งที่ควรแก้ไขต่อไปอย่างไรบ้าง
ประโยชน์ของสื่อการเรียนการสอน

1. ช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพ ได้แก่
1.1 เรียนรู้ได้ดีขึ้นจากประสบการณ์ที่มีความหมายในรูปแบบต่าง ๆ
1.2 เรียนรู้ได้อย่างถูกต้อง
1.3 เรียนรู้ได้ง่ายและเข้าใจได้ชัดเจน
1.4 เรียนรู้ได้มากขึ้น
1.5 เรียนรู้ได้ในเวลาที่จํากัด
2. ช่วยให้สามารถเอาชนะข้อจํากัดต่าง ๆ ในการเรียนรู้
ได้แก่
2.1 ทําสิ่งนามธรรมให้เป็นรูปธรรมมากขึ้น
2.2 ทําสิ่งซับซ้อนให้ง่ายขึ้น
2.3 ทําสิ่งเคลื่อนไหวช้าให้เร็วขึ้น
2.4 ทําสิ่งเคลื่อนไหวเร็วให้ช้าลง
2.5 ทําสิ่งเล็กให้ใหญ่ขึ้น
2.6 ทําสิ่งใหญ่ให้เล็กลง
2.7 นําสิ่งที่อยู่ไกลมาศึกษาได้
2.8 นําสิ่งที่เกิดในอดีตมาศึกษาได้ช่วยกระตุ้นความสนใจ 
ของผู้เรียน
2.9 ช่วยให้จดจําได้นาน เกิดความประทับใจและมั่นใจใน. 
การเรียน
2.10 ช่วยให้ผู้เรียนได้คิดและแก้ปัญหา
คุณสมบัติของสื่อการสอน
สื่อการสอนมีคุณสมบัติพิเศษ 3 ประการ คือ
1. สามารถจัดยึดประสบการณ์กิจกรรมและการกระทําต่าง ๆ
ไว้ได้อย่างคงทนถาวร ไม่ว่าจะเป็นเหตุการณ์ในอดีตหรือปัจจุบัน ทั้งใน
ลักษณะของรูปภาพ เสียง และสัญลักษณ์ต่าง ๆ สามารถนําไปใช้ได้ตาม
ความต้องการ
2. สามารถจัดแจงจัดการและปรุงแต่งประสบการณ์ต่าง ๆ
ให้ใช้ได้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของการเรียนการสอน เพราะสื่อ
การสอนบางชนิด สามารถใช้เทคนิคพิเศษเพื่อเอาชนะข้อจํากัดในด้าน
ขนาด ระยะทาง เวลา และความเป็นนามธรรมของประสบการณ์ตาม
ธรรมชาติได้ 

คุณสมบัติของสื่อการสอน (ต่อ)
3. สามารถแจกจ่ายและขยายของข่าวสารออกเป็น
หลาย ๆ ฉบับเพื่อเผยแพร่สู่คนจํานวนมาก และสามารถใช้ซ้ํา ๆ ได้
หลาย ๆ ครั้ง ทําให้สามารถแก้ปัญหาในด้านการเรียนการสอน
ต่าง ๆ ทั้งการศึกษาในระบบโรงเรียนและนอกระบบโรงเรียน
คุณสมบัติของสื่อการสอน (ต่อ)
🐹. นิสิตวิเคราะห์ข้อดีข้อจํากัดของการใช้สื่อ
ต่อไปนี้พร้อมนําเสนอ
กิจกรรม หลังเรียน
๑ การจัดนิทรรศการ
๒ เกม
๓ การจัดทัศนศึกษานอกสถานที่
๔ วัสดุกราฟิก (แผนภูมิ แผนภาพ กราฟ การ์ตูน ภาพถ่าย)
๕ ของจําลอง หุ่นจําลอง
๖ ของจริง
๗ สื่อสิ่งพิมพ์
สื่อการสอน
สื่อการสอน
สื่อการสอน
สื่อการสอน
สื่อการสอน
สื่อการสอน
สื่อการสอน
สื่อการสอน
สื่อการสอน
สื่อการสอน
สื่อการสอน
สื่อการสอน
สื่อการสอน
สื่อการสอน
สื่อการสอน
สื่อการสอน
สื่อการสอน
สื่อการสอน
สื่อการสอน
สื่อการสอน
สื่อการสอน
สื่อการสอน
สื่อการสอน
สื่อการสอน
สื่อการสอน
สื่อการสอน
สื่อการสอน
สื่อการสอน
สื่อการสอน
สื่อการสอน
สื่อการสอน
สื่อการสอน
สื่อการสอน
สื่อการสอน
สื่อการสอน
สื่อการสอน
สื่อการสอน
สื่อการสอน
สื่อการสอน

More Related Content

What's hot

ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
website22556
 
7 วันใน 1สัปดาห์
7 วันใน 1สัปดาห์7 วันใน 1สัปดาห์
7 วันใน 1สัปดาห์
tooktik40
 
แบบรายงานคุรุชนคนคุณธรรม เครดิตโดยครูโสภิญญา
แบบรายงานคุรุชนคนคุณธรรม เครดิตโดยครูโสภิญญาแบบรายงานคุรุชนคนคุณธรรม เครดิตโดยครูโสภิญญา
แบบรายงานคุรุชนคนคุณธรรม เครดิตโดยครูโสภิญญา
SophinyaDara
 
สถาบันทางสังคม
สถาบันทางสังคมสถาบันทางสังคม
สถาบันทางสังคม
thnaporn999
 
โครงการปรับปรุงซ่อมแซมโรงอาหารโรงเรียนบ้านโคกกลางแก้งน้อยฯ
โครงการปรับปรุงซ่อมแซมโรงอาหารโรงเรียนบ้านโคกกลางแก้งน้อยฯโครงการปรับปรุงซ่อมแซมโรงอาหารโรงเรียนบ้านโคกกลางแก้งน้อยฯ
โครงการปรับปรุงซ่อมแซมโรงอาหารโรงเรียนบ้านโคกกลางแก้งน้อยฯ
ศิริพัฒน์ ธงยศ
 
การเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย
การเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัยการเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย
การเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย
Benjapron Seesukong
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือดระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด
Wan Ngamwongwan
 

What's hot (20)

แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4
 
ดาวโหลดเอกสารเลือกตั้งประธานนักเรียน
ดาวโหลดเอกสารเลือกตั้งประธานนักเรียนดาวโหลดเอกสารเลือกตั้งประธานนักเรียน
ดาวโหลดเอกสารเลือกตั้งประธานนักเรียน
 
Cippa model
Cippa modelCippa model
Cippa model
 
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
 
หัวกระดาษข้อสอบ
หัวกระดาษข้อสอบหัวกระดาษข้อสอบ
หัวกระดาษข้อสอบ
 
เทคนิคการจัดการเรียนรู้ด้วยเกมมิฟิเคชั่น (Gamification)
เทคนิคการจัดการเรียนรู้ด้วยเกมมิฟิเคชั่น (Gamification)เทคนิคการจัดการเรียนรู้ด้วยเกมมิฟิเคชั่น (Gamification)
เทคนิคการจัดการเรียนรู้ด้วยเกมมิฟิเคชั่น (Gamification)
 
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
 
ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)
ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)
ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)
 
ตัวอย่างการสร้างข้อสอบ
ตัวอย่างการสร้างข้อสอบตัวอย่างการสร้างข้อสอบ
ตัวอย่างการสร้างข้อสอบ
 
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
 
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
 
7 วันใน 1สัปดาห์
7 วันใน 1สัปดาห์7 วันใน 1สัปดาห์
7 วันใน 1สัปดาห์
 
ข้อสอบวิชาศิลปะ ม.3 ฉบับที่ 1 พร้อมเฉลย
ข้อสอบวิชาศิลปะ ม.3 ฉบับที่ 1 พร้อมเฉลยข้อสอบวิชาศิลปะ ม.3 ฉบับที่ 1 พร้อมเฉลย
ข้อสอบวิชาศิลปะ ม.3 ฉบับที่ 1 พร้อมเฉลย
 
แบบรายงานคุรุชนคนคุณธรรม เครดิตโดยครูโสภิญญา
แบบรายงานคุรุชนคนคุณธรรม เครดิตโดยครูโสภิญญาแบบรายงานคุรุชนคนคุณธรรม เครดิตโดยครูโสภิญญา
แบบรายงานคุรุชนคนคุณธรรม เครดิตโดยครูโสภิญญา
 
แนวข้อสอบครูผู้ช่วยเอกพลศึกษา
แนวข้อสอบครูผู้ช่วยเอกพลศึกษาแนวข้อสอบครูผู้ช่วยเอกพลศึกษา
แนวข้อสอบครูผู้ช่วยเอกพลศึกษา
 
สถาบันทางสังคม
สถาบันทางสังคมสถาบันทางสังคม
สถาบันทางสังคม
 
แบบประเมินชิ้นงาน
แบบประเมินชิ้นงานแบบประเมินชิ้นงาน
แบบประเมินชิ้นงาน
 
โครงการปรับปรุงซ่อมแซมโรงอาหารโรงเรียนบ้านโคกกลางแก้งน้อยฯ
โครงการปรับปรุงซ่อมแซมโรงอาหารโรงเรียนบ้านโคกกลางแก้งน้อยฯโครงการปรับปรุงซ่อมแซมโรงอาหารโรงเรียนบ้านโคกกลางแก้งน้อยฯ
โครงการปรับปรุงซ่อมแซมโรงอาหารโรงเรียนบ้านโคกกลางแก้งน้อยฯ
 
การเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย
การเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัยการเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย
การเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือดระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด
 

Similar to สื่อการสอน

บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
pajyeeb
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
pajyeeb
 
สื่อและแหล่งการเรียน
สื่อและแหล่งการเรียนสื่อและแหล่งการเรียน
สื่อและแหล่งการเรียน
maymymay
 
งานบทที่ 7
งานบทที่ 7งานบทที่ 7
งานบทที่ 7
hadesza
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
Sujitra ComEdu
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
Sujitra ComEdu
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
aumkpru45
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
Sujitra ComEdu
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
yuapawan
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
yuapawan
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
yuapawan
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
Sujitra ComEdu
 
Chapter4
Chapter4Chapter4
Chapter4
Bee Bie
 
สื่อและแหล่งการเรียน
สื่อและแหล่งการเรียนสื่อและแหล่งการเรียน
สื่อและแหล่งการเรียน
maymymay
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
yuapawan
 

Similar to สื่อการสอน (20)

บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
สื่อและแหล่งการเรียน
สื่อและแหล่งการเรียนสื่อและแหล่งการเรียน
สื่อและแหล่งการเรียน
 
บทที่ 7 สรุป
บทที่ 7 สรุปบทที่ 7 สรุป
บทที่ 7 สรุป
 
งานบทที่ 7
งานบทที่ 7งานบทที่ 7
งานบทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
 
Chapter4
Chapter4Chapter4
Chapter4
 
Chapter4
Chapter4Chapter4
Chapter4
 
สื่อและแหล่งการเรียน
สื่อและแหล่งการเรียนสื่อและแหล่งการเรียน
สื่อและแหล่งการเรียน
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
 

สื่อการสอน