SlideShare a Scribd company logo
1 of 23
Download to read offline
ความหมายของคอมพิวเตอร์
อธิวัฒน์ สัตถาวะโห
17 มกราคม 2559
คอมพิวเตอร์ คือเครื่องจักรแบบสั่งการได้ที่ออกแบบมาเพื่อดาเนินการกับลาดับตรรกศาสตร์ หรือ
คณิตศาสตร์ ส่งผลให้คอมพิวเตอร์สามารถแก้ไข้ปัญหาต่างๆ ได้มากมาย
คอมพิวเตอร์ คือคณิตกรณ์ ตามคาศัพท์ที่ราชบัณฑิต สถานบัญญัติไว้ชึ่งก็คือเครื่องคานวณทาง
คณิตศาสตร์
คอมพิวเตอร์ คือเครื่องจักรอิเล็กทรอนิกส์ที่ถูกสร้างขึ้นเพื่อใช้ทางานแทนมนุษย์ในด้านการคิดคานวณ
และสามารถจาข้อมูล ทั้งตัวเลขและตัวอักษรได้เพื่อการเรียกใช้งานในครั้งต่อไป นอกจากนี้ ยังสามารถ
จัดการกับสัญลักษณ์ได้ด้วยความเร็วสูง โดยปฏิบัติตามขั้นตอนของโปรแกรม คอมพิวเตอร์ยังมี
ความสามารถในด้านต่างๆ อีกมาก อาทิเช่น การเปรียบเทียบทางตรรกศาสตร์ การรับส่งข้อมูล การจัดเก็บ
ข้อมูลในตัวเครื่องและสามารถประมวลผลจากข้อมูลต่างๆ ได้
คอมพิวเตอร์ คือมาจากภาษาละตินว่า Computare ซึ่งหมายถึง การนับ หรือ การคานวณ พจนานุกรม
ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525 ให้ความหมายของคอมพิวเตอร์ไว้ว่า "เครื่องอิเล็กทรอนิกส์แบบ
อัตโนมัติ ทาหน้าที่เหมือนสมองกล ใช้สาหรับแก้ปัญหาต่างๆ
ที่ง่ายและซับซ้อนโดยวิธีทางคณิตศาสตร์“
คอมพิวเตอร์ คือคอมพิวเตอร์เครื่องอิเล็กทรอนิกส์แบบอัตโนมัติ ทางานเหมือนสมองกล ใช้สาหลับ
แก้ปัญหาต่างๆ ที่ซับซ้อนทางคณิตศาสตร์
ความหมายของคอมพิวเตอร์
อธิวัฒน์ สัตถาวะโห
คอมพิวเตอร์มีหลากหลายความหมายหมาย แต่เราอาจสรูปได้ว่า คอมพิวเตอร์ คือ เครื่องจักร
อิเล็กทรอนิกส์ ที่สามารถจัดการกับ สัญลักษณ์ (symbol) ต่างๆด้วยความเร็วสูงโดย ปฏิบัติการ
ตามขึ้นตอนของโปรแกรม หรือ ชุดคาสั่งงานที่ถูกเขียนขึ้นโดยมนุษย์ดังนั้นถ้าคาสั่งของ
โปรแกรม หรือ ชุดคาสั่งงานที่ถูกเขียนขึ้นโดย มนุษย์ดังนั้น ถ้าคาสั่งของโปรแกรมมี
ประสิทธิภาพดี คอมพิวเตอร์ ก็จะสามารถทางานได้อย่างมีประสิทธิภาพ แต่ถ้าคาสั่งงานของ
โปรแกรมที่ผิด หรือมีข้อผิดพลาด อยู่ภายในเครื่องคอมพิวเตอร์ก็จะทางานผิดพลาดไปด้วย
เพราะฉะนั้นการที่คอมพิวเตอร์จะทางานได้อย่างมีประสิทธิภาพนั้น จะขึ้นอยู่กับโปรแกรมทีทา
ขึ้นโดยรวมไปถึงข้อมูล ที่ป้อนเข้าไปในคอมพิวเตอร์
สรุปความหมายของคอมพิวเตอร์
อธิวัฒน์ สัตถาวะโห
ความเร็ว (speed)
ความเป็นอัตโนมัติ (Self Acting)
ความน่าเชื่อถือ (Reliable)
ความถูกต้องแม่นยา (Accurate)
การเก็บข้อมูลและการสารองข้อมูล (storage)
การเคลื่อนย้าย และ การแลกเปลี่ยนข้อมูล (Moving and Chang of information)
การทางานซ้า (Repeatbility)
สรุปความหมายของคอมพิวเตอร์
อธิวัฒน์ สัตถาวะโห
ค.ศ.1617 จอห์น เนเปียร์ (John Napier) นักคณิตศาสตร์ชาว สก็อตแลนด์ ได้สร้างตารางการ
คูณบนชุดของแท่งต่างๆ แต่ละด้านบรรจุตัวเลขที่สัมพันธ์กันในลักษณะความก้าวหน้าเชิง
คณิตศาสตร์ สามารถหาค่ารากที่สอง รากที่สาม และสามารถคูณหรือหารเลขจานวนมากๆ และการ
ยกกาลังจานวนมาก ๆ ให้ได้ผลลัพธ์ถูกต้องและรวดเร็วได้ และได้แปลงปัญหาของการคูณที่ซับซ้อน
ไปเป็นปัญหาการบวกที่ง่ายขึ้น เครื่องมือที่เรียกว่า สไลด์รูล (slide rule) เพื่อใช้ในการคูณ และ
เครื่องมือนี้เป็นต้นกาเนิดของ อนาล็อกคอมพิวเตอร์(analog computer)
วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์ (1)
อธิวัฒน์ สัตถาวะโหดร. จอห์น เนเปียร์
ค.ศ. 1632 : วิลเลี่ยม ออตเทรด (William Oughtred) ประดิษฐ์ไม้บรรทัดคานวณ (Slide Rules)
เพื่อใช้ในทางดาราศาสตร์ ถือเป็น คอมพิวเตอร์อนาลอก (Analog Computer) เครื่องแรกของโลก
วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์ (2)
อธิวัฒน์ สัตถาวะโห
ดร.วิลเลี่ยม ออตเทรด Analog Computer
วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์ (3)
อธิวัฒน์ สัตถาวะโห
ค.ศ. 1642 : เบลส ปาสคาล (Blaise Pascal: 1623 - 1662) ชาวฝรั่งเศส ประดิษฐ์เครื่องบวกเลข
แบบมีเฟืองหมุนคือมีฟันเฟือง 8 ตัว เมื่อเฟืองตัวหนึ่งนับครบ 10 เฟืองตัวติดกันทางซ้ายจะขยับไปอีก
หนึ่งตาแหน่ง ซึ่งหลักการนี้เป็นรากฐานของการพัฒนาเครื่องคานวณ และถือว่า เครื่องบวกเลข
(Adding Machine) ของปาสคาลเป็นเครื่องบวกเลขเครื่องแรกของโลก
ดร.เบลส ปาสคาล
ประดิษฐ์เครื่องบวกเลขแบบมีเฟืองหมุน
วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์ (4)
อธิวัฒน์ สัตถาวะโห
ค.ศ. 1822 : ชาร์ลส์ แบบเบจ (Charles Babbage: 1792 - 1871) ศาสตราจารย์ทางคณิตศาสตร์
แห่ง มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ของอังกฤษ มีแนวความคิดสร้างเครื่องหาผลต่าง เรียกว่า Difference
Engine สาหลับใช้ในการคานวณ และ พิมพ์ค่าตารางทาง คณิตศาสตร์โดยได้รับความช่วยเหลือจาก
ราชสมาคม (Royal Astronomical Society) ของรัฐบาลอังกฤษ สร้างสาเร็จในปี ค.ศ. 1832
ดร. ชาลส์ แบบเบจ Difference Engin
วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์ (5)
อธิวัฒน์ สัตถาวะโห
ค.ศ. 1843 เอดา ออกัสตา เลิฟเลซ (Ada Augusta Lovelace) นักคณิตศาสตร์ผู้ร่วมงานของชาร์ล
แบบเบจ เป็นผู้ช่วยปรับปรุงงานของ ชาร์ล แบบเบจ ซึ่งสารมารถ ใช้เลขฐานสองในการแทนค่า
ตัวเลขแทนฐานสิบ และ เป็นผู้ที่สามารถเขียนโปรแกรมโดยใช้บัตรเจาะ Ada จึงได้รับการยกย่องให้
เป็น นักโปรแกรมคนแรกของโลก
ดร. เอดา ออกัสตา เลิฟเลซ
วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์ (6)
ค.ศ. 1850 : จอร์จ บูล (George Boole) นักคณิตศาสตร์ชาวอังกฤษ ได้สร้างแนวคิดเกี่ยวกับระบบ
พีชคณิตแบบใหม่ เรียกว่า Boolean Algebra เพื่อใช้หาข้อเท็จจริงจากเหตุผลต่าง ๆ และแต่งตาราเรื่อง
“The Laws of Thoughts” ว่าด้วยเรื่องของการใช้เครื่องหมาย AND, OR, NOT ซึ่งเป็นรากฐานทาง
คณิตศาสตร์ให้กับการพัฒนาทางด้านไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ เช่น สวิตช์ปิดหรือเปิด การไหลของ
กระแสไฟฟ้า ไหลหรือไม่ไหล ตัวเลขจานวนบวกหรือลบ เป็นต้น โดยที่ผลลัพธ์ที่ได้จากพีชคณิตจะ
มีเพียง 2 สถานะคือ จริงหรือเท็จเท่านั้น ซึ่งอาจจะแทนจริงด้วย 1 และแทนเท็จด้วย 0
ดร. จอร์จ บูล
อธิวัฒน์ สัตถาวะโห
วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์ (7)
อธิวัฒน์ สัตถาวะโห
ค.ศ. 1884 : ดร.เฮอร์มาน ฮอลเลอริธ (Dr.Herman Hollerith) นักสถิติชาวอเมริกัน เป็นผู้คิด
ประดิษฐ์บัตรเจาะรูสาหรับเก็บข้อมูล โดยได้แนวคิดจากบัตรควบคุมการทอผ้าของ Jacquard และ
วิธีการหนีบตั๋วรถไฟของเจ้าหน้าที่รถไฟ นามาดัดแปลงและประดิษฐ์เป็นบัตรเก็บข้อมูลขึ้น และทา
การสร้างเครื่องคานวณไฟฟ้าที่สามารถอ่านบัตรที่เจาะได้ทาให้สามารถทางานได้อย่างรวดเร็วและ
ประหยัดค่าใช้จ่ายได้มาก
ดร.เฮอร์แมน ฮอลร์เลอริธ
วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์ (8)
อธิวัฒน์ สัตถาวะโห
ค.ศ. 1944 โฮเวิร์ด เอช ไอเคน (Dr. Howord Aiken) ได้ร่วมกับวิศวกรของบริษัทไอบีเอ็ม จากัด
ได้สร้างเครื่องคานวณแบบที่ ชาร์ล แบบเบจ เคยใฝ่ฝันไว้เป็นผลสาเร็จให้ชื่อว่า ASCC (Automatic
Controlled Calculator) หรือ Mark I เป็นเครื่องขนาดใหญ่มากทางานเสียง
MARK 1ดร.โฮเวิร์ด เอช ไอเคน
วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์ (9)
อธิวัฒน์ สัตถาวะโห
ค.ศ. 1943 : เจ เพรสเปอร์ เอ็คเคิร์ท (J. Presper Eckert)นักวิศวกรและ จอห์น มอชลี (John
Mauchly) ศาสตราจารย์แห่งมหาวิทยาลัยเพนซิลวาเนีย ได้ช่วยกันสร้างเครื่องคานวณอิเล็กทรอนิกส์
โดยใช้หลอดสุญญากาศ (Vacuum Tube) สร้างสาเร็จในปี ค.ศ. 1946 นับเป็น เครื่องคานวณ
อิเล็กทรอนิกส์เครื่องแรกของโลก เรียกว่า ENIAC (ElectronicNumerical Integratorand Calculator)
ดร. จอห์น มอชลี ดร. เจ เพรสเปอร์ ENIAC
วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์ (10)
อธิวัฒน์ สัตถาวะโห
ค.ศ. 1945 ดร.จอห์น วอน นิวแมนน์ (Dr.John Von Neumann) ได้สร้างเครื่องคอมพิวเตอร์ที่
สามารถเก็บคาสั่งและข้อมูลทั้งหมดไว้ในหน่วยความจาของเครื่องจากแนวความคิดของจอห์น ฟอน
นอยมันน์ เครื่องคอมพิวเตอร์ก็ได้รับการพัฒนาเพิ่มขึ้นมีชื่อว่า EDVAC (Electronic Discrete
Variable Automatic Computer) และต่อมาในปี ค.ศ. 1952 ที่มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ประเทศอังกฤษ
ได้สร้างเครื่องคอมพิวเตอร์คล้ายกับ EDVAC โดยให้ชื่อว่า EDASC (Electronic Delay Storage
Automatic Computer) ซึ่งอาจถือได้ว่าเครื่อง EDVAC และ EDSAC เป็นคอมพิวเตอร์เครื่องแรกของ
โลก
ดร. จอห์น วอน นิวแมนน์
วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์ (11)
อธิวัฒน์ สัตถาวะโห
ค.ศ. 1949 : หลังจากที่มอชลี และ เอ็คเคิร์ท ได้ร่วมมือกันจัดตั้งบริษัทผลิตคอมพิวเตอร์ออกขาย
แต่ประสบปัญหาทางการเงิน จึงขายกิจการให้กับบริษัท Speery Rand Corporation และได้ร่วมมือกัน
สร้างเครื่องคอมพิวเตอร์ UNIVAC I (Universal Automatic Computer I) สาเร็จในปี ค.ศ. 1951 โดย
ใช้เทปแม่เหล็กเป็นสื่อบันทึกข้อมูล นับว่าเป็นคอมพิวเตอร์สาหรับใช้งานทางธุรกิจเป็นเครื่องแรก
ของโลก โดยติดตั้งให้กับบริษัท General Electric Appliance ในปี ค.ศ. 1954 ต่อมาบริษัท Speery
Rand Corporation เปลี่ยนชื่อเป็น บริษัทยูนิแวค และ ยูนิซิส จนกระทั่งบริษัทไอบีเอ็ม ได้ก้าวเข้าสู่
วงการคอมพิวเตอร์ และได้พัฒนาเครื่องคอมพิวเตอร์จนเจริญก้าวหน้ามาตามลาดับ
EDVAC คอมพิวเตอร์ต้นแบบเครื่องแรกของโลก UNIVAC I
วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์ (12)
อธิวัฒน์ สัตถาวะโห
ประเทศไทยเริ่มมีการนาคอมพิวเตอร์เข้ามา ใช้เป็นครั้งแรกในปี ค.ศ. 1963 หรือ พ.ศ. 2506 คือ
เครื่องคอมพิวเตอร์ไอบีเอ็ม (IBM) 1620 โดยได้รับมอบจากมูลนิธิ เอไอดี และ บริษัทไอบีเอ็ม ซึ่ง
ติดตั้งที่ภาควิชาสถิติ คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ซึ่งปัจจุบันหมดอายุ
การใช้งานไปแล้วและเก็บอยู่ที่ศูนย์บริภัณฑ์การศึกษาท้องฟ้าจาลอง กรุงเทพฯ ราคาเครื่อง
คอมพิวเตอร์ไอบีเอ็ม 1620 ในขณะนั้นราคาประมาณ 2 ล้านกว่าบาท ซึ่งการใช้งานเน้นทางการศึกษา
ตัวอย่างของเครื่องไอบีเอ็ม 1620
เครื่องคอมพิวเตอร์ IBM 1620
ยุคของเครื่องคอมพิวเตอร์ (Generatin of Computer)
อธิวัฒน์ สัตถาวะโห
ยุคที่ 1: (The First Generation) ปี ค.ศ. 1951 – 1958
UNIVAC I คือเครื่องคอมพิวเตอร์อเนกประสงค์ที่ใช้ในเชิงธุรกิจ เป็นเครื่องหมายของการ
เริ่มต้นยุคที่ 1 เครื่องคอมพิวเตอร์ในยุคนี้มีขนาดใหญ่ใช้หลอดสุญญากาศ (Vacuum tubes) ซึ่ง
ก่อให้เกิดความร้อนสูงมาก จึงต้องใช้เครื่องปรับอากาศ การบารุงรักษา และ พื้นที่กว้างมาก สื่อบันทึก
ข้อมูลได้แก่ เทปแม่เหล็ก IBM 650 เป็นเครื่องที่สามารถทางานได้ทั้งด้านธุรกิจและวิทยาศาสตร์
หน่วยความจาเป็น ดรัมแม่เหล็ก (magnetic drum) และใช้บัตรเจาะรู การสั่งงานใช้ภาษาเครื่อง
(machine language) ซึ่งเป็นภาษาตัวเลข ในระบบตัวเลขฐานสอง (binary digit)
หลอดสูญญากาศ วงแหวนแม่เหล็ก
อธิวัฒน์ สัตถาวะโห
เครื่องคอมพิวเตอร์ในยุคนี้มีขนาดเล็กลง กินไฟน้อยลง ราคาถูกลง เพราะมีการประดิษฐ์
ทรานซิสเตอร์ (Transistor) ขึ้นมาใช้แทนหลอดสูญญากาศ ทาให้ทางานได้เร็วขึ้นและได้ผลลัพธ์ที่
ถูกต้องมากกว่าใช้หลอดสูญญากาศ ทรานซิสเตอร์มีขนาดเล็กกว่าหลอดสูญญากาศหลายเท่าในยุคนี้ได้มี
การสร้างวงแหวนแม่เหล็ก (Magnetic Core) มาใช้แทนดรัมแม่เหล็ก(Magnetic Drum) ซึ่งจะใช้เป็น
หน่วยความจาภายในสาหรับการเก็บข้อมูลและชุดคาสั่งภาษาคอมพิวเตอร์ที่ใช้เขียนโปรแกรมในยุคที่ 2
นี้ คือภาษาแอสเซมบลี (Assembly) ซึ่งเป็นภาษาที่ใช้สัญลักษณ์แทนคาสั่งต่างๆทาให้เขียนโปรแกรมได้
ง่ายกว่าภาษาเครื่องเครื่องคอมพิวเตอร์ในยุคนี้ เช่น IBM 1620,IBM 401, Honeywell แต่อย่างไรก็ตาม
ภาษาแอสเซมบลีเมื่อนาไปเขียนโปรแกรมที่มีขนาดใหญ่จะไม่เหมาะสมอีกทั้งการเขียนโปรแกรม
ภาษาแอสเซมบลีต้องเข้าใจถึงโครงสร้างสถาปัตยกรรมภายในของระบบคอมพิวเตอร์นั้นจึงจะสามารถ
เขียนโปรแกรมได้ทาให้ยากต่อการเขียนโปรแกรมและการพัฒนา
ทรานซิสเตอร์
ยุคที่ 2: (The Second Generation) ปี ค.ศ. 1959 – 1964
อธิวัฒน์ สัตถาวะโห
ยุคที่ 3: (The Third Generation) ปี ค.ศ. 1965 – 1970
เครื่องคอมพิวเตอร์ที่ถูกพัฒนามาใช้ในยุคนี้เป็นวงจรรวม หรือ เรียกว่าไอซี (IC : Integrated
Circuit) ซึ่งเป็นวงจรอิเล็กทรอนิกส์ที่ถูกบรรจุลงในแผ่นซิลิคอน (Silicon) บางๆ ที่ เรียกว่าชิป (Chip)
ใน ชิป แต่ละตัวจะประกอบด้วยวงจรอิเล็กทรอนิกส์หลายพันตัว จึงทาให้คอมพิวเตอร์มีขนาดเล็กลง
กว่าเดิมแต่ความเร็วในการทางานสูงขึ้น กินไฟน้อยลง ความร้อนลดลงและประสิทธิภาพในการ
ทางานเพิ่มขึ้น แต่ก่อนที่คอมพิวเตอร์จะเป็นวงจรรวมคอมพิวเตอร์จะถูกออกแบบเพื่อใช้กับงานแต่
ละอย่างเช่นใช้ในงานคานวณหรือใช้กับงานธุรกิจเมื่อคอมพิวเตอร์ถูกพัฒนามาใช้วงจรรวมก็สามารถ
ใช้กับงานที่ซับซ้อนได้มากขึ้น ภาษาเครื่องคอมพิวเตอร์ในยุคนี้ เช่น ฟอเทรน (Fortran) และโคบอล
(Cobol)
(IC : Integrated Circuit) เรียกว่าชิป (Chip)
อธิวัฒน์ สัตถาวะโห
ยุคที่ 4: (The Fourth Generation) ปี ค.ศ. 1971 – ปัจจุบัน
เครื่องคอมพิวเตอร์ในยุคนี้ได้มีการพัฒนาเอาวงจรรวมหลายๆ วงจรมารวมเป็นวงจรขนาด
ใหญ่ เรียกว่า LSI (Large Scale Integrated)ลงในชิปแต่ละอัน บริษัทอินเทล (Intel) ได้สร้างไมโคร
โพรเซสเซอร์ (Microprocessor) ซึ่งเป็นชิป 1 อัน ที่ประกอบด้วยวงจรทั้งหมดที่ต้องใช้ในการ
ประมวลผลโปรแกรม ปัจจุบันได้มีการพัฒนามากขึ้นโดยสามารถสร้างวงจรอิเล็กทรอนิกส์หลาย
หมื่นวงจรรวมอยู่ใน ชิปเดียว เป็นวงจร LSI (Large Scale Integrated) และ VLSI (Very Large Scale
Integrated) ในยุคนี้ได้มีการสร้างเครื่องคอมพิวเตอร์ทั้งขนาดเล็ก ขนาดกลาง และขนาดใหญ่ ได้แก่
ไมโครคอมพิวเตอร์ มินิคอมพิวเตอร์ เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ และซูเปอร์คอมพิวเตอร์ โดยเฉพาะ
เครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ ได้รับความนิยมเป็นอย่างมากเพราะมีขนาดเล็ก กะทัดรัดและราคาถูกแต่มี
ประสิทธิภาพที่เพิ่มขึ้น และมีการทางานที่เร็วขึ้น
LSI (Large Scale Integrated)
ยุคที่ 5: (The Fifth Generation) เริ่มต้นตั้งแต่ศตวรรษที่ 21
เริ่มเข้าสู่ศตวรรษที่ 21 คอมพิวเตอร์ในยุคนี้เป็นการเปลี่ยนแปลงขนานใหญ่จากยุคที่ 4 เป็น
คอมพิวเตอร์อัจฉริยะ สามารถคิด มองเห็น ฟัง และพูดคุยได้โครงสร้างคอมพิวเตอร์จะแตกต่างไป
จากเดิม การประมวลผลข้อมูลเป็นแบบขนาน (Parallel) แทนแบบอนุกรม (Serially) การสร้างระบบ
คอมพิวเตอร์อัจฉริยะ คือหนึ่งในเป้าหมายหลักทางด้านวิทยาการเกี่ยวกับปัญญาประดิษฐ์ (artificial
intelligence: AI) สิ่งที่ปรากฏในยุคนี้คือ optical computerใช้ photonic หรือ optoelectronic เป็นวงจร
มากกว่าวงจรอิเล็กทรอนิกส์ ประมวลผลข้อมูลด้วยแสงเลเซอร์ ปฏิบัติการด้วยความเร็วใกล้กับความ
ไวแสง ในอนาคตจะมีขนาดเล็กมาก เร็ว และ biocomputer มีอานาจมากขึ้น จะเติบโตจาก
องค์ประกอบสาคัญคือการใช้เซลจากสิ่งมีชีวิตเป็นวงจร
โน้ตบุ๊กปัจจุบัน
คอมพิวเตอร์ปัจจุบัน
อธิวัฒน์ สัตถาวะโห
สรุปเกี่ยวกับแต่ละยุค จนถึงปัจจุบัน
ยุคที่ 1 หลอดสูญญากาศ ยุคที่ 2 ทรานซิสเตอร์
ยุคที่ 3 วงจร IC ยุคที่ 4 LSI Chip
ยุคที่ 5โน้ตบุ๊กปัจจุบัน
หรือชิป (Chip)
อธิวัฒน์ สัตถาวะโห
งามนิจ อาจอินทร์, ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับวิทยาการคอมพิวเตอร์., กรุงเทพฯ, 2542.
จุฑารัตน์ สมจริง [Online]. Available: http://vcharkarn.com
[17 มีนาคม 2559].
พรรณา พูนพิน [Online]. Available: http://web.bsru.ac.th/~panna/learning.html
[17 มีนาคม 2559].
สุริยา นิ่มตระกูล [Online]. http://www.chakkham.ac.th/technology/computer/index.htm
[17 มีนาคม 2559].
ไพศาล โมลิสกุลมงคล, ประสงค์ ประณีตพลกรัง, อนุโชต วุฒิพรพงษ์ และ ศรายุธ คลังทอง,
สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ (Computer Architecture)., กรุงเทพฯ, 2547.
เอกสารอ้างอิง
อธิวัฒน์ สัตถาวะโห

More Related Content

What's hot

บทที่ 1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
บทที่ 1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้นบทที่ 1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
บทที่ 1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้นPises Tantimala
 
แก้0 งานที่1 ด.ช. วีละชัย ตาลสี
แก้0 งานที่1 ด.ช. วีละชัย ตาลสีแก้0 งานที่1 ด.ช. วีละชัย ตาลสี
แก้0 งานที่1 ด.ช. วีละชัย ตาลสีPhuripanya Soriwen
 
ก่อนจะมาเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์
ก่อนจะมาเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ก่อนจะมาเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์
ก่อนจะมาเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์uthenmada
 
เสนอผลงานหน่วยที่ 1
เสนอผลงานหน่วยที่ 1เสนอผลงานหน่วยที่ 1
เสนอผลงานหน่วยที่ 1Jansri Pinkam
 
สไลด์ บทที่ 1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
สไลด์ บทที่ 1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้นสไลด์ บทที่ 1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
สไลด์ บทที่ 1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้นit4learner
 
วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์
วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์
วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์Kanyawee Sriphongpraphai
 
วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์
วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์
วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์Kanyawee Sriphongpraphai
 
วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์
วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์
วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์Ploy Wantakan
 
ฮาร์ดแวด์
ฮาร์ดแวด์ฮาร์ดแวด์
ฮาร์ดแวด์sommat
 
Turing machine2
Turing machine2Turing machine2
Turing machine2bewhands
 
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่  1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่  1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์krupan
 

What's hot (15)

บทที่ 1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
บทที่ 1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้นบทที่ 1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
บทที่ 1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
แก้0 งานที่1 ด.ช. วีละชัย ตาลสี
แก้0 งานที่1 ด.ช. วีละชัย ตาลสีแก้0 งานที่1 ด.ช. วีละชัย ตาลสี
แก้0 งานที่1 ด.ช. วีละชัย ตาลสี
 
ก่อนจะมาเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์
ก่อนจะมาเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ก่อนจะมาเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์
ก่อนจะมาเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์
 
เสนอผลงานหน่วยที่ 1
เสนอผลงานหน่วยที่ 1เสนอผลงานหน่วยที่ 1
เสนอผลงานหน่วยที่ 1
 
สไลด์ บทที่ 1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
สไลด์ บทที่ 1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้นสไลด์ บทที่ 1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
สไลด์ บทที่ 1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์
วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์
วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์
 
วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์
วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์
วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์
 
วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์
วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์
วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
ฮาร์ดแวด์
ฮาร์ดแวด์ฮาร์ดแวด์
ฮาร์ดแวด์
 
Turing machine2
Turing machine2Turing machine2
Turing machine2
 
Chapter4
Chapter4Chapter4
Chapter4
 
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่  1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่  1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
 
work3-18
work3-18work3-18
work3-18
 
Chepter1
Chepter1Chepter1
Chepter1
 

Similar to https://athiwatpc.wordpress.com

อานนท์
อานนท์อานนท์
อานนท์Arnon2516
 
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์Sakulrut
 
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์Sakulrut
 
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์Sakulrut
 
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่  1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่  1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์krupan
 
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่  1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่  1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์krupan
 
Von neumann model2
Von neumann model2Von neumann model2
Von neumann model2looked
 
Von neumann model2
Von neumann model2Von neumann model2
Von neumann model2looked
 
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์piyarut084
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอมsuphawadeebb
 
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์Chadarat37
 
ดช. ภูริปัญญา โสริเวณ แก้0
ดช. ภูริปัญญา โสริเวณ แก้0ดช. ภูริปัญญา โสริเวณ แก้0
ดช. ภูริปัญญา โสริเวณ แก้0lamtan pattawong
 
Historycom 2
Historycom 2Historycom 2
Historycom 2paween
 
Historycom 2
Historycom 2Historycom 2
Historycom 2paween
 
ฮาร์ดแวด์
ฮาร์ดแวด์ฮาร์ดแวด์
ฮาร์ดแวด์Nantawoot Imjit
 
วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์1
วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์1วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์1
วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์1Sindy Lsk
 
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้นคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้นWithawat Na Wanma
 

Similar to https://athiwatpc.wordpress.com (20)

อานนท์
อานนท์อานนท์
อานนท์
 
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
 
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
 
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
 
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่  1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่  1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
 
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่  1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่  1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
Von neumann model2
Von neumann model2Von neumann model2
Von neumann model2
 
Von neumann model2
Von neumann model2Von neumann model2
Von neumann model2
 
2 evaluation
2 evaluation2 evaluation
2 evaluation
 
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
 
Computer1
Computer1Computer1
Computer1
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
 
ดช. ภูริปัญญา โสริเวณ แก้0
ดช. ภูริปัญญา โสริเวณ แก้0ดช. ภูริปัญญา โสริเวณ แก้0
ดช. ภูริปัญญา โสริเวณ แก้0
 
Historycom 2
Historycom 2Historycom 2
Historycom 2
 
Historycom 2
Historycom 2Historycom 2
Historycom 2
 
ฮาร์ดแวด์
ฮาร์ดแวด์ฮาร์ดแวด์
ฮาร์ดแวด์
 
วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์1
วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์1วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์1
วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์1
 
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้นคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 

https://athiwatpc.wordpress.com

  • 2. คอมพิวเตอร์ คือเครื่องจักรแบบสั่งการได้ที่ออกแบบมาเพื่อดาเนินการกับลาดับตรรกศาสตร์ หรือ คณิตศาสตร์ ส่งผลให้คอมพิวเตอร์สามารถแก้ไข้ปัญหาต่างๆ ได้มากมาย คอมพิวเตอร์ คือคณิตกรณ์ ตามคาศัพท์ที่ราชบัณฑิต สถานบัญญัติไว้ชึ่งก็คือเครื่องคานวณทาง คณิตศาสตร์ คอมพิวเตอร์ คือเครื่องจักรอิเล็กทรอนิกส์ที่ถูกสร้างขึ้นเพื่อใช้ทางานแทนมนุษย์ในด้านการคิดคานวณ และสามารถจาข้อมูล ทั้งตัวเลขและตัวอักษรได้เพื่อการเรียกใช้งานในครั้งต่อไป นอกจากนี้ ยังสามารถ จัดการกับสัญลักษณ์ได้ด้วยความเร็วสูง โดยปฏิบัติตามขั้นตอนของโปรแกรม คอมพิวเตอร์ยังมี ความสามารถในด้านต่างๆ อีกมาก อาทิเช่น การเปรียบเทียบทางตรรกศาสตร์ การรับส่งข้อมูล การจัดเก็บ ข้อมูลในตัวเครื่องและสามารถประมวลผลจากข้อมูลต่างๆ ได้ คอมพิวเตอร์ คือมาจากภาษาละตินว่า Computare ซึ่งหมายถึง การนับ หรือ การคานวณ พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525 ให้ความหมายของคอมพิวเตอร์ไว้ว่า "เครื่องอิเล็กทรอนิกส์แบบ อัตโนมัติ ทาหน้าที่เหมือนสมองกล ใช้สาหรับแก้ปัญหาต่างๆ ที่ง่ายและซับซ้อนโดยวิธีทางคณิตศาสตร์“ คอมพิวเตอร์ คือคอมพิวเตอร์เครื่องอิเล็กทรอนิกส์แบบอัตโนมัติ ทางานเหมือนสมองกล ใช้สาหลับ แก้ปัญหาต่างๆ ที่ซับซ้อนทางคณิตศาสตร์ ความหมายของคอมพิวเตอร์ อธิวัฒน์ สัตถาวะโห
  • 3. คอมพิวเตอร์มีหลากหลายความหมายหมาย แต่เราอาจสรูปได้ว่า คอมพิวเตอร์ คือ เครื่องจักร อิเล็กทรอนิกส์ ที่สามารถจัดการกับ สัญลักษณ์ (symbol) ต่างๆด้วยความเร็วสูงโดย ปฏิบัติการ ตามขึ้นตอนของโปรแกรม หรือ ชุดคาสั่งงานที่ถูกเขียนขึ้นโดยมนุษย์ดังนั้นถ้าคาสั่งของ โปรแกรม หรือ ชุดคาสั่งงานที่ถูกเขียนขึ้นโดย มนุษย์ดังนั้น ถ้าคาสั่งของโปรแกรมมี ประสิทธิภาพดี คอมพิวเตอร์ ก็จะสามารถทางานได้อย่างมีประสิทธิภาพ แต่ถ้าคาสั่งงานของ โปรแกรมที่ผิด หรือมีข้อผิดพลาด อยู่ภายในเครื่องคอมพิวเตอร์ก็จะทางานผิดพลาดไปด้วย เพราะฉะนั้นการที่คอมพิวเตอร์จะทางานได้อย่างมีประสิทธิภาพนั้น จะขึ้นอยู่กับโปรแกรมทีทา ขึ้นโดยรวมไปถึงข้อมูล ที่ป้อนเข้าไปในคอมพิวเตอร์ สรุปความหมายของคอมพิวเตอร์ อธิวัฒน์ สัตถาวะโห
  • 4. ความเร็ว (speed) ความเป็นอัตโนมัติ (Self Acting) ความน่าเชื่อถือ (Reliable) ความถูกต้องแม่นยา (Accurate) การเก็บข้อมูลและการสารองข้อมูล (storage) การเคลื่อนย้าย และ การแลกเปลี่ยนข้อมูล (Moving and Chang of information) การทางานซ้า (Repeatbility) สรุปความหมายของคอมพิวเตอร์ อธิวัฒน์ สัตถาวะโห
  • 5. ค.ศ.1617 จอห์น เนเปียร์ (John Napier) นักคณิตศาสตร์ชาว สก็อตแลนด์ ได้สร้างตารางการ คูณบนชุดของแท่งต่างๆ แต่ละด้านบรรจุตัวเลขที่สัมพันธ์กันในลักษณะความก้าวหน้าเชิง คณิตศาสตร์ สามารถหาค่ารากที่สอง รากที่สาม และสามารถคูณหรือหารเลขจานวนมากๆ และการ ยกกาลังจานวนมาก ๆ ให้ได้ผลลัพธ์ถูกต้องและรวดเร็วได้ และได้แปลงปัญหาของการคูณที่ซับซ้อน ไปเป็นปัญหาการบวกที่ง่ายขึ้น เครื่องมือที่เรียกว่า สไลด์รูล (slide rule) เพื่อใช้ในการคูณ และ เครื่องมือนี้เป็นต้นกาเนิดของ อนาล็อกคอมพิวเตอร์(analog computer) วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์ (1) อธิวัฒน์ สัตถาวะโหดร. จอห์น เนเปียร์
  • 6. ค.ศ. 1632 : วิลเลี่ยม ออตเทรด (William Oughtred) ประดิษฐ์ไม้บรรทัดคานวณ (Slide Rules) เพื่อใช้ในทางดาราศาสตร์ ถือเป็น คอมพิวเตอร์อนาลอก (Analog Computer) เครื่องแรกของโลก วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์ (2) อธิวัฒน์ สัตถาวะโห ดร.วิลเลี่ยม ออตเทรด Analog Computer
  • 7. วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์ (3) อธิวัฒน์ สัตถาวะโห ค.ศ. 1642 : เบลส ปาสคาล (Blaise Pascal: 1623 - 1662) ชาวฝรั่งเศส ประดิษฐ์เครื่องบวกเลข แบบมีเฟืองหมุนคือมีฟันเฟือง 8 ตัว เมื่อเฟืองตัวหนึ่งนับครบ 10 เฟืองตัวติดกันทางซ้ายจะขยับไปอีก หนึ่งตาแหน่ง ซึ่งหลักการนี้เป็นรากฐานของการพัฒนาเครื่องคานวณ และถือว่า เครื่องบวกเลข (Adding Machine) ของปาสคาลเป็นเครื่องบวกเลขเครื่องแรกของโลก ดร.เบลส ปาสคาล ประดิษฐ์เครื่องบวกเลขแบบมีเฟืองหมุน
  • 8. วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์ (4) อธิวัฒน์ สัตถาวะโห ค.ศ. 1822 : ชาร์ลส์ แบบเบจ (Charles Babbage: 1792 - 1871) ศาสตราจารย์ทางคณิตศาสตร์ แห่ง มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ของอังกฤษ มีแนวความคิดสร้างเครื่องหาผลต่าง เรียกว่า Difference Engine สาหลับใช้ในการคานวณ และ พิมพ์ค่าตารางทาง คณิตศาสตร์โดยได้รับความช่วยเหลือจาก ราชสมาคม (Royal Astronomical Society) ของรัฐบาลอังกฤษ สร้างสาเร็จในปี ค.ศ. 1832 ดร. ชาลส์ แบบเบจ Difference Engin
  • 9. วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์ (5) อธิวัฒน์ สัตถาวะโห ค.ศ. 1843 เอดา ออกัสตา เลิฟเลซ (Ada Augusta Lovelace) นักคณิตศาสตร์ผู้ร่วมงานของชาร์ล แบบเบจ เป็นผู้ช่วยปรับปรุงงานของ ชาร์ล แบบเบจ ซึ่งสารมารถ ใช้เลขฐานสองในการแทนค่า ตัวเลขแทนฐานสิบ และ เป็นผู้ที่สามารถเขียนโปรแกรมโดยใช้บัตรเจาะ Ada จึงได้รับการยกย่องให้ เป็น นักโปรแกรมคนแรกของโลก ดร. เอดา ออกัสตา เลิฟเลซ
  • 10. วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์ (6) ค.ศ. 1850 : จอร์จ บูล (George Boole) นักคณิตศาสตร์ชาวอังกฤษ ได้สร้างแนวคิดเกี่ยวกับระบบ พีชคณิตแบบใหม่ เรียกว่า Boolean Algebra เพื่อใช้หาข้อเท็จจริงจากเหตุผลต่าง ๆ และแต่งตาราเรื่อง “The Laws of Thoughts” ว่าด้วยเรื่องของการใช้เครื่องหมาย AND, OR, NOT ซึ่งเป็นรากฐานทาง คณิตศาสตร์ให้กับการพัฒนาทางด้านไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ เช่น สวิตช์ปิดหรือเปิด การไหลของ กระแสไฟฟ้า ไหลหรือไม่ไหล ตัวเลขจานวนบวกหรือลบ เป็นต้น โดยที่ผลลัพธ์ที่ได้จากพีชคณิตจะ มีเพียง 2 สถานะคือ จริงหรือเท็จเท่านั้น ซึ่งอาจจะแทนจริงด้วย 1 และแทนเท็จด้วย 0 ดร. จอร์จ บูล อธิวัฒน์ สัตถาวะโห
  • 11. วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์ (7) อธิวัฒน์ สัตถาวะโห ค.ศ. 1884 : ดร.เฮอร์มาน ฮอลเลอริธ (Dr.Herman Hollerith) นักสถิติชาวอเมริกัน เป็นผู้คิด ประดิษฐ์บัตรเจาะรูสาหรับเก็บข้อมูล โดยได้แนวคิดจากบัตรควบคุมการทอผ้าของ Jacquard และ วิธีการหนีบตั๋วรถไฟของเจ้าหน้าที่รถไฟ นามาดัดแปลงและประดิษฐ์เป็นบัตรเก็บข้อมูลขึ้น และทา การสร้างเครื่องคานวณไฟฟ้าที่สามารถอ่านบัตรที่เจาะได้ทาให้สามารถทางานได้อย่างรวดเร็วและ ประหยัดค่าใช้จ่ายได้มาก ดร.เฮอร์แมน ฮอลร์เลอริธ
  • 12. วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์ (8) อธิวัฒน์ สัตถาวะโห ค.ศ. 1944 โฮเวิร์ด เอช ไอเคน (Dr. Howord Aiken) ได้ร่วมกับวิศวกรของบริษัทไอบีเอ็ม จากัด ได้สร้างเครื่องคานวณแบบที่ ชาร์ล แบบเบจ เคยใฝ่ฝันไว้เป็นผลสาเร็จให้ชื่อว่า ASCC (Automatic Controlled Calculator) หรือ Mark I เป็นเครื่องขนาดใหญ่มากทางานเสียง MARK 1ดร.โฮเวิร์ด เอช ไอเคน
  • 13. วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์ (9) อธิวัฒน์ สัตถาวะโห ค.ศ. 1943 : เจ เพรสเปอร์ เอ็คเคิร์ท (J. Presper Eckert)นักวิศวกรและ จอห์น มอชลี (John Mauchly) ศาสตราจารย์แห่งมหาวิทยาลัยเพนซิลวาเนีย ได้ช่วยกันสร้างเครื่องคานวณอิเล็กทรอนิกส์ โดยใช้หลอดสุญญากาศ (Vacuum Tube) สร้างสาเร็จในปี ค.ศ. 1946 นับเป็น เครื่องคานวณ อิเล็กทรอนิกส์เครื่องแรกของโลก เรียกว่า ENIAC (ElectronicNumerical Integratorand Calculator) ดร. จอห์น มอชลี ดร. เจ เพรสเปอร์ ENIAC
  • 14. วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์ (10) อธิวัฒน์ สัตถาวะโห ค.ศ. 1945 ดร.จอห์น วอน นิวแมนน์ (Dr.John Von Neumann) ได้สร้างเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ สามารถเก็บคาสั่งและข้อมูลทั้งหมดไว้ในหน่วยความจาของเครื่องจากแนวความคิดของจอห์น ฟอน นอยมันน์ เครื่องคอมพิวเตอร์ก็ได้รับการพัฒนาเพิ่มขึ้นมีชื่อว่า EDVAC (Electronic Discrete Variable Automatic Computer) และต่อมาในปี ค.ศ. 1952 ที่มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ประเทศอังกฤษ ได้สร้างเครื่องคอมพิวเตอร์คล้ายกับ EDVAC โดยให้ชื่อว่า EDASC (Electronic Delay Storage Automatic Computer) ซึ่งอาจถือได้ว่าเครื่อง EDVAC และ EDSAC เป็นคอมพิวเตอร์เครื่องแรกของ โลก ดร. จอห์น วอน นิวแมนน์
  • 15. วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์ (11) อธิวัฒน์ สัตถาวะโห ค.ศ. 1949 : หลังจากที่มอชลี และ เอ็คเคิร์ท ได้ร่วมมือกันจัดตั้งบริษัทผลิตคอมพิวเตอร์ออกขาย แต่ประสบปัญหาทางการเงิน จึงขายกิจการให้กับบริษัท Speery Rand Corporation และได้ร่วมมือกัน สร้างเครื่องคอมพิวเตอร์ UNIVAC I (Universal Automatic Computer I) สาเร็จในปี ค.ศ. 1951 โดย ใช้เทปแม่เหล็กเป็นสื่อบันทึกข้อมูล นับว่าเป็นคอมพิวเตอร์สาหรับใช้งานทางธุรกิจเป็นเครื่องแรก ของโลก โดยติดตั้งให้กับบริษัท General Electric Appliance ในปี ค.ศ. 1954 ต่อมาบริษัท Speery Rand Corporation เปลี่ยนชื่อเป็น บริษัทยูนิแวค และ ยูนิซิส จนกระทั่งบริษัทไอบีเอ็ม ได้ก้าวเข้าสู่ วงการคอมพิวเตอร์ และได้พัฒนาเครื่องคอมพิวเตอร์จนเจริญก้าวหน้ามาตามลาดับ EDVAC คอมพิวเตอร์ต้นแบบเครื่องแรกของโลก UNIVAC I
  • 16. วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์ (12) อธิวัฒน์ สัตถาวะโห ประเทศไทยเริ่มมีการนาคอมพิวเตอร์เข้ามา ใช้เป็นครั้งแรกในปี ค.ศ. 1963 หรือ พ.ศ. 2506 คือ เครื่องคอมพิวเตอร์ไอบีเอ็ม (IBM) 1620 โดยได้รับมอบจากมูลนิธิ เอไอดี และ บริษัทไอบีเอ็ม ซึ่ง ติดตั้งที่ภาควิชาสถิติ คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ซึ่งปัจจุบันหมดอายุ การใช้งานไปแล้วและเก็บอยู่ที่ศูนย์บริภัณฑ์การศึกษาท้องฟ้าจาลอง กรุงเทพฯ ราคาเครื่อง คอมพิวเตอร์ไอบีเอ็ม 1620 ในขณะนั้นราคาประมาณ 2 ล้านกว่าบาท ซึ่งการใช้งานเน้นทางการศึกษา ตัวอย่างของเครื่องไอบีเอ็ม 1620 เครื่องคอมพิวเตอร์ IBM 1620
  • 17. ยุคของเครื่องคอมพิวเตอร์ (Generatin of Computer) อธิวัฒน์ สัตถาวะโห ยุคที่ 1: (The First Generation) ปี ค.ศ. 1951 – 1958 UNIVAC I คือเครื่องคอมพิวเตอร์อเนกประสงค์ที่ใช้ในเชิงธุรกิจ เป็นเครื่องหมายของการ เริ่มต้นยุคที่ 1 เครื่องคอมพิวเตอร์ในยุคนี้มีขนาดใหญ่ใช้หลอดสุญญากาศ (Vacuum tubes) ซึ่ง ก่อให้เกิดความร้อนสูงมาก จึงต้องใช้เครื่องปรับอากาศ การบารุงรักษา และ พื้นที่กว้างมาก สื่อบันทึก ข้อมูลได้แก่ เทปแม่เหล็ก IBM 650 เป็นเครื่องที่สามารถทางานได้ทั้งด้านธุรกิจและวิทยาศาสตร์ หน่วยความจาเป็น ดรัมแม่เหล็ก (magnetic drum) และใช้บัตรเจาะรู การสั่งงานใช้ภาษาเครื่อง (machine language) ซึ่งเป็นภาษาตัวเลข ในระบบตัวเลขฐานสอง (binary digit) หลอดสูญญากาศ วงแหวนแม่เหล็ก
  • 18. อธิวัฒน์ สัตถาวะโห เครื่องคอมพิวเตอร์ในยุคนี้มีขนาดเล็กลง กินไฟน้อยลง ราคาถูกลง เพราะมีการประดิษฐ์ ทรานซิสเตอร์ (Transistor) ขึ้นมาใช้แทนหลอดสูญญากาศ ทาให้ทางานได้เร็วขึ้นและได้ผลลัพธ์ที่ ถูกต้องมากกว่าใช้หลอดสูญญากาศ ทรานซิสเตอร์มีขนาดเล็กกว่าหลอดสูญญากาศหลายเท่าในยุคนี้ได้มี การสร้างวงแหวนแม่เหล็ก (Magnetic Core) มาใช้แทนดรัมแม่เหล็ก(Magnetic Drum) ซึ่งจะใช้เป็น หน่วยความจาภายในสาหรับการเก็บข้อมูลและชุดคาสั่งภาษาคอมพิวเตอร์ที่ใช้เขียนโปรแกรมในยุคที่ 2 นี้ คือภาษาแอสเซมบลี (Assembly) ซึ่งเป็นภาษาที่ใช้สัญลักษณ์แทนคาสั่งต่างๆทาให้เขียนโปรแกรมได้ ง่ายกว่าภาษาเครื่องเครื่องคอมพิวเตอร์ในยุคนี้ เช่น IBM 1620,IBM 401, Honeywell แต่อย่างไรก็ตาม ภาษาแอสเซมบลีเมื่อนาไปเขียนโปรแกรมที่มีขนาดใหญ่จะไม่เหมาะสมอีกทั้งการเขียนโปรแกรม ภาษาแอสเซมบลีต้องเข้าใจถึงโครงสร้างสถาปัตยกรรมภายในของระบบคอมพิวเตอร์นั้นจึงจะสามารถ เขียนโปรแกรมได้ทาให้ยากต่อการเขียนโปรแกรมและการพัฒนา ทรานซิสเตอร์ ยุคที่ 2: (The Second Generation) ปี ค.ศ. 1959 – 1964
  • 19. อธิวัฒน์ สัตถาวะโห ยุคที่ 3: (The Third Generation) ปี ค.ศ. 1965 – 1970 เครื่องคอมพิวเตอร์ที่ถูกพัฒนามาใช้ในยุคนี้เป็นวงจรรวม หรือ เรียกว่าไอซี (IC : Integrated Circuit) ซึ่งเป็นวงจรอิเล็กทรอนิกส์ที่ถูกบรรจุลงในแผ่นซิลิคอน (Silicon) บางๆ ที่ เรียกว่าชิป (Chip) ใน ชิป แต่ละตัวจะประกอบด้วยวงจรอิเล็กทรอนิกส์หลายพันตัว จึงทาให้คอมพิวเตอร์มีขนาดเล็กลง กว่าเดิมแต่ความเร็วในการทางานสูงขึ้น กินไฟน้อยลง ความร้อนลดลงและประสิทธิภาพในการ ทางานเพิ่มขึ้น แต่ก่อนที่คอมพิวเตอร์จะเป็นวงจรรวมคอมพิวเตอร์จะถูกออกแบบเพื่อใช้กับงานแต่ ละอย่างเช่นใช้ในงานคานวณหรือใช้กับงานธุรกิจเมื่อคอมพิวเตอร์ถูกพัฒนามาใช้วงจรรวมก็สามารถ ใช้กับงานที่ซับซ้อนได้มากขึ้น ภาษาเครื่องคอมพิวเตอร์ในยุคนี้ เช่น ฟอเทรน (Fortran) และโคบอล (Cobol) (IC : Integrated Circuit) เรียกว่าชิป (Chip)
  • 20. อธิวัฒน์ สัตถาวะโห ยุคที่ 4: (The Fourth Generation) ปี ค.ศ. 1971 – ปัจจุบัน เครื่องคอมพิวเตอร์ในยุคนี้ได้มีการพัฒนาเอาวงจรรวมหลายๆ วงจรมารวมเป็นวงจรขนาด ใหญ่ เรียกว่า LSI (Large Scale Integrated)ลงในชิปแต่ละอัน บริษัทอินเทล (Intel) ได้สร้างไมโคร โพรเซสเซอร์ (Microprocessor) ซึ่งเป็นชิป 1 อัน ที่ประกอบด้วยวงจรทั้งหมดที่ต้องใช้ในการ ประมวลผลโปรแกรม ปัจจุบันได้มีการพัฒนามากขึ้นโดยสามารถสร้างวงจรอิเล็กทรอนิกส์หลาย หมื่นวงจรรวมอยู่ใน ชิปเดียว เป็นวงจร LSI (Large Scale Integrated) และ VLSI (Very Large Scale Integrated) ในยุคนี้ได้มีการสร้างเครื่องคอมพิวเตอร์ทั้งขนาดเล็ก ขนาดกลาง และขนาดใหญ่ ได้แก่ ไมโครคอมพิวเตอร์ มินิคอมพิวเตอร์ เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ และซูเปอร์คอมพิวเตอร์ โดยเฉพาะ เครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ ได้รับความนิยมเป็นอย่างมากเพราะมีขนาดเล็ก กะทัดรัดและราคาถูกแต่มี ประสิทธิภาพที่เพิ่มขึ้น และมีการทางานที่เร็วขึ้น LSI (Large Scale Integrated)
  • 21. ยุคที่ 5: (The Fifth Generation) เริ่มต้นตั้งแต่ศตวรรษที่ 21 เริ่มเข้าสู่ศตวรรษที่ 21 คอมพิวเตอร์ในยุคนี้เป็นการเปลี่ยนแปลงขนานใหญ่จากยุคที่ 4 เป็น คอมพิวเตอร์อัจฉริยะ สามารถคิด มองเห็น ฟัง และพูดคุยได้โครงสร้างคอมพิวเตอร์จะแตกต่างไป จากเดิม การประมวลผลข้อมูลเป็นแบบขนาน (Parallel) แทนแบบอนุกรม (Serially) การสร้างระบบ คอมพิวเตอร์อัจฉริยะ คือหนึ่งในเป้าหมายหลักทางด้านวิทยาการเกี่ยวกับปัญญาประดิษฐ์ (artificial intelligence: AI) สิ่งที่ปรากฏในยุคนี้คือ optical computerใช้ photonic หรือ optoelectronic เป็นวงจร มากกว่าวงจรอิเล็กทรอนิกส์ ประมวลผลข้อมูลด้วยแสงเลเซอร์ ปฏิบัติการด้วยความเร็วใกล้กับความ ไวแสง ในอนาคตจะมีขนาดเล็กมาก เร็ว และ biocomputer มีอานาจมากขึ้น จะเติบโตจาก องค์ประกอบสาคัญคือการใช้เซลจากสิ่งมีชีวิตเป็นวงจร โน้ตบุ๊กปัจจุบัน คอมพิวเตอร์ปัจจุบัน อธิวัฒน์ สัตถาวะโห
  • 22. สรุปเกี่ยวกับแต่ละยุค จนถึงปัจจุบัน ยุคที่ 1 หลอดสูญญากาศ ยุคที่ 2 ทรานซิสเตอร์ ยุคที่ 3 วงจร IC ยุคที่ 4 LSI Chip ยุคที่ 5โน้ตบุ๊กปัจจุบัน หรือชิป (Chip) อธิวัฒน์ สัตถาวะโห
  • 23. งามนิจ อาจอินทร์, ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับวิทยาการคอมพิวเตอร์., กรุงเทพฯ, 2542. จุฑารัตน์ สมจริง [Online]. Available: http://vcharkarn.com [17 มีนาคม 2559]. พรรณา พูนพิน [Online]. Available: http://web.bsru.ac.th/~panna/learning.html [17 มีนาคม 2559]. สุริยา นิ่มตระกูล [Online]. http://www.chakkham.ac.th/technology/computer/index.htm [17 มีนาคม 2559]. ไพศาล โมลิสกุลมงคล, ประสงค์ ประณีตพลกรัง, อนุโชต วุฒิพรพงษ์ และ ศรายุธ คลังทอง, สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ (Computer Architecture)., กรุงเทพฯ, 2547. เอกสารอ้างอิง อธิวัฒน์ สัตถาวะโห