SlideShare a Scribd company logo
Vคลิก!

                                                        สารบัญ


                                                        การใช้งานเบื้องต้น


                                                        การใช้งานฟังก์ชั่นถ่ายภาพ


กล้องบันทึกภาพนิ่งระบบดิจิตอล                           การใช้งานระบบดูภาพ
คู่มือ Cyber-shot
DSC-S930                                                การใช้งานหน้าจอตั้งค่า
ก่อนเริ่มใช้งานกล้องถ่ายภาพ โปรดอ่านคู่มือฉบับนี้
รวมทั้ง “คำแนะนำการใช้งาน” และ “คู่มือพัฒนาการ
ใช้งาน Cyber-shot” โดยละเอียด และเก็บรักษาไว้เพื่อ      การใช้งานเครื่อง
                                                        คอมพิวเตอร์
ใช้อ้างอิงในภายหน้า
                                                        การพิมพ์ภาพนิ่ง


                                                        การแก้ไขปัญหา


                                                        ข้อมูลเพิ่มเติม


                                                        ดัชนีคำศัพท์

© 2009 Sony Corporation                                   4-126-519-41(1) TH
ข้อสังเกตในการใช้งานกล้องของท่าน
    หมายเหตุสำหรับชนิดของ “Memory                  ข้อสังเกตเกี่ยวกับหน้าจอ LCD และเลนส์
    Stick” ที่สามารถใช้งานได้ (แยกจำหน่าย)         • หน้าจอ LCD ถูกผลิตขึ้นโดยใช้เทคโนโลยีที่มีความแม่น
                                                     ยำสูงมาก เพื่อให้ได้จุดภาพที่ใช้งานได้มากกว่า 99.99 %
    “Memory Stick Duo”                               อย่างไรก็ตาม จุดมืดและ/หรือจุดสว่างเล็กๆ (สีขาว แดง
    ท่านสามารถใช้งาน “Memory Stick Duo” กับ          น้ำเงิน หรือเขียว) อาจปรากฏขึ้นอย่างต่อเนื่องบนหน้าจอ
    กล้องของท่าน                                     LCD ซึ่งจุดเหล่านี้เกิดขึ้นตามปกติในขั้นตอนของการ
                                                     ผลิต และไม่มีต่อการบันทึกภาพแต่อย่างใด


                                                                               จุดมืด ขาว แดง น้ำเงิน
    “Memory Stick”                                                             หรือเขียว
    ท่านไม่สามารถใช้งาน “Memory Stick” กับกล้อง
    ของท่าน
                                                   • การปล่อยให้แสงแดดส่องบนหน้าจอ LCD หรือเลนส์
                                                     โดยตรงเป็นระยะเวลานานอาจจะทำให้เกิดความเสียห
                                                     ายได้ ควรใช้ความระมัดระวังเมื่อวางกล้องใกล้หน้าต่าง
                                                     หรือในที่กลางแจ้ง
                                                   • อย่าออกแรงกดบนหน้าจอ LCD หน้าจออาจจะเปลี่ยนสี
    แผ่นหน่วยความจำชนิดอื่นไม่                       ซึ่งอาจจะทำให้เกิดความเสียหายได้
    สามารถใช้งานได้                                • ในสถานที่ที่มีอุณหภูมิต่ำ อาจจะมีภาพตกค้างบนหน้าจอ
    • ศึกษารายละเอียด “Memory Stick Duo” หน้า 95     LCD ไม่ได้แสดงว่ากล้องทำงานผิดปกติ
    การใช้งาน “Memory Stick Duo”                   • กล้องถ่ายภาพนี้มีเลนส์ซูมกำลังสูงติดตั้งอยู่ โปรดระวังอย่าให้
                                                     เลนส์โดนกระแทก และระวังอย่าใช้แรงมากเกินไปที่ส่วน
    กับอุปกรณ์ที่ใช้ “Memory Stick”                  ดังกล่าว
    สามารถทำได้โดยเสียบแผ่น “Memory Stick
    Duo” เข้าไปในตัวแปลง “Memory Stick Duo”        รูปภาพที่ใช้ในหนังสือคู่มือฉบับนี้
    (แยกจำหน่าย)                                   ภาพที่ใช้เป็นตัวอย่างในคู่มือฉบับนี้เป็นภาพที่สร้างขึ้นใหม่
                                                   ไม่ได้เป็นภาพที่บันทึกโดยกล้องถ่ายภาพนี้แต่อย่างใด



       ตัวแปลง “Memory Stick Duo”
สารบัญ
    ข้อสังเกตในการใช้งานกล้องของท่าน...........................................................................2
    เทคนิคพื้นฐานเพื่อภาพที่ดีกว่า...................................................................................6
         โฟกัส – การโฟกัสวัตถุให้ได้ผลดี. .................................................................................... 6
         ระดับแสง – การปรับความเข้มของแสง............................................................................. 8
         สี – อิทธิพลของแหล่งกำเนิดแสง...................................................................................... 9
         คุณภาพ – “คุณภาพ” และ “ขนาด” ของภาพ................................................................... 10
         แฟลช – การใช้งานแฟลช ............................................................................................. 11
    ส่วนประกอบของกล้อง..............................................................................................12
    ตัวแสดงบนหน้าจอ....................................................................................................14
    การเปลี่ยนการแสดงบนหน้าจอ.................................................................................18
    การใช้งานหน่วยความจำภายใน................................................................................19

การใช้งานเบื้องต้น
    ถ่ายภาพ .................................................................................................................20
    ดูภาพ.......................................................................................................................24
    การลบภาพ...............................................................................................................26
    การใช้งานรายการในเมนู..........................................................................................28
    รายการในเมนู..........................................................................................................29

การใช้งานฟังก์ชั่นถ่ายภาพ
    เปลี่ยนโหมดถ่ายภาพ...............................................................................................30
    ถ่ายภาพตามลักษณะซีนภาพ....................................................................................31
    เมนูการถ่ายภาพ.......................................................................................................33
         กล้องถ่ายภาพ: เลือกโหมดถ่ายภาพ
         SteadyShot: การเลือกโหมดป้องกันการเบลอ
         ค้นหาภาพใบหน้า: การค้นหาใบหน้าบนวัตถุ
         โหมดถ่ายภาพ: เลือกวิธีการถ่ายภาพต่อเนื่อง
         EV: ปรับระดับความเข้มของแสง
         ISO: เลือกความไวแสง
         โหมดวัดแสง: เลือกโหมดวัดแสง
         โฟกัส: การเปลี่ยนวิธีโฟกัส
         อุณหภูมิสี: ปรับโทนสี
         ระดับแฟลช: ปรับค่าปริมาณแสงแฟลช
         ลดตาแดง: ตั้งค่าฟังก์ชั่นลดตาแดง
         โหมดสี: เปลี่ยนความสว่างของภาพ หรือเพิ่มเอฟเฟ็คพิเศษ
             (ตั้งค่า): เปลี่ยนรายการตั้งค่า
สารบัญ


     การใช้งานระบบดูภาพ
         านเมนู|ดู|ภาพ...........................................................................................................45
                   (สไลด์โชว์): เล่นสไลด์โชว์
                     (ปรับแต่ง): การรีทัชภาพนิ่ง
                      (ย่อขยายขนาดต่างๆ): เปลี่ยนขนาดภาพตามลักษณะการใช้งาน
                    (ป้องกัน): ป้องกันการลบภาพโดยไม่ตั้งใจ
                      : ใส่เครื่องหมายสั่งพิมพ์
                   (พิมพ์): พิมพ์ภาพด้วยเครื่องพิมพ์
                   (หมุนภาพ): หมุนภาพนิ่ง
                   (เลือกโฟลเดอร์): เลือกโฟลเดอร์ดูภาพ
                   (ตั้งค่า): เปลี่ยนรายการตั้งค่า

     การใช้งานหน้าจอตั้งค่า
         การใช้งานรายการตั้งค่า............................................................................................52
         ตั้งค่าหลัก . ..............................................................................................................53
              เสียงบีป	                                                    ใช้ค่าเริ่มต้น
              คำแนะนำระบบ	                                                 เชื่อมต่อ USB
         ตั้งค่าถ่ายภาพ..........................................................................................................55
                       .
              เส้นตาราง	                                                   แสดงภาพอัตโนมัติ
              ซูมดิจิตอล
         เครื่องมือหน่วยความจำ — จัดการ Memory Stick.....................................................57
              ฟอร์แมต	                                                     เปลี่ยนโฟลเดอร์
              สร้างโฟลเดอร์	                                               คัดลอก
         เครื่องมือหน่วยความจำ — จัดการหน่วยความจำภายใน............................................59
              ฟอร์แมต
         ตั้งเวลานาฬิกา..........................................................................................................60
         Language Setting....................................................................................................61
สารบัญ


 การใช้งานเครื่องคอมพิวเตอร์
     สนุกกับเครื่องคอมพิวเตอร์ Windows ......................................................................62
     การติดตั้งซอฟต์แวร์ (ที่ให้มาด้วย) ...........................................................................64
     เกี่ยวกับ “PMB (Picture Motion Browser)” (ที่ให้มาด้วย) ............................................... 65
     การคัดลอกภาพไปยังเครื่องคอมพิวเตอร์โดยใช้ “PMB” ............................................66
     การคัดลอกภาพไปยังเครื่องคอมพิวเตอร์โดยไม่ใช้ “PMB” .............................................. 70
     การรับชมไฟล์ภาพที่บันทึกอยู่ในเครื่องคอมพิวเตอร์ด้วยกล้องถ่ายภาพโดยการคัดลอกไปยัง
     “Memory Stick Duo” ..................................................................................................... 72
     การใช้งานคอมพิวเตอร์ระบบ Macintosh...................................................................73
     การใช้ “คู่มือพัฒนาการใช้งาน Cyber-shot”...............................................................75

 การพิมพ์ภาพนิ่ง
     วิธีการพิมพ์ภาพนิ่ง...................................................................................................76
     การพิมพ์ภาพโดยตรงด้วยเครื่องพิมพ์ที่ใช้งานได้กับ PictBridge.................................77
     การสั่งพิมพ์ที่ร้าน......................................................................................................80

 การแก้ไขปัญหา
     การแก้ไขปัญหา........................................................................................................82
     ข้อความเตือน...........................................................................................................92

 ข้อมูลเพิ่มเติม
     หมายเหตุ “Memory Stick Duo”................................................................................95
     รายละเอียดแบตเตอรี่ ..............................................................................................97

 ดัชนีคำศัพท์
     ดัชนีคำศัพท์.............................................................................................................98
เทคนิคพื้นฐานเพื่อภาพที่ดีกว่า

    โฟกัส             ระดับแสง        สี                คุณภาพ            แฟลช

                                                             หัวข้อนี้จะอธิบายถึงพื้นฐานการใช้งานกล้องของท่าน
                                                             โดยจะกล่าวถึงวิธีการใชงานฟังก์ชั่นต่างๆ ของกล้อง
                                                                                     ้
                                                             ถ่ายภาพ อย่างเช่น ปุ่มหมุนเลือกโหมด (หน้า 20)
                                                             และเมนูต่างๆ (หน้า 28)




    โฟกัส              การโฟกัสวัตถุให้ได้ผลดี
    เมื่อท่านกดปุ่มชัตเตอร์ลงครึ่งหนึ่ง กล้องจะทำการปรับโฟกัสโดยอัตโนมัติ (โฟกัสอัตโนมัติ) กรุณาจำไว้ว่าให้กด
    ปุ่มชัตเตอร์ลงเพียงครึ่งหนึ่ง
         อย่ากดปุ่มชัตเตอร์                 กดปุ่มชัตเตอร์         ตัวแสดงการล็อค             จากนั้นจึงกด
         ลงจนสุดโดยทันที                    ลงครึ่งหนึ่ง           AE/AF กะพริบ              ปุ่มชัตเตอร์ลง
                                                                   ติดนิ่ง/เสียงบีป           จนสุด




    เมื่อทำการโฟกัสได้ยาก  [โฟกัส] (หน้า 39)
    หากภาพมีลักษณะเบลอทั้งๆ ที่ท่านได้ปรับโฟกัสแล้ว สาเหตุอาจเกิดจากกล้องสั่น  ดูหัวข้อ “คำแนะนำเพื่อ
    ป้องกันภาพเบลอ” ที่หน้าถัดไป
เทคนิคพื้นฐานเพื่อภาพที่ดีกว่า


  คำแนะนำเพื่อป้องกันภาพเบลอ
  กล้องมีการเคลื่อนที่ไปโดยไม่ได้ตั้งใจขณะท่านถ่ายภาพ ซึ่งเรียกลักษณะนี้ว่า “กล้องสั่น” ในทางตรงกันข้าม
  เมื่อวัตถุมีการเคลื่อนที่ไปในขณะที่ท่านทำการถ่ายภาพ จะเรียกลักษณะนี้ว่า “วัตถุเบลอ”
  กล้องสั่น




  สาเหตุ                                                  ควรทำอย่างไรเพื่อลดอาการภาพเบลอ
  มือหรือร่างกายของท่านมีการสั่นขณะที่ท่านถือกล้อง        • ใช้ขาตั้งกล้องหรือวางกล้องถ่ายภาพบนพื้นเรียบๆ เพื่อ
  และกดปุ่มชัตเตอร์ และทำให้ภาพทั้งหมดเบลอ                  ให้กล้องถ่ายภาพอยู่นิ่ง
                                                          • ถ่ายภาพโดยใช้ฟังก์ชั่นตั้งเวลาเวลา 2 วินาทีและ
                                                            ทำให้กล้องนิ่งโดยหนีบแขนไว้ข้างลำตัวให้มั่นคง
                                                            หลังจากที่กดปุ่มชัตเตอร์แล้ว
  วัตถุเบลอ




  สาเหตุ                                                  ควรทำอย่างไรเพื่อลดอาการภาพเบลอ
  แม้จะวางกล้องไว้อย่างมั่นคงแล้ว แต่วัตถุมีการเคลื่อน    • เลือกโหมด (ความไวแสงสูง) ในกล้องถ่ายภาพ
  ที่ไประหว่างการถ่ายภาพ ทำให้ภาพวัตถุมีลักษณะเบลอ          (เลือกบรรยากาศ)
  เมื่อท่านกดปุ่มชัตเตอร์ลง                               • เลือกใช้ความไวแสง ISO ทีสงขึน เพือทำให้ความเร็ว
                                                                                    ่ ู ้ ่
                                                            ชัตเตอร์สงขึน และกดปุมชัตเตอร์กอนทีวตถุจะ
                                                                     ู ้         ่         ่ ่ั
                                                            เคลือนไหว
                                                                ่
  หมายเหตุ
  • เมื่อตั้งค่าฟังก์ชั่นป้องกันภาพเบลอเป็น [อัตโนมัติ] ท่านจะสามารถลดการสั่นของกล้องถ่ายภาพโดยอัตโนมัติ
    อย่างไรก็ตาม ฟังก์ชั่นนี้จะไม่มีผลใดๆ กับวัตถุที่เบลอ
  • นอกจากนั้น การที่กล้องสั่นและภาพวัตถุเบลออาจเกิดขึ้นได้ง่ายภายใต้สภาพแวดล้อมที่มีแสงน้อยหรือใช้ความเร็ว
    ชัตเตอร์ต่ำ อย่างเช่น เมื่ออยู่ในโหมด (กลางคืน) หรือ (บุคคลกลางคืน) ในกรณีนี้ ให้ถ่ายภาพโดย
    ใช้คำแนะนำข้างต้นเป็นแนวทาง
เทคนิคพื้นฐานเพื่อภาพที่ดีกว่า



    ระดับแสง การปรับความเข้มของแสง
    ท่านสามารถถ่ายให้ได้ภาพแตกต่างกันได้โดยทำการปรับระดับแสงและความไวแสง ISO ระดับแสงคือปริมาณ
    แสงที่กล้องได้รับเมื่อท่านกดปุ่มชัตเตอร์
                                                 ความเร็วชัตเตอร์ = ระยะเวลาที่กล้องได้รับแสง
                                  ระดับแสง:
                                                 เปิดหน้ากล้อง = ขนาดของช่องเปิดที่ให้แสงผ่านเข้ามาได้


                                                         ความไวแสง ISO (ดัชนีการเปิดรับ
                                                         แสงที่แนะนำ) = ความไวแสงที่บันทึกภาพ


                      ระดับแสงสูง                           ระดับแสงจะถูกปรับให้เหมาะสมโดยอัตโนมัติ
                      = ปริมาณแสงมากเกินไป                  ในโหมดตั้งค่าอัตโนมัติ อย่างไรก็ตาม ท่านสามารถ
                      ภาพสว่างขาว                           ทำการปรับแก้ไขด้วยตนเองได้โดยใช้คุณสมบัติข้าง
                                                            ล่างนี้
                      ระดับแสงพอเหมาะ                       ปรับค่า EV:
                                                            ให้ท่านเลือกปรับแก้ไขจากค่าระดับแสงที่กล้อง
                                                            คำนวณไว้แล้ว (หน้า 36)

                      ระดับแสงต่ำ                           โหมดวัดแสง:
                      = ปริมาณแสงน้อยเกินไป                 ให้ท่านเลือกเปลี่ยนตำแหน่งบนวัตถุที่ใช้วัด
                      ภาพมืด                                เพื่อคำนวณหาค่าระดับแสง (หน้า 38)

    การปรับความไวแสง ISO (ดัชนีการเปิดรับแสงที่แนะนำ)
    ความไวแสง ISO เป็นอัตราความเร็วของสื่อบันทึก ซึ่งทำงานร่วมกับเซ็นเซอร์ภาพที่ทำหน้าที่รับแสง แม้จะ
    บันทึกภาพโดยทำการปรับแสงเหมือนกัน แต่ภาพก็มีลักษณะแตกต่างกันไปได้ตามความไวแสง ISO นี้
    วิธีการปรับความไวแสง ISO ดูหน้า 37
                      ความไวแสง ISO สูง
                      ได้ภาพที่สว่างแม้จะบันทึกภาพในที่มืด ในขณะที่เพิ่มความเร็วชัตเตอร์เพื่อลดการเบลอ
                      อย่างไรก็ตาม ภาพที่ได้จะมีจุดรบกวนมากขึ้น

                      ความไวแสง ISO ต่ำ
                      ได้ภาพที่สะอาดกว่า
                      อย่างไรก็ตาม ภาพอาจจะมืดลงในกรณีที่ระดับแสงไม่เพียงพอ
เทคนิคพื้นฐานเพื่อภาพที่ดีกว่า



สี                อิทธิพลของแหล่งกำเนิดแสง
สีของวัตถุที่ปรากฏในภาพ จะได้รับอิทธิพลจากสภาพแสง

ตัวอย่าง: สีของภาพได้รับอิทธิพลจากแหล่งกำเนิดแสง ดังนี้
 สภาพอากาศ/
                       แสงแดดกลางวัน         แสงแดดมีเมฆ         ฟลูออเรสเซนซ์   แสงหลอดไฟฟ้า
 แหล่งกำเนิดแสง
 คุณลักษณะของ          สีขาว (มาตรฐาน)        สีออกน้ำเงิน         สีโทนเขียว      สีออกแดง
 แสง



โทนสีจะถูกปรับโดยอัตโนมัติในโหมดตั้งค่าอัตโนมัติ
อย่างไรก็ตาม ท่านสามารถปรับโทนสีด้วยตนเอง โดยใช้ [อุณหภูมิสี] (หน้า 41)
เทคนิคพื้นฐานเพื่อภาพที่ดีกว่า


     คุณภาพ          “คุณภาพ” และ “ขนาด” ของภาพ
     ภาพถ่ายดิจิตอลประกอบขึ้นจากกลุ่มจุดภาพเล็กๆที่เรียกว่าพิกเซล
     ภาพที่มีจำนวนพิกเซลมาก จะมีขนาดใหญ่ ใช้เนื้อที่หน่วยความจำมากขึ้นและมีรายละเอียดของภาพสูง “ขนาดภาพ”
     ถูกกำหนดโดยจำนวนพิกเซล
     ถึงแม้ท่านจะไม่เห็นความแตกต่างบนหน้าจอของกล้อง รายละเอียดเล็กน้อยและเวลาที่ใช้ในการประมวลภาพจะ
     แตกต่าง เมื่อท่านนำภาพนั้นไปพิมพ์หรือแสดงบนหน้าจอเครื่องคอมพิวเตอร์
     คำอธิบายพิกเซลและขนาดภาพ
                                             	 ขนาดภาพ: 10M
                                                 3648 พิกเซล × 2736 พิกเซล = 9,980,928 พิกเซล
             พิกเซล                          	 ขนาดภาพ: VGA (อีเมล์)
                                                 640 พิกเซล × 480 พิกเซล = 307,200 พิกเซล



     เลือกขนาดภาพที่ต้องการใช้ (หน้า 23)
                        พิกเซล                    จำนวนพิกเซลมาก                 ตัวอย่าง: สำหรับพิมพ์ถึง
                                                  (คุณภาพของภาพละเอียด           ขนาด A3+
                                                  และขนาดไฟล์ภาพใหญ่)
                                                  จำนวนพิกเซลน้อย                ตัวอย่าง: ภาพสำหรับ
                                                  (คุณภาพของภาพหยาบ              ส่งแนบไปกับอีเมล์
                                                  แต่ขนาดไฟล์ภาพเล็ก)




10
เทคนิคพื้นฐานเพื่อภาพที่ดีกว่า



แฟลช               การใช้งานแฟลช
ดวงตาของแบบอาจมีสีแดง หรืออาจมีจุดวงกลมสีขาวจางๆ ปรากฏขึ้นเมื่อถ่ายภาพโดยใช้แฟลช ท่านสามารถลด
ปรากฏการณ์เหล่านี้ได้โดยทำตามขั้นตอนต่อไปนี้
“ปรากฏการณ์ตาแดง”
รูม่านตาจะขยายกว้างเมื่อยู่ในที่มืด แสงไฟแฟลชจะสะท้อนกับหลอดเลือดแดงที่ส่วนหลังของดวงตา (เรตินา)
ทำให้เกิดเป็นปรากฏการณ์ “ตาแดง”

      กล้อง                          ตา




                                       เรตินา

สามารถลด “ปรากฏการณ์ตาแดง” ได้อย่างไร?
• ตั้งค่า [ลดตาแดง] เป็น [เปิด] (หน้า 43)
• เลือกโหมด (ความไวแสงสูง)* ในกล้องถ่ายภาพ (เลือกบรรยากาศ) (หน้า 30) (แฟลชจะถูกปิดโดยอัตโนมัติ)
• กรณีที่ดวงตาของแบบมีสีแดง ให้แก้ไขภาพด้วย [ปรับแต่ง] ในเมนูดูภาพ (หน้า 47) หรือด้วยซอฟต์แวร์ “PMB” ที่ให้มาด้วย
“จุดวงกลมสีขาว”
เกิดจากวัตถุขนาดเล็ก (ฝุ่น ละอองเกสร ฯลฯ) ที่ลอยอยู่ในอากาศใกล้กับเลนส์ เมื่อวัตถุเหล่านี้ถูกทำให้เด่นโดย
แสงแฟลชของกล้องถ่ายภาพ ก็จะปรากฏขึ้นเป็นจุดวงกลมสีขาว
      กล้อง

                                                      วัตถุ
               วัตถุขนาดเล็ก (ฝุ่น ละออง
               เกสร ฯลฯ) ในอากาศ


สามารถลด “จุดวงกลมสีขาว” ได้อย่างไร?
• เปิดไฟในห้องให้สว่างและถ่ายภาพวัตถุโดยไม่ใช้แฟลช
• เลือกโหมด (ความไวแสงสูง)* ในกล้องถ่ายภาพ (เลือกบรรยากาศ) (แฟลชจะถูกปิดโดยอัตโนมัติ)
* แม้ท่านจะเลือกใช้โหมด (ความไวแสงสูง) ในกล้องถ่ายภาพ (เลือกบรรยากาศ) ความเร็วชัตเตอร์อาจช้าลงในสภาวะ
  ที่มีแสงน้อย หรือเมื่ออยู่ในที่มืด ในกรณีนี้ ให้ใช้ขาตั้งกล้องหรือยึดแขนไว้ให้แน่นแนบลำตัวหลังกดปุ่มชัตเตอร์




                                                                                                                    11
ส่วนประกอบของกล้อง
     ศึกษารายละเอียดการใช้งานได้จากเลขหน้าในเครื่อง
     หมายวงเล็บ




                                                       ด้านล่าง

     	ปุ่มชัตเตอร์ (20)
     	ไฟตั้งเวลา (22)
     	ไมโครโฟน
     	เลนส์
     	ปุ่ม ON/OFF (พาวเวอร์)
     	 ON/OFF (พาวเวอร์)
      ไฟ
     	แฟลช (21)
     	กริ่งเสียง
     	ขั้วต่อ       (USB)                            	กรณีถ่ายภาพ: ปุ่มปรับซูม (W/T) (21)
                                                        กรณีดูภาพ: ปุ่ม (ซูมภาพที่แสดง)/
                                                        ปุ่ม      (ดัชนี) (24, 25)
                                                      	หน้าจอ LCD (18)
                                                      	กรณีถ่ายภาพ: ปุ่ม (ขนาดภาพ) (23)
                                                        กรณีดูภาพ:ปุ่ม (ลบ) (26)
                                                      	ห่วงร้อยสายคล้องข้อมือ
                                                      	สวิตช์เลือกโหมด (20)
                                                      	ปุ่ม MENU (28)
                                                      	ปุ่มควบคุม
                                                        แสดงเมนู:  (28)
                                                        ไม่แสดงเมนู: DISP/ / / (18, 21-22)
                                                      	ไฟแสดงการทำงาน




12
ส่วนประกอบของกล้อง


	ช่องต่อขาตั้งกล้อง
   • ใช้ขาตั้งกล้องที่มีขนาดความยาวสกรูไม่เกิน 5.5 มม.
     มิฉะนั้น ท่านจะไม่สามารถยึดกล้องเอาไว้ได้อย่าง
     มั่นคง และอาจทำให้เกิดความเสียหายกับกล้องได้
	ฝาปิดแบตเตอรี่/“Memory Stick Duo”
	ช่องใส่ “Memory Stick Duo”
	ช่องใส่แบตเตอรี่




                                                         13
ตัวแสดงบนหน้าจอ
     การกดปุ่ม  (DISP) บนปุ่มควบคุมแต่ละครั้งจะ      
     ทำให้การแสดงผลบนจอภาพเปลี่ยนไป (หน้า 18)         จอภาพ    ความหมาย
     ศึกษารายละเอียดการใช้งานได้จากเลขหน้าในเครื่อง           แบตเตอรี่ที่เหลืออยู่
     หมายวงเล็บ
                                                              เตือนแบตเตอรี่หมด (92)
     เมื่อถ่ายภาพนิ่ง
                                                              ขนาดภาพ (23)

                                                              โหมดกล้องถ่ายภาพ
                                                              (เลือกบรรยากาศ) (30)
                                                              โหมดกล้องถ่ายภาพ
                                                              (ตั้งโปรแกรมอัตโนมัติ) (30)
                                                              อุณหภูมิสี (41)

                                                              โหมดถ่ายต่อเนื่อง (36)
     เมื่อถ่ายภาพเคลื่อนไหว                                   โหมดวัดแสง (38)
                                                              ค้นหาภาพใบหน้า (35)
                                                              SteadyShot (34)
                                                              เตือนมือสั่น
                                                              • เตือนว่าความสั่นสะเทือนอาจทำ
                                                                ให้ท่านไม่สามารถถ่ายภาพได้
                                                                ชัดเจนเนื่องจากปริมาณแสงไม่
                                                                เพียงพอ ถึงแม้ว่าเครื่องหมาย
                                                                เตือนมือสั่นจะปรากฏ ท่านก็ยัง
                                                                สามารถถ่ายภาพได้ อย่างไรก็ตาม
                                                                ขอแนะนำให้ท่านตั้งฟังก์ชั่น
                                                                ป้องกันภาพเบลอเป็น [อัตโนมัติ]
                                                                ใช้ไฟแฟลชเพื่อให้สภาพแสงดี
                                                                ขึ้น หรือใช้ขาตั้งกล้องหรือวิธี
                                                                อื่นๆ เพื่อทำให้กล้องอยู่ในสภาพ
                                                                ที่มั่นคง (หน้า 7)
                                                              ระดับการซูม (21, 55)


                                                              โหมดสี (44)




14
ตัวแสดงบนหน้าจอ

                                         
จอภาพ        ความหมาย                     จอภาพ   ความหมาย
           การล็อค AE/AF (20)                    ตั้งเวลาบันทึกภาพ (22)
บันทึก      บันทึกภาพเคลื่อนไหว/เตรียม            จุดเล็งวัตถุ (38)
พร้อม       พร้อมภาพเคลื่อนไหว                    กรอบค้นหาระยะ AF (39)
ISO400      ค่า ISO (37)
125         ความเร็วชัตเตอร์
F3.5        ค่าเปิดหน้ากล้อง
+2.0EV      ค่าระดับแสง (36)                      ฮิสโตแกรม (18)
0:12        ระยะเวลาบันทึก
            (นาที : วินาที)
            ตัวบอกกรอบค้นหาระยะ AF
            (39)
1.0 m       ระยะตั้งโฟกัสล่วงหน้า (39)
            มาโคร (22)

จอภาพ       ความหมาย
            โฟลเดอร์บันทึก (57)
            • ตัวแสดงนี้จะไม่ปรากฏ
              ขณะใช้งานหน่วยความจำภายใน
12          จำนวนภาพที่บันทึกได้
            สื่อบันทึก
            (“Memory Stick Duo”,
            หน่วยความจำภายใน)
00:00:15    เวลาที่สามารถบันทึกได้
            (ชั่วโมง : นาที : วินาที)
            ลดตาแดง (43)
            โหมดแฟลช (21)
            กำลังชาร์จแฟลช




                                                                           15
ตัวแสดงบนหน้าจอ


     เมื่อเปิดดูภาพนิ่ง         
                                จอภาพ        ความหมาย
                                             แบตเตอรี่ที่เหลืออยู่
                                             เตือนแบตเตอรี่หมด (92)
                                             ขนาดภาพ (23)

                                             เชื่อมต่อ PictBridge (78)
                                             ป้องกัน (49)
                                             เครื่องหมายสั่งพิมพ์ (DPOF)
     เมื่อเปิดดูภาพเคลื่อนไหว                (80)
                                             ระดับการซูม (24)
                                             เชื่อมต่อ PictBridge (79)
                                             • อย่าปลดสาย USB ออกขณะที่
                                               ไอคอนปรากฏอยู่
                                
                                จอภาพ        ความหมาย
                                            ดูภาพ (24)
                                             แถบเล่นภาพ
                                0:00:12      นับเวลา
                                101-0012     หมายเลขโฟลเดอร์–ไฟล์ (51)
                                2009 1 1     วันที่/เวลา ขณะบันทึกของภาพ
                                9:30 AM      ที่แสดง
                                 STOP       คำแนะนำระบบสำหรับการ
                                 PLAY       เล่นภาพ
                                     BACK/   เลือกภาพ
                                NEXT
                                             ฮิสโตแกรม (18)
                                             • เมื่อจอฮิสโตแกรมถูกปิด
                                               อยู่ รูป ปรากฏ




16
ตัวแสดงบนหน้าจอ


จอภาพ       ความหมาย
            โฟลเดอร์ดูภาพ (51)
            • ตัวแสดงนี้จะไม่ปรากฏขณะ
              ใช้งานหน่วยความจำภายใน
8/8 12/12   ลำดับภาพ/จำนวนภาพที่ถูก
            บันทึกในโฟลเดอร์ที่เลือก
            สื่อสำหรับดูภาพ
            (“Memory Stick Duo”,
            หน่วยความจำภายใน)
            เปลี่ยนโฟลเดอร์์ (51)
            • ตัวแสดงนี้จะไม่ปรากฏขณะ
              ใช้งานหน่วยความจำภายใน
            โหมดวัดแสง (38)
            แฟลช
            อุณหภูมิสี (41)


ISO400      ค่า ISO (37)
+2.0EV      ค่าระดับแสง (36)
500         ความเร็วชัตเตอร์
F3.5        ค่าเปิดหน้ากล้อง




                                        17
การเปลี่ยนการแสดงบนหน้าจอ
                              ปุ่ม  DISP              • หากท่านดูภาพในบริเวณที่สว่างจ้าภายนอก ให้ปรับเพิ่ม
                              (แสดงผลหน้าจอ)             ความสว่างของไฟหลังจอ LCD อย่างไรก็ตาม กำลังไฟ
                                                         ของแบตเตอรี่จะลดลงอย่างรวดเร็วในสภาวะดังกล่าว
                                                       • ฮิสโตแกรมไม่ปรากฏขึ้นในกรณีต่อไปนี้:
                                                         ระหว่างถ่ายภาพ
                                                          – ขณะแสดงรายการเมนู
     การกดปุ่ม  (DISP) บนปุ่มควบคุมแต่ละครั้งจะ          – ขณะบันทึกภาพเคลื่อนไหว
     ทำให้การแสดงผลบนจอภาพเปลี่ยนไปดังนี้:                ระหว่างดูภาพ
                                                          – ขณะแสดงรายการเมนู
                                                          – ในโหมดดัชนี
              เปิดตัวแสดง                                 – เมื่อท่านกำลังซูมภาพที่แสดง
                                                          – ขณะที่ท่านกำลังหมุนภาพนิ่ง
                                                          – ระหว่างการเล่นภาพเคลื่อนไหว
                                                       • ฮิสโตแกรมที่ปรากฏขึ้นระหว่างการถ่ายภาพและการดู
                                                         ภาพอาจมีลักษณะที่แตกต่างกันอย่างมากเมื่อ:
                                                          – ไฟแฟลชสว่างขึ้น
                                                          – ความเร็วชัตเตอร์ต่ำหรือสูง
              เปิดตัวแสดง*                             • ฮิสโตแกรมอาจไม่ปรากฏขึ้นหากเป็นภาพที่บันทึกโดย
                                                         กล้องอื่น
                                                          ปรับ EV (ค่าระดับแสง) โดยแสดงฮิสโตแกรม


                                                                            
              เปิดฮิสโตแกรม*
                                    ข้อมูลภาพจะ                                           
                                    ปรากฏขึ้นระหว่าง                             มืด             สว่าง
                                    แสดงภาพ            ฮิสโตแกรม คือกราฟที่แสดงความสว่างของภาพ กด
                                                       ปุ่ม  (DISP) บนปุ่มควบคุมซ้ำๆ เพื่อเลือกแสดง
                                    แสดงฮิสโตแกรม      ฮิสโตแกรมบนจอภาพ หากกราฟที่แสดงเอียงไปทาง
              ปิดตัวแสดง*                              ด้านขวาแสดงว่าเป็นภาพที่สว่าง และหากกราฟเอียง
                                                       ไปทางด้านซ้ายแสดงว่าเป็นภาพที่มืด
                                                        จำนวนพิกเซล
                                                        ความสว่าง

                                                       • ฮิสโตแกรมปรากฏขึ้นเช่นกันเมื่อแสดงภาพเดี่ยว แต่ท่าน
                                                         ไม่สามารถทำการปรับแสง
     * ความสว่างของไฟหลังจอ LCD เพิ่มขึ้น




18
การใช้งานหน่วยความจำภายใน
กล้องนี้มีหน่วยความจำภายในขนาด 12 MB หน่วยความจำนี้ไม่สามารถถอดออกได้ ถึงแม้ไม่ได้ใส่แผ่น
“Memory Stick Duo” ไว้ในกล้อง ท่านยังสามารถทำการถ่ายภาพได้ โดยใช้หน่วยความจำภายในนี้
                                                  เมื่อใส่แผ่น “Memory Stick Duo”
                                                  [ถ่ายภาพ]: ภาพจะถูกบันทึกลงใน “Memory Stick Duo”
                                                 [ดูภาพ]: เปิดดูภาพจาก “Memory Stick Duo”
                                                  [เมนู ตั้งค่า ฯลฯ]: สามารถใช้งานได้หลายฟังก์ชั่นกับ
                                                  ภาพใน “Memory Stick Duo”

                                                  เมื่อไม่ได้ใส่แผ่น “Memory Stick Duo”
                                                  [ถ่ายภาพ]: ภาพจะถูกบันทึกลงในหน่วยความจำภายใน

                 หน่วภายใน
                       ยความจำ
                                                  [ดูภาพ]: เปิดดูภาพจากหน่วยความจำภายใน
                                                  [เมนู ตั้งค่า ฯลฯ]: สามารถใช้งานหลายฟังก์ชั่นได้กับ
                                                  ภาพในหน่วยความจำภายใน



  หมายเหตุภาพที่ถูกบันทึกในหน่วยความจำภายใน
ขอแนะนำให้ท่านทำการคัดลอก (สำรอง) ข้อมูลเสมอ ด้วยวิธีการใดวิธีการหนึ่งต่อไปนี้
การคัดลอก (สำรอง) ข้อมูลไปยัง “Memory Stick Duo”
เตรียมแผ่น “Memory Stick Duo” ที่มีเนื้อที่ว่างเหลืออยู่เพียงพอ จากนั้นดำเนินการตามขั้นตอนที่อธิบายใน
[คัดลอก] (หน้า 58)
การคัดลอก (สำรอง) ข้อมูลไปยังฮาร์ดดิสก์บนเครื่องคอมพิวเตอร์ของท่าน
ทำตามขั้นตอนในหน้า 66, 67 หรือ 70, 71 โดยไม่ใส่แผ่น “Memory Stick Duo” ในกล้องถ่ายภาพ
• ท่านไม่สามารถย้ายข้อมูลภาพจาก “Memory Stick Duo” เข้าสู่หน่วยความจำภายใน
• เมื่อทำการเชื่อมต่อกล้องถ่ายภาพกับเครื่องคอมพิวเตอร์โดยใช้สาย USB ท่านสามารถคัดลอกข้อมูลที่บันทึกอยู่ในหน่วย
  ความจำภายในไปยังเครื่องคอมพิวเตอร์ได้ แต่ท่านไม่สามารถคัดลอกข้อมูลจากเครื่องคอมพิวเตอร์ไปยังหน่วยความจำภาย
  ในได้




                                                                                                                 19
การใช้งานเบื้องต้น

               ถ่ายภาพ
         ปุ่มมาโคร
                            ปุ่ม DISP
                               ปุ่มแฟลช
                                                                                          ปุ่มชัตเตอร์
                                                                                          ปุ่ม (W/T) ซูม
                     ปุ่มตั้งเวลา
         ปุ่ม                                                                            สวิตช์เลือกโหมด
               ปุ่ม 
                               ปุ่มควบคุม
                     ปุ่ม     (ขนาดภาพ)


     1	 เลือกฟังก์ชันที่ต้องการจากสวิตช์เลือกโหมด
        ขณะถ่ายภาพนิ่ง: เลือก (ภาพนิ่ง)
        ขณะถ่ายภาพเคลื่อนไหว: เลือก (ภาพเคลื่อนไหว)

     2	 จับกล้องถ่ายภาพ โดยให้ข้อศอกแนบเข้ากับลำตัวเพื่อให้ถือได้อย่างมั่นคง
                                                                                   วางตำแหน่งวัตถุให้อยู่
                                                                                   ตรงกึ่งกลางเฟรมโฟกัส


     3	 ถ่ายภาพด้วยปุ่มชัตเตอร์
        ขณะถ่ายภาพนิ่ง:
        	กดปุ่มชัตเตอร์ลงครึ่งหนึ่งเพื่อทำการโฟกัส
           ตัวแสดง  (ล็อค AE/AF) (สีเขียว) จะกะพริบ จากนั้นมีเสียงบีปดังขึ้น ตัวแสดงหยุดกะพริบและยังคงสว่างอยู่




        ตัวแสดงการล็อค AE/AF
        	กดปุ่มชัตเตอร์ลงจนสุด


20
ถ่ายภาพ

    ถ่ายภาพเคลื่อนไหว:
    กดปุ่มชัตเตอร์ลงจนสุด
    เมื่อต้องการหยุดบันทึก ให้กดปุ่มชัตเตอร์ลงจนสุดอีกครั้ง

ในกรณีที่ถ่ายภาพวัตถุที่โฟกัสได้ยาก
• ระยะถ่ายภาพทีสนทีสดคือประมาณ 5 ซม. (W)/50 ซม. (T) (วัดระยะจากด้านหน้าของเลนส์)
                ่ ้ั ่ ุ
• กรณีที่กล้องไม่สามารถทำการโฟกัสที่วัตถุได้เองโดยอัตโนมัติ ตัวแสดงการล็อค AE/AF จะเปลี่ยนเป็นกะพริบอย่างช้าๆ
  และไม่มีเสียงบีป นอกจากนั้น กรอบค้นหาระยะ AF จะหายไปด้วย ให้จัดองค์ประกอบภาพใหม่และโฟกัสอีกครั้ง




                                                                                                                 การใช้งานเบื้องต้น
อาจทำการโฟกัสภาพได้ยากในสภาวะต่อไปนี้:
– อยู่ในที่มืดและวัตถุอยู่ห่างออกไปมาก
– มีความคอนทราสต์ระหว่างวัตถุและฉากหลังน้อย
– มองวัตถุผ่านกระจก
– วัตถุเคลื่อนที่เร็ว
– มีแสงสะท้อนหรือแสงจากวัตถุที่มันวาว
– วัตถุย้อนแสงหรือมีไฟกะพริบ
W/T การปรับซูม
กด T เพื่อซูมภาพและกด W เพื่อยกเลิกการซูม
• เมื่อปรับระดับการซูมสูงเกินกว่า 3 เท่า กล้องจะเริ่มใช้งานระบบซูมดิจิตอล
  ศึกษารายละเอียดเกี่ยวกับการตั้งค่า [ซูมดิจิตอล] และคุณภาพของภาพ ดูหน้า 55
• ท่านไม่สามารถเปลี่ยนระดับการซูมเมื่อถ่ายภาพเคลื่อนไหว
   ไฟแฟลช (การเลือกโหมดแฟลชสำหรับภาพนิ่ง)
กด  ( ) บนปุ่มควบคุมหลายๆ ครั้งเพื่อเลือกโหมดใช้งานที่ต้องการ




(ไม่ปรากฏตัวแสดง): แฟลชอัตโนมัติ
   ใช้แฟลชเมื่อปริมาณแสงสว่างมีไม่เพียงพอหรือถ่ายย้อนแสง (ค่าปกติ)
 : บังคับใช้ไฟแฟลช
    : ชัตเตอร์ช้า (บังคับใช้ไฟแฟลช)
   ชัตเตอร์จะทำงานช้าลงในที่มืดเพื่อให้ถ่ายภาพฉากหลังที่อยู่ไกลเกินกว่าระยะแฟลชได้อย่างชัดเจน
   : บังคับไม่ใช้แฟลช
• ไฟแฟลชสว่างขึ้นสองครั้ง ซึ่งแสงแฟลชครั้งแรกใช้สำหรับปรับสภาพแสง
• ขณะกำลังชาร์จแฟลช        จะปรากฏ




                                                                                                                21
ถ่ายภาพ

         มาโคร (การถ่ายภาพระยะใกล้)
     กดปุ่ม  ( ) บนปุ่มควบคุมอย่างต่อเนื่อง เพื่อเลือกโหมดที่ต้องการ




     (ไม่มีตัวแสดง): อัตโนมัติ
        กล้องถ่ายภาพปรับโฟกัสโดยอัตโนมัติ ตั้งแต่วัตถุที่อยู่ระยะไกลถึงวัตถุระยะใกล้
        โดยปกติควรตั้งค่ากล้องถ่ายภาพในโหมดนี้
        : มาโคร
        กล้องถ่ายภาพปรับโฟกัสโดยให้ความสำคัญกับวัตถุที่อยู่ระยะใกล้
        ให้เปิดใช้มาโครเมื่อต้องการถ่ายภาพวัตถุที่วางอยู่ใกล้ๆ
        • ความเร็วในการโฟกัสอัตโนมัติลดลงเมื่อท่านถ่ายภาพในโหมดมาโคร
        • ขอแนะนำให้ปรับซูมไว้ที่ตำแหน่งสุดขอบด้าน W
         การตั้งเวลาบันทึกภาพ
     กด  ( ) บนปุ่มควบคุมหลายๆ ครั้งเพื่อเลือกโหมดใช้งานที่ต้องการ




     (ไม่ปรากฏตัวแสดง): ไม่ใช้ระบบตั้งเวลา
          : ใช้ระบบตั้งเวลา 10 วินาที
         : ใช้ระบบตั้งเวลา 2 วินาที
     เมื่อท่านกดปุ่มชัตเตอร์ ไฟตั้งเวลาถ่ายภาพกะพริบพร้อมกับมีเสียงบีปจนกระทั่งชัตเตอร์เริ่มทำงาน
                               ไฟตั้งเวลา



     ทำการยกเลิกโดยกด  ( ) อีกครั้งหนึ่ง
     • ใช้การตั้งเวลา 2 วินาทีเพื่อป้องกันไม่ให้ภาพเบลอ ชัตเตอร์เริ่มทำงานหลังจากเวลาผ่านไป 2 วินาที ที่ท่านกดปุ่มชัตเตอร์
       ซึ่งช่วยลดการสั่นของกล้องถ่ายภาพจากการกดปุ่มชัตเตอร์ได้




22
ถ่ายภาพ


   การเปลี่ยนขนาดภาพ
กดปุ่ม (ขนาดภาพ) จากนั้นกดปุ่ม  เพื่อเลือกขนาด
โปรดดูรายละเอียดขนาดภาพที่หน้า 10
การตั้งค่าเริ่มต้นจะมีเครื่องหมาย กำกับอยู่
สำหรับภาพนิ่ง
       ขนาดภาพ                   คำแนะนำในการใช้งาน                         จำนวนภาพ        การพิมพ์ภาพ
       10M                       สำหรับพิมพ์ที่ขนาดสูงสุด A3+                    น้อยลง        มากขึ้น
       (3648×2736)




                                                                                                           การใช้งานเบื้องต้น
       3:2 (8M)*1                ถ่ายภาพที่อัตราส่วน 3:2
       (3648×2432)

       5M                        สำหรับพิมพ์ที่ขนาดใหญ่สุด A4
       (2592×1944)

       3M                        สำหรับพิมพ์ที่ขนาดใหญ่สุด
       (2048×1536)               10×15 ซม หรือ 13×18 ซม

       VGA                       ถ่ายภาพที่ขนาดเล็กสำหรับ
       (640×480)                 ส่งแนบไปกับ e-mail                                             หยาบ
                                                                                ละเอียด
       16:9 (7M)*  2             สำหรับชมด้วย HDTV และ                          น้อยลง         มากขึ้น
       (3648×2056)               พิมพ์ถึงขนาด A4

       16:9 (2M)*2               สำหรับชมด้วย HDTV
       (1920×1080)
                                                                                ละเอียด         หยาบ
*1) ภาพจะถูกบันทึกที่อัตราส่วน 3:2 เท่ากับอัตราส่วนของกระดาษพิมพ์ภาพถ่าย หรือโปสการ์ด ฯลฯ
*2) ขอบทั้งสองด้านของภาพอาจจะถูกตัดออกเมื่อทำการพิมพ์ (หน้า 89)
สำหรับภาพเคลื่อนไหว
ขนาดของภาพเคลื่อนไหวถูกกำหนดเป็น 320 × 240




                                                                                                          23
ดูภาพ
             ปุ่ม 
                                                                                   ปุ่ม   (ดัชนี)
                                                                                   ปุ่ม (ซูมขณะเล่นภาพ)
                                                                                   ปุ่ม MENU
            ปุ่ม                                                                  สวิตช์เลือกโหมด
                      ปุ่มควบคุม
                     ปุ่ม    (ลบ)




     1	 เลือก (เล่นภาพ) ด้วยสวิตช์เลือกโหมด
     2	 เลือกภาพด้วยปุ่ม  บนปุ่มควบคุม
         ภาพเคลื่อนไหว:
         กดปุ่ม  เพื่อเล่นภาพเคลื่อนไหว (กดปุ่ม  อีกครั้งเพื่อหยุดเล่น)
         กดปุ่ม  เพื่อกรอไปข้างหน้า และปุ่ม  เพื่อกรอย้อนกลับ (กดปุ่ม  เพื่อกลับไปเล่นภาพตามปกติ)
          • ท่านไม่สามารถรับฟังเสียงด้วยกล้องถ่ายวิดีโอขณะกำลังเล่นภาพเคลื่อนไหว


        การดูภาพขยาย (ซูมภาพที่แสดง)
     กดปุ่ม (T) ขณะที่แสดงภาพนิ่ง กดปุ่ม W เพื่อทำการซูมออก
     ปรับตำแหน่งด้วยปุ่ม 
     หากต้องการยกเลิกซูมขณะเล่นภาพ ให้กดปุ่ม 


                                                   แสดงพื้นที่แสดงภาพเมื่อเทียบกับภาพทั้งหมด
                                                   ในกรณีนี้ ภาพถูกขยายเฉพาะส่วนกลางภาพ


     • หากต้องการจัดเก็บภาพขยาย ดูหัวข้อ [ตัดขอบ] (หน้า 47)




24
ดูภาพ


    การแสดงหน้าจอดัชนี
กด        (ดัชนี) เพื่อแสดงหน้าจอดัชนีขณะที่ภาพนิ่งแสดงอยู่
เลือกภาพด้วย 
เมื่อต้องการกลับสู่หน้าจอแสดงภาพเดี่ยว ให้กดปุ่ม 




                                                                                                         การใช้งานเบื้องต้น
• ในการกดปุ่ม       (ดัชนี) แต่ละครั้ง จำนวนภาพบนหน้าจอดัชนีจะเพิ่มขึ้น
• เมื่อใช้งาน “Memory Stick Duo” ท่านสามารถเลือกวันที่/โฟลเดอร์ที่ต้องการได้ด้วยปุ่ม  หลังจากเลือก
  แถบเลือกโฟลเดอร์ด้วยปุ่ม 




แถบเลือกโฟลเดอร์




                                                                                                        25
การลบภาพ
              ปุ่ม 


                                                                 ปุ่ม      (ดัชนี)
                                                                 ปุ่ม MENU
              ปุ่ม                                              สวิตช์เลือกโหมด
                        ปุ่มควบคุม
                       ปุ่ม   (ลบ)




     1	 เลือก (เล่นภาพ) ด้วยสวิตช์เลือกโหมด
     2	 กดปุ่ม (ลบ) ขณะที่แสดงภาพในโหมดภาพเดี่ยวหรือโหมดดัชนีภาพ
     3	 เลือกวิธีการลบภาพที่ต้องการด้วย  จากตัวเลือก [ภาพนี้], [หลายภาพ] และ
        [ทุกภาพในโฟลเดอร์นี้] จากนั้นกด 




26
การลบภาพ


เมื่อท่านเลือก [ภาพนี้]
ท่านสามารถลบภาพที่เลือกได้
เลือก [ตกลง] ด้วย  แล้วกด 
เมื่อท่านเลือก [หลายภาพ]
ท่านสามารถเลือกและลบภาพหลายๆ ภาพได้พร้อมๆ กัน
	เลือกภาพที่ต้องการลบ แล้วกด 
       จะทำเครื่องหมายในช่องของรูปภาพ
    ภาพเดี่ยว                    หน้าจอดัชนี




                                                                                                      การใช้งานเบื้องต้น
	กดปุ่ม MENU
	เลือก [ตกลง] ด้วย  แล้วกด 
• หากต้องการลบภาพทั้งหมดในโฟลเดอร์ ให้เลือก [หลายภาพ] ในหน้าจอดัชนี, เลือกแถบด้วยปุ่ม  จากนั้นจึง
  ทำเครื่องหมาย ที่ช่องเลือกภาพ
เมื่อท่านเลือก [ทุกภาพในโฟลเดอร์นี้]
ท่านสามารถลบภาพทั้งหมดที่อยู่ในโฟลเดอร์ที่เลือกได้
เลือก [ตกลง] ด้วย  แล้วกด 




                                                                                                     27
การใช้งานรายการในเมนู
            ปุ่ม 


                                                                          ปุ่ม MENU
          ปุ่ม 
                    ปุ่มควบคุม

     1	   กดปุ่ม MENU เพื่อแสดงเมนู




          • เมนูจะแสดงเฉพาะโหมดถ่ายภาพและเล่นภาพเท่านั้น
          • รายการที่ปรากฏจะแตกต่างกันไปขึ้นอยู่กับโหมดที่เลือก

     2	 ใช้  บนปุ่มควบคุมเพื่อเลือกรายการเมนูที่ต้องการ
          • หากรายการที่ต้องการเลือกยังไม่ปรากฏ ให้กด  ไปเรื่อยๆจนกระทั่งรายการนั้นปรากฏบนหน้าจอ

     3	 เลือกค่าที่ต้องการด้วย 



          • หากการตั้งค่าที่ต้องการไม่ปรากฏอยู่บนหน้าจอ ให้กดปุ่ม  ต่อไปจนกระทั่งการตั้งค่าดังกล่าวปรากฏขึ้นบน
            หน้าจอ
          • เลือกรายการในโหมดเล่นภาพ จากนั้นกดปุ่ม 

     4	 กดปุ่ม MENU เพื่อปิดเมนู


28
รายการในเมนู
รายการเมนูที่สามารถใช้งานได้จะแตกต่างกันไป โดยขึ้นอยู่กับตำแหน่งของสวิตช์เลือกโหมดและโหมดถ่ายภาพ
เฉพาะรายการที่ใช้งานได้เท่านั้นจะปรากฏขึ้นบนจอภาพ
                                                                                         ( : ใช้งานได้)
                                     ตั้งค่าอัตโนมัติ:
                                                                                เลือกบรรยากาศ

เมนูถ่ายภาพ (หน้า 33)
            กล้องถ่ายภาพ                                                                         —




                                                                                                           การใช้งานเบื้องต้น
            SteadyShot                                                                           —
            ค้นหาภาพใบหน้า                                                             *         —
            โหมดถ่ายภาพ                                                                *         —
            EV
            ISO                                          —                            —          —
            โหมดวัดแสง                                   —                            —
            โฟกัส                                        —                            —          —
            อุณหภูมิสี                                   —                             *
            ระดับแฟลช                                    —                            —          —
            ลดตาแดง                                                                    *         —
            โหมดสี                                       —                            —
                (ตั้งค่า)

* การใช้งานถูกจำกัดตามโหมดบรรยากาศ (หน้า 32)
เมนูรับชม (หน้า 45)
               (สไลด์โชว์)                            (ปรับแต่ง)
                (ย่อขยายขนาดต่างๆ)                   (ป้องกัน)
                                                     (พิมพ์)
               (หมุนภาพ)                             (เลือกโฟลเดอร์)
               (ตั้งค่า)




                                                                                                          29
การใช้งานฟังก์ชั่นถ่ายภาพ

                เปลี่ยนโหมดถ่ายภาพ
     ท่านสามารถเปลี่ยนโหมดถ่ายภาพได้
     โหมดถ่ายภาพที่สามารถใช้กับภาพนิ่งมีทั้งสิ้น 8 โหมด โดยโหมดเริ่มต้นคือ โหมดตั้งค่าอัตโนมัติ
     เมื่อต้องการเปลี่ยนโหมดถ่ายภาพเป็นโหมดอื่นที่ไม่ใช่โหมดตั้งค่าอัตโนมัติ ให้ทำตามคำแนะนำดังต่อไปนี้

                     ปุ่ม 


                                                                                   ปุ่ม MENU
                                                                                   สวิตช์เลือกโหมด
                     ปุ่ม 
                               ปุ่มควบคุม



     	ตั้งสวิตช์เลือกโหมดไปที่      (ภาพนิ่ง)
     	กดปุ่ม MENU เพื่อแสดงเมนู
     	เลือก         [กล้องถ่ายภาพ] ด้วยปุ่ม  บนปุ่มควบคุม
     	เลือกโหมดที่ต้องการด้วยปุ่ม 
     	กดปุ่ม MENU เพื่อปิดเมนู


               โหมดภาพนิ่ง
                     : ตั้งค่าอัตโนมัติ
                     สำหรับถ่ายภาพโดยที่การตั้งค่าต่างๆ จะถูกปรับค่าโดยอัตโนมัติ
                 : โปรแกรมอัตโนมัติ*
                     ให้ท่านสามารถถ่ายภาพ โดยกล้องทำการปรับแสงโดยอัตโนมัติ (ทั้งความเร็วชัตเตอร์และขนา
                     ดช่องรับแสง)
                 ,     , , , , , : โหมดเลือกบรรยากาศ
                     ให้ท่านสามารถถ่ายภาพโดยใช้การตั้งค่าที่กำหนดไว้ก่อนแล้วสำหรับแต่ละซีนภาพ (หน้า 31)




30
ถ่ายภาพตามลักษณะซีนภาพ
โหมดเลือกบรรยากาศ
โหมดต่อไปนี้จะถูกตั้งค่าใหม่เพื่อให้เหมาะกับสภาวะของภาพ

                      ความไวแสงสูง                                            บุคคลกลางคืน*
                 ให้ท่านถ่ายภาพโดยไม่ใช้แฟลช ใน                          ให้ท่านสามารถถ่ายภาพบุคคลที่คมชัด
                 สถานที่ซึ่งมีแสงน้อยได้ ลดอาการ                         ได้ โดยมีบรรยากาศภาพกลางคืนเป็น
                 เบลอของภาพ                                              ฉากหลัง โดยไม่ทำให้บรรยากาศรอบๆ
                                                                         เสียไป
                                                                             กลางคืน*
                                                                         ให้ท่านสามารถถ่ายซีนภาพกลางคืนจาก
                                                                         ระยะไกลได้โดยไม่สูญเสียบรรยากาศ
                     ภาพซอฟท์                                            ความมืดของสิ่งแวดล้อมโดยรอบ
                 ให้ท่านสามารถถ่ายภาพสีผิวได้สว่าง




                                                                                                                การใช้งานฟังก์ชั่นถ่ายภาพ
                 ขึ้นในโทนสีที่ดูอบอุ่น เพื่อให้ได้ภาพที่                     หาดทราย
                 สวยยิ่งกว่าเดิม นอกจากนั้นเอฟเฟ็คการ                    เมื่อถ่ายภาพริมชายหาดหรือ
                 โฟกัสแบบซอฟต์ช่วยสร้างบรรยากาศ                          ทะเลสาบ สีน้ำเงินของน้ำจะถูก
                 ที่ดูนุ่มนวลสำหรับภาพบุคคล, ดอกไม้                      บันทึกได้อย่างชัดเจน
                 หรืออื่นๆ
                                                                            หิมะ
                      วิว                                                เมื่อถ่ายภาพหิมะหรือบริเวณอื่นๆ
                 โฟกัสที่วัตถุที่อยู่ระยะไกลเท่านั้น                     ที่ทั้งภาพปรากฏเป็นสีขาว ให้ใช้
                 เพื่อการถ่ายภาพทิวทัศน์ หรืออื่นๆ                       โหมดนี้เพื่อป้องกันไม่ให้สีซีดเพื่อ
                                                                         ให้บันทึกภาพได้ชัดเจนขึ้น

* เมื่อถ่ายภาพโดยใช้โหมด (บุคคลกลางคืน) หรือโหมด            (กลางคืน) ความเร็วชัตเตอร์จะลดต่ำลง ทำให้เกิด
  ภาพเบลอได้ง่ายขึ้น กรณีนี้จึงขอแนะนำให้ใช้ขาตั้งกล้อง




                                                                                                               31
ถ่ายภาพตามลักษณะซีนภาพ


     ฟังก์ชั่นต่างๆ ที่สามารถใช้งานได้ในโหมดเลือกบรรยากาศ
     การใช้งานร่วมกันของฟังก์ชั่นต่างๆ ถูกกำหนดโดยกล้องถ่ายภาพ เพื่อให้สามารถถ่ายภาพได้อย่างเหมาะสมตาม
     สภาพของซีนภาพ บางฟังก์ชั่นอาจไม่สามารถใช้งานได้ ขึ้นอยู่กับโหมดเลือกบรรยากาศ

                                                                                 ( : ที่สามารถเลือกการตั้งค่าที่ต้องการ)
                    มาโคร             แฟลช            ค้นหาภาพใบหน้า   ถ่ายต่อเนื่อง    อุณหภูมิสี        ลดตาแดง
                                                                           —                *                —
                                                           —                               —
                      —                 /                  —                               —
                                                                            —              —
                      —                                    —                —              —                  —
                                        /                                                  —
                                        /                                                  —
     * เลือกตั้งค่า [อุณหภูมิสี] เป็น [แฟลช] ไม่ได้




32
เมนูการถ่ายภาพ                                       ศึกษารายละเอียดวิธีการใช้งาน  หน้า 28


เมื่อกด MENU จะเห็นฟังก์ชั่นในโหมดถ่ายภาพได้ดังนี้
ศึกษารายละเอียดการใช้งานเมนู ดูหน้า 28

  โหมดที่สามารถเลือกใช้ได้จะปรากฏเป็นสีขาว




                                             ใช้งานไม่ได้

ค่าเริ่มต้นจะทำเครื่องหมายด้วย
  กล้องถ่ายภาพ: เลือกโหมดถ่ายภาพ




                                                                                               การใช้งานฟังก์ชั่นถ่ายภาพ
  	
โปรดดูรายละเอียดที่หน้า 30
           (ตั้งค่าอัตโนมัติ)         เลือกโหมดถ่ายภาพเพื่อใช้ถ่ายภาพนิ่ง
          (โปรแกรมอัตโนมัติ)
          (ความไวแสงสูง)
          (ภาพซอฟท์)
          (วิว)
          (บุคคลกลางคืน)
         (กลางคืน)
          (หาดทราย)
         (หิมะ)




                                                                                              33
เมนูการถ่ายภาพ                                          ศึกษารายละเอียดวิธีการใช้งาน  หน้า 28


       SteadyShot: การเลือกโหมดป้องกันการเบลอ
       	
     เลือกโหมดป้องกันการเบลอ
                (อัตโนมัติ)          เปิดใช้งานฟังก์ชั่นป้องกันภาพเบลอโดยอัตโนมัติ เมื่อสภาวะในการถ่ายภาพ
                                     ขณะนั้นอาจทำให้กล้องสั่นได้
                                     ซึ่งท่านสามารถช่วยให้ภาพนิ่งได้ แม้ซูมภาพวัตถุจากระยะไกล
                (ปิด)                ไม่ใช้โหมดป้องกันการเบลอ
     • โหมดป้องกันการเบลออาจทำงานผิดพลาดได้ในกรณีดังต่อไปนี้
        – เมื่อกล้องสะเทือนอย่างรุนแรง
        – เมื่อความเร็วชัตเตอร์ช้า เช่น การถ่ายภาพกลางคืน
     • ต้องใช้เวลาสำหรับการประมวลผลภาพ
     • ฟังก์ชั่นป้องกันภาพเบลอไม่ทำงานเมื่อท่านถ่ายภาพโดยใช้แฟลช




34
เมนูการถ่ายภาพ                                         ศึกษารายละเอียดวิธีการใช้งาน  หน้า 28


  ค้นหาภาพใบหน้า: การค้นหาใบหน้าบนวัตถุ
  	
เลือกว่าจะใช้ฟังก์ชั่นค้นหาภาพใบหน้าหรือไม่
ค้นหาใบหน้าของบุคคลที่ท่านถ่ายภาพ และทำการตั้งค่าสำหรับโฟกัส, แฟลช, ระดับแสง, อุณหภูมิสี และลด
สีแดงในดวงตาโดยอัตโนมัติ
          (ปิด)                         ไม่ใช้ฟังก์ชั่นการค้นหาภาพใบหน้า
           (อัตโนมัติ)                  กล้องถ่ายภาพเลือกใบหน้าที่จะทำการโฟกัสโดยอัตโนมัติ
                                                                      สัญลักษณ์การค้นหาภาพใบหน้า

                                                                      กรอบค้นหาภาพใบหน้า (สีส้ม)




                                                                                                             การใช้งานฟังก์ชั่นถ่ายภาพ
                                                                      กรอบค้นหาภาพใบหน้า (สีขาว)

• ฟังก์ชั่นค้นหาภาพใบหน้าไม่ทำงานระหว่างที่ใช้งานซูมดิจิตอล
• เมื่อตั้งโหมดบรรยากาศเป็นโหมด (ภาพซอฟต์) ฟังก์ชั่นค้นหาภาพใบหน้าจะทำงาน
• สามารถค้นหาใบหน้าในภาพได้สูงสุด 8 ใบหน้า อย่างไรก็ตาม เมื่อตั้งโหมดบรรยากาศเป็นโหมด (ภาพซอฟต์)
  จะสามารถค้นหาภาพใบหน้าในภาพได้สูงสุด 4 ใบหน้า
• เมื่อกล้องถ่ายภาพสามารถตรวจพบบุคคลในภาพมากกว่าหนึ่งคน กล้องจะพิจารณาว่าบุคคลใดที่เป็นหลักในภาพ เพื่อให้
  ความสำคัญในการปรับโฟกัส กรอบค้นหาภาพใบหน้าของบุคคลหลักจะเปลี่ยนเป็นสีส้ม
• เฟรมภาพซึ่งได้รับการกำหนดโฟกัสจะเปลี่ยนเป็นสีเขียวเมื่อกดปุ่มชัตเตอร์ลงครึ่งหนึ่ง
• อาจไม่สามารถค้นหาภาพใบหน้าได้อย่างถูกต้องเมื่อ:
   – ระดับแสงมืดหรือสว่างจนเกินไป
   – ส่วนหนึ่งของใบหน้าถูกบังโดยแว่นกันแดด หน้ากาก หมวก อื่นๆ
   – บุคคลไม่ได้หันหน้าเข้าหากล้อง




                                                                                                            35
Handbook
Handbook
Handbook
Handbook
Handbook
Handbook
Handbook
Handbook
Handbook
Handbook
Handbook
Handbook
Handbook
Handbook
Handbook
Handbook
Handbook
Handbook
Handbook
Handbook
Handbook
Handbook
Handbook
Handbook
Handbook
Handbook
Handbook
Handbook
Handbook
Handbook
Handbook
Handbook
Handbook
Handbook
Handbook
Handbook
Handbook
Handbook
Handbook
Handbook
Handbook
Handbook
Handbook
Handbook
Handbook
Handbook
Handbook
Handbook
Handbook
Handbook
Handbook
Handbook
Handbook
Handbook
Handbook
Handbook
Handbook
Handbook
Handbook
Handbook
Handbook
Handbook
Handbook
Handbook
Handbook

More Related Content

Viewers also liked

2011 06 Henry Hooker Yates Role P As Rural Health
2011 06 Henry Hooker Yates Role P As Rural Health2011 06 Henry Hooker Yates Role P As Rural Health
2011 06 Henry Hooker Yates Role P As Rural Health
rodhooker
 
2011 07 Hing Ch Cs Providers 3 Years
2011 07 Hing Ch Cs Providers 3 Years2011 07 Hing Ch Cs Providers 3 Years
2011 07 Hing Ch Cs Providers 3 Years
rodhooker
 
2010 05 Morgan Hooker PA Speciatly Health Affairs
2010 05 Morgan Hooker PA Speciatly Health Affairs2010 05 Morgan Hooker PA Speciatly Health Affairs
2010 05 Morgan Hooker PA Speciatly Health Affairs
rodhooker
 
2010 05 Hooker Cawley Leinweber PA Career Flexibility
2010 05 Hooker Cawley Leinweber PA Career Flexibility2010 05 Hooker Cawley Leinweber PA Career Flexibility
2010 05 Hooker Cawley Leinweber PA Career Flexibility
rodhooker
 

Viewers also liked (6)

2011 06 Henry Hooker Yates Role P As Rural Health
2011 06 Henry Hooker Yates Role P As Rural Health2011 06 Henry Hooker Yates Role P As Rural Health
2011 06 Henry Hooker Yates Role P As Rural Health
 
Statistic 5614
Statistic 5614Statistic 5614
Statistic 5614
 
2011 07 Hing Ch Cs Providers 3 Years
2011 07 Hing Ch Cs Providers 3 Years2011 07 Hing Ch Cs Providers 3 Years
2011 07 Hing Ch Cs Providers 3 Years
 
2010 05 Morgan Hooker PA Speciatly Health Affairs
2010 05 Morgan Hooker PA Speciatly Health Affairs2010 05 Morgan Hooker PA Speciatly Health Affairs
2010 05 Morgan Hooker PA Speciatly Health Affairs
 
2010 05 Hooker Cawley Leinweber PA Career Flexibility
2010 05 Hooker Cawley Leinweber PA Career Flexibility2010 05 Hooker Cawley Leinweber PA Career Flexibility
2010 05 Hooker Cawley Leinweber PA Career Flexibility
 
Cotizacion
CotizacionCotizacion
Cotizacion
 

Similar to Handbook

Images Digitization with Digital Photography
Images Digitization with Digital PhotographyImages Digitization with Digital Photography
Images Digitization with Digital Photography
Rachabodin Suwannakanthi
 
Enjoy DSLR_version2.compressed.pdf
Enjoy DSLR_version2.compressed.pdfEnjoy DSLR_version2.compressed.pdf
Enjoy DSLR_version2.compressed.pdf
PawachMetharattanara
 
Gt s5830 um-sea_tha_rev.1.0_110210
Gt s5830 um-sea_tha_rev.1.0_110210Gt s5830 um-sea_tha_rev.1.0_110210
Gt s5830 um-sea_tha_rev.1.0_110210Suriyakan Yunin
 
คู่มือการใช้งานโปรแกรม AcuStudiov.6
คู่มือการใช้งานโปรแกรม AcuStudiov.6คู่มือการใช้งานโปรแกรม AcuStudiov.6
คู่มือการใช้งานโปรแกรม AcuStudiov.6mansuang1978
 
Canon 1000 d thai
Canon 1000 d thaiCanon 1000 d thai
Canon 1000 d thaismilfisho
 
Image Digitization with Digital Photography
Image Digitization with Digital PhotographyImage Digitization with Digital Photography
Image Digitization with Digital Photography
Rachabodin Suwannakanthi
 
Canon 7 d thai
Canon 7 d thaiCanon 7 d thai
Canon 7 d thaiGTN Nu
 
ระบบภาพดิ...
ระบบภาพดิ...ระบบภาพดิ...
ระบบภาพดิ...chanita
 
Nikon d90 thai manual
Nikon d90 thai manualNikon d90 thai manual
Nikon d90 thai manual
Susun Trongdee
 
60 present proshowg-sut-studentenvi
60 present proshowg-sut-studentenvi60 present proshowg-sut-studentenvi
60 present proshowg-sut-studentenvi
Kindness Kind
 
แผนการเรียนรู้ที่ 5 ใบงานที่ 2
แผนการเรียนรู้ที่ 5 ใบงานที่ 2แผนการเรียนรู้ที่ 5 ใบงานที่ 2
แผนการเรียนรู้ที่ 5 ใบงานที่ 2
krunueng1
 
Window mm
Window mmWindow mm
Window mm
Ratchanee Bo
 
เอกสารประกอบการอบรม
เอกสารประกอบการอบรมเอกสารประกอบการอบรม
เอกสารประกอบการอบรม
Burin Narin
 
Dc102 digital media-video
Dc102 digital media-videoDc102 digital media-video
Dc102 digital media-video
ajpeerawich
 
Blender manual
Blender manualBlender manual
Blender manual
ougoug
 

Similar to Handbook (20)

Canon 600 d thai manual
Canon 600 d thai manualCanon 600 d thai manual
Canon 600 d thai manual
 
Images Digitization with Digital Photography
Images Digitization with Digital PhotographyImages Digitization with Digital Photography
Images Digitization with Digital Photography
 
Enjoy DSLR_version2.compressed.pdf
Enjoy DSLR_version2.compressed.pdfEnjoy DSLR_version2.compressed.pdf
Enjoy DSLR_version2.compressed.pdf
 
Gt s5830 um-sea_tha_rev.1.0_110210
Gt s5830 um-sea_tha_rev.1.0_110210Gt s5830 um-sea_tha_rev.1.0_110210
Gt s5830 um-sea_tha_rev.1.0_110210
 
คู่มือการใช้งานโปรแกรม AcuStudiov.6
คู่มือการใช้งานโปรแกรม AcuStudiov.6คู่มือการใช้งานโปรแกรม AcuStudiov.6
คู่มือการใช้งานโปรแกรม AcuStudiov.6
 
Canon 1000 d thai
Canon 1000 d thaiCanon 1000 d thai
Canon 1000 d thai
 
Image Digitization with Digital Photography
Image Digitization with Digital PhotographyImage Digitization with Digital Photography
Image Digitization with Digital Photography
 
Canon 7 d thai
Canon 7 d thaiCanon 7 d thai
Canon 7 d thai
 
Present4
Present4Present4
Present4
 
CCTV training2.pptx
CCTV training2.pptxCCTV training2.pptx
CCTV training2.pptx
 
ระบบภาพดิ...
ระบบภาพดิ...ระบบภาพดิ...
ระบบภาพดิ...
 
Nikon d90 thai manual
Nikon d90 thai manualNikon d90 thai manual
Nikon d90 thai manual
 
60 present proshowg-sut-studentenvi
60 present proshowg-sut-studentenvi60 present proshowg-sut-studentenvi
60 present proshowg-sut-studentenvi
 
Work1
Work1Work1
Work1
 
แผนการเรียนรู้ที่ 5 ใบงานที่ 2
แผนการเรียนรู้ที่ 5 ใบงานที่ 2แผนการเรียนรู้ที่ 5 ใบงานที่ 2
แผนการเรียนรู้ที่ 5 ใบงานที่ 2
 
Window mm
Window mmWindow mm
Window mm
 
Window mm
Window mmWindow mm
Window mm
 
เอกสารประกอบการอบรม
เอกสารประกอบการอบรมเอกสารประกอบการอบรม
เอกสารประกอบการอบรม
 
Dc102 digital media-video
Dc102 digital media-videoDc102 digital media-video
Dc102 digital media-video
 
Blender manual
Blender manualBlender manual
Blender manual
 

Handbook

  • 1. Vคลิก! สารบัญ การใช้งานเบื้องต้น การใช้งานฟังก์ชั่นถ่ายภาพ กล้องบันทึกภาพนิ่งระบบดิจิตอล การใช้งานระบบดูภาพ คู่มือ Cyber-shot DSC-S930 การใช้งานหน้าจอตั้งค่า ก่อนเริ่มใช้งานกล้องถ่ายภาพ โปรดอ่านคู่มือฉบับนี้ รวมทั้ง “คำแนะนำการใช้งาน” และ “คู่มือพัฒนาการ ใช้งาน Cyber-shot” โดยละเอียด และเก็บรักษาไว้เพื่อ การใช้งานเครื่อง คอมพิวเตอร์ ใช้อ้างอิงในภายหน้า การพิมพ์ภาพนิ่ง การแก้ไขปัญหา ข้อมูลเพิ่มเติม ดัชนีคำศัพท์ © 2009 Sony Corporation 4-126-519-41(1) TH
  • 2. ข้อสังเกตในการใช้งานกล้องของท่าน หมายเหตุสำหรับชนิดของ “Memory ข้อสังเกตเกี่ยวกับหน้าจอ LCD และเลนส์ Stick” ที่สามารถใช้งานได้ (แยกจำหน่าย) • หน้าจอ LCD ถูกผลิตขึ้นโดยใช้เทคโนโลยีที่มีความแม่น ยำสูงมาก เพื่อให้ได้จุดภาพที่ใช้งานได้มากกว่า 99.99 % “Memory Stick Duo” อย่างไรก็ตาม จุดมืดและ/หรือจุดสว่างเล็กๆ (สีขาว แดง ท่านสามารถใช้งาน “Memory Stick Duo” กับ น้ำเงิน หรือเขียว) อาจปรากฏขึ้นอย่างต่อเนื่องบนหน้าจอ กล้องของท่าน LCD ซึ่งจุดเหล่านี้เกิดขึ้นตามปกติในขั้นตอนของการ ผลิต และไม่มีต่อการบันทึกภาพแต่อย่างใด จุดมืด ขาว แดง น้ำเงิน “Memory Stick” หรือเขียว ท่านไม่สามารถใช้งาน “Memory Stick” กับกล้อง ของท่าน • การปล่อยให้แสงแดดส่องบนหน้าจอ LCD หรือเลนส์ โดยตรงเป็นระยะเวลานานอาจจะทำให้เกิดความเสียห ายได้ ควรใช้ความระมัดระวังเมื่อวางกล้องใกล้หน้าต่าง หรือในที่กลางแจ้ง • อย่าออกแรงกดบนหน้าจอ LCD หน้าจออาจจะเปลี่ยนสี แผ่นหน่วยความจำชนิดอื่นไม่ ซึ่งอาจจะทำให้เกิดความเสียหายได้ สามารถใช้งานได้ • ในสถานที่ที่มีอุณหภูมิต่ำ อาจจะมีภาพตกค้างบนหน้าจอ • ศึกษารายละเอียด “Memory Stick Duo” หน้า 95 LCD ไม่ได้แสดงว่ากล้องทำงานผิดปกติ การใช้งาน “Memory Stick Duo” • กล้องถ่ายภาพนี้มีเลนส์ซูมกำลังสูงติดตั้งอยู่ โปรดระวังอย่าให้ เลนส์โดนกระแทก และระวังอย่าใช้แรงมากเกินไปที่ส่วน กับอุปกรณ์ที่ใช้ “Memory Stick” ดังกล่าว สามารถทำได้โดยเสียบแผ่น “Memory Stick Duo” เข้าไปในตัวแปลง “Memory Stick Duo” รูปภาพที่ใช้ในหนังสือคู่มือฉบับนี้ (แยกจำหน่าย) ภาพที่ใช้เป็นตัวอย่างในคู่มือฉบับนี้เป็นภาพที่สร้างขึ้นใหม่ ไม่ได้เป็นภาพที่บันทึกโดยกล้องถ่ายภาพนี้แต่อย่างใด ตัวแปลง “Memory Stick Duo”
  • 3. สารบัญ ข้อสังเกตในการใช้งานกล้องของท่าน...........................................................................2 เทคนิคพื้นฐานเพื่อภาพที่ดีกว่า...................................................................................6 โฟกัส – การโฟกัสวัตถุให้ได้ผลดี. .................................................................................... 6 ระดับแสง – การปรับความเข้มของแสง............................................................................. 8 สี – อิทธิพลของแหล่งกำเนิดแสง...................................................................................... 9 คุณภาพ – “คุณภาพ” และ “ขนาด” ของภาพ................................................................... 10 แฟลช – การใช้งานแฟลช ............................................................................................. 11 ส่วนประกอบของกล้อง..............................................................................................12 ตัวแสดงบนหน้าจอ....................................................................................................14 การเปลี่ยนการแสดงบนหน้าจอ.................................................................................18 การใช้งานหน่วยความจำภายใน................................................................................19 การใช้งานเบื้องต้น ถ่ายภาพ .................................................................................................................20 ดูภาพ.......................................................................................................................24 การลบภาพ...............................................................................................................26 การใช้งานรายการในเมนู..........................................................................................28 รายการในเมนู..........................................................................................................29 การใช้งานฟังก์ชั่นถ่ายภาพ เปลี่ยนโหมดถ่ายภาพ...............................................................................................30 ถ่ายภาพตามลักษณะซีนภาพ....................................................................................31 เมนูการถ่ายภาพ.......................................................................................................33 กล้องถ่ายภาพ: เลือกโหมดถ่ายภาพ SteadyShot: การเลือกโหมดป้องกันการเบลอ ค้นหาภาพใบหน้า: การค้นหาใบหน้าบนวัตถุ โหมดถ่ายภาพ: เลือกวิธีการถ่ายภาพต่อเนื่อง EV: ปรับระดับความเข้มของแสง ISO: เลือกความไวแสง โหมดวัดแสง: เลือกโหมดวัดแสง โฟกัส: การเปลี่ยนวิธีโฟกัส อุณหภูมิสี: ปรับโทนสี ระดับแฟลช: ปรับค่าปริมาณแสงแฟลช ลดตาแดง: ตั้งค่าฟังก์ชั่นลดตาแดง โหมดสี: เปลี่ยนความสว่างของภาพ หรือเพิ่มเอฟเฟ็คพิเศษ (ตั้งค่า): เปลี่ยนรายการตั้งค่า
  • 4. สารบัญ การใช้งานระบบดูภาพ านเมนู|ดู|ภาพ...........................................................................................................45 (สไลด์โชว์): เล่นสไลด์โชว์ (ปรับแต่ง): การรีทัชภาพนิ่ง (ย่อขยายขนาดต่างๆ): เปลี่ยนขนาดภาพตามลักษณะการใช้งาน (ป้องกัน): ป้องกันการลบภาพโดยไม่ตั้งใจ : ใส่เครื่องหมายสั่งพิมพ์ (พิมพ์): พิมพ์ภาพด้วยเครื่องพิมพ์ (หมุนภาพ): หมุนภาพนิ่ง (เลือกโฟลเดอร์): เลือกโฟลเดอร์ดูภาพ (ตั้งค่า): เปลี่ยนรายการตั้งค่า การใช้งานหน้าจอตั้งค่า การใช้งานรายการตั้งค่า............................................................................................52 ตั้งค่าหลัก . ..............................................................................................................53 เสียงบีป ใช้ค่าเริ่มต้น คำแนะนำระบบ เชื่อมต่อ USB ตั้งค่าถ่ายภาพ..........................................................................................................55 . เส้นตาราง แสดงภาพอัตโนมัติ ซูมดิจิตอล เครื่องมือหน่วยความจำ — จัดการ Memory Stick.....................................................57 ฟอร์แมต เปลี่ยนโฟลเดอร์ สร้างโฟลเดอร์ คัดลอก เครื่องมือหน่วยความจำ — จัดการหน่วยความจำภายใน............................................59 ฟอร์แมต ตั้งเวลานาฬิกา..........................................................................................................60 Language Setting....................................................................................................61
  • 5. สารบัญ การใช้งานเครื่องคอมพิวเตอร์ สนุกกับเครื่องคอมพิวเตอร์ Windows ......................................................................62 การติดตั้งซอฟต์แวร์ (ที่ให้มาด้วย) ...........................................................................64 เกี่ยวกับ “PMB (Picture Motion Browser)” (ที่ให้มาด้วย) ............................................... 65 การคัดลอกภาพไปยังเครื่องคอมพิวเตอร์โดยใช้ “PMB” ............................................66 การคัดลอกภาพไปยังเครื่องคอมพิวเตอร์โดยไม่ใช้ “PMB” .............................................. 70 การรับชมไฟล์ภาพที่บันทึกอยู่ในเครื่องคอมพิวเตอร์ด้วยกล้องถ่ายภาพโดยการคัดลอกไปยัง “Memory Stick Duo” ..................................................................................................... 72 การใช้งานคอมพิวเตอร์ระบบ Macintosh...................................................................73 การใช้ “คู่มือพัฒนาการใช้งาน Cyber-shot”...............................................................75 การพิมพ์ภาพนิ่ง วิธีการพิมพ์ภาพนิ่ง...................................................................................................76 การพิมพ์ภาพโดยตรงด้วยเครื่องพิมพ์ที่ใช้งานได้กับ PictBridge.................................77 การสั่งพิมพ์ที่ร้าน......................................................................................................80 การแก้ไขปัญหา การแก้ไขปัญหา........................................................................................................82 ข้อความเตือน...........................................................................................................92 ข้อมูลเพิ่มเติม หมายเหตุ “Memory Stick Duo”................................................................................95 รายละเอียดแบตเตอรี่ ..............................................................................................97 ดัชนีคำศัพท์ ดัชนีคำศัพท์.............................................................................................................98
  • 6. เทคนิคพื้นฐานเพื่อภาพที่ดีกว่า โฟกัส ระดับแสง สี คุณภาพ แฟลช หัวข้อนี้จะอธิบายถึงพื้นฐานการใช้งานกล้องของท่าน โดยจะกล่าวถึงวิธีการใชงานฟังก์ชั่นต่างๆ ของกล้อง ้ ถ่ายภาพ อย่างเช่น ปุ่มหมุนเลือกโหมด (หน้า 20) และเมนูต่างๆ (หน้า 28) โฟกัส การโฟกัสวัตถุให้ได้ผลดี เมื่อท่านกดปุ่มชัตเตอร์ลงครึ่งหนึ่ง กล้องจะทำการปรับโฟกัสโดยอัตโนมัติ (โฟกัสอัตโนมัติ) กรุณาจำไว้ว่าให้กด ปุ่มชัตเตอร์ลงเพียงครึ่งหนึ่ง อย่ากดปุ่มชัตเตอร์ กดปุ่มชัตเตอร์ ตัวแสดงการล็อค จากนั้นจึงกด ลงจนสุดโดยทันที ลงครึ่งหนึ่ง AE/AF กะพริบ  ปุ่มชัตเตอร์ลง ติดนิ่ง/เสียงบีป จนสุด เมื่อทำการโฟกัสได้ยาก  [โฟกัส] (หน้า 39) หากภาพมีลักษณะเบลอทั้งๆ ที่ท่านได้ปรับโฟกัสแล้ว สาเหตุอาจเกิดจากกล้องสั่น  ดูหัวข้อ “คำแนะนำเพื่อ ป้องกันภาพเบลอ” ที่หน้าถัดไป
  • 7. เทคนิคพื้นฐานเพื่อภาพที่ดีกว่า คำแนะนำเพื่อป้องกันภาพเบลอ กล้องมีการเคลื่อนที่ไปโดยไม่ได้ตั้งใจขณะท่านถ่ายภาพ ซึ่งเรียกลักษณะนี้ว่า “กล้องสั่น” ในทางตรงกันข้าม เมื่อวัตถุมีการเคลื่อนที่ไปในขณะที่ท่านทำการถ่ายภาพ จะเรียกลักษณะนี้ว่า “วัตถุเบลอ” กล้องสั่น สาเหตุ ควรทำอย่างไรเพื่อลดอาการภาพเบลอ มือหรือร่างกายของท่านมีการสั่นขณะที่ท่านถือกล้อง • ใช้ขาตั้งกล้องหรือวางกล้องถ่ายภาพบนพื้นเรียบๆ เพื่อ และกดปุ่มชัตเตอร์ และทำให้ภาพทั้งหมดเบลอ ให้กล้องถ่ายภาพอยู่นิ่ง • ถ่ายภาพโดยใช้ฟังก์ชั่นตั้งเวลาเวลา 2 วินาทีและ ทำให้กล้องนิ่งโดยหนีบแขนไว้ข้างลำตัวให้มั่นคง หลังจากที่กดปุ่มชัตเตอร์แล้ว วัตถุเบลอ สาเหตุ ควรทำอย่างไรเพื่อลดอาการภาพเบลอ แม้จะวางกล้องไว้อย่างมั่นคงแล้ว แต่วัตถุมีการเคลื่อน • เลือกโหมด (ความไวแสงสูง) ในกล้องถ่ายภาพ ที่ไประหว่างการถ่ายภาพ ทำให้ภาพวัตถุมีลักษณะเบลอ (เลือกบรรยากาศ) เมื่อท่านกดปุ่มชัตเตอร์ลง • เลือกใช้ความไวแสง ISO ทีสงขึน เพือทำให้ความเร็ว ่ ู ้ ่ ชัตเตอร์สงขึน และกดปุมชัตเตอร์กอนทีวตถุจะ ู ้ ่ ่ ่ั เคลือนไหว ่ หมายเหตุ • เมื่อตั้งค่าฟังก์ชั่นป้องกันภาพเบลอเป็น [อัตโนมัติ] ท่านจะสามารถลดการสั่นของกล้องถ่ายภาพโดยอัตโนมัติ อย่างไรก็ตาม ฟังก์ชั่นนี้จะไม่มีผลใดๆ กับวัตถุที่เบลอ • นอกจากนั้น การที่กล้องสั่นและภาพวัตถุเบลออาจเกิดขึ้นได้ง่ายภายใต้สภาพแวดล้อมที่มีแสงน้อยหรือใช้ความเร็ว ชัตเตอร์ต่ำ อย่างเช่น เมื่ออยู่ในโหมด (กลางคืน) หรือ (บุคคลกลางคืน) ในกรณีนี้ ให้ถ่ายภาพโดย ใช้คำแนะนำข้างต้นเป็นแนวทาง
  • 8. เทคนิคพื้นฐานเพื่อภาพที่ดีกว่า ระดับแสง การปรับความเข้มของแสง ท่านสามารถถ่ายให้ได้ภาพแตกต่างกันได้โดยทำการปรับระดับแสงและความไวแสง ISO ระดับแสงคือปริมาณ แสงที่กล้องได้รับเมื่อท่านกดปุ่มชัตเตอร์ ความเร็วชัตเตอร์ = ระยะเวลาที่กล้องได้รับแสง ระดับแสง: เปิดหน้ากล้อง = ขนาดของช่องเปิดที่ให้แสงผ่านเข้ามาได้ ความไวแสง ISO (ดัชนีการเปิดรับ แสงที่แนะนำ) = ความไวแสงที่บันทึกภาพ ระดับแสงสูง ระดับแสงจะถูกปรับให้เหมาะสมโดยอัตโนมัติ = ปริมาณแสงมากเกินไป ในโหมดตั้งค่าอัตโนมัติ อย่างไรก็ตาม ท่านสามารถ ภาพสว่างขาว ทำการปรับแก้ไขด้วยตนเองได้โดยใช้คุณสมบัติข้าง ล่างนี้ ระดับแสงพอเหมาะ ปรับค่า EV: ให้ท่านเลือกปรับแก้ไขจากค่าระดับแสงที่กล้อง คำนวณไว้แล้ว (หน้า 36) ระดับแสงต่ำ โหมดวัดแสง: = ปริมาณแสงน้อยเกินไป ให้ท่านเลือกเปลี่ยนตำแหน่งบนวัตถุที่ใช้วัด ภาพมืด เพื่อคำนวณหาค่าระดับแสง (หน้า 38) การปรับความไวแสง ISO (ดัชนีการเปิดรับแสงที่แนะนำ) ความไวแสง ISO เป็นอัตราความเร็วของสื่อบันทึก ซึ่งทำงานร่วมกับเซ็นเซอร์ภาพที่ทำหน้าที่รับแสง แม้จะ บันทึกภาพโดยทำการปรับแสงเหมือนกัน แต่ภาพก็มีลักษณะแตกต่างกันไปได้ตามความไวแสง ISO นี้ วิธีการปรับความไวแสง ISO ดูหน้า 37 ความไวแสง ISO สูง ได้ภาพที่สว่างแม้จะบันทึกภาพในที่มืด ในขณะที่เพิ่มความเร็วชัตเตอร์เพื่อลดการเบลอ อย่างไรก็ตาม ภาพที่ได้จะมีจุดรบกวนมากขึ้น ความไวแสง ISO ต่ำ ได้ภาพที่สะอาดกว่า อย่างไรก็ตาม ภาพอาจจะมืดลงในกรณีที่ระดับแสงไม่เพียงพอ
  • 9. เทคนิคพื้นฐานเพื่อภาพที่ดีกว่า สี อิทธิพลของแหล่งกำเนิดแสง สีของวัตถุที่ปรากฏในภาพ จะได้รับอิทธิพลจากสภาพแสง ตัวอย่าง: สีของภาพได้รับอิทธิพลจากแหล่งกำเนิดแสง ดังนี้ สภาพอากาศ/ แสงแดดกลางวัน แสงแดดมีเมฆ ฟลูออเรสเซนซ์ แสงหลอดไฟฟ้า แหล่งกำเนิดแสง คุณลักษณะของ สีขาว (มาตรฐาน) สีออกน้ำเงิน สีโทนเขียว สีออกแดง แสง โทนสีจะถูกปรับโดยอัตโนมัติในโหมดตั้งค่าอัตโนมัติ อย่างไรก็ตาม ท่านสามารถปรับโทนสีด้วยตนเอง โดยใช้ [อุณหภูมิสี] (หน้า 41)
  • 10. เทคนิคพื้นฐานเพื่อภาพที่ดีกว่า คุณภาพ “คุณภาพ” และ “ขนาด” ของภาพ ภาพถ่ายดิจิตอลประกอบขึ้นจากกลุ่มจุดภาพเล็กๆที่เรียกว่าพิกเซล ภาพที่มีจำนวนพิกเซลมาก จะมีขนาดใหญ่ ใช้เนื้อที่หน่วยความจำมากขึ้นและมีรายละเอียดของภาพสูง “ขนาดภาพ” ถูกกำหนดโดยจำนวนพิกเซล ถึงแม้ท่านจะไม่เห็นความแตกต่างบนหน้าจอของกล้อง รายละเอียดเล็กน้อยและเวลาที่ใช้ในการประมวลภาพจะ แตกต่าง เมื่อท่านนำภาพนั้นไปพิมพ์หรือแสดงบนหน้าจอเครื่องคอมพิวเตอร์ คำอธิบายพิกเซลและขนาดภาพ  ขนาดภาพ: 10M 3648 พิกเซล × 2736 พิกเซล = 9,980,928 พิกเซล พิกเซล  ขนาดภาพ: VGA (อีเมล์) 640 พิกเซล × 480 พิกเซล = 307,200 พิกเซล เลือกขนาดภาพที่ต้องการใช้ (หน้า 23) พิกเซล จำนวนพิกเซลมาก ตัวอย่าง: สำหรับพิมพ์ถึง (คุณภาพของภาพละเอียด ขนาด A3+ และขนาดไฟล์ภาพใหญ่) จำนวนพิกเซลน้อย ตัวอย่าง: ภาพสำหรับ (คุณภาพของภาพหยาบ ส่งแนบไปกับอีเมล์ แต่ขนาดไฟล์ภาพเล็ก) 10
  • 11. เทคนิคพื้นฐานเพื่อภาพที่ดีกว่า แฟลช การใช้งานแฟลช ดวงตาของแบบอาจมีสีแดง หรืออาจมีจุดวงกลมสีขาวจางๆ ปรากฏขึ้นเมื่อถ่ายภาพโดยใช้แฟลช ท่านสามารถลด ปรากฏการณ์เหล่านี้ได้โดยทำตามขั้นตอนต่อไปนี้ “ปรากฏการณ์ตาแดง” รูม่านตาจะขยายกว้างเมื่อยู่ในที่มืด แสงไฟแฟลชจะสะท้อนกับหลอดเลือดแดงที่ส่วนหลังของดวงตา (เรตินา) ทำให้เกิดเป็นปรากฏการณ์ “ตาแดง” กล้อง ตา เรตินา สามารถลด “ปรากฏการณ์ตาแดง” ได้อย่างไร? • ตั้งค่า [ลดตาแดง] เป็น [เปิด] (หน้า 43) • เลือกโหมด (ความไวแสงสูง)* ในกล้องถ่ายภาพ (เลือกบรรยากาศ) (หน้า 30) (แฟลชจะถูกปิดโดยอัตโนมัติ) • กรณีที่ดวงตาของแบบมีสีแดง ให้แก้ไขภาพด้วย [ปรับแต่ง] ในเมนูดูภาพ (หน้า 47) หรือด้วยซอฟต์แวร์ “PMB” ที่ให้มาด้วย “จุดวงกลมสีขาว” เกิดจากวัตถุขนาดเล็ก (ฝุ่น ละอองเกสร ฯลฯ) ที่ลอยอยู่ในอากาศใกล้กับเลนส์ เมื่อวัตถุเหล่านี้ถูกทำให้เด่นโดย แสงแฟลชของกล้องถ่ายภาพ ก็จะปรากฏขึ้นเป็นจุดวงกลมสีขาว กล้อง วัตถุ วัตถุขนาดเล็ก (ฝุ่น ละออง เกสร ฯลฯ) ในอากาศ สามารถลด “จุดวงกลมสีขาว” ได้อย่างไร? • เปิดไฟในห้องให้สว่างและถ่ายภาพวัตถุโดยไม่ใช้แฟลช • เลือกโหมด (ความไวแสงสูง)* ในกล้องถ่ายภาพ (เลือกบรรยากาศ) (แฟลชจะถูกปิดโดยอัตโนมัติ) * แม้ท่านจะเลือกใช้โหมด (ความไวแสงสูง) ในกล้องถ่ายภาพ (เลือกบรรยากาศ) ความเร็วชัตเตอร์อาจช้าลงในสภาวะ ที่มีแสงน้อย หรือเมื่ออยู่ในที่มืด ในกรณีนี้ ให้ใช้ขาตั้งกล้องหรือยึดแขนไว้ให้แน่นแนบลำตัวหลังกดปุ่มชัตเตอร์ 11
  • 12. ส่วนประกอบของกล้อง ศึกษารายละเอียดการใช้งานได้จากเลขหน้าในเครื่อง หมายวงเล็บ ด้านล่าง  ปุ่มชัตเตอร์ (20)  ไฟตั้งเวลา (22)  ไมโครโฟน  เลนส์  ปุ่ม ON/OFF (พาวเวอร์)  ON/OFF (พาวเวอร์) ไฟ  แฟลช (21)  กริ่งเสียง  ขั้วต่อ (USB)  กรณีถ่ายภาพ: ปุ่มปรับซูม (W/T) (21) กรณีดูภาพ: ปุ่ม (ซูมภาพที่แสดง)/ ปุ่ม (ดัชนี) (24, 25)  หน้าจอ LCD (18)  กรณีถ่ายภาพ: ปุ่ม (ขนาดภาพ) (23) กรณีดูภาพ:ปุ่ม (ลบ) (26)  ห่วงร้อยสายคล้องข้อมือ  สวิตช์เลือกโหมด (20)  ปุ่ม MENU (28)  ปุ่มควบคุม แสดงเมนู:  (28) ไม่แสดงเมนู: DISP/ / / (18, 21-22)  ไฟแสดงการทำงาน 12
  • 13. ส่วนประกอบของกล้อง  ช่องต่อขาตั้งกล้อง • ใช้ขาตั้งกล้องที่มีขนาดความยาวสกรูไม่เกิน 5.5 มม. มิฉะนั้น ท่านจะไม่สามารถยึดกล้องเอาไว้ได้อย่าง มั่นคง และอาจทำให้เกิดความเสียหายกับกล้องได้  ฝาปิดแบตเตอรี่/“Memory Stick Duo”  ช่องใส่ “Memory Stick Duo”  ช่องใส่แบตเตอรี่ 13
  • 14. ตัวแสดงบนหน้าจอ การกดปุ่ม  (DISP) บนปุ่มควบคุมแต่ละครั้งจะ  ทำให้การแสดงผลบนจอภาพเปลี่ยนไป (หน้า 18) จอภาพ ความหมาย ศึกษารายละเอียดการใช้งานได้จากเลขหน้าในเครื่อง แบตเตอรี่ที่เหลืออยู่ หมายวงเล็บ เตือนแบตเตอรี่หมด (92) เมื่อถ่ายภาพนิ่ง ขนาดภาพ (23) โหมดกล้องถ่ายภาพ (เลือกบรรยากาศ) (30) โหมดกล้องถ่ายภาพ (ตั้งโปรแกรมอัตโนมัติ) (30) อุณหภูมิสี (41) โหมดถ่ายต่อเนื่อง (36) เมื่อถ่ายภาพเคลื่อนไหว โหมดวัดแสง (38) ค้นหาภาพใบหน้า (35) SteadyShot (34) เตือนมือสั่น • เตือนว่าความสั่นสะเทือนอาจทำ ให้ท่านไม่สามารถถ่ายภาพได้ ชัดเจนเนื่องจากปริมาณแสงไม่ เพียงพอ ถึงแม้ว่าเครื่องหมาย เตือนมือสั่นจะปรากฏ ท่านก็ยัง สามารถถ่ายภาพได้ อย่างไรก็ตาม ขอแนะนำให้ท่านตั้งฟังก์ชั่น ป้องกันภาพเบลอเป็น [อัตโนมัติ] ใช้ไฟแฟลชเพื่อให้สภาพแสงดี ขึ้น หรือใช้ขาตั้งกล้องหรือวิธี อื่นๆ เพื่อทำให้กล้องอยู่ในสภาพ ที่มั่นคง (หน้า 7) ระดับการซูม (21, 55) โหมดสี (44) 14
  • 15. ตัวแสดงบนหน้าจอ   จอภาพ ความหมาย จอภาพ ความหมาย  การล็อค AE/AF (20) ตั้งเวลาบันทึกภาพ (22) บันทึก บันทึกภาพเคลื่อนไหว/เตรียม จุดเล็งวัตถุ (38) พร้อม พร้อมภาพเคลื่อนไหว กรอบค้นหาระยะ AF (39) ISO400 ค่า ISO (37) 125 ความเร็วชัตเตอร์ F3.5 ค่าเปิดหน้ากล้อง +2.0EV ค่าระดับแสง (36) ฮิสโตแกรม (18) 0:12 ระยะเวลาบันทึก (นาที : วินาที) ตัวบอกกรอบค้นหาระยะ AF (39) 1.0 m ระยะตั้งโฟกัสล่วงหน้า (39) มาโคร (22)  จอภาพ ความหมาย โฟลเดอร์บันทึก (57) • ตัวแสดงนี้จะไม่ปรากฏ ขณะใช้งานหน่วยความจำภายใน 12 จำนวนภาพที่บันทึกได้ สื่อบันทึก (“Memory Stick Duo”, หน่วยความจำภายใน) 00:00:15 เวลาที่สามารถบันทึกได้ (ชั่วโมง : นาที : วินาที) ลดตาแดง (43) โหมดแฟลช (21) กำลังชาร์จแฟลช 15
  • 16. ตัวแสดงบนหน้าจอ เมื่อเปิดดูภาพนิ่ง  จอภาพ ความหมาย แบตเตอรี่ที่เหลืออยู่ เตือนแบตเตอรี่หมด (92) ขนาดภาพ (23) เชื่อมต่อ PictBridge (78) ป้องกัน (49) เครื่องหมายสั่งพิมพ์ (DPOF) เมื่อเปิดดูภาพเคลื่อนไหว (80) ระดับการซูม (24) เชื่อมต่อ PictBridge (79) • อย่าปลดสาย USB ออกขณะที่ ไอคอนปรากฏอยู่  จอภาพ ความหมาย  ดูภาพ (24) แถบเล่นภาพ 0:00:12 นับเวลา 101-0012 หมายเลขโฟลเดอร์–ไฟล์ (51) 2009 1 1 วันที่/เวลา ขณะบันทึกของภาพ 9:30 AM ที่แสดง  STOP คำแนะนำระบบสำหรับการ  PLAY เล่นภาพ BACK/ เลือกภาพ NEXT ฮิสโตแกรม (18) • เมื่อจอฮิสโตแกรมถูกปิด อยู่ รูป ปรากฏ 16
  • 17. ตัวแสดงบนหน้าจอ  จอภาพ ความหมาย โฟลเดอร์ดูภาพ (51) • ตัวแสดงนี้จะไม่ปรากฏขณะ ใช้งานหน่วยความจำภายใน 8/8 12/12 ลำดับภาพ/จำนวนภาพที่ถูก บันทึกในโฟลเดอร์ที่เลือก สื่อสำหรับดูภาพ (“Memory Stick Duo”, หน่วยความจำภายใน) เปลี่ยนโฟลเดอร์์ (51) • ตัวแสดงนี้จะไม่ปรากฏขณะ ใช้งานหน่วยความจำภายใน โหมดวัดแสง (38) แฟลช อุณหภูมิสี (41) ISO400 ค่า ISO (37) +2.0EV ค่าระดับแสง (36) 500 ความเร็วชัตเตอร์ F3.5 ค่าเปิดหน้ากล้อง 17
  • 18. การเปลี่ยนการแสดงบนหน้าจอ ปุ่ม  DISP • หากท่านดูภาพในบริเวณที่สว่างจ้าภายนอก ให้ปรับเพิ่ม (แสดงผลหน้าจอ) ความสว่างของไฟหลังจอ LCD อย่างไรก็ตาม กำลังไฟ ของแบตเตอรี่จะลดลงอย่างรวดเร็วในสภาวะดังกล่าว • ฮิสโตแกรมไม่ปรากฏขึ้นในกรณีต่อไปนี้: ระหว่างถ่ายภาพ – ขณะแสดงรายการเมนู การกดปุ่ม  (DISP) บนปุ่มควบคุมแต่ละครั้งจะ – ขณะบันทึกภาพเคลื่อนไหว ทำให้การแสดงผลบนจอภาพเปลี่ยนไปดังนี้: ระหว่างดูภาพ – ขณะแสดงรายการเมนู – ในโหมดดัชนี เปิดตัวแสดง – เมื่อท่านกำลังซูมภาพที่แสดง – ขณะที่ท่านกำลังหมุนภาพนิ่ง – ระหว่างการเล่นภาพเคลื่อนไหว • ฮิสโตแกรมที่ปรากฏขึ้นระหว่างการถ่ายภาพและการดู ภาพอาจมีลักษณะที่แตกต่างกันอย่างมากเมื่อ: – ไฟแฟลชสว่างขึ้น – ความเร็วชัตเตอร์ต่ำหรือสูง เปิดตัวแสดง* • ฮิสโตแกรมอาจไม่ปรากฏขึ้นหากเป็นภาพที่บันทึกโดย กล้องอื่น  ปรับ EV (ค่าระดับแสง) โดยแสดงฮิสโตแกรม  เปิดฮิสโตแกรม* ข้อมูลภาพจะ  ปรากฏขึ้นระหว่าง มืด สว่าง แสดงภาพ ฮิสโตแกรม คือกราฟที่แสดงความสว่างของภาพ กด ปุ่ม  (DISP) บนปุ่มควบคุมซ้ำๆ เพื่อเลือกแสดง แสดงฮิสโตแกรม ฮิสโตแกรมบนจอภาพ หากกราฟที่แสดงเอียงไปทาง ปิดตัวแสดง* ด้านขวาแสดงว่าเป็นภาพที่สว่าง และหากกราฟเอียง ไปทางด้านซ้ายแสดงว่าเป็นภาพที่มืด  จำนวนพิกเซล  ความสว่าง • ฮิสโตแกรมปรากฏขึ้นเช่นกันเมื่อแสดงภาพเดี่ยว แต่ท่าน ไม่สามารถทำการปรับแสง * ความสว่างของไฟหลังจอ LCD เพิ่มขึ้น 18
  • 19. การใช้งานหน่วยความจำภายใน กล้องนี้มีหน่วยความจำภายในขนาด 12 MB หน่วยความจำนี้ไม่สามารถถอดออกได้ ถึงแม้ไม่ได้ใส่แผ่น “Memory Stick Duo” ไว้ในกล้อง ท่านยังสามารถทำการถ่ายภาพได้ โดยใช้หน่วยความจำภายในนี้ เมื่อใส่แผ่น “Memory Stick Duo” [ถ่ายภาพ]: ภาพจะถูกบันทึกลงใน “Memory Stick Duo”  [ดูภาพ]: เปิดดูภาพจาก “Memory Stick Duo” [เมนู ตั้งค่า ฯลฯ]: สามารถใช้งานได้หลายฟังก์ชั่นกับ ภาพใน “Memory Stick Duo” เมื่อไม่ได้ใส่แผ่น “Memory Stick Duo” [ถ่ายภาพ]: ภาพจะถูกบันทึกลงในหน่วยความจำภายใน  หน่วภายใน ยความจำ [ดูภาพ]: เปิดดูภาพจากหน่วยความจำภายใน [เมนู ตั้งค่า ฯลฯ]: สามารถใช้งานหลายฟังก์ชั่นได้กับ ภาพในหน่วยความจำภายใน หมายเหตุภาพที่ถูกบันทึกในหน่วยความจำภายใน ขอแนะนำให้ท่านทำการคัดลอก (สำรอง) ข้อมูลเสมอ ด้วยวิธีการใดวิธีการหนึ่งต่อไปนี้ การคัดลอก (สำรอง) ข้อมูลไปยัง “Memory Stick Duo” เตรียมแผ่น “Memory Stick Duo” ที่มีเนื้อที่ว่างเหลืออยู่เพียงพอ จากนั้นดำเนินการตามขั้นตอนที่อธิบายใน [คัดลอก] (หน้า 58) การคัดลอก (สำรอง) ข้อมูลไปยังฮาร์ดดิสก์บนเครื่องคอมพิวเตอร์ของท่าน ทำตามขั้นตอนในหน้า 66, 67 หรือ 70, 71 โดยไม่ใส่แผ่น “Memory Stick Duo” ในกล้องถ่ายภาพ • ท่านไม่สามารถย้ายข้อมูลภาพจาก “Memory Stick Duo” เข้าสู่หน่วยความจำภายใน • เมื่อทำการเชื่อมต่อกล้องถ่ายภาพกับเครื่องคอมพิวเตอร์โดยใช้สาย USB ท่านสามารถคัดลอกข้อมูลที่บันทึกอยู่ในหน่วย ความจำภายในไปยังเครื่องคอมพิวเตอร์ได้ แต่ท่านไม่สามารถคัดลอกข้อมูลจากเครื่องคอมพิวเตอร์ไปยังหน่วยความจำภาย ในได้ 19
  • 20. การใช้งานเบื้องต้น ถ่ายภาพ ปุ่มมาโคร ปุ่ม DISP ปุ่มแฟลช ปุ่มชัตเตอร์ ปุ่ม (W/T) ซูม ปุ่มตั้งเวลา ปุ่ม  สวิตช์เลือกโหมด ปุ่ม  ปุ่มควบคุม ปุ่ม (ขนาดภาพ) 1 เลือกฟังก์ชันที่ต้องการจากสวิตช์เลือกโหมด ขณะถ่ายภาพนิ่ง: เลือก (ภาพนิ่ง) ขณะถ่ายภาพเคลื่อนไหว: เลือก (ภาพเคลื่อนไหว) 2 จับกล้องถ่ายภาพ โดยให้ข้อศอกแนบเข้ากับลำตัวเพื่อให้ถือได้อย่างมั่นคง วางตำแหน่งวัตถุให้อยู่ ตรงกึ่งกลางเฟรมโฟกัส 3 ถ่ายภาพด้วยปุ่มชัตเตอร์ ขณะถ่ายภาพนิ่ง:  กดปุ่มชัตเตอร์ลงครึ่งหนึ่งเพื่อทำการโฟกัส ตัวแสดง  (ล็อค AE/AF) (สีเขียว) จะกะพริบ จากนั้นมีเสียงบีปดังขึ้น ตัวแสดงหยุดกะพริบและยังคงสว่างอยู่ ตัวแสดงการล็อค AE/AF  กดปุ่มชัตเตอร์ลงจนสุด 20
  • 21. ถ่ายภาพ ถ่ายภาพเคลื่อนไหว: กดปุ่มชัตเตอร์ลงจนสุด เมื่อต้องการหยุดบันทึก ให้กดปุ่มชัตเตอร์ลงจนสุดอีกครั้ง ในกรณีที่ถ่ายภาพวัตถุที่โฟกัสได้ยาก • ระยะถ่ายภาพทีสนทีสดคือประมาณ 5 ซม. (W)/50 ซม. (T) (วัดระยะจากด้านหน้าของเลนส์) ่ ้ั ่ ุ • กรณีที่กล้องไม่สามารถทำการโฟกัสที่วัตถุได้เองโดยอัตโนมัติ ตัวแสดงการล็อค AE/AF จะเปลี่ยนเป็นกะพริบอย่างช้าๆ และไม่มีเสียงบีป นอกจากนั้น กรอบค้นหาระยะ AF จะหายไปด้วย ให้จัดองค์ประกอบภาพใหม่และโฟกัสอีกครั้ง การใช้งานเบื้องต้น อาจทำการโฟกัสภาพได้ยากในสภาวะต่อไปนี้: – อยู่ในที่มืดและวัตถุอยู่ห่างออกไปมาก – มีความคอนทราสต์ระหว่างวัตถุและฉากหลังน้อย – มองวัตถุผ่านกระจก – วัตถุเคลื่อนที่เร็ว – มีแสงสะท้อนหรือแสงจากวัตถุที่มันวาว – วัตถุย้อนแสงหรือมีไฟกะพริบ W/T การปรับซูม กด T เพื่อซูมภาพและกด W เพื่อยกเลิกการซูม • เมื่อปรับระดับการซูมสูงเกินกว่า 3 เท่า กล้องจะเริ่มใช้งานระบบซูมดิจิตอล ศึกษารายละเอียดเกี่ยวกับการตั้งค่า [ซูมดิจิตอล] และคุณภาพของภาพ ดูหน้า 55 • ท่านไม่สามารถเปลี่ยนระดับการซูมเมื่อถ่ายภาพเคลื่อนไหว ไฟแฟลช (การเลือกโหมดแฟลชสำหรับภาพนิ่ง) กด  ( ) บนปุ่มควบคุมหลายๆ ครั้งเพื่อเลือกโหมดใช้งานที่ต้องการ (ไม่ปรากฏตัวแสดง): แฟลชอัตโนมัติ ใช้แฟลชเมื่อปริมาณแสงสว่างมีไม่เพียงพอหรือถ่ายย้อนแสง (ค่าปกติ) : บังคับใช้ไฟแฟลช : ชัตเตอร์ช้า (บังคับใช้ไฟแฟลช) ชัตเตอร์จะทำงานช้าลงในที่มืดเพื่อให้ถ่ายภาพฉากหลังที่อยู่ไกลเกินกว่าระยะแฟลชได้อย่างชัดเจน : บังคับไม่ใช้แฟลช • ไฟแฟลชสว่างขึ้นสองครั้ง ซึ่งแสงแฟลชครั้งแรกใช้สำหรับปรับสภาพแสง • ขณะกำลังชาร์จแฟลช จะปรากฏ 21
  • 22. ถ่ายภาพ มาโคร (การถ่ายภาพระยะใกล้) กดปุ่ม  ( ) บนปุ่มควบคุมอย่างต่อเนื่อง เพื่อเลือกโหมดที่ต้องการ (ไม่มีตัวแสดง): อัตโนมัติ กล้องถ่ายภาพปรับโฟกัสโดยอัตโนมัติ ตั้งแต่วัตถุที่อยู่ระยะไกลถึงวัตถุระยะใกล้ โดยปกติควรตั้งค่ากล้องถ่ายภาพในโหมดนี้ : มาโคร กล้องถ่ายภาพปรับโฟกัสโดยให้ความสำคัญกับวัตถุที่อยู่ระยะใกล้ ให้เปิดใช้มาโครเมื่อต้องการถ่ายภาพวัตถุที่วางอยู่ใกล้ๆ • ความเร็วในการโฟกัสอัตโนมัติลดลงเมื่อท่านถ่ายภาพในโหมดมาโคร • ขอแนะนำให้ปรับซูมไว้ที่ตำแหน่งสุดขอบด้าน W การตั้งเวลาบันทึกภาพ กด  ( ) บนปุ่มควบคุมหลายๆ ครั้งเพื่อเลือกโหมดใช้งานที่ต้องการ (ไม่ปรากฏตัวแสดง): ไม่ใช้ระบบตั้งเวลา : ใช้ระบบตั้งเวลา 10 วินาที : ใช้ระบบตั้งเวลา 2 วินาที เมื่อท่านกดปุ่มชัตเตอร์ ไฟตั้งเวลาถ่ายภาพกะพริบพร้อมกับมีเสียงบีปจนกระทั่งชัตเตอร์เริ่มทำงาน ไฟตั้งเวลา ทำการยกเลิกโดยกด  ( ) อีกครั้งหนึ่ง • ใช้การตั้งเวลา 2 วินาทีเพื่อป้องกันไม่ให้ภาพเบลอ ชัตเตอร์เริ่มทำงานหลังจากเวลาผ่านไป 2 วินาที ที่ท่านกดปุ่มชัตเตอร์ ซึ่งช่วยลดการสั่นของกล้องถ่ายภาพจากการกดปุ่มชัตเตอร์ได้ 22
  • 23. ถ่ายภาพ การเปลี่ยนขนาดภาพ กดปุ่ม (ขนาดภาพ) จากนั้นกดปุ่ม  เพื่อเลือกขนาด โปรดดูรายละเอียดขนาดภาพที่หน้า 10 การตั้งค่าเริ่มต้นจะมีเครื่องหมาย กำกับอยู่ สำหรับภาพนิ่ง ขนาดภาพ คำแนะนำในการใช้งาน จำนวนภาพ การพิมพ์ภาพ 10M สำหรับพิมพ์ที่ขนาดสูงสุด A3+ น้อยลง มากขึ้น (3648×2736) การใช้งานเบื้องต้น 3:2 (8M)*1 ถ่ายภาพที่อัตราส่วน 3:2 (3648×2432) 5M สำหรับพิมพ์ที่ขนาดใหญ่สุด A4 (2592×1944) 3M สำหรับพิมพ์ที่ขนาดใหญ่สุด (2048×1536) 10×15 ซม หรือ 13×18 ซม VGA ถ่ายภาพที่ขนาดเล็กสำหรับ (640×480) ส่งแนบไปกับ e-mail หยาบ ละเอียด 16:9 (7M)* 2 สำหรับชมด้วย HDTV และ น้อยลง มากขึ้น (3648×2056) พิมพ์ถึงขนาด A4 16:9 (2M)*2 สำหรับชมด้วย HDTV (1920×1080) ละเอียด หยาบ *1) ภาพจะถูกบันทึกที่อัตราส่วน 3:2 เท่ากับอัตราส่วนของกระดาษพิมพ์ภาพถ่าย หรือโปสการ์ด ฯลฯ *2) ขอบทั้งสองด้านของภาพอาจจะถูกตัดออกเมื่อทำการพิมพ์ (หน้า 89) สำหรับภาพเคลื่อนไหว ขนาดของภาพเคลื่อนไหวถูกกำหนดเป็น 320 × 240 23
  • 24. ดูภาพ ปุ่ม  ปุ่ม (ดัชนี) ปุ่ม (ซูมขณะเล่นภาพ) ปุ่ม MENU ปุ่ม  สวิตช์เลือกโหมด ปุ่มควบคุม ปุ่ม (ลบ) 1 เลือก (เล่นภาพ) ด้วยสวิตช์เลือกโหมด 2 เลือกภาพด้วยปุ่ม  บนปุ่มควบคุม ภาพเคลื่อนไหว: กดปุ่ม  เพื่อเล่นภาพเคลื่อนไหว (กดปุ่ม  อีกครั้งเพื่อหยุดเล่น) กดปุ่ม  เพื่อกรอไปข้างหน้า และปุ่ม  เพื่อกรอย้อนกลับ (กดปุ่ม  เพื่อกลับไปเล่นภาพตามปกติ) • ท่านไม่สามารถรับฟังเสียงด้วยกล้องถ่ายวิดีโอขณะกำลังเล่นภาพเคลื่อนไหว การดูภาพขยาย (ซูมภาพที่แสดง) กดปุ่ม (T) ขณะที่แสดงภาพนิ่ง กดปุ่ม W เพื่อทำการซูมออก ปรับตำแหน่งด้วยปุ่ม  หากต้องการยกเลิกซูมขณะเล่นภาพ ให้กดปุ่ม  แสดงพื้นที่แสดงภาพเมื่อเทียบกับภาพทั้งหมด ในกรณีนี้ ภาพถูกขยายเฉพาะส่วนกลางภาพ • หากต้องการจัดเก็บภาพขยาย ดูหัวข้อ [ตัดขอบ] (หน้า 47) 24
  • 25. ดูภาพ การแสดงหน้าจอดัชนี กด (ดัชนี) เพื่อแสดงหน้าจอดัชนีขณะที่ภาพนิ่งแสดงอยู่ เลือกภาพด้วย  เมื่อต้องการกลับสู่หน้าจอแสดงภาพเดี่ยว ให้กดปุ่ม  การใช้งานเบื้องต้น • ในการกดปุ่ม (ดัชนี) แต่ละครั้ง จำนวนภาพบนหน้าจอดัชนีจะเพิ่มขึ้น • เมื่อใช้งาน “Memory Stick Duo” ท่านสามารถเลือกวันที่/โฟลเดอร์ที่ต้องการได้ด้วยปุ่ม  หลังจากเลือก แถบเลือกโฟลเดอร์ด้วยปุ่ม  แถบเลือกโฟลเดอร์ 25
  • 26. การลบภาพ ปุ่ม  ปุ่ม (ดัชนี) ปุ่ม MENU ปุ่ม  สวิตช์เลือกโหมด ปุ่มควบคุม ปุ่ม (ลบ) 1 เลือก (เล่นภาพ) ด้วยสวิตช์เลือกโหมด 2 กดปุ่ม (ลบ) ขณะที่แสดงภาพในโหมดภาพเดี่ยวหรือโหมดดัชนีภาพ 3 เลือกวิธีการลบภาพที่ต้องการด้วย  จากตัวเลือก [ภาพนี้], [หลายภาพ] และ [ทุกภาพในโฟลเดอร์นี้] จากนั้นกด  26
  • 27. การลบภาพ เมื่อท่านเลือก [ภาพนี้] ท่านสามารถลบภาพที่เลือกได้ เลือก [ตกลง] ด้วย  แล้วกด  เมื่อท่านเลือก [หลายภาพ] ท่านสามารถเลือกและลบภาพหลายๆ ภาพได้พร้อมๆ กัน  เลือกภาพที่ต้องการลบ แล้วกด  จะทำเครื่องหมายในช่องของรูปภาพ ภาพเดี่ยว หน้าจอดัชนี การใช้งานเบื้องต้น  กดปุ่ม MENU  เลือก [ตกลง] ด้วย  แล้วกด  • หากต้องการลบภาพทั้งหมดในโฟลเดอร์ ให้เลือก [หลายภาพ] ในหน้าจอดัชนี, เลือกแถบด้วยปุ่ม  จากนั้นจึง ทำเครื่องหมาย ที่ช่องเลือกภาพ เมื่อท่านเลือก [ทุกภาพในโฟลเดอร์นี้] ท่านสามารถลบภาพทั้งหมดที่อยู่ในโฟลเดอร์ที่เลือกได้ เลือก [ตกลง] ด้วย  แล้วกด  27
  • 28. การใช้งานรายการในเมนู ปุ่ม  ปุ่ม MENU ปุ่ม  ปุ่มควบคุม 1 กดปุ่ม MENU เพื่อแสดงเมนู • เมนูจะแสดงเฉพาะโหมดถ่ายภาพและเล่นภาพเท่านั้น • รายการที่ปรากฏจะแตกต่างกันไปขึ้นอยู่กับโหมดที่เลือก 2 ใช้  บนปุ่มควบคุมเพื่อเลือกรายการเมนูที่ต้องการ • หากรายการที่ต้องการเลือกยังไม่ปรากฏ ให้กด  ไปเรื่อยๆจนกระทั่งรายการนั้นปรากฏบนหน้าจอ 3 เลือกค่าที่ต้องการด้วย  • หากการตั้งค่าที่ต้องการไม่ปรากฏอยู่บนหน้าจอ ให้กดปุ่ม  ต่อไปจนกระทั่งการตั้งค่าดังกล่าวปรากฏขึ้นบน หน้าจอ • เลือกรายการในโหมดเล่นภาพ จากนั้นกดปุ่ม  4 กดปุ่ม MENU เพื่อปิดเมนู 28
  • 29. รายการในเมนู รายการเมนูที่สามารถใช้งานได้จะแตกต่างกันไป โดยขึ้นอยู่กับตำแหน่งของสวิตช์เลือกโหมดและโหมดถ่ายภาพ เฉพาะรายการที่ใช้งานได้เท่านั้นจะปรากฏขึ้นบนจอภาพ ( : ใช้งานได้) ตั้งค่าอัตโนมัติ: เลือกบรรยากาศ เมนูถ่ายภาพ (หน้า 33) กล้องถ่ายภาพ — การใช้งานเบื้องต้น SteadyShot — ค้นหาภาพใบหน้า * — โหมดถ่ายภาพ * — EV ISO — — — โหมดวัดแสง — — โฟกัส — — — อุณหภูมิสี — * ระดับแฟลช — — — ลดตาแดง * — โหมดสี — — (ตั้งค่า) * การใช้งานถูกจำกัดตามโหมดบรรยากาศ (หน้า 32) เมนูรับชม (หน้า 45) (สไลด์โชว์) (ปรับแต่ง) (ย่อขยายขนาดต่างๆ) (ป้องกัน) (พิมพ์) (หมุนภาพ) (เลือกโฟลเดอร์) (ตั้งค่า) 29
  • 30. การใช้งานฟังก์ชั่นถ่ายภาพ เปลี่ยนโหมดถ่ายภาพ ท่านสามารถเปลี่ยนโหมดถ่ายภาพได้ โหมดถ่ายภาพที่สามารถใช้กับภาพนิ่งมีทั้งสิ้น 8 โหมด โดยโหมดเริ่มต้นคือ โหมดตั้งค่าอัตโนมัติ เมื่อต้องการเปลี่ยนโหมดถ่ายภาพเป็นโหมดอื่นที่ไม่ใช่โหมดตั้งค่าอัตโนมัติ ให้ทำตามคำแนะนำดังต่อไปนี้ ปุ่ม  ปุ่ม MENU สวิตช์เลือกโหมด ปุ่ม  ปุ่มควบคุม  ตั้งสวิตช์เลือกโหมดไปที่ (ภาพนิ่ง)  กดปุ่ม MENU เพื่อแสดงเมนู  เลือก [กล้องถ่ายภาพ] ด้วยปุ่ม  บนปุ่มควบคุม  เลือกโหมดที่ต้องการด้วยปุ่ม   กดปุ่ม MENU เพื่อปิดเมนู โหมดภาพนิ่ง : ตั้งค่าอัตโนมัติ สำหรับถ่ายภาพโดยที่การตั้งค่าต่างๆ จะถูกปรับค่าโดยอัตโนมัติ : โปรแกรมอัตโนมัติ* ให้ท่านสามารถถ่ายภาพ โดยกล้องทำการปรับแสงโดยอัตโนมัติ (ทั้งความเร็วชัตเตอร์และขนา ดช่องรับแสง) , , , , , , : โหมดเลือกบรรยากาศ ให้ท่านสามารถถ่ายภาพโดยใช้การตั้งค่าที่กำหนดไว้ก่อนแล้วสำหรับแต่ละซีนภาพ (หน้า 31) 30
  • 31. ถ่ายภาพตามลักษณะซีนภาพ โหมดเลือกบรรยากาศ โหมดต่อไปนี้จะถูกตั้งค่าใหม่เพื่อให้เหมาะกับสภาวะของภาพ ความไวแสงสูง บุคคลกลางคืน* ให้ท่านถ่ายภาพโดยไม่ใช้แฟลช ใน ให้ท่านสามารถถ่ายภาพบุคคลที่คมชัด สถานที่ซึ่งมีแสงน้อยได้ ลดอาการ ได้ โดยมีบรรยากาศภาพกลางคืนเป็น เบลอของภาพ ฉากหลัง โดยไม่ทำให้บรรยากาศรอบๆ เสียไป กลางคืน* ให้ท่านสามารถถ่ายซีนภาพกลางคืนจาก ระยะไกลได้โดยไม่สูญเสียบรรยากาศ ภาพซอฟท์ ความมืดของสิ่งแวดล้อมโดยรอบ ให้ท่านสามารถถ่ายภาพสีผิวได้สว่าง การใช้งานฟังก์ชั่นถ่ายภาพ ขึ้นในโทนสีที่ดูอบอุ่น เพื่อให้ได้ภาพที่ หาดทราย สวยยิ่งกว่าเดิม นอกจากนั้นเอฟเฟ็คการ เมื่อถ่ายภาพริมชายหาดหรือ โฟกัสแบบซอฟต์ช่วยสร้างบรรยากาศ ทะเลสาบ สีน้ำเงินของน้ำจะถูก ที่ดูนุ่มนวลสำหรับภาพบุคคล, ดอกไม้ บันทึกได้อย่างชัดเจน หรืออื่นๆ หิมะ วิว เมื่อถ่ายภาพหิมะหรือบริเวณอื่นๆ โฟกัสที่วัตถุที่อยู่ระยะไกลเท่านั้น ที่ทั้งภาพปรากฏเป็นสีขาว ให้ใช้ เพื่อการถ่ายภาพทิวทัศน์ หรืออื่นๆ โหมดนี้เพื่อป้องกันไม่ให้สีซีดเพื่อ ให้บันทึกภาพได้ชัดเจนขึ้น * เมื่อถ่ายภาพโดยใช้โหมด (บุคคลกลางคืน) หรือโหมด (กลางคืน) ความเร็วชัตเตอร์จะลดต่ำลง ทำให้เกิด ภาพเบลอได้ง่ายขึ้น กรณีนี้จึงขอแนะนำให้ใช้ขาตั้งกล้อง 31
  • 32. ถ่ายภาพตามลักษณะซีนภาพ ฟังก์ชั่นต่างๆ ที่สามารถใช้งานได้ในโหมดเลือกบรรยากาศ การใช้งานร่วมกันของฟังก์ชั่นต่างๆ ถูกกำหนดโดยกล้องถ่ายภาพ เพื่อให้สามารถถ่ายภาพได้อย่างเหมาะสมตาม สภาพของซีนภาพ บางฟังก์ชั่นอาจไม่สามารถใช้งานได้ ขึ้นอยู่กับโหมดเลือกบรรยากาศ ( : ที่สามารถเลือกการตั้งค่าที่ต้องการ) มาโคร แฟลช ค้นหาภาพใบหน้า ถ่ายต่อเนื่อง อุณหภูมิสี ลดตาแดง — * — — — — / — — — — — — — — — / — / — * เลือกตั้งค่า [อุณหภูมิสี] เป็น [แฟลช] ไม่ได้ 32
  • 33. เมนูการถ่ายภาพ ศึกษารายละเอียดวิธีการใช้งาน  หน้า 28 เมื่อกด MENU จะเห็นฟังก์ชั่นในโหมดถ่ายภาพได้ดังนี้ ศึกษารายละเอียดการใช้งานเมนู ดูหน้า 28 โหมดที่สามารถเลือกใช้ได้จะปรากฏเป็นสีขาว ใช้งานไม่ได้ ค่าเริ่มต้นจะทำเครื่องหมายด้วย กล้องถ่ายภาพ: เลือกโหมดถ่ายภาพ การใช้งานฟังก์ชั่นถ่ายภาพ โปรดดูรายละเอียดที่หน้า 30 (ตั้งค่าอัตโนมัติ) เลือกโหมดถ่ายภาพเพื่อใช้ถ่ายภาพนิ่ง (โปรแกรมอัตโนมัติ) (ความไวแสงสูง) (ภาพซอฟท์) (วิว) (บุคคลกลางคืน) (กลางคืน) (หาดทราย) (หิมะ) 33
  • 34. เมนูการถ่ายภาพ ศึกษารายละเอียดวิธีการใช้งาน  หน้า 28 SteadyShot: การเลือกโหมดป้องกันการเบลอ เลือกโหมดป้องกันการเบลอ (อัตโนมัติ) เปิดใช้งานฟังก์ชั่นป้องกันภาพเบลอโดยอัตโนมัติ เมื่อสภาวะในการถ่ายภาพ ขณะนั้นอาจทำให้กล้องสั่นได้ ซึ่งท่านสามารถช่วยให้ภาพนิ่งได้ แม้ซูมภาพวัตถุจากระยะไกล (ปิด) ไม่ใช้โหมดป้องกันการเบลอ • โหมดป้องกันการเบลออาจทำงานผิดพลาดได้ในกรณีดังต่อไปนี้ – เมื่อกล้องสะเทือนอย่างรุนแรง – เมื่อความเร็วชัตเตอร์ช้า เช่น การถ่ายภาพกลางคืน • ต้องใช้เวลาสำหรับการประมวลผลภาพ • ฟังก์ชั่นป้องกันภาพเบลอไม่ทำงานเมื่อท่านถ่ายภาพโดยใช้แฟลช 34
  • 35. เมนูการถ่ายภาพ ศึกษารายละเอียดวิธีการใช้งาน  หน้า 28 ค้นหาภาพใบหน้า: การค้นหาใบหน้าบนวัตถุ เลือกว่าจะใช้ฟังก์ชั่นค้นหาภาพใบหน้าหรือไม่ ค้นหาใบหน้าของบุคคลที่ท่านถ่ายภาพ และทำการตั้งค่าสำหรับโฟกัส, แฟลช, ระดับแสง, อุณหภูมิสี และลด สีแดงในดวงตาโดยอัตโนมัติ (ปิด) ไม่ใช้ฟังก์ชั่นการค้นหาภาพใบหน้า (อัตโนมัติ) กล้องถ่ายภาพเลือกใบหน้าที่จะทำการโฟกัสโดยอัตโนมัติ สัญลักษณ์การค้นหาภาพใบหน้า กรอบค้นหาภาพใบหน้า (สีส้ม) การใช้งานฟังก์ชั่นถ่ายภาพ กรอบค้นหาภาพใบหน้า (สีขาว) • ฟังก์ชั่นค้นหาภาพใบหน้าไม่ทำงานระหว่างที่ใช้งานซูมดิจิตอล • เมื่อตั้งโหมดบรรยากาศเป็นโหมด (ภาพซอฟต์) ฟังก์ชั่นค้นหาภาพใบหน้าจะทำงาน • สามารถค้นหาใบหน้าในภาพได้สูงสุด 8 ใบหน้า อย่างไรก็ตาม เมื่อตั้งโหมดบรรยากาศเป็นโหมด (ภาพซอฟต์) จะสามารถค้นหาภาพใบหน้าในภาพได้สูงสุด 4 ใบหน้า • เมื่อกล้องถ่ายภาพสามารถตรวจพบบุคคลในภาพมากกว่าหนึ่งคน กล้องจะพิจารณาว่าบุคคลใดที่เป็นหลักในภาพ เพื่อให้ ความสำคัญในการปรับโฟกัส กรอบค้นหาภาพใบหน้าของบุคคลหลักจะเปลี่ยนเป็นสีส้ม • เฟรมภาพซึ่งได้รับการกำหนดโฟกัสจะเปลี่ยนเป็นสีเขียวเมื่อกดปุ่มชัตเตอร์ลงครึ่งหนึ่ง • อาจไม่สามารถค้นหาภาพใบหน้าได้อย่างถูกต้องเมื่อ: – ระดับแสงมืดหรือสว่างจนเกินไป – ส่วนหนึ่งของใบหน้าถูกบังโดยแว่นกันแดด หน้ากาก หมวก อื่นๆ – บุคคลไม่ได้หันหน้าเข้าหากล้อง 35