SlideShare a Scribd company logo
1 of 8
Download to read offline
ว 23102 วิทยาศาสตร์                                   1                                             วิทยาศาสตร์ 6


                                           ใบความรู้ที่ 16

ประกอบแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 16              เรื่อง ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ                เวลา 10 นาที

จุดประสงค์การเรียนรู้
          นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ

          เนื้อหา
                                  ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
         ดวงอาทิตย์เป็นดาวฤกษ์มีมวลมหาศาลจึงมีแสงสว่างตัวเอง สามารถดึงดูดดาวเคราะห์ใน
ระบบสุริยะและเทหวัตถุต่าง ๆ มาโคจรรอบดวงอาทิตย์ โลก และบริวารของโลกอย่างดวงจันทร์ก็
ได้รับอิทธิพลจากดวงอาทิตย์เช่นเดียวกับดาวเคราะห์ดวงอื่น ๆ
     ดวงอาทิตย์และดวงจันทร์มีผลต่อโลกอย่างไร
     ดวงอาทิตย์เป็นพลังงานที่สาคัญของโลกและสรรพทั้งหมดบนโลก พลังงานจากดวงอาทิตย์
ช่วยให้เกิดการหมุนเวียนของอากาศ น้า และพลังงานของสิ่งมีชีวิตทุกชนิด แสงอาทิตย์จะตก
กระทบบนผิวโลกอย่างไม่สม่าเสมอ บริเวณที่อยู่เหนือเส้นศูนย์สูตรเล็กน้อยมีความกดอากาศสูง ทา
ให้มีเมฆปกคลุมเบาบาง จึงได้รับแสงอาทิตย์ปริมาณมาก และพบว่าแสงอาทิตย์ส่องถึงโลกได้
น้อยลงในบริเวณใกล้ขั้วโลก
                                      รังสีอัลตราไวโอเลตชนกับโมเลกุลกับ
                                      โมเลกุลโมเลกุลของแก๊สโอโซนในชั้น       แสงที่มองเห็นได้ รังสีอินฟราเรด
 รังสีแกมมาและรังสีเอกซ์พุ่งชนอะตอม                                          คลื่นวิทยุ และรังสีอัลตราไวโอเลต
                                      บรรยากาศชั้นสตราโตสเฟียร์
 และสูญเสียพลังงานในชั้นบรรยากาศ                                             บางส่วนผ่านมาถึงพื้นผิวของโลก

                                             คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า              พืช         สัตว์
     ลมสุริยะรบกวนระบบสื่อสาร


            รบกวนคลื่นวิทยุ               ผลของดวงอาทิตย์ต่อโลก สิ่งมีชีวิตสังเคราะห์ด้วยแสง

                                                                               แบคทีเรียบางชนิด

        การหมุนเวียนของอากาศ                 กระแสน้าในมหาสมุทร                    การหมุนเวียนของน้า

 ดวงอาทิตย์ให้ความร้อนกับพื้นผิวโลก    ความร้อนจากดวงอาทิตย์ทาให้น้า           ความร้อนจากดวงอาทิตย์ทาให้น้าบนผิว
 และสะท้อนกลับสู่อวกาศ ทาให้อากาศ      บริเวณเส้นศูนย์สูตรอุ่นขึ้น เป็น        โลกระเหยกลายเป็นไอลอยตัวสูงน้ากลั่นตัว
 ลอยตัวสูงขึ้น อากาศเย็นไหลแทนที่      กระแสน้าหมุนเวียนไปสู่บริเวณขั้วโลก     เป็นเมฆและกลายเป็นฝนตกลงมา
ว 23102 วิทยาศาสตร์                              2                                      วิทยาศาสตร์ 6

    นอกจากดวงอาทิตย์ซึ่งเป็นดาวฤกษ์ที่อยู่ใกล้โลกมากที่สด ดวงจันทร์ซึ่งจัดว่าเป็นเทหวัตถุ
                                                         ุ
ท้องฟ้าที่อยู่ใกล้โลกมากที่สุด การเคลื่อนที่ของโลกและดวงจันทร์รอบดวงอาทิตย์จึงมีอิทธิพลต่อ
โลกและสิ่งแวดล้อมบนโลกหลายประการ
      การหมุนรอบตัวเอง                      โลก                    การหมุนรอบดวงอาทิตย์
      รอบละประมาณ 24 ชั่วโมง           ลักษณะการเคลือนที่
                                                    ่              รอบละประมาณ 1 ปี

       การหมุนรอบตัวเอง                    ดวงจันทร์               การหมุนรอบโลก
       รอบละ 29 วัน 12ชม. 44 นาที                                  รอบละ 29.5 วัน


                                       การเคลื่อนที่ของ
        การทาปฏิทินจันทรคติ                                        การเกิดน้าขึนน้าลง
                                                                               ้
                                       โลกและดวงจันทร์


                                การเกิดสุริยุปราคาและจันทรุปราคา
ปฏิทินจันทรคติ
          ปฏิทินจันทรคติ หมายถึงปฏิทินที่มีการนับวันและเดือนโดยอาศัยการโคจรของดวงจันทร์
ซึ่งสังเกตจากลักษณะและตาแหน่งของดวงจันทร์ที่ปรากฏเห็นบนโลก ในแต่ละวันดวงจันทร์จะปรากฏ
ให้เห็นมีลักษณะต่างๆ กันตามตาแหน่งการเคลื่อนที่รอบโลกและการรับแสงจากดวงอาทิตย์
          วันที่เห็นดวงจันทร์ด้านที่หันมาทางโลกได้รับแสงมากเรียกว่า วันข้างขึ้นหรือเดือนหงาย
จนถึงคืนที่เห็นดวงจันทร์เต็มดวงเป็นรูปวงกลมเรียกว่า จันทร์เพ็ญ และวันที่เห็นดวงจันทร์ได้รับ
แสงลดลงเรียกว่า วันข้างแรมหรือเดือนคว่า ดังรูป
ว 23102 วิทยาศาสตร์                            3                                     วิทยาศาสตร์ 6

น้าขึ้นน้าลง
          การเกิดน้าขึ้นน้าลง เป็นปรากฏการณ์ธรรมชาติที่เกิดขึ้นกับน้าทะเลวันละ 2 ครั้ง เป็นผลที่
เกิดจากแรงดึงดูดระหว่างดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์ และโลก เนื่องจากดวงจันทร์อยู่ใกล้โลกมากแรง
ดึงดูดของดวงจันทร์จึงมีผลต่อการเกิดน้าขึ้นและน้าลง




                             รูปแสดงการเกิดน้าขึ้นน้าลงบนโลก

         ในแต่ละวันน้าในมหาสมุทรขึ้นและลงครบหนึ่งรอบในเวลาประมาณ 12 ชั่วโมง 25 นาที
หรือประมาณครึ่งวัน ดังนั้นในวันหนึ่งระดับน้าทะเลสูงขึ้น 2 ครั้งและลดลง 2 ครั้ง ตาแหน่งของ
ดวงจันทร์และดวงอาทิตย์ส่งผลให้ระดับน้าขึ้นและน้าลงแตกต่างกัน ทาให้มีปรากฏการณ์ที่เรียกว่า
วันน้าเกิดวันน้าน้าตาย




                            รูปแสดงการเกิดน้าเกิด น้าขึนมากและลงมาก
                                                       ้
ว 23102 วิทยาศาสตร์                     4                        วิทยาศาสตร์ 6




                      รูปแสดงการเกิดน้าตาย น้าขึนน้อยและลงน้อย
                                                ้
ว 23102 วิทยาศาสตร์                          5                                    วิทยาศาสตร์ 6

สุริยุปราคาและจันทรุปราคา
         สุริยุปราคาและจันทรุปราคา เป็นปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เกิดจากการเคลื่อนที่ของโลก
หรืดวงจันทร์บังทางเดินของแสงจากดวงอาทิตย์ ทาให้เกิดเงาปรากฏที่โลกหรือดวงจันทร์ ซึ่งมักจะ
เกิดขึ้นตรงกับแรม 15 ค่าหรือขึ้น 15 ค่า แต่ไม่ปรากฏขึ้นทุกเดือน
         สุริยุปราคา (Solar eclip) เกิดจากเงาของดวงจันทร์บังทางเดินของแสงจากดวงอาทิตย์
เมื่อดวงจันทร์เคลื่อนที่อยู่ระหว่างโลกและดวงอาทิตย์ในแนวเดียวกัน เป็นปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นใน
เวลากลางวัน
ว 23102 วิทยาศาสตร์                                 6                                          วิทยาศาสตร์ 6

       สุริยุปราคาเต็มดวงเกิดขึ้นไม่บ่อยครั้ง จึงเป็นปรากฏการณ์ที่สาคัญทางดาราศาสตร์ที่มี
ประโยชน์ในการศึกษาเกี่ยวกับดวงอาทิตย์ สุริยุปราคาเต็มดวงที่สามารถสังเกตในประเทศไทยครั้ง
สาคัญมีดังนี้
                                     คาดว่าจะมองเห็นที่จังหวัด
                                     ประจวบคีรีขนธ์ 11 เมษายน 2613
                                                ั
        24 ตุมิถุนายน 2498
         20 ลาคม 2538                                                               20 มิถุนายน 2498

                                            สุริยุปราคาเต็มดวง
                                            ในประเทศไทย


       9 พฤษภาคม 2472                                                               6 เมษายน 2418

                                           18 สิงหาคม 2411



                         ณ ตาบลหว้ากอ อาเภอเมือง จังหวัดประจวบคีรขันธ์  ี
                         พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงทานาย
                         การเกิดล่วงหน้า 2 ปี เรียกว่าสุริยุปราคาเต็มดวงที่หว้ากอ


        จันทรุปราคา (Lunar eclip) เกิดจากเงาของโลกบังทางเดินของแสงจากดวงอาทิตย์ เมื่อ
โลกเคลื่อนที่อยู่ระหว่างดวงจันทร์และดวงอาทิตย์ในแนวเดียวกัน เป็นปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นใน
เวลากลางคืนขณะเป็นวันจันทร์เพ็ญ




 รูปแสดงการเกิดจันทรุปราคาเต็มดวง
ว 23102 วิทยาศาสตร์                7                        วิทยาศาสตร์ 6




                      รูปแสดงการเกิดจันทรุปราคาบางส่วน




                        รูปแสดงการเกิดจันทรุปราคาในเงามัว
ว 23102 วิทยาศาสตร์                                                       8                                                          วิทยาศาสตร์ 6



                                                               ใบงานที่ 16
 ประกอบแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 16                             เรื่อง ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ                              เวลา 10 นาที


  ชื่อ……………………………………...………………..กลุ่มที่………เลขที่………ชั้น………..

จุดประสงค์การเรียนรู้
            นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
จงเติมคาหรือข้อความลงในช่องว่างให้ถูกต้อง
       1. โลกและดวงจันทร์มีลักษณะการเคลื่อนที่ต่างกันคือ..........................................................
            ..........................................................................................................................................
       2. การเคลื่อนที่ของโลก ดวงจันทร์ และดวงอาทิตย์ ทาให้เกิดปรากฏการณ์
            ..........................................................................................................................................
       3. จงอธิบายเกี่ยวกับคาต่อไปนี้ วันข้างขึ้น วันข้างแรม และจันทร์เพ็ญ
            ..........................................................................................................................................
       4. น้าขึ้นและน้าลงเป็นปรากฏการณ์ธรรมชาติที่เกิดจาก.......................................................
            ..........................................................................................................................................
       5. ระดับน้าทะเลในวันน้าเกิดและวันน้าตายมีลักษณะ..........................................................
            เพราะ................................................................................................................................
        6. ให้นักเรียนวาดรูปแสดงตาแหน่งของดวงอาทิตย์ โลก และดวงจันทร์ในการเกิด
             สุริยุปราคาเต็มดวงและจันทรุปราคาเต็มดวง




                                                            ใบความรู้ที่ 44

More Related Content

What's hot

แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศแบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศkrupornpana55
 
ใบงาน 3.1 3.2
ใบงาน 3.1 3.2ใบงาน 3.1 3.2
ใบงาน 3.1 3.2oraneehussem
 
ข้อสอบวิทย์
ข้อสอบวิทย์ข้อสอบวิทย์
ข้อสอบวิทย์weerawato
 
แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่Supaluk Juntap
 
แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่
แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่
แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่nik2529
 
ต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อ ต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อ Thitaree Samphao
 
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมแบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมdnavaroj
 
เฉลยข้อสอบ O-Net ดาราศาสตร์ ปีการศึกษา 2548
เฉลยข้อสอบ O-Net ดาราศาสตร์ ปีการศึกษา 2548เฉลยข้อสอบ O-Net ดาราศาสตร์ ปีการศึกษา 2548
เฉลยข้อสอบ O-Net ดาราศาสตร์ ปีการศึกษา 2548Physics Lek
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)สำเร็จ นางสีคุณ
 
02 เคลื่อนที่แนวตรง
02 เคลื่อนที่แนวตรง02 เคลื่อนที่แนวตรง
02 เคลื่อนที่แนวตรงwiriya kosit
 
แบบทดสอบวิชาวิทยาศาสตร์ 5 ภาคเรียน 1
แบบทดสอบวิชาวิทยาศาสตร์ 5  ภาคเรียน 1แบบทดสอบวิชาวิทยาศาสตร์ 5  ภาคเรียน 1
แบบทดสอบวิชาวิทยาศาสตร์ 5 ภาคเรียน 1dnavaroj
 
แบบทดสอบ สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศ
แบบทดสอบ สาระที่ 7    ดาราศาสตร์และอวกาศแบบทดสอบ สาระที่ 7    ดาราศาสตร์และอวกาศ
แบบทดสอบ สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศdnavaroj
 
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศSupaluk Juntap
 
แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีแบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีืkanya pinyo
 
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าThaweekoon Intharachai
 
ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์Jariya Jaiyot
 
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรมใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรมAomiko Wipaporn
 
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2Wichai Likitponrak
 

What's hot (20)

แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศแบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
 
ใบงาน 3.1 3.2
ใบงาน 3.1 3.2ใบงาน 3.1 3.2
ใบงาน 3.1 3.2
 
12แบบทดสอบการแบ่งเซลล์
12แบบทดสอบการแบ่งเซลล์12แบบทดสอบการแบ่งเซลล์
12แบบทดสอบการแบ่งเซลล์
 
ข้อสอบวิทย์
ข้อสอบวิทย์ข้อสอบวิทย์
ข้อสอบวิทย์
 
แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่
 
แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่
แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่
แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่
 
ต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อ ต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อ
 
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมแบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
 
เฉลยข้อสอบ O-Net ดาราศาสตร์ ปีการศึกษา 2548
เฉลยข้อสอบ O-Net ดาราศาสตร์ ปีการศึกษา 2548เฉลยข้อสอบ O-Net ดาราศาสตร์ ปีการศึกษา 2548
เฉลยข้อสอบ O-Net ดาราศาสตร์ ปีการศึกษา 2548
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
 
แรงเสียดทาน
แรงเสียดทานแรงเสียดทาน
แรงเสียดทาน
 
02 เคลื่อนที่แนวตรง
02 เคลื่อนที่แนวตรง02 เคลื่อนที่แนวตรง
02 เคลื่อนที่แนวตรง
 
แบบทดสอบวิชาวิทยาศาสตร์ 5 ภาคเรียน 1
แบบทดสอบวิชาวิทยาศาสตร์ 5  ภาคเรียน 1แบบทดสอบวิชาวิทยาศาสตร์ 5  ภาคเรียน 1
แบบทดสอบวิชาวิทยาศาสตร์ 5 ภาคเรียน 1
 
แบบทดสอบ สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศ
แบบทดสอบ สาระที่ 7    ดาราศาสตร์และอวกาศแบบทดสอบ สาระที่ 7    ดาราศาสตร์และอวกาศ
แบบทดสอบ สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศ
 
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
 
แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีแบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
 
ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์
 
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรมใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
 
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
 

Similar to ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ

แบบทดสอบ บทที่ 1
แบบทดสอบ บทที่ 1แบบทดสอบ บทที่ 1
แบบทดสอบ บทที่ 1Jariya Jaiyot
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะkalita123
 
ระบบสุริยะ2
ระบบสุริยะ2ระบบสุริยะ2
ระบบสุริยะ2kominoni09092518
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะratchaneeseangkla
 
ดาวเคราะห์
ดาวเคราะห์ดาวเคราะห์
ดาวเคราะห์Un Sn
 
ดาวเคราะห์
ดาวเคราะห์ดาวเคราะห์
ดาวเคราะห์Un Sn
 
บทที่ 6 ระบบสุริยะและดาวฤกษ์ (1).pptx
บทที่ 6 ระบบสุริยะและดาวฤกษ์ (1).pptxบทที่ 6 ระบบสุริยะและดาวฤกษ์ (1).pptx
บทที่ 6 ระบบสุริยะและดาวฤกษ์ (1).pptxssuserfffbdb
 
กำเนิดสุริยะ ม.3
กำเนิดสุริยะ ม.3กำเนิดสุริยะ ม.3
กำเนิดสุริยะ ม.3Sukumal Ekayodhin
 
ดาราศาสตร์1
ดาราศาสตร์1ดาราศาสตร์1
ดาราศาสตร์1onchalermpong
 

Similar to ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ (20)

แบบทดสอบ บทที่ 1
แบบทดสอบ บทที่ 1แบบทดสอบ บทที่ 1
แบบทดสอบ บทที่ 1
 
Contentastrounit1
Contentastrounit1Contentastrounit1
Contentastrounit1
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 
ระบบสุริยะ2
ระบบสุริยะ2ระบบสุริยะ2
ระบบสุริยะ2
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 
Contentastrounit3
Contentastrounit3Contentastrounit3
Contentastrounit3
 
Contentastrounit4
Contentastrounit4Contentastrounit4
Contentastrounit4
 
ม611(แก้)
ม611(แก้)ม611(แก้)
ม611(แก้)
 
ม611(แก้)
ม611(แก้)ม611(แก้)
ม611(แก้)
 
ดาวเคราะห์
ดาวเคราะห์ดาวเคราะห์
ดาวเคราะห์
 
ดาวเคราะห์
ดาวเคราะห์ดาวเคราะห์
ดาวเคราะห์
 
ม611(แก้)
ม611(แก้)ม611(แก้)
ม611(แก้)
 
บทที่ 6 ระบบสุริยะและดาวฤกษ์ (1).pptx
บทที่ 6 ระบบสุริยะและดาวฤกษ์ (1).pptxบทที่ 6 ระบบสุริยะและดาวฤกษ์ (1).pptx
บทที่ 6 ระบบสุริยะและดาวฤกษ์ (1).pptx
 
42101 3
42101 342101 3
42101 3
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 
กำเนิดสุริยะ ม.3
กำเนิดสุริยะ ม.3กำเนิดสุริยะ ม.3
กำเนิดสุริยะ ม.3
 
ปริ้นอ่าน
ปริ้นอ่านปริ้นอ่าน
ปริ้นอ่าน
 
ดาราศาสตร์1
ดาราศาสตร์1ดาราศาสตร์1
ดาราศาสตร์1
 

More from ศิริชัย เชียงทอง (6)

มนุษย์
มนุษย์มนุษย์
มนุษย์
 
การประดิษฐ์แผนที่ดาว
การประดิษฐ์แผนที่ดาวการประดิษฐ์แผนที่ดาว
การประดิษฐ์แผนที่ดาว
 
สอบตำรวจ
สอบตำรวจสอบตำรวจ
สอบตำรวจ
 
Handbook
HandbookHandbook
Handbook
 
Statistic 5614
Statistic 5614Statistic 5614
Statistic 5614
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 

ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ

  • 1. ว 23102 วิทยาศาสตร์ 1 วิทยาศาสตร์ 6 ใบความรู้ที่ 16 ประกอบแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 16 เรื่อง ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ เวลา 10 นาที จุดประสงค์การเรียนรู้ นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ เนื้อหา ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ ดวงอาทิตย์เป็นดาวฤกษ์มีมวลมหาศาลจึงมีแสงสว่างตัวเอง สามารถดึงดูดดาวเคราะห์ใน ระบบสุริยะและเทหวัตถุต่าง ๆ มาโคจรรอบดวงอาทิตย์ โลก และบริวารของโลกอย่างดวงจันทร์ก็ ได้รับอิทธิพลจากดวงอาทิตย์เช่นเดียวกับดาวเคราะห์ดวงอื่น ๆ ดวงอาทิตย์และดวงจันทร์มีผลต่อโลกอย่างไร ดวงอาทิตย์เป็นพลังงานที่สาคัญของโลกและสรรพทั้งหมดบนโลก พลังงานจากดวงอาทิตย์ ช่วยให้เกิดการหมุนเวียนของอากาศ น้า และพลังงานของสิ่งมีชีวิตทุกชนิด แสงอาทิตย์จะตก กระทบบนผิวโลกอย่างไม่สม่าเสมอ บริเวณที่อยู่เหนือเส้นศูนย์สูตรเล็กน้อยมีความกดอากาศสูง ทา ให้มีเมฆปกคลุมเบาบาง จึงได้รับแสงอาทิตย์ปริมาณมาก และพบว่าแสงอาทิตย์ส่องถึงโลกได้ น้อยลงในบริเวณใกล้ขั้วโลก รังสีอัลตราไวโอเลตชนกับโมเลกุลกับ โมเลกุลโมเลกุลของแก๊สโอโซนในชั้น แสงที่มองเห็นได้ รังสีอินฟราเรด รังสีแกมมาและรังสีเอกซ์พุ่งชนอะตอม คลื่นวิทยุ และรังสีอัลตราไวโอเลต บรรยากาศชั้นสตราโตสเฟียร์ และสูญเสียพลังงานในชั้นบรรยากาศ บางส่วนผ่านมาถึงพื้นผิวของโลก คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า พืช สัตว์ ลมสุริยะรบกวนระบบสื่อสาร รบกวนคลื่นวิทยุ ผลของดวงอาทิตย์ต่อโลก สิ่งมีชีวิตสังเคราะห์ด้วยแสง แบคทีเรียบางชนิด การหมุนเวียนของอากาศ กระแสน้าในมหาสมุทร การหมุนเวียนของน้า ดวงอาทิตย์ให้ความร้อนกับพื้นผิวโลก ความร้อนจากดวงอาทิตย์ทาให้น้า ความร้อนจากดวงอาทิตย์ทาให้น้าบนผิว และสะท้อนกลับสู่อวกาศ ทาให้อากาศ บริเวณเส้นศูนย์สูตรอุ่นขึ้น เป็น โลกระเหยกลายเป็นไอลอยตัวสูงน้ากลั่นตัว ลอยตัวสูงขึ้น อากาศเย็นไหลแทนที่ กระแสน้าหมุนเวียนไปสู่บริเวณขั้วโลก เป็นเมฆและกลายเป็นฝนตกลงมา
  • 2. ว 23102 วิทยาศาสตร์ 2 วิทยาศาสตร์ 6 นอกจากดวงอาทิตย์ซึ่งเป็นดาวฤกษ์ที่อยู่ใกล้โลกมากที่สด ดวงจันทร์ซึ่งจัดว่าเป็นเทหวัตถุ ุ ท้องฟ้าที่อยู่ใกล้โลกมากที่สุด การเคลื่อนที่ของโลกและดวงจันทร์รอบดวงอาทิตย์จึงมีอิทธิพลต่อ โลกและสิ่งแวดล้อมบนโลกหลายประการ การหมุนรอบตัวเอง โลก การหมุนรอบดวงอาทิตย์ รอบละประมาณ 24 ชั่วโมง ลักษณะการเคลือนที่ ่ รอบละประมาณ 1 ปี การหมุนรอบตัวเอง ดวงจันทร์ การหมุนรอบโลก รอบละ 29 วัน 12ชม. 44 นาที รอบละ 29.5 วัน การเคลื่อนที่ของ การทาปฏิทินจันทรคติ การเกิดน้าขึนน้าลง ้ โลกและดวงจันทร์ การเกิดสุริยุปราคาและจันทรุปราคา ปฏิทินจันทรคติ ปฏิทินจันทรคติ หมายถึงปฏิทินที่มีการนับวันและเดือนโดยอาศัยการโคจรของดวงจันทร์ ซึ่งสังเกตจากลักษณะและตาแหน่งของดวงจันทร์ที่ปรากฏเห็นบนโลก ในแต่ละวันดวงจันทร์จะปรากฏ ให้เห็นมีลักษณะต่างๆ กันตามตาแหน่งการเคลื่อนที่รอบโลกและการรับแสงจากดวงอาทิตย์ วันที่เห็นดวงจันทร์ด้านที่หันมาทางโลกได้รับแสงมากเรียกว่า วันข้างขึ้นหรือเดือนหงาย จนถึงคืนที่เห็นดวงจันทร์เต็มดวงเป็นรูปวงกลมเรียกว่า จันทร์เพ็ญ และวันที่เห็นดวงจันทร์ได้รับ แสงลดลงเรียกว่า วันข้างแรมหรือเดือนคว่า ดังรูป
  • 3. ว 23102 วิทยาศาสตร์ 3 วิทยาศาสตร์ 6 น้าขึ้นน้าลง การเกิดน้าขึ้นน้าลง เป็นปรากฏการณ์ธรรมชาติที่เกิดขึ้นกับน้าทะเลวันละ 2 ครั้ง เป็นผลที่ เกิดจากแรงดึงดูดระหว่างดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์ และโลก เนื่องจากดวงจันทร์อยู่ใกล้โลกมากแรง ดึงดูดของดวงจันทร์จึงมีผลต่อการเกิดน้าขึ้นและน้าลง รูปแสดงการเกิดน้าขึ้นน้าลงบนโลก ในแต่ละวันน้าในมหาสมุทรขึ้นและลงครบหนึ่งรอบในเวลาประมาณ 12 ชั่วโมง 25 นาที หรือประมาณครึ่งวัน ดังนั้นในวันหนึ่งระดับน้าทะเลสูงขึ้น 2 ครั้งและลดลง 2 ครั้ง ตาแหน่งของ ดวงจันทร์และดวงอาทิตย์ส่งผลให้ระดับน้าขึ้นและน้าลงแตกต่างกัน ทาให้มีปรากฏการณ์ที่เรียกว่า วันน้าเกิดวันน้าน้าตาย รูปแสดงการเกิดน้าเกิด น้าขึนมากและลงมาก ้
  • 4. ว 23102 วิทยาศาสตร์ 4 วิทยาศาสตร์ 6 รูปแสดงการเกิดน้าตาย น้าขึนน้อยและลงน้อย ้
  • 5. ว 23102 วิทยาศาสตร์ 5 วิทยาศาสตร์ 6 สุริยุปราคาและจันทรุปราคา สุริยุปราคาและจันทรุปราคา เป็นปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เกิดจากการเคลื่อนที่ของโลก หรืดวงจันทร์บังทางเดินของแสงจากดวงอาทิตย์ ทาให้เกิดเงาปรากฏที่โลกหรือดวงจันทร์ ซึ่งมักจะ เกิดขึ้นตรงกับแรม 15 ค่าหรือขึ้น 15 ค่า แต่ไม่ปรากฏขึ้นทุกเดือน สุริยุปราคา (Solar eclip) เกิดจากเงาของดวงจันทร์บังทางเดินของแสงจากดวงอาทิตย์ เมื่อดวงจันทร์เคลื่อนที่อยู่ระหว่างโลกและดวงอาทิตย์ในแนวเดียวกัน เป็นปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นใน เวลากลางวัน
  • 6. ว 23102 วิทยาศาสตร์ 6 วิทยาศาสตร์ 6 สุริยุปราคาเต็มดวงเกิดขึ้นไม่บ่อยครั้ง จึงเป็นปรากฏการณ์ที่สาคัญทางดาราศาสตร์ที่มี ประโยชน์ในการศึกษาเกี่ยวกับดวงอาทิตย์ สุริยุปราคาเต็มดวงที่สามารถสังเกตในประเทศไทยครั้ง สาคัญมีดังนี้ คาดว่าจะมองเห็นที่จังหวัด ประจวบคีรีขนธ์ 11 เมษายน 2613 ั 24 ตุมิถุนายน 2498 20 ลาคม 2538 20 มิถุนายน 2498 สุริยุปราคาเต็มดวง ในประเทศไทย 9 พฤษภาคม 2472 6 เมษายน 2418 18 สิงหาคม 2411 ณ ตาบลหว้ากอ อาเภอเมือง จังหวัดประจวบคีรขันธ์ ี พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงทานาย การเกิดล่วงหน้า 2 ปี เรียกว่าสุริยุปราคาเต็มดวงที่หว้ากอ จันทรุปราคา (Lunar eclip) เกิดจากเงาของโลกบังทางเดินของแสงจากดวงอาทิตย์ เมื่อ โลกเคลื่อนที่อยู่ระหว่างดวงจันทร์และดวงอาทิตย์ในแนวเดียวกัน เป็นปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นใน เวลากลางคืนขณะเป็นวันจันทร์เพ็ญ รูปแสดงการเกิดจันทรุปราคาเต็มดวง
  • 7. ว 23102 วิทยาศาสตร์ 7 วิทยาศาสตร์ 6 รูปแสดงการเกิดจันทรุปราคาบางส่วน รูปแสดงการเกิดจันทรุปราคาในเงามัว
  • 8. ว 23102 วิทยาศาสตร์ 8 วิทยาศาสตร์ 6 ใบงานที่ 16 ประกอบแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 16 เรื่อง ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ เวลา 10 นาที ชื่อ……………………………………...………………..กลุ่มที่………เลขที่………ชั้น……….. จุดประสงค์การเรียนรู้ นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ จงเติมคาหรือข้อความลงในช่องว่างให้ถูกต้อง 1. โลกและดวงจันทร์มีลักษณะการเคลื่อนที่ต่างกันคือ.......................................................... .......................................................................................................................................... 2. การเคลื่อนที่ของโลก ดวงจันทร์ และดวงอาทิตย์ ทาให้เกิดปรากฏการณ์ .......................................................................................................................................... 3. จงอธิบายเกี่ยวกับคาต่อไปนี้ วันข้างขึ้น วันข้างแรม และจันทร์เพ็ญ .......................................................................................................................................... 4. น้าขึ้นและน้าลงเป็นปรากฏการณ์ธรรมชาติที่เกิดจาก....................................................... .......................................................................................................................................... 5. ระดับน้าทะเลในวันน้าเกิดและวันน้าตายมีลักษณะ.......................................................... เพราะ................................................................................................................................ 6. ให้นักเรียนวาดรูปแสดงตาแหน่งของดวงอาทิตย์ โลก และดวงจันทร์ในการเกิด สุริยุปราคาเต็มดวงและจันทรุปราคาเต็มดวง ใบความรู้ที่ 44