SlideShare a Scribd company logo
1 of 31
Download to read offline
ไฟลัมแพลทิเฮลมินทีส
PhylumPlatyhel minthes
เสนอ
ดร.สุภาพร ปาโมกข
ไฟลัมแพลทิเฮลมินทีส
PhylumPlatyhel minthes
• Platyhelminthes
• มาจากภาษากรีก (platy + helminth = flat worm) หมายถึง หนอนที่มีลําตัวแบน
ไดแก พวกหนอนตัวแบน
• ชื่อสามัญ flat worm มีทั้งที่ดํารงชีวิตอยางอิสระ เรียก หนอนตัวแบน และพวกที่เปน
พยาธิในสัตวอื่น เรียก พยาธิตัวแบน โดยสัตวในไฟลัมนี้อาศัยอยูทั้ง
ในน้ําเค็ม น้ําจืด และบริเวณพื้นดินที่มีชื้นสูง พบประมาณ 20,000 สปชีส
• จําแนกออกเปน4 คลาสคือ
• 1. คลาสเทอรเบลลาเรีย(Turbellaria)ซึ่งมีสมาชิกประมาณ 4,500 ชนิด มีขนาดลําตัว
ประมาณ 5-50เซนติเมตรไดแกหนอนที่เปนอิสระ พบทั้งในน้ําจืดและน้ําเค็มมี 2 - 3 ชนิด
ที่พบตามดินชื้นในปาที่รูจักกันดีคือ พลานาเรีย (Planaria) มีลําตัวสีเทาหรือสีน้ําตาล สวน
หัวเปนรูปสามเหลี่ยม มีซีเลียอยูที่ชั้นอิพิเดอรมิสทางดานทองถัดเขามาเปนชั้นของ
กลามเนื้อวงกลม กลามเนื้อตามยาว กลามเนื้อตั้งฉาก หนอนตัวแบนขนาดเล็กจะวายน้ํา
โดยใชการโบกพัดของซีเลียรวมกับการหดตัวของกลามเนื้อ พวกที่มีขนาดใหญจะมีการ
ทํางานประสานงานกันของกลามเนื้อทั้ง3 ชนิด โดยชนิดหนึ่งหดตัวอีกชนิดหนึ่งคลายตัว
นอกจากนี้ยังมีเซลลต(Rhabdiites) ทําหนาที่สรางเมือกลื่น ซึ่งเปนสารเคมีชวยในการ
เคลื่อนที่ และปองกันอันตรายจาการถูกกิน
ภาพที่ 1 หนอนตัวแบนชนิดตาง ๆ
(ที่มาภาพ : http://rivers.snre.umich.edu/www311/aqanimal.html
http://digilander.libero.it/enrlana/plmo4.jpg
http://planarian.net/gf/2000/intestin-A.jpg)
ภาพที่ 2 โครงสรางของพลานาเรีย
(ที่มาภาพ : http://www.southtexascollege.edu/nilsson/4_GB_LectureNotes_f/4_GB_23_
Cla_Ani_In_Spr2003.html)
• หนอนตัวแบนเปนสัตวกินเนื้อ โดยกินสัตวไมมีกระดูกสันหลังขนาดเล็ก ปากจะอยูบริเวณดานทองตรง
กลางลําตัว ทอทางเดินอาหารประกอบดวยหอยและถุงลําไส ซึ่งทําหนาที่ยอยอาหารและดูดซึม ไมมี
ทวาร ของเสียจะถูกขับออกทางปากเชนเดียวกับไนดาเรียน พลานาเรียสามารถจับสัตวขนาดใหญกวา
เปนอาหารไดโดยการคลานขึ้นไปรัดรอบเหยื่อ แลวยื่นคอหอยออกมาจากโพรงปาก ดูดอาหารเขาไปใน
โพรงทางเดินอาหาร โดยการบีบรัดของกลามเนื้อของผนังทางเดินอาหาร การยอยอาหารจะเปนแบบ
ภายนอกเซลลกอน บริเวณผนังลําไสอาหารที่เหลือจากการใชสามารถเก็บสะสมไวในเซลลชั้นแกสโตร
เดอรมิส
• ผนังลําตัวของพลานาเรียบางและรูปรางแบนจึงทําใหมีการแพรของออกซิเจนและคารบอนไดออกไซด
ไดงายและพอเพียงซึ่งรางกายแตละสวนตองการแลกเปลี่ยนในปริมาณที่ตางกัน เชน สวนหัวตองการ
มากกวาสวนอื่น ของเสียที่เกิดขึ้นจะถูกขับถายโดย โปรโตเนพฟริเดีย (Protonephridia) ซึ่งอยูในชั้น
พาเรนไคมา ซึ่งจะเปนพวกแอมโมเนีย นอกจากนี้ยังชวยปรับระดับความสมดุลของน้ําในรางกายดวย
ภาพที่ 3 ระบบตาง ๆ ของพลานาเรีย
(ที่มาภาพ : http://dragon.seowon.ac.kr/~bioedu
/bio/ohp/t-162.jpg)
ภาพที่ 4 Frame cell เซลลในระบบขับถายของพลานาเรีย
(ที่มาภาพ : http://faculty.uca.edu/~johnc/PlanarianPronephr.gif)
• 2. คลาสโมโนกีเนีย (Monogenea) ในหนังสือบางเลมจัดกลุมพยาธิชนิดนี้เปนอันดับ (order) หนึ่ง
ของพยาธิใบไมแตวามีลักษณะหลายอยางที่ทําใหมีความแตกตางมากเพียงพอที่จะแยกออกไป
เปนคลาสใหมไดทุกชนิดพยาธิที่อยูในคลาสนี้ดํารงชีวิตเปนปรสิตที่อยูภายนอกของปลามีบางที่พบ
ในกระเพาะปสสาวะของกบและเตาพยาธิเหลานี้กอใหเกิดผลเสียตอโฮสทเพียงเล็กนอยเทานั้น วง
ชีวิตของโมโนโกเนียอาศัยโฮสทเพียงชนิดเดียว ไขที่ฟกออกมาจะเปน larvae ที่มีขนสั้นรอบตัว
เกาะติดกับโฮสท หรือวายน้ําอยูใกล ๆ กับโฮสท
ภาพที่ 5 สัตวในคลาส Monogenea
(ที่มาภาhttp://www.nhc.ed.ac.uk/images/collections/invertebrates/parasitic/LgMonogenea.jpg)
• 3.คลาสทรีมาโตดา(Trematoda)เปนหนอนตัวแบนที่เปนปรสิตเชน พยาธิใบไม (Flukes) มี
ประมาณ11,000ชนิดสวนมากจะเปนปรสิตภายใน โดยสัตวมีกระดูกสันหลังเปนโฮสทแรก
(Primary host) และสัตวไมมีกระดูกสันหลังเปนโฮสทรอง (Intermidiate host) รูปรางของพยาธิ
ใบไม จะเปนตัวแบน รูปไข หรือยาวรีลําตัวยาวไมเกิน 2 - 3 มิลลิมตร ไมมีซีเลียปกคลุม ผิวหนัง
ชั้นนอกเปนสารไกลโคโปรตีน ปากตั้งอยูบริเวณปลายสุดของสวนหัว ซึ่งจะมีปุมดูดรอบปาก
(Sucker) ทอทางเดินอาหารประกอบดวยคอหอยซึ่งเปนกลามเนื้อเขาสูหลอดอาหารสั้น ๆ และมีถุง
ลําไสตลอดความยาวตามแนวดานขางของลําตัว อาหารของพยาธิใบไมไดแก น้ําเมือก และเลือด
ของโฮสท มีอวัยวะขับถายของเสียเรียก โปรโตเนพฟริเดีย ระบบประสาทคลายพวกพลานาเรีย แต
ไมมีอวัยวะรับความรูสึก
ภาพที่ 6 พยาธิใบไม
(ที่มาภาพ :http://mylesson.swu.ac.th/mb322/echinostoma.jpg
http://th.kapook.com/upload/media_library/malisa/sport/thai/sea/16775
.jpg)
• วงชีวิตของพยาธิใบไมสลับซับซอนโดยเริ่มจากไขถูกขับถายออกมากับอุจจาระของ primary host
และฟกตัวในบริเวณที่ชื้นแฉะไดตัวออนที่มีซีเลียวายน้ําเขาไปอยูในลําไสของหอยและเจริญ
เปลี่ยนแปลงรูปรางไปเปนแบบมีหางยาวชวยในการวายน้ําออกจากโฮสทรองชนิดแรก (first -
intermidiate) ไปยังโฮสทรองชนิดที่สองเชนฝงตัวอยูในเนื้อปลา และถูกกินโดยโฮสทหลักแลว
เคลื่อนที่ไปอยูบริเวณทอน้ําดีเจริญเปนตัวแก
• พยาธิใบไมที่กอใหเกิดปญหาในคนและสัตวเลี้ยงคือพยาธิใบไมที่อยูใน subclass Dignea เชน
พยาธิใบไมในตับ Poisthorchis sp. ซึ่งเปนพยาธิใบไมในตับที่มีการแพรกระจายในแถบเอเซียใต
ญี่ปุน และจีน นอกจากคนแลวยังพบในสุนัข แมว และหมูดวย พยาธิใบไมในเลือดที่สําคัญไดแก
พยาธิใบไมในเลือด Schistosomaซึ่งถูกจัดวาเปนหนึ่งในพยาธิใบไมที่มีความสําคัญมาก ประมาณ
วาประมาณ 200 ลานคนที่ถูกรุกรานดวยพยาธิชนิดนี้ ทําใหเกิดภาวะของโรคขาดเลือด มีอาการ
รุนแรงถึงสมองดวย นอกจากนี้ยังมีพยาธิใบไมในปอด Paragoimus westermani
ภาพที่ 7 วงชีวิตของหนอนตัวแบนพวกพยาธิใบไม
(ที่มาภาhttp://www.stanford.edu/class/humbio103/ParaSites2004
/Heterophyidae/rightbottom.html)
• 4.คลาสเซสโตดา(Cestoda)ทุกชนิดเปนปรสิตภายในรางกายของสัตวมีกระดูกสันหลัง (แตมี
ระยะตัวออนอยูในสัตวไมมีกระดูกสันหลัง) มีประมาณ 3,400 ชนิด ลําตัวไมมีซีเลียปกคลุม ลําตัว
จะแตกตางจากคลาสอื่นๆ คือ ปลายสุดของสวนหัวประกอบดวยปุมดูด และขอเกี่ยว เรียกสโคเลกซ
(Scolex) พยาธิตัวตืดมีคอสั้นซึ่งเชื่อมตอระหวางสโคเลกซกับลําตัวยาวที่เรียกวา สตรอบิลา
(Strobila) ลําตัวจะแบงเปนปลอง เรียกแตละปลองวา โปรกลอททิด (Proglottid) ปลองที่อยูติดกับ
สวนคอจะเปนปลองที่เกิดขึ้นใหม
ภาพที่ 8 โครงสรางสําคัญของพยาธิตัวตืด
(ที่มาภาพ : http://www.personal.psu.edu/users/t/r/trp2/tapeworm.jpeg)
ภาพที่ 9 วงชีวิตของพยาธิตัวตืดในวัว
(ที่มาภาพ : http://universe-review.ca/I10-82-tapeworm.jpg)
ภาพที่ 10 วงชีวิตของพยาธิตัวตืดในหมู
(ที่มาภาพ : http://www.humanillnesses.com/original/images/hdc_0001_0003_0_img0261.jpg)
ลักษณะที่สําคัญ
• มีสมมาตรเปนแบบครึ่งซีก (bilateral symmetry)
• มีเนื้อเยื่อ 3 ชั้นครบถวน (triloblastics) ไมมีชองตัว (acoelomate) คือ ไมมีชองวางระหวางผนัง
ลําตัวกับผนังทางเดินอาหาร ผนังชั้นนอกออนนุม บางชนิดมีซิเลีย เชน พลานาเลีย บางชนิดมีคิว
ทิเคิล (cuticle) หุมและมีปุมดูด หรือขอเกี่ยว (hooks) สําหรับยึดเกาะกับโฮสต (host) เชน พยาธิ
ใบไม (flukes) พยาธิตัวตืด (tapeworms)
• รางกายแบนทางดานหลังและดานทอง (dorsoventrally) ไมมีขอปลอง แตบางชนิด เชน พยาธิ
ตัวตืด มีขอปลอง แตเปนปลองที่เกิดขึ้นเฉพาะที่ผิวลําตัวเทานั้น
• พวกที่มีการดํารงชีวิตอยางอิสระ จะมีเมือกลื่นๆ หุมตัว เพื่อใชในการเคลื่อนที่ สวนพวกที่ดํารงชีวิต
แบบปรสิต (parasitic type) จะมีคิวทิเคิล (cuticle) หุมตัวซึ่งสรางจากเซลลที่ผิวของลําตัว ทํา
หนาที่ปองกันอันตรายซึ่งเกิดจากน้ํายอยของผูถูกอาศัย (host)
• มีทอทางเดินอาหารที่เปนปลายตัน หรือเปนแบบที่ไมสมบูรณ มีปากแตไมมีทวารหนัก และพบวา
ทางเดินอาหารแตกแขนงออกเปน 2-3 แฉก สวนในพยาธิตัวตืดไมมีทางเดินอาหาร
• สัตวในไฟลัมนี้เริ่มมีการรวมตัวของอวัยวะแสดงลักษณะหัว (cephalization) คือ มีปมประสาท
สมอง อวัยวะรับความรูสึก และชองปากมารวมกันอยูทางดานหนาของลําตัว
• ระบบขับถาย มีอวัยวะ ที่เรียกวา โพรโตเนฟริเดีย (protonephridia) มีลักษณะเปนทอที่ปลายดาน
ในปด และมีทอไปเปดออกดานนอก ซึ่งประกอบดวยทอตามยาวหลายทอ (protonephridial canal)
จากทอเล็กๆ นี้จะมีทอแยกไปเปนทอยอย (capillary) ที่ปลายทอยอยมีเซลลโพรโตเนฟริเดีย
ลักษณะเปนรูปถวย (flame bulb) มีแฟลกเจลลัมเปนกระจุกอยูดานในของถวย ซึ่งจะโบกพัดไปมา
คลายเปลวเทียน จึงเรียกวา เฟลมเซลล (flame cell = เซลลเปลวไฟ) การโบกพัดของแฟลกเจลลัม
ทําใหเกิดแรงดึงน้ําผานเขาสูทอของเสียที่โพรโตเนฟริเดีย กําจัดออกในรูปของแอมโมเนียที่ละลาย
อยูในน้ํา ซึ่งจะไหลออกมาตามทอ และออกสูภายนอกทางชองเปด ที่เรียกวา เนฟริดิโอพอร
(nephridiopore)
• ไมมีอวัยวะที่ใชในการหายใจโดยเฉพาะ ในพวกปรสิตจะหายใจแบบไมใชออกซิเจน (anaerobic
respiration) เชน พยาธิใบไม ซึ่งพบวากระบวนการนี้ใหคารบอนไดออกไซด และอินทรียสารสะสม
อยูในรางกายสูง ความเขมขนของน้ํานอกรางกายสูงกวาภายในรางกาย จึงมีผลทําใหน้ําเคลื่อน
ผานเขาสูรางกาย ระบบขับถายจึงทําหนาที่ปรับสภาวะน้ําภายในรางกายใหสมดุล สวนพวกที่
ดํารงชีวิตอยางอิสระ จะหายใจแบบใชออกซิเจน (aerobic respiration) โดยการใชผิวตัวในการ
แลกเปลี่ยนแกส
• ระบบประสาท ประกอบดวย ปมประสาทดานหนา (anterior ganglia) หรือปมประสาท รูปวง
แหวน (nerve ring) ทําหนาที่เปนสมองเชื่อมระหวางเสนประสาทใหญตามยาว (longitudinal
nerve cord) ซึ่งทอดไปตามยาวของรางกายจํานวน 2 เสน และมีเสนประสาทตามขวาง
(transverse nerve) เชื่อมระหวางเสนประสาทใหญทั้งสองดวย มีอวัยวะรับสัมผัสแบบงายๆ บาง
ชนิดมีตา (eye spot)
• ระบบสืบพันธุแบบอาศัยเพศโดยมีสองเพศอยูในตัวเดียวกัน จัดเปนกะเทย (hermaphrodite) มี
การปฏิสนธิภายในตัวเอง (self fertilization) และปฏิสนธิแบบขามตัว (cross fertilization) และมี
การสืบพันธุแบบไม
ระบบยอยอาหาร
• หนอนตัวแบน เปนสัตวที่อยูในไฟลัมแพลทีเฮลมินทิส (Platyhelminthes) ไดแก
• พลานาเรีย พยาธิใบไม และพยาธิตัวตืด
พลานาเรีย พยาธิใบไม พยาธิตัวตืด
• 1. พลานาเรีย ทางเดินอาหารของพลานาเรียเปนแบบ 3 แฉก แตละแฉกจะมีแขนงของทางเดิน
อาหารแตกแขนงยอยออกไปอีกเรียกวา ไดเวอรทิคิวลัม (Diverticulum) ปากอยูบริเวณกลาง
ลําตัว ตอจากปากเปนคอหอย (Pharynx) มีลักษณะคลายงวงยาวหรือโพเบอซิส (Probosis) มี
กลามเนื้อแข็งแรง มีหนาที่จับอาหารเขาสูปาก กากอาหารที่เหลือจากการยอยและดูดซึมแลวจะ
ถูกขับออกทางชองปากเชนเดิม การยอยอาหารของพลานาเรียเปนการยอยภายนอก
เซลล นอกจากนี้เซลลบุผนังชองทางเดินอาหารยังสามารถฟาโกไซโทซิสจับอาหารเขามายอย
ภายในเซลลไดดวย
ภาพซ้ายแสดงคอหอยที่ใช้จับอาหารและปาก และภาพขวาแสดงทางเดินอาหารของพลานาเรีย
ที่มา : รูปซ้าย www.johnson.emcs.net รูปขวา www.geocities.com
• 2. พยาธิใบไม มีทางเดินอาหารคลายพลานาเรีย แตทางเดินอาหารสวนลําไสไมแตก
กิ่งกานสาขา มีลักษณะคลายอักษรรูปตัววาย (Y–shape) ทางเดินอาหารของพยาธิใบไม
ประกอบดวยปากปุมดูด (Oral sucker) ที่มีปากดูดกินอาหารจากโฮสต ตอจากปากเปนคอหอย
(Pharynx) ตอจากคอหอยเปนหลอดอาหารสั้น ๆซึ่งจะตอกับลําไส (Intestine)
แสดงทางเดินอาหารของพยาธิใบไม้และอวัยวะภายในบางชนิด
ที่มา : geocities.com
• 3. พยาธิตัวตืด ไมมีระบบทางเดินอาหาร เพราะอาหารที่ไดรับเขาสูรางกายสวนใหญถูกแปร
สภาพเรียบรอยแลวโดยผูถูกอาศัย ใชกระบวนการแพรของสารอาหารที่ยอยแลวเขาสูรางกาย
ลักษณะของพยาธิตัวตืด
ที่มา : www.kateteneyck.com
ภาพตัวโตเต็มวัยของพยาธิตัวตืดที่เน้นให้เห็นส่วนหัว
โดยเฉพาะส่วนที่ใช้เกาะดูด (Sucker)
ที่มา : www.thailabonline.com/bacteria/tenia1.jpg
ระบบเลือด
• ไมมีระบบหมุนเวียน (Circulatory system) อาศัยการแลกเปลี่ยนกาซและของเสียทางผิวหนัง
โดยตรง ดังนั้นผิวหนังจึงสรางความชุมชื้นอยูเสมอ บางชนิดอาจมีอวัยวะพิเศษชวยในการกําจัดของ
เสียที่เรียก เนฟเดีย (nephridia flame cell)
ระบบหายใจ
• ไมมีระบบหายใจ (Respiratory system) การแลกเปลี่ยนกาซใชการแพรผานผนังลําตัว
ระบบสืบพันธุ
• สามารถสืบพันธุ
• ไดทั้งแบบไมอาศัยเพศ โดยอาศัยการงอกใหม (regeneration)และโดยมี อาศัยเพศ แบบสองเพศใน
ตัวเดียวกัน (hermaphodise) และสามารถผสมขามตัว หรือผสมภายในตัวเอง แลวแตวงศ ไขมีขนาด
เล็ก เมื่อผสมแลวจะปลอยออกภายนอกตัว มีทั้งที่หากินเปนอิสระและเปนปรสิต
อางอิง
ออนไลนสืบคนเมื่อวันที่15มีนาคม2560
Https://spkkdj5651.wordpress.com/อาณาจักรสัตว.../ไฟลัมแพลทีเฮลมินเทส-phylu
https://th.wikipedia.org/wiki/หนอนตัวแบน
https://sites.google.com/site/kingdomslearning/home/phylum-platyhelminthes
สมาชิก
• นายอดิศักดิ์ ทิพยโอสถ รหัสนักศึกษา580112502056
• นางสาวเกศราภรณ มวงชาติ รหัสนักศึกษา580112502061
• นางสาวจุฑามาศ เอื้อนไธสง รหัสนักศึกษา580112502065
• นางสาวเจนจิรา อยูสาโก รหัสนักศึกษา580112502066
นักศึกษาสาขาสัตวศาสตร ชั้นปที่ 2 หมู 2
คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฎบุรีรัมย

More Related Content

What's hot

โครงสร้างและการเจริญเติบโตของพืชดอก
โครงสร้างและการเจริญเติบโตของพืชดอกโครงสร้างและการเจริญเติบโตของพืชดอก
โครงสร้างและการเจริญเติบโตของพืชดอกRatarporn Ritmaha
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอกการสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอกThanyamon Chat.
 
เนื้อเยื่อพืช
เนื้อเยื่อพืชเนื้อเยื่อพืช
เนื้อเยื่อพืชThanyamon Chat.
 
บท4วิวัฒนาการ
บท4วิวัฒนาการบท4วิวัฒนาการ
บท4วิวัฒนาการWichai Likitponrak
 
การรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนองการรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนองsukanya petin
 
ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพSupaluk Juntap
 
อาณาจักรสัตว์ (1)
อาณาจักรสัตว์ (1)อาณาจักรสัตว์ (1)
อาณาจักรสัตว์ (1)Pinutchaya Nakchumroon
 
แผนการเรียนรู้โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
แผนการเรียนรู้โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์แผนการเรียนรู้โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
แผนการเรียนรู้โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์korakate
 
ระบบหายใจ
ระบบหายใจระบบหายใจ
ระบบหายใจWan Ngamwongwan
 
ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพPinutchaya Nakchumroon
 
อาณาจักรมอเนอรา โปรติสตา ฟังไจ
อาณาจักรมอเนอรา โปรติสตา ฟังไจอาณาจักรมอเนอรา โปรติสตา ฟังไจ
อาณาจักรมอเนอรา โปรติสตา ฟังไจkrunidhswk
 
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต02
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต02ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต02
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต02oranuch_u
 
การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลังการเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลังสุรินทร์ ดีแก้วเกษ
 
Taxonomy(อนุกรมวิทฐาน)
Taxonomy(อนุกรมวิทฐาน)Taxonomy(อนุกรมวิทฐาน)
Taxonomy(อนุกรมวิทฐาน)firstnarak
 

What's hot (20)

โครงสร้างและการเจริญเติบโตของพืชดอก
โครงสร้างและการเจริญเติบโตของพืชดอกโครงสร้างและการเจริญเติบโตของพืชดอก
โครงสร้างและการเจริญเติบโตของพืชดอก
 
ใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครู
ใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครูใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครู
ใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครู
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอกการสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
 
เนื้อเยื่อพืช
เนื้อเยื่อพืชเนื้อเยื่อพืช
เนื้อเยื่อพืช
 
บท4วิวัฒนาการ
บท4วิวัฒนาการบท4วิวัฒนาการ
บท4วิวัฒนาการ
 
Kingdom Animalia
Kingdom AnimaliaKingdom Animalia
Kingdom Animalia
 
อาณาจักรพืช
อาณาจักรพืชอาณาจักรพืช
อาณาจักรพืช
 
การรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนองการรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนอง
 
Kingdom protista
Kingdom protistaKingdom protista
Kingdom protista
 
ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพ
 
อาณาจักรสัตว์ (1)
อาณาจักรสัตว์ (1)อาณาจักรสัตว์ (1)
อาณาจักรสัตว์ (1)
 
แผนการเรียนรู้โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
แผนการเรียนรู้โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์แผนการเรียนรู้โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
แผนการเรียนรู้โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
 
ม.6 นิเวศ
ม.6 นิเวศม.6 นิเวศ
ม.6 นิเวศ
 
ระบบหายใจ
ระบบหายใจระบบหายใจ
ระบบหายใจ
 
ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพ
 
อาณาจักรมอเนอรา โปรติสตา ฟังไจ
อาณาจักรมอเนอรา โปรติสตา ฟังไจอาณาจักรมอเนอรา โปรติสตา ฟังไจ
อาณาจักรมอเนอรา โปรติสตา ฟังไจ
 
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต02
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต02ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต02
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต02
 
ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)
ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)
ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)
 
การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลังการเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
 
Taxonomy(อนุกรมวิทฐาน)
Taxonomy(อนุกรมวิทฐาน)Taxonomy(อนุกรมวิทฐาน)
Taxonomy(อนุกรมวิทฐาน)
 

Similar to ไฟลัมแพลทิเฮลมินทีส

อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์
อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์
อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์feeonameray
 
อาณาจักรสัตว์Science
อาณาจักรสัตว์Scienceอาณาจักรสัตว์Science
อาณาจักรสัตว์Scienceteeraya
 
ไฟลัมแพลตีเฮลมินเทส(Phylum Platyhelminthes)
ไฟลัมแพลตีเฮลมินเทส(Phylum Platyhelminthes)ไฟลัมแพลตีเฮลมินเทส(Phylum Platyhelminthes)
ไฟลัมแพลตีเฮลมินเทส(Phylum Platyhelminthes)Churuthikorn Kummoo
 
ความหลากหลายของปรสิต ก่อให้เกิดโรคในคน by Pitsanu Duangkartok
  ความหลากหลายของปรสิต ก่อให้เกิดโรคในคน by Pitsanu Duangkartok  ความหลากหลายของปรสิต ก่อให้เกิดโรคในคน by Pitsanu Duangkartok
ความหลากหลายของปรสิต ก่อให้เกิดโรคในคน by Pitsanu Duangkartokpitsanu duangkartok
 
อาณาจักรโพรติสตา Protista-kingdom
อาณาจักรโพรติสตา Protista-kingdomอาณาจักรโพรติสตา Protista-kingdom
อาณาจักรโพรติสตา Protista-kingdomPl'nice Destiny
 
ความหลากหลาย bio diver
ความหลากหลาย bio diverความหลากหลาย bio diver
ความหลากหลาย bio diverssusera700ad
 
อาณาจักรโพรทิสตา
อาณาจักรโพรทิสตาอาณาจักรโพรทิสตา
อาณาจักรโพรทิสตาพัน พัน
 
อาณาจักรสัตว์
อาณาจักรสัตว์อาณาจักรสัตว์
อาณาจักรสัตว์tarcharee1980
 
อาณาจักรสัตว์
อาณาจักรสัตว์อาณาจักรสัตว์
อาณาจักรสัตว์sirieiei
 

Similar to ไฟลัมแพลทิเฮลมินทีส (20)

Animal55
Animal55Animal55
Animal55
 
อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์
อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์
อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์
 
Animalia
AnimaliaAnimalia
Animalia
 
อาณาจักรสัตว์Science
อาณาจักรสัตว์Scienceอาณาจักรสัตว์Science
อาณาจักรสัตว์Science
 
ไฟลัมแพลตีเฮลมินเทส(Phylum Platyhelminthes)
ไฟลัมแพลตีเฮลมินเทส(Phylum Platyhelminthes)ไฟลัมแพลตีเฮลมินเทส(Phylum Platyhelminthes)
ไฟลัมแพลตีเฮลมินเทส(Phylum Platyhelminthes)
 
ความหลากหลายของปรสิต ก่อให้เกิดโรคในคน by Pitsanu Duangkartok
  ความหลากหลายของปรสิต ก่อให้เกิดโรคในคน by Pitsanu Duangkartok  ความหลากหลายของปรสิต ก่อให้เกิดโรคในคน by Pitsanu Duangkartok
ความหลากหลายของปรสิต ก่อให้เกิดโรคในคน by Pitsanu Duangkartok
 
Animalia kingdom
Animalia kingdomAnimalia kingdom
Animalia kingdom
 
อาณาจักรโพรติสตา Protista-kingdom
อาณาจักรโพรติสตา Protista-kingdomอาณาจักรโพรติสตา Protista-kingdom
อาณาจักรโพรติสตา Protista-kingdom
 
อาณาจักรสิ่งมีชีวิต
อาณาจักรสิ่งมีชีวิต อาณาจักรสิ่งมีชีวิต
อาณาจักรสิ่งมีชีวิต
 
Manybio
ManybioManybio
Manybio
 
ไฟลัมนีมาโทดา(Phylum Nematoda)
ไฟลัมนีมาโทดา(Phylum Nematoda)ไฟลัมนีมาโทดา(Phylum Nematoda)
ไฟลัมนีมาโทดา(Phylum Nematoda)
 
ความหลากหลาย bio diver
ความหลากหลาย bio diverความหลากหลาย bio diver
ความหลากหลาย bio diver
 
อาณาจักรโพรทิสตา
อาณาจักรโพรทิสตาอาณาจักรโพรทิสตา
อาณาจักรโพรทิสตา
 
Ecology
EcologyEcology
Ecology
 
Ecology
EcologyEcology
Ecology
 
อาณาจักรสัตว์
อาณาจักรสัตว์อาณาจักรสัตว์
อาณาจักรสัตว์
 
Original insect2
Original insect2Original insect2
Original insect2
 
IntroPara.ppt
IntroPara.pptIntroPara.ppt
IntroPara.ppt
 
อาณาจักรสัตว์
อาณาจักรสัตว์อาณาจักรสัตว์
อาณาจักรสัตว์
 
Protista5555
Protista5555Protista5555
Protista5555
 

More from athiwatpc

ผ้าภูคัคนี
ผ้าภูคัคนีผ้าภูคัคนี
ผ้าภูคัคนีathiwatpc
 
บทที่-6-การติดต่อสื่อสาร
บทที่-6-การติดต่อสื่อสารบทที่-6-การติดต่อสื่อสาร
บทที่-6-การติดต่อสื่อสารathiwatpc
 
การล็อกอิน ACCESS
การล็อกอิน ACCESSการล็อกอิน ACCESS
การล็อกอิน ACCESSathiwatpc
 
https://athiwatpc.wordpress.com
https://athiwatpc.wordpress.comhttps://athiwatpc.wordpress.com
https://athiwatpc.wordpress.comathiwatpc
 
https://athiwatpc.wordpress.com
https://athiwatpc.wordpress.comhttps://athiwatpc.wordpress.com
https://athiwatpc.wordpress.comathiwatpc
 
https://athiwatpc.wordpress.com
https://athiwatpc.wordpress.comhttps://athiwatpc.wordpress.com
https://athiwatpc.wordpress.comathiwatpc
 

More from athiwatpc (6)

ผ้าภูคัคนี
ผ้าภูคัคนีผ้าภูคัคนี
ผ้าภูคัคนี
 
บทที่-6-การติดต่อสื่อสาร
บทที่-6-การติดต่อสื่อสารบทที่-6-การติดต่อสื่อสาร
บทที่-6-การติดต่อสื่อสาร
 
การล็อกอิน ACCESS
การล็อกอิน ACCESSการล็อกอิน ACCESS
การล็อกอิน ACCESS
 
https://athiwatpc.wordpress.com
https://athiwatpc.wordpress.comhttps://athiwatpc.wordpress.com
https://athiwatpc.wordpress.com
 
https://athiwatpc.wordpress.com
https://athiwatpc.wordpress.comhttps://athiwatpc.wordpress.com
https://athiwatpc.wordpress.com
 
https://athiwatpc.wordpress.com
https://athiwatpc.wordpress.comhttps://athiwatpc.wordpress.com
https://athiwatpc.wordpress.com
 

ไฟลัมแพลทิเฮลมินทีส

  • 2. ไฟลัมแพลทิเฮลมินทีส PhylumPlatyhel minthes • Platyhelminthes • มาจากภาษากรีก (platy + helminth = flat worm) หมายถึง หนอนที่มีลําตัวแบน ไดแก พวกหนอนตัวแบน • ชื่อสามัญ flat worm มีทั้งที่ดํารงชีวิตอยางอิสระ เรียก หนอนตัวแบน และพวกที่เปน พยาธิในสัตวอื่น เรียก พยาธิตัวแบน โดยสัตวในไฟลัมนี้อาศัยอยูทั้ง ในน้ําเค็ม น้ําจืด และบริเวณพื้นดินที่มีชื้นสูง พบประมาณ 20,000 สปชีส
  • 3. • จําแนกออกเปน4 คลาสคือ • 1. คลาสเทอรเบลลาเรีย(Turbellaria)ซึ่งมีสมาชิกประมาณ 4,500 ชนิด มีขนาดลําตัว ประมาณ 5-50เซนติเมตรไดแกหนอนที่เปนอิสระ พบทั้งในน้ําจืดและน้ําเค็มมี 2 - 3 ชนิด ที่พบตามดินชื้นในปาที่รูจักกันดีคือ พลานาเรีย (Planaria) มีลําตัวสีเทาหรือสีน้ําตาล สวน หัวเปนรูปสามเหลี่ยม มีซีเลียอยูที่ชั้นอิพิเดอรมิสทางดานทองถัดเขามาเปนชั้นของ กลามเนื้อวงกลม กลามเนื้อตามยาว กลามเนื้อตั้งฉาก หนอนตัวแบนขนาดเล็กจะวายน้ํา โดยใชการโบกพัดของซีเลียรวมกับการหดตัวของกลามเนื้อ พวกที่มีขนาดใหญจะมีการ ทํางานประสานงานกันของกลามเนื้อทั้ง3 ชนิด โดยชนิดหนึ่งหดตัวอีกชนิดหนึ่งคลายตัว นอกจากนี้ยังมีเซลลต(Rhabdiites) ทําหนาที่สรางเมือกลื่น ซึ่งเปนสารเคมีชวยในการ เคลื่อนที่ และปองกันอันตรายจาการถูกกิน
  • 4. ภาพที่ 1 หนอนตัวแบนชนิดตาง ๆ (ที่มาภาพ : http://rivers.snre.umich.edu/www311/aqanimal.html http://digilander.libero.it/enrlana/plmo4.jpg http://planarian.net/gf/2000/intestin-A.jpg)
  • 5. ภาพที่ 2 โครงสรางของพลานาเรีย (ที่มาภาพ : http://www.southtexascollege.edu/nilsson/4_GB_LectureNotes_f/4_GB_23_ Cla_Ani_In_Spr2003.html)
  • 6. • หนอนตัวแบนเปนสัตวกินเนื้อ โดยกินสัตวไมมีกระดูกสันหลังขนาดเล็ก ปากจะอยูบริเวณดานทองตรง กลางลําตัว ทอทางเดินอาหารประกอบดวยหอยและถุงลําไส ซึ่งทําหนาที่ยอยอาหารและดูดซึม ไมมี ทวาร ของเสียจะถูกขับออกทางปากเชนเดียวกับไนดาเรียน พลานาเรียสามารถจับสัตวขนาดใหญกวา เปนอาหารไดโดยการคลานขึ้นไปรัดรอบเหยื่อ แลวยื่นคอหอยออกมาจากโพรงปาก ดูดอาหารเขาไปใน โพรงทางเดินอาหาร โดยการบีบรัดของกลามเนื้อของผนังทางเดินอาหาร การยอยอาหารจะเปนแบบ ภายนอกเซลลกอน บริเวณผนังลําไสอาหารที่เหลือจากการใชสามารถเก็บสะสมไวในเซลลชั้นแกสโตร เดอรมิส • ผนังลําตัวของพลานาเรียบางและรูปรางแบนจึงทําใหมีการแพรของออกซิเจนและคารบอนไดออกไซด ไดงายและพอเพียงซึ่งรางกายแตละสวนตองการแลกเปลี่ยนในปริมาณที่ตางกัน เชน สวนหัวตองการ มากกวาสวนอื่น ของเสียที่เกิดขึ้นจะถูกขับถายโดย โปรโตเนพฟริเดีย (Protonephridia) ซึ่งอยูในชั้น พาเรนไคมา ซึ่งจะเปนพวกแอมโมเนีย นอกจากนี้ยังชวยปรับระดับความสมดุลของน้ําในรางกายดวย
  • 7. ภาพที่ 3 ระบบตาง ๆ ของพลานาเรีย (ที่มาภาพ : http://dragon.seowon.ac.kr/~bioedu /bio/ohp/t-162.jpg) ภาพที่ 4 Frame cell เซลลในระบบขับถายของพลานาเรีย (ที่มาภาพ : http://faculty.uca.edu/~johnc/PlanarianPronephr.gif)
  • 8. • 2. คลาสโมโนกีเนีย (Monogenea) ในหนังสือบางเลมจัดกลุมพยาธิชนิดนี้เปนอันดับ (order) หนึ่ง ของพยาธิใบไมแตวามีลักษณะหลายอยางที่ทําใหมีความแตกตางมากเพียงพอที่จะแยกออกไป เปนคลาสใหมไดทุกชนิดพยาธิที่อยูในคลาสนี้ดํารงชีวิตเปนปรสิตที่อยูภายนอกของปลามีบางที่พบ ในกระเพาะปสสาวะของกบและเตาพยาธิเหลานี้กอใหเกิดผลเสียตอโฮสทเพียงเล็กนอยเทานั้น วง ชีวิตของโมโนโกเนียอาศัยโฮสทเพียงชนิดเดียว ไขที่ฟกออกมาจะเปน larvae ที่มีขนสั้นรอบตัว เกาะติดกับโฮสท หรือวายน้ําอยูใกล ๆ กับโฮสท
  • 9. ภาพที่ 5 สัตวในคลาส Monogenea (ที่มาภาhttp://www.nhc.ed.ac.uk/images/collections/invertebrates/parasitic/LgMonogenea.jpg)
  • 10. • 3.คลาสทรีมาโตดา(Trematoda)เปนหนอนตัวแบนที่เปนปรสิตเชน พยาธิใบไม (Flukes) มี ประมาณ11,000ชนิดสวนมากจะเปนปรสิตภายใน โดยสัตวมีกระดูกสันหลังเปนโฮสทแรก (Primary host) และสัตวไมมีกระดูกสันหลังเปนโฮสทรอง (Intermidiate host) รูปรางของพยาธิ ใบไม จะเปนตัวแบน รูปไข หรือยาวรีลําตัวยาวไมเกิน 2 - 3 มิลลิมตร ไมมีซีเลียปกคลุม ผิวหนัง ชั้นนอกเปนสารไกลโคโปรตีน ปากตั้งอยูบริเวณปลายสุดของสวนหัว ซึ่งจะมีปุมดูดรอบปาก (Sucker) ทอทางเดินอาหารประกอบดวยคอหอยซึ่งเปนกลามเนื้อเขาสูหลอดอาหารสั้น ๆ และมีถุง ลําไสตลอดความยาวตามแนวดานขางของลําตัว อาหารของพยาธิใบไมไดแก น้ําเมือก และเลือด ของโฮสท มีอวัยวะขับถายของเสียเรียก โปรโตเนพฟริเดีย ระบบประสาทคลายพวกพลานาเรีย แต ไมมีอวัยวะรับความรูสึก
  • 11. ภาพที่ 6 พยาธิใบไม (ที่มาภาพ :http://mylesson.swu.ac.th/mb322/echinostoma.jpg http://th.kapook.com/upload/media_library/malisa/sport/thai/sea/16775 .jpg)
  • 12. • วงชีวิตของพยาธิใบไมสลับซับซอนโดยเริ่มจากไขถูกขับถายออกมากับอุจจาระของ primary host และฟกตัวในบริเวณที่ชื้นแฉะไดตัวออนที่มีซีเลียวายน้ําเขาไปอยูในลําไสของหอยและเจริญ เปลี่ยนแปลงรูปรางไปเปนแบบมีหางยาวชวยในการวายน้ําออกจากโฮสทรองชนิดแรก (first - intermidiate) ไปยังโฮสทรองชนิดที่สองเชนฝงตัวอยูในเนื้อปลา และถูกกินโดยโฮสทหลักแลว เคลื่อนที่ไปอยูบริเวณทอน้ําดีเจริญเปนตัวแก • พยาธิใบไมที่กอใหเกิดปญหาในคนและสัตวเลี้ยงคือพยาธิใบไมที่อยูใน subclass Dignea เชน พยาธิใบไมในตับ Poisthorchis sp. ซึ่งเปนพยาธิใบไมในตับที่มีการแพรกระจายในแถบเอเซียใต ญี่ปุน และจีน นอกจากคนแลวยังพบในสุนัข แมว และหมูดวย พยาธิใบไมในเลือดที่สําคัญไดแก พยาธิใบไมในเลือด Schistosomaซึ่งถูกจัดวาเปนหนึ่งในพยาธิใบไมที่มีความสําคัญมาก ประมาณ วาประมาณ 200 ลานคนที่ถูกรุกรานดวยพยาธิชนิดนี้ ทําใหเกิดภาวะของโรคขาดเลือด มีอาการ รุนแรงถึงสมองดวย นอกจากนี้ยังมีพยาธิใบไมในปอด Paragoimus westermani
  • 14. • 4.คลาสเซสโตดา(Cestoda)ทุกชนิดเปนปรสิตภายในรางกายของสัตวมีกระดูกสันหลัง (แตมี ระยะตัวออนอยูในสัตวไมมีกระดูกสันหลัง) มีประมาณ 3,400 ชนิด ลําตัวไมมีซีเลียปกคลุม ลําตัว จะแตกตางจากคลาสอื่นๆ คือ ปลายสุดของสวนหัวประกอบดวยปุมดูด และขอเกี่ยว เรียกสโคเลกซ (Scolex) พยาธิตัวตืดมีคอสั้นซึ่งเชื่อมตอระหวางสโคเลกซกับลําตัวยาวที่เรียกวา สตรอบิลา (Strobila) ลําตัวจะแบงเปนปลอง เรียกแตละปลองวา โปรกลอททิด (Proglottid) ปลองที่อยูติดกับ สวนคอจะเปนปลองที่เกิดขึ้นใหม
  • 18. ลักษณะที่สําคัญ • มีสมมาตรเปนแบบครึ่งซีก (bilateral symmetry) • มีเนื้อเยื่อ 3 ชั้นครบถวน (triloblastics) ไมมีชองตัว (acoelomate) คือ ไมมีชองวางระหวางผนัง ลําตัวกับผนังทางเดินอาหาร ผนังชั้นนอกออนนุม บางชนิดมีซิเลีย เชน พลานาเลีย บางชนิดมีคิว ทิเคิล (cuticle) หุมและมีปุมดูด หรือขอเกี่ยว (hooks) สําหรับยึดเกาะกับโฮสต (host) เชน พยาธิ ใบไม (flukes) พยาธิตัวตืด (tapeworms) • รางกายแบนทางดานหลังและดานทอง (dorsoventrally) ไมมีขอปลอง แตบางชนิด เชน พยาธิ ตัวตืด มีขอปลอง แตเปนปลองที่เกิดขึ้นเฉพาะที่ผิวลําตัวเทานั้น
  • 19. • พวกที่มีการดํารงชีวิตอยางอิสระ จะมีเมือกลื่นๆ หุมตัว เพื่อใชในการเคลื่อนที่ สวนพวกที่ดํารงชีวิต แบบปรสิต (parasitic type) จะมีคิวทิเคิล (cuticle) หุมตัวซึ่งสรางจากเซลลที่ผิวของลําตัว ทํา หนาที่ปองกันอันตรายซึ่งเกิดจากน้ํายอยของผูถูกอาศัย (host) • มีทอทางเดินอาหารที่เปนปลายตัน หรือเปนแบบที่ไมสมบูรณ มีปากแตไมมีทวารหนัก และพบวา ทางเดินอาหารแตกแขนงออกเปน 2-3 แฉก สวนในพยาธิตัวตืดไมมีทางเดินอาหาร • สัตวในไฟลัมนี้เริ่มมีการรวมตัวของอวัยวะแสดงลักษณะหัว (cephalization) คือ มีปมประสาท สมอง อวัยวะรับความรูสึก และชองปากมารวมกันอยูทางดานหนาของลําตัว
  • 20. • ระบบขับถาย มีอวัยวะ ที่เรียกวา โพรโตเนฟริเดีย (protonephridia) มีลักษณะเปนทอที่ปลายดาน ในปด และมีทอไปเปดออกดานนอก ซึ่งประกอบดวยทอตามยาวหลายทอ (protonephridial canal) จากทอเล็กๆ นี้จะมีทอแยกไปเปนทอยอย (capillary) ที่ปลายทอยอยมีเซลลโพรโตเนฟริเดีย ลักษณะเปนรูปถวย (flame bulb) มีแฟลกเจลลัมเปนกระจุกอยูดานในของถวย ซึ่งจะโบกพัดไปมา คลายเปลวเทียน จึงเรียกวา เฟลมเซลล (flame cell = เซลลเปลวไฟ) การโบกพัดของแฟลกเจลลัม ทําใหเกิดแรงดึงน้ําผานเขาสูทอของเสียที่โพรโตเนฟริเดีย กําจัดออกในรูปของแอมโมเนียที่ละลาย อยูในน้ํา ซึ่งจะไหลออกมาตามทอ และออกสูภายนอกทางชองเปด ที่เรียกวา เนฟริดิโอพอร (nephridiopore)
  • 21. • ไมมีอวัยวะที่ใชในการหายใจโดยเฉพาะ ในพวกปรสิตจะหายใจแบบไมใชออกซิเจน (anaerobic respiration) เชน พยาธิใบไม ซึ่งพบวากระบวนการนี้ใหคารบอนไดออกไซด และอินทรียสารสะสม อยูในรางกายสูง ความเขมขนของน้ํานอกรางกายสูงกวาภายในรางกาย จึงมีผลทําใหน้ําเคลื่อน ผานเขาสูรางกาย ระบบขับถายจึงทําหนาที่ปรับสภาวะน้ําภายในรางกายใหสมดุล สวนพวกที่ ดํารงชีวิตอยางอิสระ จะหายใจแบบใชออกซิเจน (aerobic respiration) โดยการใชผิวตัวในการ แลกเปลี่ยนแกส
  • 22. • ระบบประสาท ประกอบดวย ปมประสาทดานหนา (anterior ganglia) หรือปมประสาท รูปวง แหวน (nerve ring) ทําหนาที่เปนสมองเชื่อมระหวางเสนประสาทใหญตามยาว (longitudinal nerve cord) ซึ่งทอดไปตามยาวของรางกายจํานวน 2 เสน และมีเสนประสาทตามขวาง (transverse nerve) เชื่อมระหวางเสนประสาทใหญทั้งสองดวย มีอวัยวะรับสัมผัสแบบงายๆ บาง ชนิดมีตา (eye spot) • ระบบสืบพันธุแบบอาศัยเพศโดยมีสองเพศอยูในตัวเดียวกัน จัดเปนกะเทย (hermaphrodite) มี การปฏิสนธิภายในตัวเอง (self fertilization) และปฏิสนธิแบบขามตัว (cross fertilization) และมี การสืบพันธุแบบไม
  • 23. ระบบยอยอาหาร • หนอนตัวแบน เปนสัตวที่อยูในไฟลัมแพลทีเฮลมินทิส (Platyhelminthes) ไดแก • พลานาเรีย พยาธิใบไม และพยาธิตัวตืด พลานาเรีย พยาธิใบไม พยาธิตัวตืด
  • 24. • 1. พลานาเรีย ทางเดินอาหารของพลานาเรียเปนแบบ 3 แฉก แตละแฉกจะมีแขนงของทางเดิน อาหารแตกแขนงยอยออกไปอีกเรียกวา ไดเวอรทิคิวลัม (Diverticulum) ปากอยูบริเวณกลาง ลําตัว ตอจากปากเปนคอหอย (Pharynx) มีลักษณะคลายงวงยาวหรือโพเบอซิส (Probosis) มี กลามเนื้อแข็งแรง มีหนาที่จับอาหารเขาสูปาก กากอาหารที่เหลือจากการยอยและดูดซึมแลวจะ ถูกขับออกทางชองปากเชนเดิม การยอยอาหารของพลานาเรียเปนการยอยภายนอก เซลล นอกจากนี้เซลลบุผนังชองทางเดินอาหารยังสามารถฟาโกไซโทซิสจับอาหารเขามายอย ภายในเซลลไดดวย ภาพซ้ายแสดงคอหอยที่ใช้จับอาหารและปาก และภาพขวาแสดงทางเดินอาหารของพลานาเรีย ที่มา : รูปซ้าย www.johnson.emcs.net รูปขวา www.geocities.com
  • 25. • 2. พยาธิใบไม มีทางเดินอาหารคลายพลานาเรีย แตทางเดินอาหารสวนลําไสไมแตก กิ่งกานสาขา มีลักษณะคลายอักษรรูปตัววาย (Y–shape) ทางเดินอาหารของพยาธิใบไม ประกอบดวยปากปุมดูด (Oral sucker) ที่มีปากดูดกินอาหารจากโฮสต ตอจากปากเปนคอหอย (Pharynx) ตอจากคอหอยเปนหลอดอาหารสั้น ๆซึ่งจะตอกับลําไส (Intestine) แสดงทางเดินอาหารของพยาธิใบไม้และอวัยวะภายในบางชนิด ที่มา : geocities.com
  • 26. • 3. พยาธิตัวตืด ไมมีระบบทางเดินอาหาร เพราะอาหารที่ไดรับเขาสูรางกายสวนใหญถูกแปร สภาพเรียบรอยแลวโดยผูถูกอาศัย ใชกระบวนการแพรของสารอาหารที่ยอยแลวเขาสูรางกาย ลักษณะของพยาธิตัวตืด ที่มา : www.kateteneyck.com ภาพตัวโตเต็มวัยของพยาธิตัวตืดที่เน้นให้เห็นส่วนหัว โดยเฉพาะส่วนที่ใช้เกาะดูด (Sucker) ที่มา : www.thailabonline.com/bacteria/tenia1.jpg
  • 27. ระบบเลือด • ไมมีระบบหมุนเวียน (Circulatory system) อาศัยการแลกเปลี่ยนกาซและของเสียทางผิวหนัง โดยตรง ดังนั้นผิวหนังจึงสรางความชุมชื้นอยูเสมอ บางชนิดอาจมีอวัยวะพิเศษชวยในการกําจัดของ เสียที่เรียก เนฟเดีย (nephridia flame cell)
  • 28. ระบบหายใจ • ไมมีระบบหายใจ (Respiratory system) การแลกเปลี่ยนกาซใชการแพรผานผนังลําตัว
  • 29. ระบบสืบพันธุ • สามารถสืบพันธุ • ไดทั้งแบบไมอาศัยเพศ โดยอาศัยการงอกใหม (regeneration)และโดยมี อาศัยเพศ แบบสองเพศใน ตัวเดียวกัน (hermaphodise) และสามารถผสมขามตัว หรือผสมภายในตัวเอง แลวแตวงศ ไขมีขนาด เล็ก เมื่อผสมแลวจะปลอยออกภายนอกตัว มีทั้งที่หากินเปนอิสระและเปนปรสิต
  • 31. สมาชิก • นายอดิศักดิ์ ทิพยโอสถ รหัสนักศึกษา580112502056 • นางสาวเกศราภรณ มวงชาติ รหัสนักศึกษา580112502061 • นางสาวจุฑามาศ เอื้อนไธสง รหัสนักศึกษา580112502065 • นางสาวเจนจิรา อยูสาโก รหัสนักศึกษา580112502066 นักศึกษาสาขาสัตวศาสตร ชั้นปที่ 2 หมู 2 คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฎบุรีรัมย