SlideShare a Scribd company logo
สภาวะการมีบ ุต รของวัย รุ่น ไทย
             ปัจจุบันสภาวะการตั้งครรภ์ไม่พร้อมในวัยรุ่นอุบัติขึ้นในทุก
ภูมิภาคมากน้อยแตกต่างกันเนืองจากการเปลียนแปลงของสังคม โดย
                               ่             ่
องค์การอนามัยโลก : WHO ให้นยามคำาว่า วัยรุน (Adolescence) หมายถึง
                                   ิ            ่
ผูทมอายุ 10-19 ปี และได้กำาหนดเกณฑ์มาตรฐานเฝ้าระวังสถานการณ์ตง
  ้ ี่ ี                                                                 ั้
ครรภ์ของวัยรุน โดยร้อยละของผูหญิง
                ่                ้             อายุตำ่ากว่า 20 ปีบริบรณ์ ทีตง
                                                                     ู      ่ ั้
ครรภ์ตอผูหญิงทุกกลุมอายุที่ตั้งครรภ์ ต้องไม่เกินร้อยละ 10
         ่ ้          ่

             สำานักงานปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของ
มนุษย์ (สป.พม.) ได้ตระหนัก
ถึงความสำาคัญของปัญหาการตั้งครรภ์ของเด็กและเยาวชนที่มีอายุตำ่ากว่า
20 ปีบริบูรณ์ และความจำาเป็น
ที่จะต้องใช้ขอมูลสำาหรับเฝ้าระวังและติดตามสถานการณ์ดังกล่าวอย่างต่อ
               ้                                                                   2
เนื่อง แต่เนื่องจากยังไม่พบ         ว่ามีหน่วยงานใดที่จัดเก็บข้อมูลการ
ตั้งครรภ์ของมารดาในวัยต่างๆ อย่างเป็นระบบและครอบคลุมทุกพื้นที่
สป.พม. จึงได้เลือกใช้ข้อมูลการจดทะเบียนเกิดของเด็กทารกแทนข้อมูล
การตั้งครรภ์ของมารดา โดยประสานและขอใช้ขอมูลการจดทะเบียนเกิด
                                                 ้
จากสำานักบริหารงานทะเบียน กรมการปกครอง และพัฒนา “ระบบรายงาน
สภาวะการมีบตรของวัยรุน” ขึน (สามารถเข้าดูได้ทเว็บไซต์กระทรวงการพัฒนา
                 ุ       ่   ้                ี่
สังคมและความมันคงของมนุษย์ :
                   ่                 www.m-society.go.th ภายใต้
หน้าสถิติ หรือ http://childpregnancy.m-society.go.th) ทังนี้ การ
                                                              ้
เลือกใช้ขอมูลจากทะเบียนการเกิด ของสำานักบริหารการทะเบียน มีข้อดี
           ้
และข้อเสีย คือสามารถรายงานสถานการณ์และปรับปรุงข้อมูลให้เป็น
ปัจจุบันได้อย่างต่อเนื่องทุกปี และสามารถใช้ข้อมูลในระดับประเทศบ่งชี้
สถานการณ์ได้อย่างแม่นยำาระดับหนึ่ง ในขณะที่ข้อมูลในระดับจังหวัดอาจ




                                                                               2
มีการคลาดเคลื่อนไปบ้างเนื่องจากปัญหาการ       ย้ายถิน / ภูมลำาเนาของ
                                                     ่     ิ
ประชาชนโดยไม่ได้ยายทะเบียนบ้านประการหนึง อีกประการหนึงเนืองจากการจด
                   ้                      ่             ่ ่
ทะเบียนเกิดมักจะแจ้งเกิดตามที่อยู่ของโรงพยาบาลที่ทำาคลอด
            ข้อมูลจาก “ระบบรายงานสภาวะการมีบตรของวัยรุน” แสดงให้เห็น
                                                   ุ       ่
แนวโน้มในระยะ 10 ปีทผ่านมา
                        ี่
ว่าสถานการณ์การคลอดบุตรของวัยรุ่นอายุตำ่ากว่า 20 ปีบริบูรณ์ และอายุ
ตำ่ากว่า 15 ปีบริบูรณ์ มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นโดยตลอด โดยในกลุมวัยรุนอายุ
                                                                ่   ่
ตำ่ากว่า 20 ปีบริบรณ์ ซึงเป็นกลุมทีตองเฝ้าระวังตามเกณฑ์ขององค์การ
                  ู        ่      ่ ่ ้
อนามัยโลก มีค่าร้อยละเกินเกณฑ์ที่กำาหนดไว้มาตั้งแต่ปี 2543 สำาหรับ
อัตราการคลอดบุตรในมารดา                 อายุตำ่ากว่า 15 ปีบริบูรณ์ แม้ว่าจะมี
ค่าเพียงเล็กน้อยแต่ก็เป็นเรื่องที่สังคมควรตระหนักและจำาเป็นต้อง
เร่งป้องกันและแก้ไขโดยเร็ว


   ตารางที่ 1 แนวโน้ม การคลอดบุต รของมารดาวัย รุน ทั้ง ประเทศ
                                                ่
                        พ.ศ. 2543 - 2552
              มารดาทุก      อายุต ำ่า กว่า 15 ปีบ ริ  อายุต ำ่า กว่า 20 ปีบ ริ       3
      พ.ศ.       อายุ                 บูร ณ์                    บูร ณ์
                (คน)         จำา นวน         ร้อ ยละ  จำา นวน          ร้อ ยละ
  เกณฑ์ก ารเฝ้า ระวัง การตั้ง ครรภ์                                     ≥ 10
   2552       787,739         3,299           0.42   106,726           13.55
   2551       797,356         3,043           0.38   95,747            12.01
   2550       811,384         3,054           0.38   108,519           13.37
   2549       802,924         2,911           0.36   104,604           13.03
   2548       809,807         2,941           0.36   104,347           12.89
   2547       822,575         3,014           0.37   105,199           12.79
   2546       778,445         2,479           0.32   96,428            12.39
   2545       771,787         2,268           0.29   92,537            11.99
   2544       766,107         2,185           0.29   91,487            11.94
   2543       786,018         2,031           0.26   92,706            11.79
  ทีม า : ระบบรายงานสภาวะการมีบุตรของวัยรุ่น สป.พม.
    ่
           ประมวลผลจากข้อมูลการจดทะเบียนเกิดของสำานักบริหารงานทะเบียน




                                                                                 3
กรมการปกครอง
            ทั้งนี้ สถานการณ์ล่าสุดในปี 2552 พบว่าในกลุ่มมารดาอายุ
ตำ่ากว่า 20 ปีบริบูรณ์ ประกอบด้วย มารดาอายุระหว่าง 15 ปี ถึงตำ่ากว่า 20
ปีบริบรณ์ ร้อยละ 96.91 และอายุตำ่ากว่า 15 ปีบริบรณ์ ร้อยละ 3.09
       ู                                        ู

                      กราฟแสดงการคลอดบุต รของมารดาวัย รุน พ.ศ.
                                                        ่
2552




             เมือพิจารณาในแต่ละภูมิภาค พบว่า สถานการณ์การคลอดบุตรของ
                ่
มารดาทีมีอายุตำ่ากว่า 20 ปีบริบูรณ์
         ่
                                                                                         4
มีคาสูงเกินเกณฑ์เฝ้าระวังในเกือบทุกภูมภาค โดยเฉพาะในภาคเหนือ ภาค
   ่                                    ิ
กลาง และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
มีค่าสูงถึงร้อยละ 15 สำาหรับภาคใต้ มีค่าสูงกว่าเกณฑ์เฝ้าระวังเล็กน้อย
และเป็นที่น่าสังเกตว่ากรุงเทพมหานครมีค่าร้อยละเท่ากับ 8.85 ซึ่งจัดอยู่
ในเกณฑ์ปกติ
  ตารางที่ 2 แสดงจำา นวนและร้อ ยละของมารดาวัย รุ่น ที่ค ลอดบุต ร
                  พ.ศ. 2552 จำา แนกตามภาค
                                   อายุต ำ่า กว่า 15      อายุต ำ่า กว่า 20 ปีบ ริ
                   มารดาทุก            ปีบ ริบ ูร ณ์                บูร ณ์
       ปี พ.ศ.
                   อายุ(คน)        จำา นวน        ร้อ ย    จำา นวน
                                    (คน)           ละ       (คน)           ร้อ ยละ
เกณฑ์ก ารเฝ้า ระวัง การตัง ครรภ์
                         ้                                                  ≥ 10
ทั้ง ประเทศ         787,739        3,299         0.42     106,726          13.55
กรุง เทพมหานคร 104,935              306          0.29        9,282          8.85
ภาคกลาง             207,701        1,064         0.51       31,337         15.09
ภาคเหนือ            113,520         651          0.57       17,150         15.11
ภาคใต้              139,538         385          0.28       15,605         11.18




                                                                                     4
ภาคตะวัน ออก
                     222,045
 เฉีย งเหนือ                      893        0.40      33,352    15.02
ที่ม า : ระบบรายงานสภาวะการมีบุตรของวัยรุ่น สป.พม.
          ประมวลผลจากข้อมูลการจดทะเบียนเกิดของสำานักบริหารงานทะเบียน กรม
การปกครอง
           ในระดับจังหวัด พบว่าจังหวัดทีมีอัตราการคลอดบุตรของมารดาอายุตำ่า
                                        ่
กว่า 20 ปีบริบรณ์ อยูในเกณฑ์ปกติ มีเพียง 5 จังหวัด ได้แก่ ปัตตานี
              ู      ่
นราธิวาส กรุงเทพมหานคร ยะลา และภูเก็ต
 ตารางที่ 3 แสดงจำา นวนและร้อ ยละของมารดาวัย รุ่น ที่ค ลอดบุต ร ทั้ง
                       ประเทศ พ.ศ. 2552
                    มารดา        อายุต ำ่า กว่า 15
                                                     อายุต ำ่า กว่า 20 ปีบ ริบ ูร ณ์
                    ทุก อายุ       ปีบ ริบ ูร ณ์
ที่   จัง หวัด                                                              ลำา ดับ
                               จำา นว                จำา นวน
                      (คน)                ร้อ ยละ               ร้อ ยละ      ความ
                               น (คน)                 (คน)
                                                                            รุน แรง
เกณฑ์เ ฝ้า ระวัง การตั้ง ครรภ์ก ่อ นวัย อัน ควร                   ≥10
   รวมทั้ง                                           106,72
   ประเทศ          787,739 3,299             0.42      6        13.55                  5
1 กระบี่            7,678          19        0.25    1,057      13.77         53
   กรุงเทพมหา
2                  104,935        306        0.29    9,282       8.85         74
   นคร
3 กาญจนบุรี        10,011          73        0.73    1,828      18.26          9
4 กาฬสินธุ์          8,979        35       0.39      1,422      15.84         25
5 กำาแพงเพชร         6,480        47       0.73      1,322      20.40          1
6 ขอนแก่น           19,521        84       0.43      2,837      14.53         44
7 จันทบุรี           6,535        38       0.58      1,072      16.40         20
8 ฉะเชิงเทรา         8,554        39       0.46      1,337      15.63         29
9 ชลบุรี            28,495        89       0.31      3,343      11.73         67
1
  ชัยนาท             3,012        20       0.66       555       18.43          8
0
1
  ชัยภูมิ           10,767        65       0.60      1,779      16.52         18
1




                                                                                   5
มารดา        อายุต ำ่า กว่า 15
                                                     อายุต ำ่า กว่า 20 ปีบ ริบ ูร ณ์
                    ทุก อายุ       ปีบ ริบ ูร ณ์
ที่   จัง หวัด                                                              ลำา ดับ
                               จำา นว                จำา นวน
                      (คน)                ร้อ ยละ               ร้อ ยละ      ความ
                               น (คน)                 (คน)
                                                                            รุน แรง
เกณฑ์เ ฝ้า ระวัง การตั้ง ครรภ์ก ่อ นวัย อัน ควร                   ≥10
1
   ชุมพร            6,450          22        0.34     880       13.64         54
2
1
   เชียงราย        11,284          82        0.73    1571       13.92         51
3
1
   เชียงใหม่       18,117         101        0.56    2,199      12.14         63
4
1
   ตรัง             8,832          28        0.32    1,014      11.48         69
5
1
   ตราด             2,517          11        0.44     423       16.81         14
6
1
   ตาก              8,651          51        0.59    1,362      15.74         27
7                                                                                      6
1
   นครนายก          3,506          12        0.34     564       16.09         23
8
1
   นครปฐม           9,591          51        0.53    1,601      16.69         16
9
2
   นครพนม           7,125          25        0.35    1,039      14.58         41
0
2
   นครราชสีมา      27,717         111        0.40    4,037      14.57         42
1
2 นครศรีธรรมร
                   18,742          48        0.26    2,331      12.44         61
2 าช
2
   นครสวรรค์       10,724          77        0.72    2,004      18.69          4
3
2
   นนทบุรี         11,215          59        0.53    1,498      13.36         56
4
2 นราธิวาส         13,453          21        0.16    1,177       8.75         75




                                                                                   6
มารดา       อายุต ำ่า กว่า 15
                                                     อายุต ำ่า กว่า 20 ปีบ ริบ ูร ณ์
                     ทุก อายุ      ปีบ ริบ ูร ณ์
ที่      จัง หวัด                                                           ลำา ดับ
                                จำา นว               จำา นวน
                      (คน)                 ร้อ ยละ              ร้อ ยละ      ความ
                                น (คน)                (คน)
                                                                            รุน แรง
เกณฑ์เ ฝ้า ระวัง การตั้ง ครรภ์ก ่อ นวัย อัน ควร                   ≥10
5
2
      น่าน           4,131        14        0.34      486       11.76         66
6
2
      บุรีรัมย์      16,547       63        0.38     2,805      16.95         13
7
2
      ปทุมธานี       12,067       54        0.45     1,427      11.83         65
8
2     ประจวบคีรีขั
                     6,432        47        0.73     1,215      18.89          2
9     นธ์
3
      ปราจีนบุรี     5,932        35        0.59      907       15.29         31
0
3                                                                                      7
      ปัตตานี        12,459       20        0.16      961        7.71         76
1
3     พระนครศรีอ
                     9,790        50        0.51     1,452      14.83         37
2     ยุธยา
3
      พะเยา          3,675        11        0.30      473       12.87         58
3
3
      พังงา          3,325        18        0.54      476       14.32         48
4
3
      พัทลุง         5,859        14        0.24      732       12.49         60
5
3
      พิจิตร         5,215        40        0.77      984       18.87          3
6
3
      พิษณุโลก       8,720        51        0.58     1,320      15.14         33
7
3
      เพชรบุรี       5,122        22        0.43      904       17.65         11
8




                                                                                   7
มารดา        อายุต ำ่า กว่า 15
                                                     อายุต ำ่า กว่า 20 ปีบ ริบ ูร ณ์
                    ทุก อายุ       ปีบ ริบ ูร ณ์
ที่   จัง หวัด                                                              ลำา ดับ
                               จำา นว                จำา นวน
                      (คน)                ร้อ ยละ               ร้อ ยละ      ความ
                               น (คน)                 (คน)
                                                                            รุน แรง
เกณฑ์เ ฝ้า ระวัง การตั้ง ครรภ์ก ่อ นวัย อัน ควร                   ≥10
3
   เพชรบูรณ์        8,724          51        0.58    1,430      16.39         21
9
4
   แพร่             3,300          13        0.39     382       11.58         68
0
4
   ภูเก็ต           7,635          22        0.29     752        9.85         72
1
4
   มหาสารคาม        7,901          15        0.19    1,172      14.83         38
2
4
   มุกดาหาร         3,750          21        0.56     527       14.05         49
3
4
   แม่ฮ่องสอน       3,523          30        0.85     553       15.70         28
4                                                                                      8
4
   ยโสธร            4,728          22        0.47     708       14.97         36
5
4
   ยะลา            10,470          16        0.15     930        8.88         73
6
4 ร้อยเอ็ด         10,650          40        0.38    1,548      14.54         43
7
4 ระนอง             2,211          10        0.45     323       14.61         40
8
4 ระยอง            10,411          46        0.44    1,645      15.80         26
9
5 ราชบุรี          10,937          54        0.49    1,668      15.25         32
0
5 ลพบุรี            7,764          46        0.59    1,441      18.56          5
1
5 ลำาปาง            5,114          10        0.20     615       12.03         64
2
5 ลำาพูน            3,257          11        0.34     366       11.24         70
3




                                                                                   8
มารดา        อายุต ำ่า กว่า 15
                                                     อายุต ำ่า กว่า 20 ปีบ ริบ ูร ณ์
                    ทุก อายุ       ปีบ ริบ ูร ณ์
ที่   จัง หวัด                                                              ลำา ดับ
                               จำา นว                จำา นวน
                      (คน)                ร้อ ยละ               ร้อ ยละ      ความ
                               น (คน)                 (คน)
                                                                            รุน แรง
เกณฑ์เ ฝ้า ระวัง การตั้ง ครรภ์ก ่อ นวัย อัน ควร                   ≥10
5 เลย               6,766          33        0.49    1,019      15.06         34
4
5 ศรีสะเกษ         13,905          46        0.33    2,015      14.49         46
5
5 สกลนคร           13,386          55        0.41    1,863      13.92         52
6
5 สงขลา            21,049          54        0.26    2,184      10.38         71
7
5 สตูล              4,904          21        0.43     615       12.54         59
8
5 สมุทรปรากา       14,885          88        0.59    1,995      13.40         55
9 ร
6 สมุทรสงครา        1,365           9        0.66     253       18.53          7
0 ม
6 สมุทรสาคร        10,161          40        0.39    1,255      12.35         62
1                                                                                      9
6 สระแก้ว           6,182          35        0.57     997       16.13         22
2
6 สระบุรี           8,489          56        0.66    1,415      16.67         17
3
6 สิงห์บุรี         2,351          14        0.60     376       15.99         24
4
6 สุโขทัย           5,352          27        0.50     897       16.76         15
5
6 สุพรรณบุรี        9,356          56        0.60    1,615      17.26         12
6
6 สุราษฎร์ธานี     16,471          72        0.44    2,173      13.18         57
7
6 สุรินทร์         13,941          45        0.32    2,010      14.42         47
8
6 หนองคาย           9,553          40        0.42    1,407      14.73         39
9
7 หนองบัวลำาภู      5,133          26        0.51     844       16.44         19
0
7 อ่างทอง           3,021          20        0.66     551       18.24         10
1




                                                                                   9
มารดา        อายุต ำ่า กว่า 15
                                                             อายุต ำ่า กว่า 20 ปีบ ริบ ูร ณ์
                          ทุก อายุ       ปีบ ริบ ูร ณ์
ที่        จัง หวัด                                                                 ลำา ดับ
                                      จำา นว                จำา นวน
                           (คน)                 ร้อ ยละ                 ร้อ ยละ      ความ
                                      น (คน)                 (คน)
                                                                                    รุน แรง
เกณฑ์เ ฝ้า ระวัง การตั้ง ครรภ์ก ่อ นวัย อัน ควร                           ≥10
7 อำานาจเจริญ       3,597          11        0.31             504       14.01         50
2
7 อุดรธานี         16,901          76        0.45            2,636      15.60         30
3
7 อุตรดิตถ์         3,948          16        0.41             573       14.51         45
4
7 อุทัยธานี         3,305          19        0.57             613       18.55          6
5
7 อุบลราชธานี      21,178          80        0.38            3,180      15.02         35
6
                       ปกติ                                            5 จังหวัด
                      เกินเกณฑ์เฝ้าระวัง                              71 จังหวัด
ที่ม า : ระบบรายงานสภาวะการมีบุตรของวัยรุ่น สป.พม.
          ประมวลผลจากข้อมูลการจดทะเบียนเกิดของสำานักบริหารงานทะเบียน กรม
การปกครอง                                                                                           1
อย่างไรก็ดี ทั้ง 5 จังหวัด ไม่อาจนิ่งนอนใจกับปัญหาการตั้งครรภ์ในวัย                             0
รุ่นไปได้ เนื่องจากเมื่อพิจารณาเปรียบเทียบกับข้อมูลในปี 2551 พบว่าทุก
จังหวัดมีแนวโน้มสถานการณ์รนแรงขึน แม้วาจากข้อมูลย้อนหลัง 10 ปี ได้
                             ุ      ้     ่
แสดงให้เห็นว่าสถานการณ์แนวโน้มจากปี 2543 ดีขึ้น (ยกเว้นจังหวัด
ยะลา)
ตารางที่ 4 สถานการณ์ก ารคลอดบุต รของมารดาวัย รุ่น ใน 5 จัง หวัด ที่
                       มีส ถานการณ์ป กติ
                             ร้อ ยละของมารดาอายุต ำ่า กว่า 20 ปีบ ริบ ูร ณ์ท ี่ค ลอดบุต ร
           จัง หวัด
                                พ.ศ. 2552      พ.ศ. 2551                 พ.ศ. 2543
 ปัต ตานี                          7.71              6.57                    7.93
 นราธิว าส                         8.75              7.76                    9.21
 กรุง เทพมหานคร                    8.85              8.10                    9.15
 ยะลา                              8.88              7.67                    7.83
 ภูเ ก็ต                             9.82                  8.99                 10.04




                                                                                           10
ที่ม า : ระบบรายงานสภาวะการมีบุตรของวัยรุ่น สป.พม.
          ประมวลผลจากข้อมูลการจดทะเบียนเกิดของสำานักบริหารงานทะเบียน กรม
การปกครอง
             สำาหรับ 71 จังหวัดทีมคาร้อยละเกินมาตรฐาน กำาแพงเพชรเป็น
                                 ่ ี ่
จังหวัดทีมสถานการณ์รนแรง
         ่ ี            ุ          มากทีสดในปี 2552 มีค่าร้อยละของการ
                                        ่ ุ
คลอดบุตรของวัยรุ่นสูงถึง 2 เท่า (ร้อยละ 2.40) ของเกณฑ์มาตรฐานการ
เฝ้าระวังที่กำาหนด นอกจากนี้ข้อมูลจากตารางข้างล่างแสดงให้เห็นว่าทั้ง 5
จังหวัดมีสถานการณ์ที่รุนแรงขึ้นกว่าปี 2551 และแนวโน้มสถานการณ์
ตังแต่ปี 2543 มีความรุนแรงเพิมขึนโดยเฉพาะจังหวัดพิจตรและลพบุรี
  ้                             ่ ้                  ิ
มีอตราการคลอดบุตรสูงขึนถึงประมาณร้อยละ 6 ทังนี้ จังหวัดทีมอตราการ
    ั                      ้                      ้           ่ ี ั
คลอดบุตรของมารดาอายุตำ่ากว่า 20 ปีบริบรณ์ ระหว่างร้อยละ 10 ถึง 14
                                            ู
มีจำานวน 36 จังหวัด และตั้งแต่ร้อยละ 15 ขึ้นไป มีจำานวน 35 จังหวัด
 ตารางที่ 5 สถานการณ์ก ารคลอดบุต รของมารดาวัย รุ่น ใน 5 จัง หวัด
               ที่ม ีส ถานการณ์ร ุน แรงที่ส ด ในปัจ จุบ ัน
                                            ุ
                     ร้อ ยละของมารดาอายุต ำ่า กว่า 20 ปีบ ริบ ูร ณ์ท ี่ค ลอดบุต ร
      จัง หวัด
                         พ.ศ. 2552          พ.ศ. 2551            พ.ศ. 2543
 กำา แพงเพชร               20.40              18.25                16.18
 ประจวบคีร ีข น ธ์
                ั          18.89              17.15                15.45                1
 พิจ ต ร
      ิ                    18.87              16.85                12.49            1
 นครสวรรค์                 18.69              17.94                13.54
 ลพบุร ี                   18.56              16.49                12.01
ที่ม า : ระบบรายงานสภาวะการมีบุตรของวัยรุ่น สป.พม.
          ประมวลผลจากข้อมูลการจดทะเบียนเกิดของสำานักบริหารงานทะเบียน กรม
การปกครอง



               จากการศึกษาข้อมูลอายุมารดาวัยรุนและอายุบดา จากข้อมูลการ
                                                ่        ิ
เกิดของสำานักบริหารการทะเบียน กรมการปกครอง พบข้อที่น่าสังเกตหลาย
ประการ คือ มีมารดาวัยรุ่นอายุตั้งแต่ 9 ปีขึ้นไป แม้ว่ามารดาวัยรุ่นส่วน
ใหญ่จะอยูในช่วงอายุ 15 ถึง 19 ปี ก็ตาม ทางด้านบิดาจากข้อมูลพบว่ามีอยู่
             ่
ในทุกช่วงอายุ (9 ถึง 60 ปีขนไป) โดยส่วนใหญ่จะอยูในช่วงอายุ 15 ถึง 30
                              ึ้                     ่
ปี ข้อทีนาสังเกต คือ มีบดาทีมอายุมากกว่ามารดาวัยรุนนับสิบปี
         ่ ่                ิ    ่ ี                   ่           รวมถึง
บิดาที่เป็นผู้สูงอายุ (อายุ 60 ปีขึ้นไป) ด้วยจำานวนหนึ่ง นอกจากนี้ยังพบว่า
มีทารกจำานวนหนึ่งเกิดจากมารดาและบิดาที่ยังเป็นเด็กทั้งคู่




                                                                              11
ตารางที่ 6 แสดงจำา นวนทารกที่เ กิด จากมารดาวัย รุน ณ พ.ศ. 2552
                                                  ่
                 จำา แนกรายอายุม ารดาและบิด า
                             อายุม ารดา (ปี)
อายุบ ิด า
             1   1   1                                           รวม
   (ปี)    9           13    14   15     16    17     18   19
             0   1   2
  ≤9 ปี    - -   -   -   -    -    -      1      -     -     -      1
 10 ปี     - -   -   -   -    -    -      -      -     -     -      -
 11 ปี     - -   -   -   -    -    -      -      1     -     1      2
 12 ปี     - -   -   -   -    -    2      -      -     3     -      5
 13 ปี     - -   -   -   1    3    8      8      1     5     -     26
 14 ปี     - -   -   2   6   35   63     58     39    18     4   225
                                                                 1,16
 15 ปี   -   -   -   2 16 116 320      355     223   111    26      9
                                       1,24                      3,85
 16 ปี   - 1     -   4 30 225 668         8989       578 109        2
                              1,0      2,112,63      1,79        8,35
 17 ปี   -   -   1   4 41 317 30          2   4         2 422       3
                              1,1      2,373,52      3,22        11,5
 18 ปี   1 3     -   6 55 295 08          9   5         0 937      29     1
                                       2,253,40      3,86 1,43   12,2 2
 19 ปี   - -     4   6 48 279 974         4   8         1    7     71
20 ถึง <             3 16     2,9      6,9311,2      14,2 5,90   42,3
  25     - 2     6   3 5 864 46           2  33        78    1     60
25 ถึง <             1        1,1      2,494,30      6,01 2,68   17,0
  30     1 1     4   2 63 341 53          3   3         4    1     66
30 ถึง <                                   1,52      2,08        6,10
  35     - 1     -   2 40 144 442      953    7         8 903       0
35 ถึง <                                                         2,19
  40     - -     -   2   6   56 163    364     558   718   324      1
40 ถึง <
  45     - -     -   2   5   28   68   136     270   326   128   963
45 ถึง <
  50     - -     -   -   3    8   31     75    109   116    50   392
50 ถึง <
  55     - -     -   -   -    6   16     25     28    51    22   148
55 ถึง < - -     -   -   1    -    5      8     12    17     5    48




                                                                  12
60
60 ปีขึ้น
  ไป        -   -  - - 1        1     2       1     8      7      5     25
                  1 7 48 2,7 8,9 19,4 28,8 33,2 12,9 106,
    รวม      2 8 5 5 1 18 99                 02    68     03    55     726
ที่ม า : ระบบรายงานสภาวะการมีบุตรของวัยรุ่น สป.พม.
          ประมวลผลจากข้อมูลการจดทะเบียนเกิดของสำานักบริหารงานทะเบียน กรม
การปกครอง
             การตังครรภ์ของวัยรุนไม่วาจะเป็นการตังครรภ์ทพึงปรารถนา หรือไม่
                  ้              ่     ่               ้      ี่
พึงปรารถนาก็ตาม จะเกิดผลกระทบทังด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์และสังคม
                                         ้
กล่าวคือ มารดาวัยรุนและทารกมีความเสียงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อน ทัง
                        ่                      ่                            ้
ในระยะตังครรภ์ ระยะคลอด และระยะหลังคลอด (เช่น ครรภ์เป็นพิษ คลอด
           ้
ก่อนกำาหนด)                ได้มากกว่ามารดาในวัยผูใหญ่ มีข้อมูลจากการวิจัย
                                                     ้
ที่แสดงว่า ทารกที่เกิดจากมารดาอายุน้อยมักจะคลอด                  ก่อนกำาหนด มี
สุขภาพไม่สมบูรณ์ และนำ้าหนักแรกเกิดน้อย ซึ่งจะทำาให้มีปัญหาความผิด
ปกติทางระบบประสาท หูหนวก ตาบอด และมีความพิการสูงกว่าทารกซึ่ง
มีนำ้าหนักปกติ (มากกว่า 2,500 กรัม) เมื่อวัยรุ่นตั้งครรภ์แม้จะมีการ
เปลี่ยนแปลงทางสรีระวิทยาตามปกติ แต่จะเกิดการเปลียนแปลงทางชีวเคมี
                                                            ่
และฮอร์โมน          ของร่างกาย ซึงมีอทธิพลต่อการเปลียนแปลงทางจิตใจและ
                                     ่       ิ            ่                      1
อารมณ์ เกิดความเครียด ซึมเศร้า วิตกกังวล กลายเป็นบาดแผลเจ็บปวด 3
แห่งความทรงจำาที่ไม่ลืม การตังครรภ์ในวัยรุนจึงเป็นภาวะวิกฤติทซำ้าซ้อน
                                   ้             ่                      ี่
กับภาวะวิกฤติเดิมทีมอยูตามพัฒนาการของวัยรุนและส่งผลกระทบต่อสภาพ
                     ่ ี ่                         ่
สังคมทีแวดล้อมมารดาวัยรุนอยู่
         ่                  ่                    (เช่น ต้องออกจากการศึกษา
เสียงต่อการใช้ สารเสพติด เกิดความแตกแยกในครอบครัว มีปญหาทาง
   ่                                                                  ั
เศรษฐกิจ) ตลอดจนสภาพสังคมโดยรวม เช่น การทำาแท้งเถือน มีเด็กถูก      ่
ทอดทิงมากขึน มีเด็กและเยาวชนที่กลายเป็นปัญหาสังคมมากขึ้น เด็กและ
       ้      ้
เยาวชนขาดความรู้ในการประกอบอาชีพเมื่อเติบโตเป็นผู้ใหญ่ ขาดทักษะ
ในการดำารงชีวตในสังคมอย่างปกติสข
                ิ                          ุ
           ปัญหาการตังครรภ์ในวัยรุนไทยเกิดจากความก้าวหน้าทาง
                     ้            ่
เทคโนโลยี ซึงทำาให้โลกไร้พรมแดน การแพร่ระบาดของสื่อลามกและยา
             ่
เสพติด ความฟุ้งเฟ้อและวัตถุนิยมของเด็กและเยาวชน โครงสร้าง
ครอบครัวทีเปลียนแปลงไปเป็นครอบครัวเดียวทีมเพียงพ่อ แม่ ลูก ความ
           ่ ่                        ่   ่ ี
จำาเป็นทางด้านเศรษฐกิจของครอบครัวทีทำาให้
                                    ่         พ่อแม่มีเวลาให้กับ
ครอบครัวและลูกน้อยลงจนไม่สามารถเป็นแบบอย่าง อบรม ดูแล และให้




                                                                        13
คำาปรึกษา      แก่ลูกวัยรุ่นที่กำาลังอยู่ในวัยหัวเลี้ยวหัวต่อจากอิทธิพล
และการเปลี่ยนแปลงของฮอร์โมนในร่างกาย
              ปัจจุบันภาครัฐและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องต่างตระหนักถึงความ
รุนแรงของปัญหาดังกล่าว          การจัดให้มีการป้องกันและแก้ไขปัญหา จึง
เป็นเรื่องที่ทุกภาคส่วนในสังคม ตั้งแต่ ครอบครัว เพื่อน โรงเรียน
ชุมชน เอกชน และภาครัฐ ต้องร่วมมือกันอย่างจริงจัง จริงใจ และเสีย
สละ เพื่อให้เด็กไทยเติบโตเป็นบุคลากรที่มีคุณภาพ และสร้างประโยชน์ให้
กับประเทศได้ในอนาคต




                                                                                   1
                                                                               4




                                                                          14
คำำปรึกษำ      แก่ลูกวัยรุ่นที่กำำลังอยู่ในวัยหัวเลี้ยวหัวต่อจำกอิทธิพล
และกำรเปลี่ยนแปลงของฮอร์โมนในร่ำงกำย
              ปัจจุบันภำครัฐและหน่วยงำนที่เกี่ยวข้องต่ำงตระหนักถึงควำม
รุนแรงของปัญหำดังกล่ำว          กำรจัดให้มีกำรป้องกันและแก้ไขปัญหำ จึง
เป็นเรื่องที่ทุกภำคส่วนในสังคม ตั้งแต่ ครอบครัว เพื่อน โรงเรียน
ชุมชน เอกชน และภำครัฐ ต้องร่วมมือกันอย่ำงจริงจัง จริงใจ และเสีย
สละ เพื่อให้เด็กไทยเติบโตเป็นบุคลำกรที่มีคุณภำพ และสร้ำงประโยชน์ให้
กับประเทศได้ในอนำคต




                                                                                   1
                                                                               4




                                                                          14
คำำปรึกษำ      แก่ลูกวัยรุ่นที่กำำลังอยู่ในวัยหัวเลี้ยวหัวต่อจำกอิทธิพล
และกำรเปลี่ยนแปลงของฮอร์โมนในร่ำงกำย
              ปัจจุบันภำครัฐและหน่วยงำนที่เกี่ยวข้องต่ำงตระหนักถึงควำม
รุนแรงของปัญหำดังกล่ำว          กำรจัดให้มีกำรป้องกันและแก้ไขปัญหำ จึง
เป็นเรื่องที่ทุกภำคส่วนในสังคม ตั้งแต่ ครอบครัว เพื่อน โรงเรียน
ชุมชน เอกชน และภำครัฐ ต้องร่วมมือกันอย่ำงจริงจัง จริงใจ และเสีย
สละ เพื่อให้เด็กไทยเติบโตเป็นบุคลำกรที่มีคุณภำพ และสร้ำงประโยชน์ให้
กับประเทศได้ในอนำคต




                                                                                   1
                                                                               4




                                                                          14

More Related Content

Similar to Statistic 5614

Unwantedpreg
UnwantedpregUnwantedpreg
Unwantedpreg
Mickey Toon Luffy
 
การเบิกจ่ายชดเชย การแก้ไขกรณีติด C และการปฏิเสธการจ่ายชดเชยค่าบริการทันตกรรมส...
การเบิกจ่ายชดเชย การแก้ไขกรณีติด C และการปฏิเสธการจ่ายชดเชยค่าบริการทันตกรรมส...การเบิกจ่ายชดเชย การแก้ไขกรณีติด C และการปฏิเสธการจ่ายชดเชยค่าบริการทันตกรรมส...
การเบิกจ่ายชดเชย การแก้ไขกรณีติด C และการปฏิเสธการจ่ายชดเชยค่าบริการทันตกรรมส...
Sakarin Habusaya
 
พจนานุกรมข้อมูล - ประเด็นอื่นๆ
พจนานุกรมข้อมูล - ประเด็นอื่นๆพจนานุกรมข้อมูล - ประเด็นอื่นๆ
พจนานุกรมข้อมูล - ประเด็นอื่นๆBe SK
 
พจนานุกรมข้อมูล - การป้องกันการตายของมารดา ทารกแรกเกิดและเด็ก และการให้ความช่...
พจนานุกรมข้อมูล - การป้องกันการตายของมารดา ทารกแรกเกิดและเด็ก และการให้ความช่...พจนานุกรมข้อมูล - การป้องกันการตายของมารดา ทารกแรกเกิดและเด็ก และการให้ความช่...
พจนานุกรมข้อมูล - การป้องกันการตายของมารดา ทารกแรกเกิดและเด็ก และการให้ความช่...Be SK
 
นำเสนอคุณภาพชีวิต 12 ก.ย. 60
นำเสนอคุณภาพชีวิต 12 ก.ย. 60นำเสนอคุณภาพชีวิต 12 ก.ย. 60
นำเสนอคุณภาพชีวิต 12 ก.ย. 60
นายอุ้ย ธุษาวัน
 
ปัญหาท้องในวัยเรียน
ปัญหาท้องในวัยเรียนปัญหาท้องในวัยเรียน
ปัญหาท้องในวัยเรียน
Kornnicha Wonglai
 
AEC Preparation
AEC PreparationAEC Preparation
AEC Preparation
M Geek
 

Similar to Statistic 5614 (9)

Unwantedpreg
UnwantedpregUnwantedpreg
Unwantedpreg
 
การเบิกจ่ายชดเชย การแก้ไขกรณีติด C และการปฏิเสธการจ่ายชดเชยค่าบริการทันตกรรมส...
การเบิกจ่ายชดเชย การแก้ไขกรณีติด C และการปฏิเสธการจ่ายชดเชยค่าบริการทันตกรรมส...การเบิกจ่ายชดเชย การแก้ไขกรณีติด C และการปฏิเสธการจ่ายชดเชยค่าบริการทันตกรรมส...
การเบิกจ่ายชดเชย การแก้ไขกรณีติด C และการปฏิเสธการจ่ายชดเชยค่าบริการทันตกรรมส...
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1
 
พจนานุกรมข้อมูล - ประเด็นอื่นๆ
พจนานุกรมข้อมูล - ประเด็นอื่นๆพจนานุกรมข้อมูล - ประเด็นอื่นๆ
พจนานุกรมข้อมูล - ประเด็นอื่นๆ
 
001007082009
001007082009001007082009
001007082009
 
พจนานุกรมข้อมูล - การป้องกันการตายของมารดา ทารกแรกเกิดและเด็ก และการให้ความช่...
พจนานุกรมข้อมูล - การป้องกันการตายของมารดา ทารกแรกเกิดและเด็ก และการให้ความช่...พจนานุกรมข้อมูล - การป้องกันการตายของมารดา ทารกแรกเกิดและเด็ก และการให้ความช่...
พจนานุกรมข้อมูล - การป้องกันการตายของมารดา ทารกแรกเกิดและเด็ก และการให้ความช่...
 
นำเสนอคุณภาพชีวิต 12 ก.ย. 60
นำเสนอคุณภาพชีวิต 12 ก.ย. 60นำเสนอคุณภาพชีวิต 12 ก.ย. 60
นำเสนอคุณภาพชีวิต 12 ก.ย. 60
 
ปัญหาท้องในวัยเรียน
ปัญหาท้องในวัยเรียนปัญหาท้องในวัยเรียน
ปัญหาท้องในวัยเรียน
 
AEC Preparation
AEC PreparationAEC Preparation
AEC Preparation
 

Statistic 5614

  • 1. สภาวะการมีบ ุต รของวัย รุ่น ไทย ปัจจุบันสภาวะการตั้งครรภ์ไม่พร้อมในวัยรุ่นอุบัติขึ้นในทุก ภูมิภาคมากน้อยแตกต่างกันเนืองจากการเปลียนแปลงของสังคม โดย ่ ่ องค์การอนามัยโลก : WHO ให้นยามคำาว่า วัยรุน (Adolescence) หมายถึง ิ ่ ผูทมอายุ 10-19 ปี และได้กำาหนดเกณฑ์มาตรฐานเฝ้าระวังสถานการณ์ตง ้ ี่ ี ั้ ครรภ์ของวัยรุน โดยร้อยละของผูหญิง ่ ้ อายุตำ่ากว่า 20 ปีบริบรณ์ ทีตง ู ่ ั้ ครรภ์ตอผูหญิงทุกกลุมอายุที่ตั้งครรภ์ ต้องไม่เกินร้อยละ 10 ่ ้ ่ สำานักงานปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของ มนุษย์ (สป.พม.) ได้ตระหนัก ถึงความสำาคัญของปัญหาการตั้งครรภ์ของเด็กและเยาวชนที่มีอายุตำ่ากว่า 20 ปีบริบูรณ์ และความจำาเป็น ที่จะต้องใช้ขอมูลสำาหรับเฝ้าระวังและติดตามสถานการณ์ดังกล่าวอย่างต่อ ้ 2 เนื่อง แต่เนื่องจากยังไม่พบ ว่ามีหน่วยงานใดที่จัดเก็บข้อมูลการ ตั้งครรภ์ของมารดาในวัยต่างๆ อย่างเป็นระบบและครอบคลุมทุกพื้นที่ สป.พม. จึงได้เลือกใช้ข้อมูลการจดทะเบียนเกิดของเด็กทารกแทนข้อมูล การตั้งครรภ์ของมารดา โดยประสานและขอใช้ขอมูลการจดทะเบียนเกิด ้ จากสำานักบริหารงานทะเบียน กรมการปกครอง และพัฒนา “ระบบรายงาน สภาวะการมีบตรของวัยรุน” ขึน (สามารถเข้าดูได้ทเว็บไซต์กระทรวงการพัฒนา ุ ่ ้ ี่ สังคมและความมันคงของมนุษย์ : ่ www.m-society.go.th ภายใต้ หน้าสถิติ หรือ http://childpregnancy.m-society.go.th) ทังนี้ การ ้ เลือกใช้ขอมูลจากทะเบียนการเกิด ของสำานักบริหารการทะเบียน มีข้อดี ้ และข้อเสีย คือสามารถรายงานสถานการณ์และปรับปรุงข้อมูลให้เป็น ปัจจุบันได้อย่างต่อเนื่องทุกปี และสามารถใช้ข้อมูลในระดับประเทศบ่งชี้ สถานการณ์ได้อย่างแม่นยำาระดับหนึ่ง ในขณะที่ข้อมูลในระดับจังหวัดอาจ 2
  • 2. มีการคลาดเคลื่อนไปบ้างเนื่องจากปัญหาการ ย้ายถิน / ภูมลำาเนาของ ่ ิ ประชาชนโดยไม่ได้ยายทะเบียนบ้านประการหนึง อีกประการหนึงเนืองจากการจด ้ ่ ่ ่ ทะเบียนเกิดมักจะแจ้งเกิดตามที่อยู่ของโรงพยาบาลที่ทำาคลอด ข้อมูลจาก “ระบบรายงานสภาวะการมีบตรของวัยรุน” แสดงให้เห็น ุ ่ แนวโน้มในระยะ 10 ปีทผ่านมา ี่ ว่าสถานการณ์การคลอดบุตรของวัยรุ่นอายุตำ่ากว่า 20 ปีบริบูรณ์ และอายุ ตำ่ากว่า 15 ปีบริบูรณ์ มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นโดยตลอด โดยในกลุมวัยรุนอายุ ่ ่ ตำ่ากว่า 20 ปีบริบรณ์ ซึงเป็นกลุมทีตองเฝ้าระวังตามเกณฑ์ขององค์การ ู ่ ่ ่ ้ อนามัยโลก มีค่าร้อยละเกินเกณฑ์ที่กำาหนดไว้มาตั้งแต่ปี 2543 สำาหรับ อัตราการคลอดบุตรในมารดา อายุตำ่ากว่า 15 ปีบริบูรณ์ แม้ว่าจะมี ค่าเพียงเล็กน้อยแต่ก็เป็นเรื่องที่สังคมควรตระหนักและจำาเป็นต้อง เร่งป้องกันและแก้ไขโดยเร็ว ตารางที่ 1 แนวโน้ม การคลอดบุต รของมารดาวัย รุน ทั้ง ประเทศ ่ พ.ศ. 2543 - 2552 มารดาทุก อายุต ำ่า กว่า 15 ปีบ ริ อายุต ำ่า กว่า 20 ปีบ ริ 3 พ.ศ. อายุ บูร ณ์ บูร ณ์ (คน) จำา นวน ร้อ ยละ จำา นวน ร้อ ยละ เกณฑ์ก ารเฝ้า ระวัง การตั้ง ครรภ์ ≥ 10 2552 787,739 3,299 0.42 106,726 13.55 2551 797,356 3,043 0.38 95,747 12.01 2550 811,384 3,054 0.38 108,519 13.37 2549 802,924 2,911 0.36 104,604 13.03 2548 809,807 2,941 0.36 104,347 12.89 2547 822,575 3,014 0.37 105,199 12.79 2546 778,445 2,479 0.32 96,428 12.39 2545 771,787 2,268 0.29 92,537 11.99 2544 766,107 2,185 0.29 91,487 11.94 2543 786,018 2,031 0.26 92,706 11.79 ทีม า : ระบบรายงานสภาวะการมีบุตรของวัยรุ่น สป.พม. ่ ประมวลผลจากข้อมูลการจดทะเบียนเกิดของสำานักบริหารงานทะเบียน 3
  • 3. กรมการปกครอง ทั้งนี้ สถานการณ์ล่าสุดในปี 2552 พบว่าในกลุ่มมารดาอายุ ตำ่ากว่า 20 ปีบริบูรณ์ ประกอบด้วย มารดาอายุระหว่าง 15 ปี ถึงตำ่ากว่า 20 ปีบริบรณ์ ร้อยละ 96.91 และอายุตำ่ากว่า 15 ปีบริบรณ์ ร้อยละ 3.09 ู ู กราฟแสดงการคลอดบุต รของมารดาวัย รุน พ.ศ. ่ 2552 เมือพิจารณาในแต่ละภูมิภาค พบว่า สถานการณ์การคลอดบุตรของ ่ มารดาทีมีอายุตำ่ากว่า 20 ปีบริบูรณ์ ่ 4 มีคาสูงเกินเกณฑ์เฝ้าระวังในเกือบทุกภูมภาค โดยเฉพาะในภาคเหนือ ภาค ่ ิ กลาง และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีค่าสูงถึงร้อยละ 15 สำาหรับภาคใต้ มีค่าสูงกว่าเกณฑ์เฝ้าระวังเล็กน้อย และเป็นที่น่าสังเกตว่ากรุงเทพมหานครมีค่าร้อยละเท่ากับ 8.85 ซึ่งจัดอยู่ ในเกณฑ์ปกติ ตารางที่ 2 แสดงจำา นวนและร้อ ยละของมารดาวัย รุ่น ที่ค ลอดบุต ร พ.ศ. 2552 จำา แนกตามภาค อายุต ำ่า กว่า 15 อายุต ำ่า กว่า 20 ปีบ ริ มารดาทุก ปีบ ริบ ูร ณ์ บูร ณ์ ปี พ.ศ. อายุ(คน) จำา นวน ร้อ ย จำา นวน (คน) ละ (คน) ร้อ ยละ เกณฑ์ก ารเฝ้า ระวัง การตัง ครรภ์ ้ ≥ 10 ทั้ง ประเทศ 787,739 3,299 0.42 106,726 13.55 กรุง เทพมหานคร 104,935 306 0.29 9,282 8.85 ภาคกลาง 207,701 1,064 0.51 31,337 15.09 ภาคเหนือ 113,520 651 0.57 17,150 15.11 ภาคใต้ 139,538 385 0.28 15,605 11.18 4
  • 4. ภาคตะวัน ออก 222,045 เฉีย งเหนือ 893 0.40 33,352 15.02 ที่ม า : ระบบรายงานสภาวะการมีบุตรของวัยรุ่น สป.พม. ประมวลผลจากข้อมูลการจดทะเบียนเกิดของสำานักบริหารงานทะเบียน กรม การปกครอง ในระดับจังหวัด พบว่าจังหวัดทีมีอัตราการคลอดบุตรของมารดาอายุตำ่า ่ กว่า 20 ปีบริบรณ์ อยูในเกณฑ์ปกติ มีเพียง 5 จังหวัด ได้แก่ ปัตตานี ู ่ นราธิวาส กรุงเทพมหานคร ยะลา และภูเก็ต ตารางที่ 3 แสดงจำา นวนและร้อ ยละของมารดาวัย รุ่น ที่ค ลอดบุต ร ทั้ง ประเทศ พ.ศ. 2552 มารดา อายุต ำ่า กว่า 15 อายุต ำ่า กว่า 20 ปีบ ริบ ูร ณ์ ทุก อายุ ปีบ ริบ ูร ณ์ ที่ จัง หวัด ลำา ดับ จำา นว จำา นวน (คน) ร้อ ยละ ร้อ ยละ ความ น (คน) (คน) รุน แรง เกณฑ์เ ฝ้า ระวัง การตั้ง ครรภ์ก ่อ นวัย อัน ควร ≥10 รวมทั้ง 106,72 ประเทศ 787,739 3,299 0.42 6 13.55 5 1 กระบี่ 7,678 19 0.25 1,057 13.77 53 กรุงเทพมหา 2 104,935 306 0.29 9,282 8.85 74 นคร 3 กาญจนบุรี 10,011 73 0.73 1,828 18.26 9 4 กาฬสินธุ์ 8,979 35 0.39 1,422 15.84 25 5 กำาแพงเพชร 6,480 47 0.73 1,322 20.40 1 6 ขอนแก่น 19,521 84 0.43 2,837 14.53 44 7 จันทบุรี 6,535 38 0.58 1,072 16.40 20 8 ฉะเชิงเทรา 8,554 39 0.46 1,337 15.63 29 9 ชลบุรี 28,495 89 0.31 3,343 11.73 67 1 ชัยนาท 3,012 20 0.66 555 18.43 8 0 1 ชัยภูมิ 10,767 65 0.60 1,779 16.52 18 1 5
  • 5. มารดา อายุต ำ่า กว่า 15 อายุต ำ่า กว่า 20 ปีบ ริบ ูร ณ์ ทุก อายุ ปีบ ริบ ูร ณ์ ที่ จัง หวัด ลำา ดับ จำา นว จำา นวน (คน) ร้อ ยละ ร้อ ยละ ความ น (คน) (คน) รุน แรง เกณฑ์เ ฝ้า ระวัง การตั้ง ครรภ์ก ่อ นวัย อัน ควร ≥10 1 ชุมพร 6,450 22 0.34 880 13.64 54 2 1 เชียงราย 11,284 82 0.73 1571 13.92 51 3 1 เชียงใหม่ 18,117 101 0.56 2,199 12.14 63 4 1 ตรัง 8,832 28 0.32 1,014 11.48 69 5 1 ตราด 2,517 11 0.44 423 16.81 14 6 1 ตาก 8,651 51 0.59 1,362 15.74 27 7 6 1 นครนายก 3,506 12 0.34 564 16.09 23 8 1 นครปฐม 9,591 51 0.53 1,601 16.69 16 9 2 นครพนม 7,125 25 0.35 1,039 14.58 41 0 2 นครราชสีมา 27,717 111 0.40 4,037 14.57 42 1 2 นครศรีธรรมร 18,742 48 0.26 2,331 12.44 61 2 าช 2 นครสวรรค์ 10,724 77 0.72 2,004 18.69 4 3 2 นนทบุรี 11,215 59 0.53 1,498 13.36 56 4 2 นราธิวาส 13,453 21 0.16 1,177 8.75 75 6
  • 6. มารดา อายุต ำ่า กว่า 15 อายุต ำ่า กว่า 20 ปีบ ริบ ูร ณ์ ทุก อายุ ปีบ ริบ ูร ณ์ ที่ จัง หวัด ลำา ดับ จำา นว จำา นวน (คน) ร้อ ยละ ร้อ ยละ ความ น (คน) (คน) รุน แรง เกณฑ์เ ฝ้า ระวัง การตั้ง ครรภ์ก ่อ นวัย อัน ควร ≥10 5 2 น่าน 4,131 14 0.34 486 11.76 66 6 2 บุรีรัมย์ 16,547 63 0.38 2,805 16.95 13 7 2 ปทุมธานี 12,067 54 0.45 1,427 11.83 65 8 2 ประจวบคีรีขั 6,432 47 0.73 1,215 18.89 2 9 นธ์ 3 ปราจีนบุรี 5,932 35 0.59 907 15.29 31 0 3 7 ปัตตานี 12,459 20 0.16 961 7.71 76 1 3 พระนครศรีอ 9,790 50 0.51 1,452 14.83 37 2 ยุธยา 3 พะเยา 3,675 11 0.30 473 12.87 58 3 3 พังงา 3,325 18 0.54 476 14.32 48 4 3 พัทลุง 5,859 14 0.24 732 12.49 60 5 3 พิจิตร 5,215 40 0.77 984 18.87 3 6 3 พิษณุโลก 8,720 51 0.58 1,320 15.14 33 7 3 เพชรบุรี 5,122 22 0.43 904 17.65 11 8 7
  • 7. มารดา อายุต ำ่า กว่า 15 อายุต ำ่า กว่า 20 ปีบ ริบ ูร ณ์ ทุก อายุ ปีบ ริบ ูร ณ์ ที่ จัง หวัด ลำา ดับ จำา นว จำา นวน (คน) ร้อ ยละ ร้อ ยละ ความ น (คน) (คน) รุน แรง เกณฑ์เ ฝ้า ระวัง การตั้ง ครรภ์ก ่อ นวัย อัน ควร ≥10 3 เพชรบูรณ์ 8,724 51 0.58 1,430 16.39 21 9 4 แพร่ 3,300 13 0.39 382 11.58 68 0 4 ภูเก็ต 7,635 22 0.29 752 9.85 72 1 4 มหาสารคาม 7,901 15 0.19 1,172 14.83 38 2 4 มุกดาหาร 3,750 21 0.56 527 14.05 49 3 4 แม่ฮ่องสอน 3,523 30 0.85 553 15.70 28 4 8 4 ยโสธร 4,728 22 0.47 708 14.97 36 5 4 ยะลา 10,470 16 0.15 930 8.88 73 6 4 ร้อยเอ็ด 10,650 40 0.38 1,548 14.54 43 7 4 ระนอง 2,211 10 0.45 323 14.61 40 8 4 ระยอง 10,411 46 0.44 1,645 15.80 26 9 5 ราชบุรี 10,937 54 0.49 1,668 15.25 32 0 5 ลพบุรี 7,764 46 0.59 1,441 18.56 5 1 5 ลำาปาง 5,114 10 0.20 615 12.03 64 2 5 ลำาพูน 3,257 11 0.34 366 11.24 70 3 8
  • 8. มารดา อายุต ำ่า กว่า 15 อายุต ำ่า กว่า 20 ปีบ ริบ ูร ณ์ ทุก อายุ ปีบ ริบ ูร ณ์ ที่ จัง หวัด ลำา ดับ จำา นว จำา นวน (คน) ร้อ ยละ ร้อ ยละ ความ น (คน) (คน) รุน แรง เกณฑ์เ ฝ้า ระวัง การตั้ง ครรภ์ก ่อ นวัย อัน ควร ≥10 5 เลย 6,766 33 0.49 1,019 15.06 34 4 5 ศรีสะเกษ 13,905 46 0.33 2,015 14.49 46 5 5 สกลนคร 13,386 55 0.41 1,863 13.92 52 6 5 สงขลา 21,049 54 0.26 2,184 10.38 71 7 5 สตูล 4,904 21 0.43 615 12.54 59 8 5 สมุทรปรากา 14,885 88 0.59 1,995 13.40 55 9 ร 6 สมุทรสงครา 1,365 9 0.66 253 18.53 7 0 ม 6 สมุทรสาคร 10,161 40 0.39 1,255 12.35 62 1 9 6 สระแก้ว 6,182 35 0.57 997 16.13 22 2 6 สระบุรี 8,489 56 0.66 1,415 16.67 17 3 6 สิงห์บุรี 2,351 14 0.60 376 15.99 24 4 6 สุโขทัย 5,352 27 0.50 897 16.76 15 5 6 สุพรรณบุรี 9,356 56 0.60 1,615 17.26 12 6 6 สุราษฎร์ธานี 16,471 72 0.44 2,173 13.18 57 7 6 สุรินทร์ 13,941 45 0.32 2,010 14.42 47 8 6 หนองคาย 9,553 40 0.42 1,407 14.73 39 9 7 หนองบัวลำาภู 5,133 26 0.51 844 16.44 19 0 7 อ่างทอง 3,021 20 0.66 551 18.24 10 1 9
  • 9. มารดา อายุต ำ่า กว่า 15 อายุต ำ่า กว่า 20 ปีบ ริบ ูร ณ์ ทุก อายุ ปีบ ริบ ูร ณ์ ที่ จัง หวัด ลำา ดับ จำา นว จำา นวน (คน) ร้อ ยละ ร้อ ยละ ความ น (คน) (คน) รุน แรง เกณฑ์เ ฝ้า ระวัง การตั้ง ครรภ์ก ่อ นวัย อัน ควร ≥10 7 อำานาจเจริญ 3,597 11 0.31 504 14.01 50 2 7 อุดรธานี 16,901 76 0.45 2,636 15.60 30 3 7 อุตรดิตถ์ 3,948 16 0.41 573 14.51 45 4 7 อุทัยธานี 3,305 19 0.57 613 18.55 6 5 7 อุบลราชธานี 21,178 80 0.38 3,180 15.02 35 6 ปกติ 5 จังหวัด เกินเกณฑ์เฝ้าระวัง 71 จังหวัด ที่ม า : ระบบรายงานสภาวะการมีบุตรของวัยรุ่น สป.พม. ประมวลผลจากข้อมูลการจดทะเบียนเกิดของสำานักบริหารงานทะเบียน กรม การปกครอง 1 อย่างไรก็ดี ทั้ง 5 จังหวัด ไม่อาจนิ่งนอนใจกับปัญหาการตั้งครรภ์ในวัย 0 รุ่นไปได้ เนื่องจากเมื่อพิจารณาเปรียบเทียบกับข้อมูลในปี 2551 พบว่าทุก จังหวัดมีแนวโน้มสถานการณ์รนแรงขึน แม้วาจากข้อมูลย้อนหลัง 10 ปี ได้ ุ ้ ่ แสดงให้เห็นว่าสถานการณ์แนวโน้มจากปี 2543 ดีขึ้น (ยกเว้นจังหวัด ยะลา) ตารางที่ 4 สถานการณ์ก ารคลอดบุต รของมารดาวัย รุ่น ใน 5 จัง หวัด ที่ มีส ถานการณ์ป กติ ร้อ ยละของมารดาอายุต ำ่า กว่า 20 ปีบ ริบ ูร ณ์ท ี่ค ลอดบุต ร จัง หวัด พ.ศ. 2552 พ.ศ. 2551 พ.ศ. 2543 ปัต ตานี 7.71 6.57 7.93 นราธิว าส 8.75 7.76 9.21 กรุง เทพมหานคร 8.85 8.10 9.15 ยะลา 8.88 7.67 7.83 ภูเ ก็ต 9.82 8.99 10.04 10
  • 10. ที่ม า : ระบบรายงานสภาวะการมีบุตรของวัยรุ่น สป.พม. ประมวลผลจากข้อมูลการจดทะเบียนเกิดของสำานักบริหารงานทะเบียน กรม การปกครอง สำาหรับ 71 จังหวัดทีมคาร้อยละเกินมาตรฐาน กำาแพงเพชรเป็น ่ ี ่ จังหวัดทีมสถานการณ์รนแรง ่ ี ุ มากทีสดในปี 2552 มีค่าร้อยละของการ ่ ุ คลอดบุตรของวัยรุ่นสูงถึง 2 เท่า (ร้อยละ 2.40) ของเกณฑ์มาตรฐานการ เฝ้าระวังที่กำาหนด นอกจากนี้ข้อมูลจากตารางข้างล่างแสดงให้เห็นว่าทั้ง 5 จังหวัดมีสถานการณ์ที่รุนแรงขึ้นกว่าปี 2551 และแนวโน้มสถานการณ์ ตังแต่ปี 2543 มีความรุนแรงเพิมขึนโดยเฉพาะจังหวัดพิจตรและลพบุรี ้ ่ ้ ิ มีอตราการคลอดบุตรสูงขึนถึงประมาณร้อยละ 6 ทังนี้ จังหวัดทีมอตราการ ั ้ ้ ่ ี ั คลอดบุตรของมารดาอายุตำ่ากว่า 20 ปีบริบรณ์ ระหว่างร้อยละ 10 ถึง 14 ู มีจำานวน 36 จังหวัด และตั้งแต่ร้อยละ 15 ขึ้นไป มีจำานวน 35 จังหวัด ตารางที่ 5 สถานการณ์ก ารคลอดบุต รของมารดาวัย รุ่น ใน 5 จัง หวัด ที่ม ีส ถานการณ์ร ุน แรงที่ส ด ในปัจ จุบ ัน ุ ร้อ ยละของมารดาอายุต ำ่า กว่า 20 ปีบ ริบ ูร ณ์ท ี่ค ลอดบุต ร จัง หวัด พ.ศ. 2552 พ.ศ. 2551 พ.ศ. 2543 กำา แพงเพชร 20.40 18.25 16.18 ประจวบคีร ีข น ธ์ ั 18.89 17.15 15.45 1 พิจ ต ร ิ 18.87 16.85 12.49 1 นครสวรรค์ 18.69 17.94 13.54 ลพบุร ี 18.56 16.49 12.01 ที่ม า : ระบบรายงานสภาวะการมีบุตรของวัยรุ่น สป.พม. ประมวลผลจากข้อมูลการจดทะเบียนเกิดของสำานักบริหารงานทะเบียน กรม การปกครอง จากการศึกษาข้อมูลอายุมารดาวัยรุนและอายุบดา จากข้อมูลการ ่ ิ เกิดของสำานักบริหารการทะเบียน กรมการปกครอง พบข้อที่น่าสังเกตหลาย ประการ คือ มีมารดาวัยรุ่นอายุตั้งแต่ 9 ปีขึ้นไป แม้ว่ามารดาวัยรุ่นส่วน ใหญ่จะอยูในช่วงอายุ 15 ถึง 19 ปี ก็ตาม ทางด้านบิดาจากข้อมูลพบว่ามีอยู่ ่ ในทุกช่วงอายุ (9 ถึง 60 ปีขนไป) โดยส่วนใหญ่จะอยูในช่วงอายุ 15 ถึง 30 ึ้ ่ ปี ข้อทีนาสังเกต คือ มีบดาทีมอายุมากกว่ามารดาวัยรุนนับสิบปี ่ ่ ิ ่ ี ่ รวมถึง บิดาที่เป็นผู้สูงอายุ (อายุ 60 ปีขึ้นไป) ด้วยจำานวนหนึ่ง นอกจากนี้ยังพบว่า มีทารกจำานวนหนึ่งเกิดจากมารดาและบิดาที่ยังเป็นเด็กทั้งคู่ 11
  • 11. ตารางที่ 6 แสดงจำา นวนทารกที่เ กิด จากมารดาวัย รุน ณ พ.ศ. 2552 ่ จำา แนกรายอายุม ารดาและบิด า อายุม ารดา (ปี) อายุบ ิด า 1 1 1 รวม (ปี) 9 13 14 15 16 17 18 19 0 1 2 ≤9 ปี - - - - - - - 1 - - - 1 10 ปี - - - - - - - - - - - - 11 ปี - - - - - - - - 1 - 1 2 12 ปี - - - - - - 2 - - 3 - 5 13 ปี - - - - 1 3 8 8 1 5 - 26 14 ปี - - - 2 6 35 63 58 39 18 4 225 1,16 15 ปี - - - 2 16 116 320 355 223 111 26 9 1,24 3,85 16 ปี - 1 - 4 30 225 668 8989 578 109 2 1,0 2,112,63 1,79 8,35 17 ปี - - 1 4 41 317 30 2 4 2 422 3 1,1 2,373,52 3,22 11,5 18 ปี 1 3 - 6 55 295 08 9 5 0 937 29 1 2,253,40 3,86 1,43 12,2 2 19 ปี - - 4 6 48 279 974 4 8 1 7 71 20 ถึง < 3 16 2,9 6,9311,2 14,2 5,90 42,3 25 - 2 6 3 5 864 46 2 33 78 1 60 25 ถึง < 1 1,1 2,494,30 6,01 2,68 17,0 30 1 1 4 2 63 341 53 3 3 4 1 66 30 ถึง < 1,52 2,08 6,10 35 - 1 - 2 40 144 442 953 7 8 903 0 35 ถึง < 2,19 40 - - - 2 6 56 163 364 558 718 324 1 40 ถึง < 45 - - - 2 5 28 68 136 270 326 128 963 45 ถึง < 50 - - - - 3 8 31 75 109 116 50 392 50 ถึง < 55 - - - - - 6 16 25 28 51 22 148 55 ถึง < - - - - 1 - 5 8 12 17 5 48 12
  • 12. 60 60 ปีขึ้น ไป - - - - 1 1 2 1 8 7 5 25 1 7 48 2,7 8,9 19,4 28,8 33,2 12,9 106, รวม 2 8 5 5 1 18 99 02 68 03 55 726 ที่ม า : ระบบรายงานสภาวะการมีบุตรของวัยรุ่น สป.พม. ประมวลผลจากข้อมูลการจดทะเบียนเกิดของสำานักบริหารงานทะเบียน กรม การปกครอง การตังครรภ์ของวัยรุนไม่วาจะเป็นการตังครรภ์ทพึงปรารถนา หรือไม่ ้ ่ ่ ้ ี่ พึงปรารถนาก็ตาม จะเกิดผลกระทบทังด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์และสังคม ้ กล่าวคือ มารดาวัยรุนและทารกมีความเสียงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อน ทัง ่ ่ ้ ในระยะตังครรภ์ ระยะคลอด และระยะหลังคลอด (เช่น ครรภ์เป็นพิษ คลอด ้ ก่อนกำาหนด) ได้มากกว่ามารดาในวัยผูใหญ่ มีข้อมูลจากการวิจัย ้ ที่แสดงว่า ทารกที่เกิดจากมารดาอายุน้อยมักจะคลอด ก่อนกำาหนด มี สุขภาพไม่สมบูรณ์ และนำ้าหนักแรกเกิดน้อย ซึ่งจะทำาให้มีปัญหาความผิด ปกติทางระบบประสาท หูหนวก ตาบอด และมีความพิการสูงกว่าทารกซึ่ง มีนำ้าหนักปกติ (มากกว่า 2,500 กรัม) เมื่อวัยรุ่นตั้งครรภ์แม้จะมีการ เปลี่ยนแปลงทางสรีระวิทยาตามปกติ แต่จะเกิดการเปลียนแปลงทางชีวเคมี ่ และฮอร์โมน ของร่างกาย ซึงมีอทธิพลต่อการเปลียนแปลงทางจิตใจและ ่ ิ ่ 1 อารมณ์ เกิดความเครียด ซึมเศร้า วิตกกังวล กลายเป็นบาดแผลเจ็บปวด 3 แห่งความทรงจำาที่ไม่ลืม การตังครรภ์ในวัยรุนจึงเป็นภาวะวิกฤติทซำ้าซ้อน ้ ่ ี่ กับภาวะวิกฤติเดิมทีมอยูตามพัฒนาการของวัยรุนและส่งผลกระทบต่อสภาพ ่ ี ่ ่ สังคมทีแวดล้อมมารดาวัยรุนอยู่ ่ ่ (เช่น ต้องออกจากการศึกษา เสียงต่อการใช้ สารเสพติด เกิดความแตกแยกในครอบครัว มีปญหาทาง ่ ั เศรษฐกิจ) ตลอดจนสภาพสังคมโดยรวม เช่น การทำาแท้งเถือน มีเด็กถูก ่ ทอดทิงมากขึน มีเด็กและเยาวชนที่กลายเป็นปัญหาสังคมมากขึ้น เด็กและ ้ ้ เยาวชนขาดความรู้ในการประกอบอาชีพเมื่อเติบโตเป็นผู้ใหญ่ ขาดทักษะ ในการดำารงชีวตในสังคมอย่างปกติสข ิ ุ ปัญหาการตังครรภ์ในวัยรุนไทยเกิดจากความก้าวหน้าทาง ้ ่ เทคโนโลยี ซึงทำาให้โลกไร้พรมแดน การแพร่ระบาดของสื่อลามกและยา ่ เสพติด ความฟุ้งเฟ้อและวัตถุนิยมของเด็กและเยาวชน โครงสร้าง ครอบครัวทีเปลียนแปลงไปเป็นครอบครัวเดียวทีมเพียงพ่อ แม่ ลูก ความ ่ ่ ่ ่ ี จำาเป็นทางด้านเศรษฐกิจของครอบครัวทีทำาให้ ่ พ่อแม่มีเวลาให้กับ ครอบครัวและลูกน้อยลงจนไม่สามารถเป็นแบบอย่าง อบรม ดูแล และให้ 13
  • 13. คำาปรึกษา แก่ลูกวัยรุ่นที่กำาลังอยู่ในวัยหัวเลี้ยวหัวต่อจากอิทธิพล และการเปลี่ยนแปลงของฮอร์โมนในร่างกาย ปัจจุบันภาครัฐและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องต่างตระหนักถึงความ รุนแรงของปัญหาดังกล่าว การจัดให้มีการป้องกันและแก้ไขปัญหา จึง เป็นเรื่องที่ทุกภาคส่วนในสังคม ตั้งแต่ ครอบครัว เพื่อน โรงเรียน ชุมชน เอกชน และภาครัฐ ต้องร่วมมือกันอย่างจริงจัง จริงใจ และเสีย สละ เพื่อให้เด็กไทยเติบโตเป็นบุคลากรที่มีคุณภาพ และสร้างประโยชน์ให้ กับประเทศได้ในอนาคต 1 4 14
  • 14. คำำปรึกษำ แก่ลูกวัยรุ่นที่กำำลังอยู่ในวัยหัวเลี้ยวหัวต่อจำกอิทธิพล และกำรเปลี่ยนแปลงของฮอร์โมนในร่ำงกำย ปัจจุบันภำครัฐและหน่วยงำนที่เกี่ยวข้องต่ำงตระหนักถึงควำม รุนแรงของปัญหำดังกล่ำว กำรจัดให้มีกำรป้องกันและแก้ไขปัญหำ จึง เป็นเรื่องที่ทุกภำคส่วนในสังคม ตั้งแต่ ครอบครัว เพื่อน โรงเรียน ชุมชน เอกชน และภำครัฐ ต้องร่วมมือกันอย่ำงจริงจัง จริงใจ และเสีย สละ เพื่อให้เด็กไทยเติบโตเป็นบุคลำกรที่มีคุณภำพ และสร้ำงประโยชน์ให้ กับประเทศได้ในอนำคต 1 4 14
  • 15. คำำปรึกษำ แก่ลูกวัยรุ่นที่กำำลังอยู่ในวัยหัวเลี้ยวหัวต่อจำกอิทธิพล และกำรเปลี่ยนแปลงของฮอร์โมนในร่ำงกำย ปัจจุบันภำครัฐและหน่วยงำนที่เกี่ยวข้องต่ำงตระหนักถึงควำม รุนแรงของปัญหำดังกล่ำว กำรจัดให้มีกำรป้องกันและแก้ไขปัญหำ จึง เป็นเรื่องที่ทุกภำคส่วนในสังคม ตั้งแต่ ครอบครัว เพื่อน โรงเรียน ชุมชน เอกชน และภำครัฐ ต้องร่วมมือกันอย่ำงจริงจัง จริงใจ และเสีย สละ เพื่อให้เด็กไทยเติบโตเป็นบุคลำกรที่มีคุณภำพ และสร้ำงประโยชน์ให้ กับประเทศได้ในอนำคต 1 4 14