SlideShare a Scribd company logo
1 of 5
Download to read offline
1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6
ปีการศึกษา 2560
ชื่อโครงงาน ความสว่างกับการอ่านหนังสือ
ชื่อผู้ทาโครงงาน
1นาย ศุภวิชญ์ บุญลี เลขที่ 24 ชั้น ม.6 ห้อง 2
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
2
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
1 นายศุภวิชญ์ บุญลี เลขที่ 24
คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)
ความสว่างกับการอ่านหนังสือ
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)
light & library
ประเภทโครงงาน เพื่อการศึกษา
ชื่อผู้ทาโครงงาน นาย ศุภวิชญ์ บุญลี
ชื่อที่ปรึกษา คุณครู เขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา2560
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน)
ในเวลาปัจจุบันชีวิตนักเรียน ม.6 ต้องคอยศึกษาอยู่ตลอดเวลาเพื่อที่จะสอบเข้าศึกษาตอนในระดับที่
สูงขึ้นทาให้ปฏิเสธไม่ได้เลยว่าเราต้องอ่านหนังสือ แล้วเราเคยปวดตากับการอ่านหนังสือในที่มืดเป็นปกติดเลยคิด
ว่าการอ่านหนังสือในที่สว่างนั้นดีแต่ความเป็นจริงการอ่านหนังสือในที่สว่างเกินไปก็เป็นปัญญากับสายตาเช่นกัน
แล้วแสงไฟปริมาณเท่าไหร่ละที่เหมาะกับการอ่านหนังสือการอ่านหนังสือที่ความเข้มแสงเท่าไหร่ละที่จะดีต่อ
สายตา จึงเป็นเหตุที่ทาให้เกิดโครงงานนี้ขึ้น
วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ)
1.เพื่อศึกษาแสงที่มีผลกระทบต่อดวงตา
2.เพื่อศึกษาแสงที่เหมาะกับการอ่านหนังสือ
3.เพื่อศึกษาหาความรู้เกี่ยวกับแสง
3
ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน)
ศึกษาข้อมูลทางทฤษฏีเกี่ยวกับแสง ปัจจัยที่ทาให้เกิดแสง การสะทอนของแสง
หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน)
1.แสง
การคานวณแสงสว่างด้วยวิธีลูเมน (Lumen method) เป็นการคานวณเพื่อหาปริมาณฟลักซ์ส่องสว่างที่
เหมาะสมกับงานชนิดต่างๆ เป็นวิธีที่เหมาะสมกับพื้นที่ใช้งานที่ต้องการความส่องสว่างอย่างสม่าเสมอ โดยมีหลักว่าฟ
ลักซ์ส่องสว่างที่ใส่ไปในบริเวณงานที่ออกแบบ จะเฉลี่ยให้มีความส่องสว่างเท่ากัน เช่น การส่องสว่างในสานักงาน
ห้องเรียน เป็นต้น หลักการคานวณจะคานึงถึง ผลการสะท้อนของพื้น ผนัง และเพดาน ซึ่งนับเป็นการส่องสว่างแบบ
ทางอ้อม (Indirect) คือ การคิดผลจากการสะท้อนเข้าไปด้วย สอดคล้องกับที่กล่าวไว้โดย ประสิทธิ์ พิทยพัฒน์
(2543,หน้า 206) ว่าการคานวณด้วยวิธีลูเมนจะคิดผลของการสะท้อนเข้าไปด้วย ส่วนการคานวณแบบจุดต่อจุด
จะเป็นการหาความส่องสว่างแบบโดยตรง ดังนั้นการคานวณด้วยวิธีลูเมนนี้จึงมีงานหลักในการคานวณหาผลที่เกิดจาก
การสะท้อนของส่วนต่างๆ ของห้องทั้งที่เกิดจากชนิดและสีของวัสดุ ซึ่งก็คือค่าสัมประสิทธิ์การใช้ประโยชน์ของโคมที่
เลือกใช้ ดังจะได้กล่าวถึงรายละเอียดในลาดับต่อไป
จากชื่อของวิธีการคานวณแบบลูเมน คาว่า ลูเมน ก็คือหน่วยของฟลักซ์ส่องสว่างที่กระจายสู่ผิวงาน กล่าว
อีกนัยหนึ่งก็คือความส่องสว่างที่จาเป็นสาหรับพื้นทีใช้งานนั้นๆ และเพื่อให้มีความส่องสว่างเนื่องด้วยสาเหตุต่างๆ จะ
ทาให้ได้สมการที่ใช้ในการคานวณ ซึ่งสอดคล้องกับที่เสนอไว้โดย ศุลี บรรจงจิตร (2538, หน้า141) และ Sclater and
Traister (2003, p.305) การพิจารณาจะเริ่มต้นจากสมการความส่องสว่าง ดังนี้
สัมประสิทธิ์การใช้ประโยชน์ (Coefficient of utilization, CU) ตามหลักการของ IES หรือ ตัว
ประกอบการใช้ประโยชน์ (utilization factor, UF) ตามหลักของ CIE ในที่นี้ใช้ค่า CU
ความเสื่อมของของหลอดไฟ (Lamp lumen depreciation, LLD) และความสกปรกของโคม
(luminaries dirt depreciation, LDD)
เมื่อ E = ค่าความสว่าง (lux)  = ฟลักซ์ส่องสว่าง ()
CU = สัมประสิทธิ์การใช้งาน LLD = ความสะอาดของหลอดไฟ
LDD = ความสกปรกของหลอดไฟA = พื้นที่ที่แสงซ้อนทับกัน ( )
4
ซึ่งจากสมการข้างต้นพื้นที่A คือพื้นที่ทับซ้อนของแสงสว่างโดยพื้นที่ทับซ้อนหาได้จากสมการของทฤษฎี
overlapping theory โดยจะศึกษาจากหัวข้อไปต่อไปนี้
วิธีดาเนินงาน
แนวทางการดาเนินงาน
___________________________________________________________________
___________________________________________________________________
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
___________________________________________________________________
___________________________________________________________________
___________________________________________________________________
งบประมาณ
___________________________________________________________________
___________________________________________________________________
___________________________________________________________________
__________________________________________________________________
___________________________________________________________________
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
ลาดับ
ที่
ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ
1 2 3 4 5 6 7 8 9
1
0
1
1
12
1
3
1
4
1
5
16 17
1 คิดหัวข้อโครงงาน
2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล
3 จัดทาโครงร่างงาน
4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน
5 ปรับปรุงทดสอบ
6 การทาเอกสารรายงาน
7 ประเมินผลงาน
8 นาเสนอโครงงาน
5
ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน)
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
สถานที่ดาเนินการ
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน)
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________

More Related Content

What's hot

2560 project -1-1
2560 project -1-12560 project -1-1
2560 project -1-1
rungthiwa_
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
ice1818
 

What's hot (20)

2560 project -1-1
2560 project -1-12560 project -1-1
2560 project -1-1
 
Computer
ComputerComputer
Computer
 
Suwadee22
Suwadee22Suwadee22
Suwadee22
 
2559 project
2559 project 2559 project
2559 project
 
Influenza
InfluenzaInfluenza
Influenza
 
At1
At1At1
At1
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ 2559
โครงงานคอมพิวเตอร์ 2559โครงงานคอมพิวเตอร์ 2559
โครงงานคอมพิวเตอร์ 2559
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
 
กิจกรรมที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร์
 
11111
1111111111
11111
 
2562 final-project-18
2562 final-project-182562 final-project-18
2562 final-project-18
 
Project1607
Project1607Project1607
Project1607
 
2562-final-project_17
2562-final-project_172562-final-project_17
2562-final-project_17
 
โครงร่างงานคอม
โครงร่างงานคอม โครงร่างงานคอม
โครงร่างงานคอม
 
เครื่องบินที่บินไวกว่าเสียง1
เครื่องบินที่บินไวกว่าเสียง1เครื่องบินที่บินไวกว่าเสียง1
เครื่องบินที่บินไวกว่าเสียง1
 
2560 project .pdf1
2560 project .pdf12560 project .pdf1
2560 project .pdf1
 
พีม
พีมพีม
พีม
 
ใบงานที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ไข้เลือดออก
ใบงานที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ไข้เลือดออกใบงานที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ไข้เลือดออก
ใบงานที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ไข้เลือดออก
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 

Similar to 2560 project

ใบงานที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร์
Chanin Monkai
 
2562 final-project 123 win
2562 final-project 123 win2562 final-project 123 win
2562 final-project 123 win
mrpainaty
 

Similar to 2560 project (20)

Mmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmm
MmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmMmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmm
Mmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmm
 
ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงาน
ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงานใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงาน
ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงาน
 
ภาษาทางกาย
ภาษาทางกายภาษาทางกาย
ภาษาทางกาย
 
2562 final-project -1-23
2562 final-project -1-232562 final-project -1-23
2562 final-project -1-23
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5
 
กิจกรรมที่5
กิจกรรมที่5กิจกรรมที่5
กิจกรรมที่5
 
Aaa
Aaa Aaa
Aaa
 
ใบงานที่5
ใบงานที่5ใบงานที่5
ใบงานที่5
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ลูกคนกลาง
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ลูกคนกลางโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ลูกคนกลาง
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ลูกคนกลาง
 
ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงาน
ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงานใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงาน
ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงาน
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
 
ใบงานที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร์
 
คอม
คอมคอม
คอม
 
โครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานโครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงาน
 
มหัศจรรย์โลมา
มหัศจรรย์โลมามหัศจรรย์โลมา
มหัศจรรย์โลมา
 
2559 project i'm
2559 project i'm2559 project i'm
2559 project i'm
 
2562 final-project 123 win
2562 final-project 123 win2562 final-project 123 win
2562 final-project 123 win
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
 

More from Suphawich Bunli (7)

TCAS
TCASTCAS
TCAS
 
Doca1000042944
Doca1000042944Doca1000042944
Doca1000042944
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
L 05
L 05L 05
L 05
 
2559 64 202_p21-22
2559 64 202_p21-222559 64 202_p21-22
2559 64 202_p21-22
 
ประวัติสวนตัว
ประวัติสวนตัวประวัติสวนตัว
ประวัติสวนตัว
 

2560 project

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6 ปีการศึกษา 2560 ชื่อโครงงาน ความสว่างกับการอ่านหนังสือ ชื่อผู้ทาโครงงาน 1นาย ศุภวิชญ์ บุญลี เลขที่ 24 ชั้น ม.6 ห้อง 2 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. 2 ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ 1 นายศุภวิชญ์ บุญลี เลขที่ 24 คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) ความสว่างกับการอ่านหนังสือ ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) light & library ประเภทโครงงาน เพื่อการศึกษา ชื่อผู้ทาโครงงาน นาย ศุภวิชญ์ บุญลี ชื่อที่ปรึกษา คุณครู เขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา2560 ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน) ในเวลาปัจจุบันชีวิตนักเรียน ม.6 ต้องคอยศึกษาอยู่ตลอดเวลาเพื่อที่จะสอบเข้าศึกษาตอนในระดับที่ สูงขึ้นทาให้ปฏิเสธไม่ได้เลยว่าเราต้องอ่านหนังสือ แล้วเราเคยปวดตากับการอ่านหนังสือในที่มืดเป็นปกติดเลยคิด ว่าการอ่านหนังสือในที่สว่างนั้นดีแต่ความเป็นจริงการอ่านหนังสือในที่สว่างเกินไปก็เป็นปัญญากับสายตาเช่นกัน แล้วแสงไฟปริมาณเท่าไหร่ละที่เหมาะกับการอ่านหนังสือการอ่านหนังสือที่ความเข้มแสงเท่าไหร่ละที่จะดีต่อ สายตา จึงเป็นเหตุที่ทาให้เกิดโครงงานนี้ขึ้น วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ) 1.เพื่อศึกษาแสงที่มีผลกระทบต่อดวงตา 2.เพื่อศึกษาแสงที่เหมาะกับการอ่านหนังสือ 3.เพื่อศึกษาหาความรู้เกี่ยวกับแสง
  • 3. 3 ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน) ศึกษาข้อมูลทางทฤษฏีเกี่ยวกับแสง ปัจจัยที่ทาให้เกิดแสง การสะทอนของแสง หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน) 1.แสง การคานวณแสงสว่างด้วยวิธีลูเมน (Lumen method) เป็นการคานวณเพื่อหาปริมาณฟลักซ์ส่องสว่างที่ เหมาะสมกับงานชนิดต่างๆ เป็นวิธีที่เหมาะสมกับพื้นที่ใช้งานที่ต้องการความส่องสว่างอย่างสม่าเสมอ โดยมีหลักว่าฟ ลักซ์ส่องสว่างที่ใส่ไปในบริเวณงานที่ออกแบบ จะเฉลี่ยให้มีความส่องสว่างเท่ากัน เช่น การส่องสว่างในสานักงาน ห้องเรียน เป็นต้น หลักการคานวณจะคานึงถึง ผลการสะท้อนของพื้น ผนัง และเพดาน ซึ่งนับเป็นการส่องสว่างแบบ ทางอ้อม (Indirect) คือ การคิดผลจากการสะท้อนเข้าไปด้วย สอดคล้องกับที่กล่าวไว้โดย ประสิทธิ์ พิทยพัฒน์ (2543,หน้า 206) ว่าการคานวณด้วยวิธีลูเมนจะคิดผลของการสะท้อนเข้าไปด้วย ส่วนการคานวณแบบจุดต่อจุด จะเป็นการหาความส่องสว่างแบบโดยตรง ดังนั้นการคานวณด้วยวิธีลูเมนนี้จึงมีงานหลักในการคานวณหาผลที่เกิดจาก การสะท้อนของส่วนต่างๆ ของห้องทั้งที่เกิดจากชนิดและสีของวัสดุ ซึ่งก็คือค่าสัมประสิทธิ์การใช้ประโยชน์ของโคมที่ เลือกใช้ ดังจะได้กล่าวถึงรายละเอียดในลาดับต่อไป จากชื่อของวิธีการคานวณแบบลูเมน คาว่า ลูเมน ก็คือหน่วยของฟลักซ์ส่องสว่างที่กระจายสู่ผิวงาน กล่าว อีกนัยหนึ่งก็คือความส่องสว่างที่จาเป็นสาหรับพื้นทีใช้งานนั้นๆ และเพื่อให้มีความส่องสว่างเนื่องด้วยสาเหตุต่างๆ จะ ทาให้ได้สมการที่ใช้ในการคานวณ ซึ่งสอดคล้องกับที่เสนอไว้โดย ศุลี บรรจงจิตร (2538, หน้า141) และ Sclater and Traister (2003, p.305) การพิจารณาจะเริ่มต้นจากสมการความส่องสว่าง ดังนี้ สัมประสิทธิ์การใช้ประโยชน์ (Coefficient of utilization, CU) ตามหลักการของ IES หรือ ตัว ประกอบการใช้ประโยชน์ (utilization factor, UF) ตามหลักของ CIE ในที่นี้ใช้ค่า CU ความเสื่อมของของหลอดไฟ (Lamp lumen depreciation, LLD) และความสกปรกของโคม (luminaries dirt depreciation, LDD) เมื่อ E = ค่าความสว่าง (lux)  = ฟลักซ์ส่องสว่าง () CU = สัมประสิทธิ์การใช้งาน LLD = ความสะอาดของหลอดไฟ LDD = ความสกปรกของหลอดไฟA = พื้นที่ที่แสงซ้อนทับกัน ( )
  • 4. 4 ซึ่งจากสมการข้างต้นพื้นที่A คือพื้นที่ทับซ้อนของแสงสว่างโดยพื้นที่ทับซ้อนหาได้จากสมการของทฤษฎี overlapping theory โดยจะศึกษาจากหัวข้อไปต่อไปนี้ วิธีดาเนินงาน แนวทางการดาเนินงาน ___________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ ___________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ งบประมาณ ___________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ __________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ลาดับ ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 0 1 1 12 1 3 1 4 1 5 16 17 1 คิดหัวข้อโครงงาน 2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล 3 จัดทาโครงร่างงาน 4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน 5 ปรับปรุงทดสอบ 6 การทาเอกสารรายงาน 7 ประเมินผลงาน 8 นาเสนอโครงงาน
  • 5. 5 ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน) _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ สถานที่ดาเนินการ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน) _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________