SlideShare a Scribd company logo
1 of 32
โครงงาน
เรื่อง ต้นกล้วย
เสนอ
อาจารย์ ภูชิดา เชี่ยงฉิน
จัดทาโดย
น.ส.ชุติมณฑน์ แดงจันทร์ ชั้นม.6/1 เลขที่28
น.ส.ธนัชพร ทวนทอง ชั้นม.6/1 เลขที่30
น.ส.อนัดตา วัชรามหาพงศ์ ชั้นม.6/1 เลขที่33
น.ส.เพ็ญนภา เมืองแพน ชั้นม.6/1 เลขที่34
สารบัญ
เรื่อง หน้า
บทที่ 1 บทนา 1
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง 3
บทที่ 3 วิธีการดาเนินงาน 12
บทที่ 4 ผลการศึกษา 14
บทที่ 5 สรุปผลและข้อเสนอแนะ 16
บทที่ 1บทนา
ความเป็นมาและความสาคัญ
ตามที่สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามราชกุมารี ทรงมี
พระราชดาริบางประการเกี่ยวกับการอนุรักษ์พันธุ์พืช ซึ่งมีใจความดังต่อไปนี้
“การสอนและการอบรมให้เด็กมีจิตสานึกในการอนุรักษ์พืชพรรณนั้น ควรใช้
วิธีการปลูกฝังให้เด็กเห็นความงดงาม ความสนใจ ที่จะศึกษาและอนุรักษ์พืช
พรรณต่อไปการให้วิธีการสอน การอบรมและให้เกิดความรู้สึกว่าหากไม่อนุรักษ์
แล้วจะเกิดผลเสียอันตรายแก่ตนเองจะทาให้เด็กเกิดความเครียด ซึ่งจะเป็น
ผลเสียแก่ประเทศไทยในระยะยาว” โครงการการอนุรักษ์พันธุ์กรรมอัน
เนื่องมาจากพระราชดาริฯ ดาเนินงานสนอง พระราชดริจัดตั้งงาน“สวน
พฤกษศาสตร์โรงเรียนเพื่อเป็นสื่อในการสร้างจิตสานึกด้านอนุรักษ์กรรมพืชให้
เยาวชนได้ใกล้ชิดกับพืชพรรณไม้
เห็นคุณค่าประโยชน์ ความสวยงามอันก่อให้ได้ความคิดที่จะอนุรักษ์พืชโดย
พรรณสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน คือ แหล่งที่รวบรวมพันธ์พืชชนิดต่างๆที่มี
ชีวิต จัดปลูกตามความเหมาะสมกับสภาพถิ่นอาศัยเดิม มีห้องสมุด สถานที่เก็บ
รวบรวมตัวอย่างพรรณไม้รักษาสภาพอาจเป็นตัวอย่างแห้งหรือตัวอย่างดอง
หรือเก็บรักษาด้วยวิธีอื่นๆ พืชพันธุ์ที่ทาการรวบรวมไว้นั้นจะเป็นแหล่งพักผ่อน
หย่อนใจ ซึ่งสามารถดาเนินการสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนใช้ในพื้นที่ของ
โรงเรียน โดยมีองค์ประกอบดังกล่าว เป็นสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนใช้ใน
วัตถุประสงค์ดังกล่าวอีกทั้งใช้ในการศึกษาและเป็นประโยชน์ในการสอนวิชา
ต่างๆทั้งนี้เพื่อตอบสนองโครงการพฤกษศาสตร์โรงเรียน คณะเราจึงได้ร่วมกัน
ศึกษาต้นกล้วยโดยใช้การดาเนินงานตามแบบสวนพฤกษศาสตร์
มีการศึกษาต่อเนื่อง มีห้องสมุดที่ใช้ในการศึกษา โดยใช้ “สวนพฤกษศาสตร์
โรงเรียน” เป็นสื่อในการที่จะให้นักเรียน เยาวชน และประชาชนทั่วไป ได้มี
ความเข้าใจ เห็นความสาคัญ ของพืชพรรณ เกิดความรัก หวงแหน และรู้จัก
การนาไปใช้ประโยชน์อย่างยั่งยืน ซึ่งสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยาม
บรมราชกุมารี ได้พระราชทานพระราชดาริ และแนวปฏิบัติให้เป็นงานหนึ่ง
ในกิจกรรมสร้างจิตสานึกในการอนุรักษ์ พันธุกรรมพืช และชัดเจนใน คา
จากัดความของ “สวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน”
วัตถุประสงค์
1.เพื่อศึกษาข้อมูลทางพฤกษศาสตร์ของต้นกล้วย
2.เพื่อศึกษาวิธีการแปรรูปของกล้วย
3. เพื่อศึกษาประโยชน์ของต้นกล้วย
สมมติฐาน
1.กล้วยสามารถนาไปแปรรูปทาเป็นขนมได้
2.ส่วนประกอบของต้นกล้วยสามารถนาไปทาเป็นยารักษาโรคต่างๆได้
3. ได้รับความรู้เรื่องต้นกล้วย
4. ช่วยอนุรักษ์และรักษาต้นกล้วยได้
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.กล้วยสามารถนาไปทาขนมได้
2. ส่วนประกอบต่างๆของต้นกล้วยสามารถนาไปทาเป็นยารักษาโรคได้
3. สามารถนาความรู้เรื่องต้นกล้วยไปเผยแพร่ให้แก่ผู้อื่นได้
4. สามารถช่วยดูแลรักษาและอนุรักษ์ต้นกล้วยได้
ระยะเวลาการดาเนินงาน
พฤษภาคม พ.ศ.2559 – กุมภาพันธ์ พ.ศ.2559
คานิยามศัพท์เฉพาะ
กล้วย เป็นพรรณไม้ล้มลุกในสกุล Musa มีหลายชนิดในสกุล
บางชนิดก็ออกหน่อแต่ว่าบางชนิดก็ไม่ออกหน่อ ใบแบนยาวใหญ่ ก้านใบ
ตอนล่างเป็นกาบยาวหุ้มห่อซ้อนกันเป็นลาต้น ออกดอกที่ปลายลาต้นเป็นปลี
และมักยาวเป็นงวง มีลูกเป็นหวี ๆ รวมเรียกว่า เครือ พืชบางชนิดมีลาต้น
คล้ายปาล์ม ออกใบเรียงกันเป็นแถวทานองพัดคลี่ คล้ายใบกล้วย เช่น กล้วย
พัด ทว่าความจริงแล้วเป็นพืชในสกุลอื่นที่มิใช่ทั้งปาล์มและกล้วย
บทที่2เอกสารที่เกี่ยวข้อง
กล้วยลักษณะ: กล้วยเป็นไม้ดอกล้มลุกขนาดใหญ่ ทุกส่วนเหนือพื้นดิน
ของกล้วยเจริญจากส่วนที่เรียกว่าหัวหรือเหง้า ต้นกล้วยจะสูงและแข็งแรงพอสมควร
กล้วยประกอบด้วยก้านใบและแผ่นใบฐานก้านใบแผ่ออกเป็นกาบ กาบที่รวมตัวกัน
อย่างหนาแน่นทาให้เกิดลาต้นเทียม มีหน้าที่ชูก้านใบ พยุงให้พืชตั้งตรงดูคล้ายต้นไม้
เมื่อแรกเจริญขอบของกาบจะจรดกันคล้ายท่อ เมื่อมีใบเจริญขึ้นใหม่ที่ใจกลางลาต้น
เทียม ขอบกาบที่จรดกันนั้นก็จะแยกออกจากกัน พันธุ์กล้วยนั้นมีความผันแปรมาก
ขึ้นอยู่กับพันธุ์ปลูกและสภาพแวดล้อม โดยมาก สูงประมาณ 5 เมตร ใบแรกเจริญจะ
ขดเป็นเกลียวก่อนที่จะแผ่ออก อาจยาวได้ถึง 2.7 เมตร และกว้าง 60 ซม. แผ่นใบมี
ขนาดใหญ่ ปลายใบมน รูปใบขอบขนาน โคนใบมน มีสีเขียว ใบฉีกขาดได้ง่ายจากลม
รากเป็นระบบรากฝอยแผ่ไปทางด้านกว้าง กล้วยเป็นพืชหลายปี มีผลกล้วยประมาณ
20 ผล
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ของต้นกล้วย
ลาต้นกล้วยมีลาต้นอยู่ใต้ดินเรียกว่า หัว หรือ เหง้า
(rhizome) ที่หัวมีตา (bud) ซึ่งจะเจริญเป็นต้นเกิด หน่อ
(sucker) หลายหน่อ เรียกว่า การแตกกอ หน่อที่เกิด หรือต้นที่เห็นอยู่
เหนือดิน ความจริงแล้วมิใช่ลาต้น เราเรียกว่า ลาต้นเทียม
(pseudostem) ส่วนนี้เกิดจากการอัดกันแน่นของกาบใบ ที่เกิดจาก
จุดเจริญของลาต้นใต้ดิน กาบใบจะชูก้านใบ และใบ และที่จุดเจริญนี้ จะมี
การเจริญเป็นดอกตามขึ้นมาหลังจากสิ้นสุดการเจริญของใบ ใบสุดท้าย
ก่อนการเกิดดอก เรียกว่า ใบธง
ดอกของกล้วยออกเป็นช่อ (inflorescence) ในช่อดอก
ยังมีกลุ่มของช่อดอกย่อยเป็นกลุ่มๆ ระหว่างกลุ่มของช่อดอกย่อยแต่ละช่อ
จะมีกลีบประดับ หรือที่เราเรียกกันว่า กาบปลี (bract) มีสีม่วงแดงกั้น
ไว้กลุ่มดอกเพศเมียอยู่ที่โคน และกลุ่มดอกเพศผู้อยู่ที่ปลาย เป็นส่วนที่เรา
เรียกว่า หัวปลี (male bud) ระหว่างกลุ่มดอกเพศเมีย และดอกเพศผู้
มีดอกกะเทย แต่บางพันธุ์ก็ไม่มี ในช่อดอกย่อยแต่ละช่อมีดอกเรียงซ้อน
กันอยู่ ๒ แถว ถ้าเป็นดอกเพศเมีย ดอกเหล่านี้จะเจริญต่อไปเป็นผล ดอก
ออกเป็นช่อ โดยมีกาบปลีสีม่วงแดงกั้นไว้กลุ่มดอกเพศเมียอยู่ที่โคน ส่วน
กลุ่มดอกเพศผู้อยู่ที่ปลาย
ผลกล้วยเกิดจากดอกเพศเมีย ซึ่งอยู่ที่โคน กลุ่มของดอกเพศเมีย
๑ กลุ่ม เจริญเป็นผล เรียกว่า ๑ หวี ช่อดอกเจริญเป็น ๑ เครือ ดังนั้นกล้วย
๑ เครืออาจมี ๒ - ๓ หวี หรือมากกว่า ๑๐ หวี ทั้งนี้แล้วแต่พันธุ์กล้วยและ
การดูแล ผลของกล้วยมีการเจริญได้โดยไม่ต้องผสมพันธุ์ จึงทาให้กล้วย
ส่วนใหญ่ไม่มีเมล็ด
เมล็ดกล้วยมีลักษณะกลมเล็ก บางพันธุ์มีขนาดใหญ่ เปลือกหนา
แข็ง มีสีดา
รากเป็นระบบรากฝอย แผ่ไปทางด้านกว้างมากกว่าทางแนวดิ่ง
ลึก
ใบกล้วยมีลักษณะเป็นแผ่นใบใหญ่ มีความกว้างประมาณ ๗๐ -
๙๐ เซนติเมตร ความยาว ๑.๗ - ๒.๕ เมตร ปลายใบมน รูปใบขอบขนาน
โคนใบมน และแผ่นใบมีสีเขียว
การปลูกต้นกล้วย
การเตรียมแปลงปลูก โดยการไถดินด้วยผานสามตากดินประมาณหนึ่งเดือน
และไถแปรด้วยผานห้าอีกทีตากดินทิ้งไว้ประมาณหนึ่งเดือน กาหนดระยะและขนาดหลุม
ปลูก โดยระยะที่เหมาะสมคือ 4x4 เมตร และควรขุดหลุม 50x50x50 เซนติเมตร
เพราะรัศมีของรากกล้วยจะหากินไม่เกิน 50 เซนติเมตร
การดูแลใส่ปุ๋ ยรองก้นหลุมด้วยปุ๋ ยคอกผสมดินประมาณหลุมละ 2 กิโลกรัม รอง
หนาขึ้นมาประมาณ 30 เซนติเมตร แล้วจึงปลูกต้นกล้วยและกลบบริเวณโคนต้นให้แน่น ทา
แอ่งดินรอบต้นเพื่อเก็บน้ารักษาความชื้นของดิน และควรรองก้นหลุมด้วยฟูราดานป้องกัน
หนอนกอกล้วยประมาณ 1 ช้อนโต๊ะ ต่อหลุมปลูกเสร็จให้น้าตามทันทีให้ชุ่มชื้นพอเพียง
ไม่เช่นนั้นต้นจะเหี่ยวเฉาใบแห้งและยุบตัว บางต้นตาย บางต้นแตกต้นใหม่ขึ้นแทนทาให้
อายุต้นไม่สม่าเสมอกัน
การแปรรูปกล้วยให้เป็นผลิตภัณฑ์
1.การแปรรูปจากกล้วยดิบ
1. การทากล้วยอบเนย กล้วยฉาบ หรือ "กล้วยกรอบแก้ว"
ใช้กล้วยดิบ เช่น กล้วยน้าว้า กล้วยหอม กล้วยหักมุก นามาฝาน
บางๆ ตามยาว หรือตามขวาง อาจจะผึ่งลมสักครู่ หรือฝานลงกระทะ
ทันทีก็ได้และทอดในกระทะที่ใส่น้ามันท่วม เมื่อชิ้นกล้วยสุกจะลอย ก็
ตักขึ้นและซับน้ามันด้วยกระดาษฟาง จากนั้นอาจนาไปคลุกเนย เรียกว่า
กล้วยอบเนย หรือฉาบให้หวานด้วยการนาไปคลุกกับน้าตาลที่เคี่ยวจน
เกือบแห้งในกระทะ เรียกว่า กล้วยฉาบ
2. แป้งกล้วย
นากล้วยดิบมานึ่งให้สุก ปอกเปลือก หั่น และอบให้แห้ง แล้ว
บดให้ละเอียดเป็นแป้ง ใช้ทาขนมกล้วยและบัวลอย หรือผสมกับแป้งเค้ก
ใช้ทาคุกกี้ได้ ทาให้มีกลิ่นหอมของกล้วย
2. การแปรรูปจากกล้วยสุก
1.น้าผลไม้
นาเนื้อกล้วยที่สุกมาหมักใส่เอนไซม์เพกทิโนไลติก
(pectinolytic) ความเข้มข้น ๐.๐๑ % เพื่อย่อย และบ่มไว้ที่
อุณหภูมิ ๔๕ องศาเซลเซียส นาน ๑ ชั่วโมง จะได้น้ากล้วยที่ใส
2.กล้วยตาก (banana figs)
นากล้วยที่สุกงอมมาปอกเปลือก และนาไปตากแดด ๑ - ๒
แดด จากนั้นมาคลึงเพื่อให้กล้วยนุ่ม แล้วนาไปตากอีก ๕ - ๖ แดด หรือ
จนกว่ากล้วยจะแห้งตามต้องการ (ในทุกๆ วันที่เก็บ ให้นากล้วยทั้งหมด
มารวมกัน น้าหวานจากกล้วยจะออกมาทุกวัน และกล้วยจะฉ่า แล้วนาไป
ตากแดด) ระวังอย่าให้แมลงวันตอม ส่วนการตากอาจใช้แสงอาทิตย์
หรือเตาอบขนาดใหญ่ที่ใช้พลังงานแสงอาทิตย์หรือไฟฟ้า
3.กล้วยกวน
นากล้วยสุกงอมมายี แล้วเคล้ากับน้าตาลและกะทิ นาไปกวนใน
กระทะที่ไม่เป็นสนิม กวนที่ไฟอ่อนๆ จนสุกเหนียว ปั้นเป็นก้อนกลม หรือ
สี่เหลี่ยม แล้วห่อด้วยกระดาษแก้ว
4.ทอฟฟี่กล้วย
คล้ายกล้วยกวน แต่ใส่แบะแซ จึงทาให้แข็งกว่ากล้วยกวน
5.ข้าวเกรียบกล้วย
ใช้กล้วยสุกผสมกับแป้งและเกลือ อาจเติมน้าตาลเล็กน้อยนวดแล้ว
ทาเป็นแท่งยาวๆ นึ่งให้สุก เมื่อสุก ปล่อยทิ้งไว้ให้เย็น ฝานเป็นชิ้นบางๆ ตาก
แดดให้แห้ง แล้วนามาทอดรับประทานเป็นอาหารว่าง ข้าวเกรียบกล้วยนี้
หากใช้กล้วยที่มีกลิ่นจะทาให้หอม
ประโยชน์ต้นกล้วย
ผลดิบ ใช้ป้องกันและรักษาแผลในกระเพาะอาหาร รักษาท้องเสียเรื้อรัง
อาหารไม่ย่อย โดยหั่นทั้งเปลือกเป็นแว่นตากแห้งแล้วบดเป็นผง ปั้นเป็นเม็ดหรือชง
ในน้าร้อนดื่ม ใช้ครั้งละประมาณเท่ากับกล้วยครึ่งซีกหนึ่งผล หรือนาผลมาใช้โรย
รักษาแผลเน่าเปื่อย แผลติดเชื้อ แผลเรื้อรัง
ผลสุก ช่วยขับถ่ายระบายท้อง มีฤทธิ์ต้านแบคทีเรียและเชื้อรา แก้ท้องผูก
บารุงร่างกาย บารุงกาลัง รักษาแผลในกระเพาะอาหาร
เปลือกผลดิบ ใช้สมานแผล
หัวปลี แก้โรคลาไส้ แก้โลหิตจาง ลดน้าตาลในเลือด แก้ร้อนในกระหาย
น้า บารุงน้านม บารุงโลหิต คั้นน้าบารุงโลหิตแก้ถ่ายเป็นมูกเลือด
ยาง ใช้สมานแผล ห้ามเลือด
ใบ ใช้ต้มอาบแก้เม็ดผดผื่นคัน ปิ้งปิดแผลไฟไหม
สื่อที่ใช้ในการนาเสนอโครงงานคือPower Point
1. เลือกธีม
2. คลิก สร้าง หรือเลือกธีมสี จากนั้นคลิก สร้าง
3. แทรกสไลด์ใหม่
4. เพิ่มข้อความ
5. จัดรูปแบบข้อความของคุณ
-เลือกทาอย่างใดอย่างหนึ่งต่อไปนี้
-เมื่อต้องการเปลี่ยนสีข้อความของคุณ ให้เลือก สีเติมข้อความ แล้วเลือกสี
-เมื่อต้องการเปลี่ยนสีเส้นกรอบข้อความของคุณ ให้เลือก เส้นกรอบข้อความ แล้ว
เลือกสี
-เมื่อต้องการใช้เงา การสะท้อน เรืองแสง ยกนูน การหมุนสามมิติ การแปลง ให้
เลือก เอฟเฟ็กต์ข้อความ แล้วเลือกเอฟเฟ็กต์ที่คุณต้องการ
6. เพิ่มรูปภาพ
7. แสดงงานนาเสนอของคุณ
บทที่3 วิธีการดาเนินงานโครงงาน
ในการจัดทาโครงงานเรื่องต้นกล้วย โดยการศึกษาทาง
พฤกษศาสตร์ ผู้จัดทาโครงงานมีวิธีการดาเนินงาน ตามขั้นตอน
ดังต่อไปนี้
3.1วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา
3.1.1 เครื่องคอมพิวเตอร์พร้อมเชื่อมต่อระบบเครือข่าย
อินเตอร์เน็ต
3.1.2 ต้นกล้วยที่ใช้ศึกษา
3.1.3 เว็บไซต์ที่ให้ข้อมูลทางพฤกษศาสตร์คือ
http://kanchanapisek.or.th/kp6/sub
/book/book.
3.2ขั้นตอนการดาเนินงาน
3.2.1 คิดหัวข้อโครงงานเพื่อนาเสนอครูที่ปรึกษา
โครงงาน
3.2.2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับเรื่องที่สนใจ
คือ ต้นกล้วย ว่ามีเนื้อหามากน้อยเพียงใดและต้องศึกษาค้นคว้า
เพิ่มเติมเพียงใดจากเว็บไซต์และเก็บข้อมูลไว้เพื่อจัดทาเนื้อหา
ต่อไป
3.2.3 ศึกษาข้อมูลทางพฤกษศาสตร์ของต้นกล้วย และ
ศึกษาวิธีการแปรรูปของต้นกล้วย
3.2.4 จัดทาโครงร่างโครงงานเรื่องต้นกล้วยเพื่อนาเสนอครู
3.2.5 นาคาเสนอแนะของคุณครูมาปรับปรุงแก้ไขโครงงานให้
สมบูรณ์มากขึ้น
3.2.6 นาเสนอรายงานความก้าวหน้าเป็นระยะๆโดยแจ้งให้ครูที่
ปรึกษาโครงงานได้ตรวจสอบความก้าวหน้า ซึ่งครูที่ปรึกษาจะให้
ข้อเสนอแนะต่างๆเพื่อให้จัดทาเนื้อหาและการนาเสนอที่น่าสนใจ ทั้งนี้เมื่อ
ได้รับคาแนะนาก็จะนามาปรับปรุงคาแก้ไขให้เป็นที่สนใจยิ่งขึ้น
3.2.7 จัดทาโครงงานเรื่องต้นกล้วยในรูปแบบของเล่มโครงงาน
3.2.8 ประเมินผลงานโดยการส่งรูปเล่มโครงงานกับคุณครู
3.2.9 นาเสนอโครงงานหน้าชั้นเรียน
บทที่4 ผลการดาเนินโครงงาน
รหัสพรรณไม้: 7-30340-002-023
ชื่อพื้นเมือง:กล้วย
ชื่อวิทยาศาสตร์: Musa Sapientum L.
ชื่อวงศ์:MUSACEAE
ชื่อสามัญ:Banana
ลักษณะวิสัย: กล้วย
บริเวณที่พบ: หลังโรงเรียน
ถิ่นกาเนิด: เอเซียใต้และเอเซียตะวันออกเฉียงใต้
การกระจายในประเทศไทย: ทั่วทุกภาคของประเทศไทย
ในประเทศอื่น ๆ: เกือบทั่วทุกประเทศและทั่วทวีปทั้ง 5 ทวีป
นิเวศวิทยา : ชอบความชื้นสูง กลางแจ้งในที่โล่ง ดินทรายปนเหนียว
เวลาออกดอก: ตลอดทั้งปี
เวลาติดผล : ตลอดทั้งปี
การขยายพันธุ์ : การเพาะเมล็ดบางสายพันธุ์(กล้วยนวลในภาษาพะเยาจุน)
และแยกหน่อ แยกเหง้า
การใช้ประโยชน์: ลาต้นใช้ทากระทงเลี้ยงสัตว์และเป็นส่วนประกอบทาง
พิธีทางศาสนาทางเหนือของไทยใบใช้ทาห่ออาหาร ต่างๆและทางาน
ใบตองต่าง ๆ เช่นบายศรีเป็นต้นส่วนก้านกล้วยใช้ทาเป็นของเล่นให้เด็กเล่น
หัวปลีเอามาขายและรับประทานได้ผลกินได้ทั้งสุกและดิบ(ตากล้วย)
ลักษณะวิสัย: เป็นไม้ล้มลุก
เรือนยอดทรงพุ่ม :รูปทรงพุ่มหรือเป็นกลุ่มเป็นกอ ความสูง 10-20 m
ความกว้างของทรงพุ่ม 3-5 m
ถิ่นอาศัย: พืชบก
ลาต้น : ลาต้นเหนือดิน ตั้งตรงได้เอง
เปลือกลาต้น : สีลายเขียวสลับดา
ลักษณะ: เรียบและเป็นกาบชั้น ๆ
ยาง :มียางใส
ชนิดของใบ:ใบเดี่ยว
สี :เขียวอ่อนและแก่ ขนาดของแผ่นใบ กว้าง 60-80 cm. ยาว 2-4 m.
ลักษณะพิเศษของใบ : แผ่นใบเรียบเรียวยาวมี 2 ด้าน และวาวมัน เหนียว
กว่าตองชนิดอื่นๆ
รูปร่างของแผ่นใบ : เรียบยาว
ปลายใบ: เว้าบุ๋ม
โคนใบ : รูปเงี่ยงลูกศร
ขอบใบ: เรียบ
ชนิดของดอก: ดอกเดี่ยว
ตาแน่งที่ออกดอก: ปลายยอด
กลีบเลี้ยง : แยกจากกัน จานวน 2 กลีบ สี ขาวอมเหลืองและ
ม่วง
กลีบดอก : โคนเชื่อมติดกัน ปลายแยกเป็น 4 แฉก สี ม่วงแกม
แดง เป็นหลอด (tubular)
เกสรเพศผู้: มีจานวน 1 อัน สีและลักษณะ สีม่วง
เกสรเพศเมีย : มีจานวน 16 อัน สีและลักษณะ สีขาวอมเหลือง
รังไข่ : รังไข่ใต้วงกลีบ
กลิ่น : มีกลิ่นฉุนทาให้เวียนหัวมาก
สีของผล : ผลอ่อนสี เขียวอ่อน ผลแก่สี : สีเหลือง
เมล็ด : จานวนเมล็ด มากกว่า 100 เมล็ด / ผลบางสายพันธุ์- สี
ของเมล็ดดา- รูปร่างเมล็ด
บทที่ 5 สรุปผลและข้อเสนอแนะการดาเนินโครงการ
สรุปผลกล้วยลักษณะ:
ลาต้น กล้วยมีลาต้นอยู่ใต้ดินเรียกว่า หัว หรือ เหง้า ที่หัวมีตา ซึ่งจะเจริญ
เป็นต้นเกิด หน่อ หลายหน่อ เรียกว่า การแตกกอ หน่อที่เกิด หรือต้นที่เห็นอยู่เหนือดิน
ความจริงแล้วมิใช่ลาต้น เราเรียกว่า ลาต้นเทียม ส่วนนี้เกิดจากการอัดกันแน่นของกาบ
ใบ ที่เกิดจากจุดเจริญของลาต้นใต้ดิน กาบใบจะชูก้านใบ และใบ และที่จุดเจริญนี้ จะมี
การเจริญเป็นดอกตามขึ้นมาหลังจากสิ้นสุดการเจริญของใบ ใบสุดท้ายก่อนการเกิด
ดอก เรียกว่า ใบธง
ดอก ดอกของกล้วยออกเป็นช่อ ในช่อดอกยังมีกลุ่มของช่อดอกย่อยเป็น
กลุ่มๆ ระหว่างกลุ่มของช่อดอกย่อยแต่ละช่อจะมีกลีบประดับ หรือที่เราเรียกกันว่า
กาบปลี มีสีม่วงแดงกั้นไว้กลุ่มดอกเพศเมียอยู่ที่โคน และกลุ่มดอกเพศผู้อยู่ที่ปลาย
เป็นส่วนที่เราเรียกว่า หัวปลี ระหว่างกลุ่มดอกเพศเมีย และดอกเพศผู้มีดอกกะเทย แต่
บางพันธุ์ก็ไม่มี ในช่อดอกย่อยแต่ละช่อมีดอกเรียงซ้อนกันอยู่ ๒ แถว ถ้าเป็นดอกเพศ
เมีย ดอกเหล่านี้จะเจริญต่อไปเป็นผล ดอกออกเป็นช่อ โดยมีกาบปลีสีม่วงแดงกั้นไว้
กลุ่มดอกเพศเมียอยู่ที่โคน ส่วนกลุ่มดอกเพศผู้อยู่ที่ปลาย
ผล ผลกล้วยเกิดจากดอกเพศเมีย ซึ่งอยู่ที่โคน กลุ่มของดอกเพศเมีย ๑
กลุ่ม เจริญเป็นผล เรียกว่า ๑ หวี ช่อดอกเจริญเป็น ๑ เครือ ดังนั้นกล้วย ๑ เครืออาจมี
๒ - ๓ หวี หรือมากกว่า ๑๐ หวี ทั้งนี้แล้วแต่พันธุ์กล้วยและการดูแล ผลของกล้วยมี
การเจริญได้โดยไม่ต้องผสมพันธุ์ จึงทาให้กล้วยส่วนใหญ่ไม่มีเมล็ด
เมล็ด เมล็ดกล้วยมีลักษณะกลมเล็ก บางพันธุ์มีขนาดใหญ่ เปลือก
หนา แข็ง มีสีดา
ราก เป็นระบบรากฝอย แผ่ไปทางด้านกว้างมากกว่าทางแนวดิ่งลึก
ใบ ใบกล้วยมีลักษณะเป็นแผ่นใบใหญ่ มีความกว้างประมาณ ๗๐ -
๙๐ เซนติเมตร ความยาว ๑.๗ - ๒.๕ เมตร ปลายใบมน รูปใบขอบขนาน โคน
ใบมน และแผ่นใบมีสีเขียว
อภิปรายต้นกล้วย : กล้วย เป็นพรรณไม้ล้มลุกในสกุล Musa มี
หลายชนิดในสกุล บางชนิดก็ออกหน่อแต่ว่าบางชนิดก็ไม่ออกหน่อ ใบแบน
ยาวใหญ่ ก้านใบตอนล่างเป็นกาบยาวหุ้มห่อซ้อนกันเป็นลาต้น ออกดอกที่
ปลายลาต้นเป็น ปลี และมักยาวเป็นงวง มีลูกเป็นหวี ๆ รวมเรียกว่า เครือ พืช
บางชนิดมีลาต้นคล้ายปาล์ม ออกใบเรียงกันเป็นแถวทานองพัดคลี่ คล้ายใบ
กล้วย เช่น กล้วยพัด แต่ความจริงแล้วเป็นพืชในสกุลอื่นที่ไม่ใช่ปาล์มและ
กล้วย
ข้อเสนอแนะการเตรียมแปลงปลูก : แปลงปลูกต้องมีการะบายน้าดี
ถ้าเป็นที่มีน้าขังควรมีการยกร่อง หรือทาทางระบายน้าก่อนปลูก
ต้องมีการไถ และพรวนอย่างน้อย 2 ครั้ง ควรเก็บตอไม้และเศษไม้
ออก เพราะเป็นแหล่งอาศัยของศัตรูพืช และปลวก รูปแบบการปลูก
อาจเป็นแบบสี่เหลี่ยมจัตุรัส หรือสามเหลี่ยมด้านเท่าระยะปลูก
2x2 เมตรการปลูกแบบสี่เหลี่ยม ใช้กล้า 400 ต้น / ไร่
จบการนาเสนอ

More Related Content

What's hot

สมุดเล่มเล็ก
สมุดเล่มเล็กสมุดเล่มเล็ก
สมุดเล่มเล็กAriaty KiKi Sang
 
เฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdna
เฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdnaเฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdna
เฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdnaWan Ngamwongwan
 
หนังสือเล่มเล็กประกอบการศึกษาเรียนรู้ด้านโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ของพืชดอกตัว...
หนังสือเล่มเล็กประกอบการศึกษาเรียนรู้ด้านโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ของพืชดอกตัว...หนังสือเล่มเล็กประกอบการศึกษาเรียนรู้ด้านโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ของพืชดอกตัว...
หนังสือเล่มเล็กประกอบการศึกษาเรียนรู้ด้านโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ของพืชดอกตัว...KalyakornWongchalard
 
การคำนวณกระจกเว้า
การคำนวณกระจกเว้าการคำนวณกระจกเว้า
การคำนวณกระจกเว้าsripai52
 
Is2 การสื่อสารและการนำเสนอ กลุ่ม1
Is2  การสื่อสารและการนำเสนอ  กลุ่ม1Is2  การสื่อสารและการนำเสนอ  กลุ่ม1
Is2 การสื่อสารและการนำเสนอ กลุ่ม1พัน พัน
 
ชีทสรุป ม.4 เทอม 2 โดยครูเนยวิภา.pdf
ชีทสรุป ม.4 เทอม 2 โดยครูเนยวิภา.pdfชีทสรุป ม.4 เทอม 2 โดยครูเนยวิภา.pdf
ชีทสรุป ม.4 เทอม 2 โดยครูเนยวิภา.pdfNoeyWipa
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร PDF
โครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร PDFโครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร PDF
โครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร PDFWichitchai Buathong
 
เนื้อเยื่อพืช (T)
เนื้อเยื่อพืช (T)เนื้อเยื่อพืช (T)
เนื้อเยื่อพืช (T)Thitaree Samphao
 
หลักการและทฤฏี
หลักการและทฤฏีหลักการและทฤฏี
หลักการและทฤฏีsukanya5729
 
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิดแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิดคุณครูพี่อั๋น
 
โครงงาน เรื่อง การศึกษาปัญหาการอ่านหนังสือของคนไทย
โครงงาน เรื่อง การศึกษาปัญหาการอ่านหนังสือของคนไทย โครงงาน เรื่อง การศึกษาปัญหาการอ่านหนังสือของคนไทย
โครงงาน เรื่อง การศึกษาปัญหาการอ่านหนังสือของคนไทย Nawakhun Saensen
 
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2KruPa Jggdd
 
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงานที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงานPhongsak Kongkham
 
โครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติดโครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติดพัน พัน
 
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...Prachoom Rangkasikorn
 
โครงงานกระถางต้นไม้จากขวดพลาสติก
โครงงานกระถางต้นไม้จากขวดพลาสติกโครงงานกระถางต้นไม้จากขวดพลาสติก
โครงงานกระถางต้นไม้จากขวดพลาสติกพัน พัน
 

What's hot (20)

สมุดเล่มเล็ก
สมุดเล่มเล็กสมุดเล่มเล็ก
สมุดเล่มเล็ก
 
เฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdna
เฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdnaเฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdna
เฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdna
 
หนังสือเล่มเล็กประกอบการศึกษาเรียนรู้ด้านโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ของพืชดอกตัว...
หนังสือเล่มเล็กประกอบการศึกษาเรียนรู้ด้านโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ของพืชดอกตัว...หนังสือเล่มเล็กประกอบการศึกษาเรียนรู้ด้านโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ของพืชดอกตัว...
หนังสือเล่มเล็กประกอบการศึกษาเรียนรู้ด้านโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ของพืชดอกตัว...
 
การคำนวณกระจกเว้า
การคำนวณกระจกเว้าการคำนวณกระจกเว้า
การคำนวณกระจกเว้า
 
ใบงาน อเมริกาเหนือ
ใบงาน อเมริกาเหนือใบงาน อเมริกาเหนือ
ใบงาน อเมริกาเหนือ
 
Is2 การสื่อสารและการนำเสนอ กลุ่ม1
Is2  การสื่อสารและการนำเสนอ  กลุ่ม1Is2  การสื่อสารและการนำเสนอ  กลุ่ม1
Is2 การสื่อสารและการนำเสนอ กลุ่ม1
 
ส่วนประกอบของดอก
ส่วนประกอบของดอกส่วนประกอบของดอก
ส่วนประกอบของดอก
 
ชีทสรุป ม.4 เทอม 2 โดยครูเนยวิภา.pdf
ชีทสรุป ม.4 เทอม 2 โดยครูเนยวิภา.pdfชีทสรุป ม.4 เทอม 2 โดยครูเนยวิภา.pdf
ชีทสรุป ม.4 เทอม 2 โดยครูเนยวิภา.pdf
 
แผ่นพับIs...
แผ่นพับIs...แผ่นพับIs...
แผ่นพับIs...
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร PDF
โครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร PDFโครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร PDF
โครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร PDF
 
เนื้อเยื่อพืช (T)
เนื้อเยื่อพืช (T)เนื้อเยื่อพืช (T)
เนื้อเยื่อพืช (T)
 
หลักการและทฤฏี
หลักการและทฤฏีหลักการและทฤฏี
หลักการและทฤฏี
 
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิดแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
 
โครงงาน เรื่อง การศึกษาปัญหาการอ่านหนังสือของคนไทย
โครงงาน เรื่อง การศึกษาปัญหาการอ่านหนังสือของคนไทย โครงงาน เรื่อง การศึกษาปัญหาการอ่านหนังสือของคนไทย
โครงงาน เรื่อง การศึกษาปัญหาการอ่านหนังสือของคนไทย
 
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
 
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงานที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
 
โครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติดโครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติด
 
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...
 
วิทย์ ป.2
วิทย์ ป.2วิทย์ ป.2
วิทย์ ป.2
 
โครงงานกระถางต้นไม้จากขวดพลาสติก
โครงงานกระถางต้นไม้จากขวดพลาสติกโครงงานกระถางต้นไม้จากขวดพลาสติก
โครงงานกระถางต้นไม้จากขวดพลาสติก
 

Similar to โครงงาน333

โครงงานเรื่องปลูกป่าเพื่อรักษาโลก
โครงงานเรื่องปลูกป่าเพื่อรักษาโลกโครงงานเรื่องปลูกป่าเพื่อรักษาโลก
โครงงานเรื่องปลูกป่าเพื่อรักษาโลกพัน พัน
 
Agasta Lotus Rose Group 7 M.5 Room 834
Agasta Lotus Rose Group 7 M.5 Room 834 Agasta Lotus Rose Group 7 M.5 Room 834
Agasta Lotus Rose Group 7 M.5 Room 834 lookpedkeele
 
เรื่อง ปลูกป่าเพื่อรักษาโลก Is 3-1
เรื่อง ปลูกป่าเพื่อรักษาโลก Is 3-1เรื่อง ปลูกป่าเพื่อรักษาโลก Is 3-1
เรื่อง ปลูกป่าเพื่อรักษาโลก Is 3-1พัน พัน
 
Hibiscus rosa sinensis L.
Hibiscus rosa sinensis L.Hibiscus rosa sinensis L.
Hibiscus rosa sinensis L.nrraachadan
 
เล่มโครงงาน ม.5
เล่มโครงงาน ม.5เล่มโครงงาน ม.5
เล่มโครงงาน ม.5Peerada Ch
 
A study of external structure of flowers (Cork Tree, Desert rose, Water Jasmine)
A study of external structure of flowers (Cork Tree, Desert rose, Water Jasmine)A study of external structure of flowers (Cork Tree, Desert rose, Water Jasmine)
A study of external structure of flowers (Cork Tree, Desert rose, Water Jasmine)MetawadeeNongsana
 

Similar to โครงงาน333 (20)

โครงงานเรื่องปลูกป่าเพื่อรักษาโลก
โครงงานเรื่องปลูกป่าเพื่อรักษาโลกโครงงานเรื่องปลูกป่าเพื่อรักษาโลก
โครงงานเรื่องปลูกป่าเพื่อรักษาโลก
 
931 pre8
931 pre8931 pre8
931 pre8
 
Biomapcontest2014 xoxo
Biomapcontest2014 xoxoBiomapcontest2014 xoxo
Biomapcontest2014 xoxo
 
Plant ser 126_60_7
Plant ser 126_60_7Plant ser 126_60_7
Plant ser 126_60_7
 
Plant hor 5_77_60
Plant hor 5_77_60Plant hor 5_77_60
Plant hor 5_77_60
 
Pakleang Resize
Pakleang ResizePakleang Resize
Pakleang Resize
 
Plant
PlantPlant
Plant
 
Agasta Lotus Rose Group 7 M.5 Room 834
Agasta Lotus Rose Group 7 M.5 Room 834 Agasta Lotus Rose Group 7 M.5 Room 834
Agasta Lotus Rose Group 7 M.5 Room 834
 
เรื่อง ปลูกป่าเพื่อรักษาโลก Is 3-1
เรื่อง ปลูกป่าเพื่อรักษาโลก Is 3-1เรื่อง ปลูกป่าเพื่อรักษาโลก Is 3-1
เรื่อง ปลูกป่าเพื่อรักษาโลก Is 3-1
 
932 pre6
932 pre6932 pre6
932 pre6
 
Biocontest2014 happytime
Biocontest2014 happytimeBiocontest2014 happytime
Biocontest2014 happytime
 
M6 126 60_9
M6 126 60_9M6 126 60_9
M6 126 60_9
 
Hibiscus rosa sinensis L.
Hibiscus rosa sinensis L.Hibiscus rosa sinensis L.
Hibiscus rosa sinensis L.
 
เล่มโครงงาน ม.5
เล่มโครงงาน ม.5เล่มโครงงาน ม.5
เล่มโครงงาน ม.5
 
Herbarium g2 332
Herbarium g2 332Herbarium g2 332
Herbarium g2 332
 
Plant ser 125_60_1
Plant ser 125_60_1Plant ser 125_60_1
Plant ser 125_60_1
 
A study of external structure of flowers (Cork Tree, Desert rose, Water Jasmine)
A study of external structure of flowers (Cork Tree, Desert rose, Water Jasmine)A study of external structure of flowers (Cork Tree, Desert rose, Water Jasmine)
A study of external structure of flowers (Cork Tree, Desert rose, Water Jasmine)
 
Plant ser 144_60_9
Plant ser 144_60_9Plant ser 144_60_9
Plant ser 144_60_9
 
M6 126 60_6
M6 126 60_6M6 126 60_6
M6 126 60_6
 
Plant ser 125_60_4
Plant ser 125_60_4Plant ser 125_60_4
Plant ser 125_60_4
 

โครงงาน333

  • 1. โครงงาน เรื่อง ต้นกล้วย เสนอ อาจารย์ ภูชิดา เชี่ยงฉิน จัดทาโดย น.ส.ชุติมณฑน์ แดงจันทร์ ชั้นม.6/1 เลขที่28 น.ส.ธนัชพร ทวนทอง ชั้นม.6/1 เลขที่30 น.ส.อนัดตา วัชรามหาพงศ์ ชั้นม.6/1 เลขที่33 น.ส.เพ็ญนภา เมืองแพน ชั้นม.6/1 เลขที่34
  • 2. สารบัญ เรื่อง หน้า บทที่ 1 บทนา 1 บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง 3 บทที่ 3 วิธีการดาเนินงาน 12 บทที่ 4 ผลการศึกษา 14 บทที่ 5 สรุปผลและข้อเสนอแนะ 16
  • 3. บทที่ 1บทนา ความเป็นมาและความสาคัญ ตามที่สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามราชกุมารี ทรงมี พระราชดาริบางประการเกี่ยวกับการอนุรักษ์พันธุ์พืช ซึ่งมีใจความดังต่อไปนี้ “การสอนและการอบรมให้เด็กมีจิตสานึกในการอนุรักษ์พืชพรรณนั้น ควรใช้ วิธีการปลูกฝังให้เด็กเห็นความงดงาม ความสนใจ ที่จะศึกษาและอนุรักษ์พืช พรรณต่อไปการให้วิธีการสอน การอบรมและให้เกิดความรู้สึกว่าหากไม่อนุรักษ์ แล้วจะเกิดผลเสียอันตรายแก่ตนเองจะทาให้เด็กเกิดความเครียด ซึ่งจะเป็น ผลเสียแก่ประเทศไทยในระยะยาว” โครงการการอนุรักษ์พันธุ์กรรมอัน เนื่องมาจากพระราชดาริฯ ดาเนินงานสนอง พระราชดริจัดตั้งงาน“สวน พฤกษศาสตร์โรงเรียนเพื่อเป็นสื่อในการสร้างจิตสานึกด้านอนุรักษ์กรรมพืชให้ เยาวชนได้ใกล้ชิดกับพืชพรรณไม้
  • 4. เห็นคุณค่าประโยชน์ ความสวยงามอันก่อให้ได้ความคิดที่จะอนุรักษ์พืชโดย พรรณสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน คือ แหล่งที่รวบรวมพันธ์พืชชนิดต่างๆที่มี ชีวิต จัดปลูกตามความเหมาะสมกับสภาพถิ่นอาศัยเดิม มีห้องสมุด สถานที่เก็บ รวบรวมตัวอย่างพรรณไม้รักษาสภาพอาจเป็นตัวอย่างแห้งหรือตัวอย่างดอง หรือเก็บรักษาด้วยวิธีอื่นๆ พืชพันธุ์ที่ทาการรวบรวมไว้นั้นจะเป็นแหล่งพักผ่อน หย่อนใจ ซึ่งสามารถดาเนินการสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนใช้ในพื้นที่ของ โรงเรียน โดยมีองค์ประกอบดังกล่าว เป็นสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนใช้ใน วัตถุประสงค์ดังกล่าวอีกทั้งใช้ในการศึกษาและเป็นประโยชน์ในการสอนวิชา ต่างๆทั้งนี้เพื่อตอบสนองโครงการพฤกษศาสตร์โรงเรียน คณะเราจึงได้ร่วมกัน ศึกษาต้นกล้วยโดยใช้การดาเนินงานตามแบบสวนพฤกษศาสตร์
  • 5. มีการศึกษาต่อเนื่อง มีห้องสมุดที่ใช้ในการศึกษา โดยใช้ “สวนพฤกษศาสตร์ โรงเรียน” เป็นสื่อในการที่จะให้นักเรียน เยาวชน และประชาชนทั่วไป ได้มี ความเข้าใจ เห็นความสาคัญ ของพืชพรรณ เกิดความรัก หวงแหน และรู้จัก การนาไปใช้ประโยชน์อย่างยั่งยืน ซึ่งสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยาม บรมราชกุมารี ได้พระราชทานพระราชดาริ และแนวปฏิบัติให้เป็นงานหนึ่ง ในกิจกรรมสร้างจิตสานึกในการอนุรักษ์ พันธุกรรมพืช และชัดเจนใน คา จากัดความของ “สวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน” วัตถุประสงค์ 1.เพื่อศึกษาข้อมูลทางพฤกษศาสตร์ของต้นกล้วย 2.เพื่อศึกษาวิธีการแปรรูปของกล้วย 3. เพื่อศึกษาประโยชน์ของต้นกล้วย
  • 6. สมมติฐาน 1.กล้วยสามารถนาไปแปรรูปทาเป็นขนมได้ 2.ส่วนประกอบของต้นกล้วยสามารถนาไปทาเป็นยารักษาโรคต่างๆได้ 3. ได้รับความรู้เรื่องต้นกล้วย 4. ช่วยอนุรักษ์และรักษาต้นกล้วยได้ ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1.กล้วยสามารถนาไปทาขนมได้ 2. ส่วนประกอบต่างๆของต้นกล้วยสามารถนาไปทาเป็นยารักษาโรคได้ 3. สามารถนาความรู้เรื่องต้นกล้วยไปเผยแพร่ให้แก่ผู้อื่นได้ 4. สามารถช่วยดูแลรักษาและอนุรักษ์ต้นกล้วยได้ ระยะเวลาการดาเนินงาน พฤษภาคม พ.ศ.2559 – กุมภาพันธ์ พ.ศ.2559
  • 7. คานิยามศัพท์เฉพาะ กล้วย เป็นพรรณไม้ล้มลุกในสกุล Musa มีหลายชนิดในสกุล บางชนิดก็ออกหน่อแต่ว่าบางชนิดก็ไม่ออกหน่อ ใบแบนยาวใหญ่ ก้านใบ ตอนล่างเป็นกาบยาวหุ้มห่อซ้อนกันเป็นลาต้น ออกดอกที่ปลายลาต้นเป็นปลี และมักยาวเป็นงวง มีลูกเป็นหวี ๆ รวมเรียกว่า เครือ พืชบางชนิดมีลาต้น คล้ายปาล์ม ออกใบเรียงกันเป็นแถวทานองพัดคลี่ คล้ายใบกล้วย เช่น กล้วย พัด ทว่าความจริงแล้วเป็นพืชในสกุลอื่นที่มิใช่ทั้งปาล์มและกล้วย
  • 8. บทที่2เอกสารที่เกี่ยวข้อง กล้วยลักษณะ: กล้วยเป็นไม้ดอกล้มลุกขนาดใหญ่ ทุกส่วนเหนือพื้นดิน ของกล้วยเจริญจากส่วนที่เรียกว่าหัวหรือเหง้า ต้นกล้วยจะสูงและแข็งแรงพอสมควร กล้วยประกอบด้วยก้านใบและแผ่นใบฐานก้านใบแผ่ออกเป็นกาบ กาบที่รวมตัวกัน อย่างหนาแน่นทาให้เกิดลาต้นเทียม มีหน้าที่ชูก้านใบ พยุงให้พืชตั้งตรงดูคล้ายต้นไม้ เมื่อแรกเจริญขอบของกาบจะจรดกันคล้ายท่อ เมื่อมีใบเจริญขึ้นใหม่ที่ใจกลางลาต้น เทียม ขอบกาบที่จรดกันนั้นก็จะแยกออกจากกัน พันธุ์กล้วยนั้นมีความผันแปรมาก ขึ้นอยู่กับพันธุ์ปลูกและสภาพแวดล้อม โดยมาก สูงประมาณ 5 เมตร ใบแรกเจริญจะ ขดเป็นเกลียวก่อนที่จะแผ่ออก อาจยาวได้ถึง 2.7 เมตร และกว้าง 60 ซม. แผ่นใบมี ขนาดใหญ่ ปลายใบมน รูปใบขอบขนาน โคนใบมน มีสีเขียว ใบฉีกขาดได้ง่ายจากลม รากเป็นระบบรากฝอยแผ่ไปทางด้านกว้าง กล้วยเป็นพืชหลายปี มีผลกล้วยประมาณ 20 ผล
  • 9. ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ของต้นกล้วย ลาต้นกล้วยมีลาต้นอยู่ใต้ดินเรียกว่า หัว หรือ เหง้า (rhizome) ที่หัวมีตา (bud) ซึ่งจะเจริญเป็นต้นเกิด หน่อ (sucker) หลายหน่อ เรียกว่า การแตกกอ หน่อที่เกิด หรือต้นที่เห็นอยู่ เหนือดิน ความจริงแล้วมิใช่ลาต้น เราเรียกว่า ลาต้นเทียม (pseudostem) ส่วนนี้เกิดจากการอัดกันแน่นของกาบใบ ที่เกิดจาก จุดเจริญของลาต้นใต้ดิน กาบใบจะชูก้านใบ และใบ และที่จุดเจริญนี้ จะมี การเจริญเป็นดอกตามขึ้นมาหลังจากสิ้นสุดการเจริญของใบ ใบสุดท้าย ก่อนการเกิดดอก เรียกว่า ใบธง
  • 10. ดอกของกล้วยออกเป็นช่อ (inflorescence) ในช่อดอก ยังมีกลุ่มของช่อดอกย่อยเป็นกลุ่มๆ ระหว่างกลุ่มของช่อดอกย่อยแต่ละช่อ จะมีกลีบประดับ หรือที่เราเรียกกันว่า กาบปลี (bract) มีสีม่วงแดงกั้น ไว้กลุ่มดอกเพศเมียอยู่ที่โคน และกลุ่มดอกเพศผู้อยู่ที่ปลาย เป็นส่วนที่เรา เรียกว่า หัวปลี (male bud) ระหว่างกลุ่มดอกเพศเมีย และดอกเพศผู้ มีดอกกะเทย แต่บางพันธุ์ก็ไม่มี ในช่อดอกย่อยแต่ละช่อมีดอกเรียงซ้อน กันอยู่ ๒ แถว ถ้าเป็นดอกเพศเมีย ดอกเหล่านี้จะเจริญต่อไปเป็นผล ดอก ออกเป็นช่อ โดยมีกาบปลีสีม่วงแดงกั้นไว้กลุ่มดอกเพศเมียอยู่ที่โคน ส่วน กลุ่มดอกเพศผู้อยู่ที่ปลาย
  • 11. ผลกล้วยเกิดจากดอกเพศเมีย ซึ่งอยู่ที่โคน กลุ่มของดอกเพศเมีย ๑ กลุ่ม เจริญเป็นผล เรียกว่า ๑ หวี ช่อดอกเจริญเป็น ๑ เครือ ดังนั้นกล้วย ๑ เครืออาจมี ๒ - ๓ หวี หรือมากกว่า ๑๐ หวี ทั้งนี้แล้วแต่พันธุ์กล้วยและ การดูแล ผลของกล้วยมีการเจริญได้โดยไม่ต้องผสมพันธุ์ จึงทาให้กล้วย ส่วนใหญ่ไม่มีเมล็ด เมล็ดกล้วยมีลักษณะกลมเล็ก บางพันธุ์มีขนาดใหญ่ เปลือกหนา แข็ง มีสีดา รากเป็นระบบรากฝอย แผ่ไปทางด้านกว้างมากกว่าทางแนวดิ่ง ลึก ใบกล้วยมีลักษณะเป็นแผ่นใบใหญ่ มีความกว้างประมาณ ๗๐ - ๙๐ เซนติเมตร ความยาว ๑.๗ - ๒.๕ เมตร ปลายใบมน รูปใบขอบขนาน โคนใบมน และแผ่นใบมีสีเขียว
  • 12. การปลูกต้นกล้วย การเตรียมแปลงปลูก โดยการไถดินด้วยผานสามตากดินประมาณหนึ่งเดือน และไถแปรด้วยผานห้าอีกทีตากดินทิ้งไว้ประมาณหนึ่งเดือน กาหนดระยะและขนาดหลุม ปลูก โดยระยะที่เหมาะสมคือ 4x4 เมตร และควรขุดหลุม 50x50x50 เซนติเมตร เพราะรัศมีของรากกล้วยจะหากินไม่เกิน 50 เซนติเมตร การดูแลใส่ปุ๋ ยรองก้นหลุมด้วยปุ๋ ยคอกผสมดินประมาณหลุมละ 2 กิโลกรัม รอง หนาขึ้นมาประมาณ 30 เซนติเมตร แล้วจึงปลูกต้นกล้วยและกลบบริเวณโคนต้นให้แน่น ทา แอ่งดินรอบต้นเพื่อเก็บน้ารักษาความชื้นของดิน และควรรองก้นหลุมด้วยฟูราดานป้องกัน หนอนกอกล้วยประมาณ 1 ช้อนโต๊ะ ต่อหลุมปลูกเสร็จให้น้าตามทันทีให้ชุ่มชื้นพอเพียง ไม่เช่นนั้นต้นจะเหี่ยวเฉาใบแห้งและยุบตัว บางต้นตาย บางต้นแตกต้นใหม่ขึ้นแทนทาให้ อายุต้นไม่สม่าเสมอกัน
  • 13. การแปรรูปกล้วยให้เป็นผลิตภัณฑ์ 1.การแปรรูปจากกล้วยดิบ 1. การทากล้วยอบเนย กล้วยฉาบ หรือ "กล้วยกรอบแก้ว" ใช้กล้วยดิบ เช่น กล้วยน้าว้า กล้วยหอม กล้วยหักมุก นามาฝาน บางๆ ตามยาว หรือตามขวาง อาจจะผึ่งลมสักครู่ หรือฝานลงกระทะ ทันทีก็ได้และทอดในกระทะที่ใส่น้ามันท่วม เมื่อชิ้นกล้วยสุกจะลอย ก็ ตักขึ้นและซับน้ามันด้วยกระดาษฟาง จากนั้นอาจนาไปคลุกเนย เรียกว่า กล้วยอบเนย หรือฉาบให้หวานด้วยการนาไปคลุกกับน้าตาลที่เคี่ยวจน เกือบแห้งในกระทะ เรียกว่า กล้วยฉาบ 2. แป้งกล้วย นากล้วยดิบมานึ่งให้สุก ปอกเปลือก หั่น และอบให้แห้ง แล้ว บดให้ละเอียดเป็นแป้ง ใช้ทาขนมกล้วยและบัวลอย หรือผสมกับแป้งเค้ก ใช้ทาคุกกี้ได้ ทาให้มีกลิ่นหอมของกล้วย
  • 14. 2. การแปรรูปจากกล้วยสุก 1.น้าผลไม้ นาเนื้อกล้วยที่สุกมาหมักใส่เอนไซม์เพกทิโนไลติก (pectinolytic) ความเข้มข้น ๐.๐๑ % เพื่อย่อย และบ่มไว้ที่ อุณหภูมิ ๔๕ องศาเซลเซียส นาน ๑ ชั่วโมง จะได้น้ากล้วยที่ใส 2.กล้วยตาก (banana figs) นากล้วยที่สุกงอมมาปอกเปลือก และนาไปตากแดด ๑ - ๒ แดด จากนั้นมาคลึงเพื่อให้กล้วยนุ่ม แล้วนาไปตากอีก ๕ - ๖ แดด หรือ จนกว่ากล้วยจะแห้งตามต้องการ (ในทุกๆ วันที่เก็บ ให้นากล้วยทั้งหมด มารวมกัน น้าหวานจากกล้วยจะออกมาทุกวัน และกล้วยจะฉ่า แล้วนาไป ตากแดด) ระวังอย่าให้แมลงวันตอม ส่วนการตากอาจใช้แสงอาทิตย์ หรือเตาอบขนาดใหญ่ที่ใช้พลังงานแสงอาทิตย์หรือไฟฟ้า
  • 15. 3.กล้วยกวน นากล้วยสุกงอมมายี แล้วเคล้ากับน้าตาลและกะทิ นาไปกวนใน กระทะที่ไม่เป็นสนิม กวนที่ไฟอ่อนๆ จนสุกเหนียว ปั้นเป็นก้อนกลม หรือ สี่เหลี่ยม แล้วห่อด้วยกระดาษแก้ว 4.ทอฟฟี่กล้วย คล้ายกล้วยกวน แต่ใส่แบะแซ จึงทาให้แข็งกว่ากล้วยกวน 5.ข้าวเกรียบกล้วย ใช้กล้วยสุกผสมกับแป้งและเกลือ อาจเติมน้าตาลเล็กน้อยนวดแล้ว ทาเป็นแท่งยาวๆ นึ่งให้สุก เมื่อสุก ปล่อยทิ้งไว้ให้เย็น ฝานเป็นชิ้นบางๆ ตาก แดดให้แห้ง แล้วนามาทอดรับประทานเป็นอาหารว่าง ข้าวเกรียบกล้วยนี้ หากใช้กล้วยที่มีกลิ่นจะทาให้หอม
  • 16. ประโยชน์ต้นกล้วย ผลดิบ ใช้ป้องกันและรักษาแผลในกระเพาะอาหาร รักษาท้องเสียเรื้อรัง อาหารไม่ย่อย โดยหั่นทั้งเปลือกเป็นแว่นตากแห้งแล้วบดเป็นผง ปั้นเป็นเม็ดหรือชง ในน้าร้อนดื่ม ใช้ครั้งละประมาณเท่ากับกล้วยครึ่งซีกหนึ่งผล หรือนาผลมาใช้โรย รักษาแผลเน่าเปื่อย แผลติดเชื้อ แผลเรื้อรัง ผลสุก ช่วยขับถ่ายระบายท้อง มีฤทธิ์ต้านแบคทีเรียและเชื้อรา แก้ท้องผูก บารุงร่างกาย บารุงกาลัง รักษาแผลในกระเพาะอาหาร เปลือกผลดิบ ใช้สมานแผล หัวปลี แก้โรคลาไส้ แก้โลหิตจาง ลดน้าตาลในเลือด แก้ร้อนในกระหาย น้า บารุงน้านม บารุงโลหิต คั้นน้าบารุงโลหิตแก้ถ่ายเป็นมูกเลือด ยาง ใช้สมานแผล ห้ามเลือด ใบ ใช้ต้มอาบแก้เม็ดผดผื่นคัน ปิ้งปิดแผลไฟไหม
  • 17. สื่อที่ใช้ในการนาเสนอโครงงานคือPower Point 1. เลือกธีม 2. คลิก สร้าง หรือเลือกธีมสี จากนั้นคลิก สร้าง
  • 19. 5. จัดรูปแบบข้อความของคุณ -เลือกทาอย่างใดอย่างหนึ่งต่อไปนี้ -เมื่อต้องการเปลี่ยนสีข้อความของคุณ ให้เลือก สีเติมข้อความ แล้วเลือกสี -เมื่อต้องการเปลี่ยนสีเส้นกรอบข้อความของคุณ ให้เลือก เส้นกรอบข้อความ แล้ว เลือกสี -เมื่อต้องการใช้เงา การสะท้อน เรืองแสง ยกนูน การหมุนสามมิติ การแปลง ให้ เลือก เอฟเฟ็กต์ข้อความ แล้วเลือกเอฟเฟ็กต์ที่คุณต้องการ
  • 21. บทที่3 วิธีการดาเนินงานโครงงาน ในการจัดทาโครงงานเรื่องต้นกล้วย โดยการศึกษาทาง พฤกษศาสตร์ ผู้จัดทาโครงงานมีวิธีการดาเนินงาน ตามขั้นตอน ดังต่อไปนี้ 3.1วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา 3.1.1 เครื่องคอมพิวเตอร์พร้อมเชื่อมต่อระบบเครือข่าย อินเตอร์เน็ต 3.1.2 ต้นกล้วยที่ใช้ศึกษา 3.1.3 เว็บไซต์ที่ให้ข้อมูลทางพฤกษศาสตร์คือ http://kanchanapisek.or.th/kp6/sub /book/book.
  • 22. 3.2ขั้นตอนการดาเนินงาน 3.2.1 คิดหัวข้อโครงงานเพื่อนาเสนอครูที่ปรึกษา โครงงาน 3.2.2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับเรื่องที่สนใจ คือ ต้นกล้วย ว่ามีเนื้อหามากน้อยเพียงใดและต้องศึกษาค้นคว้า เพิ่มเติมเพียงใดจากเว็บไซต์และเก็บข้อมูลไว้เพื่อจัดทาเนื้อหา ต่อไป 3.2.3 ศึกษาข้อมูลทางพฤกษศาสตร์ของต้นกล้วย และ ศึกษาวิธีการแปรรูปของต้นกล้วย
  • 23. 3.2.4 จัดทาโครงร่างโครงงานเรื่องต้นกล้วยเพื่อนาเสนอครู 3.2.5 นาคาเสนอแนะของคุณครูมาปรับปรุงแก้ไขโครงงานให้ สมบูรณ์มากขึ้น 3.2.6 นาเสนอรายงานความก้าวหน้าเป็นระยะๆโดยแจ้งให้ครูที่ ปรึกษาโครงงานได้ตรวจสอบความก้าวหน้า ซึ่งครูที่ปรึกษาจะให้ ข้อเสนอแนะต่างๆเพื่อให้จัดทาเนื้อหาและการนาเสนอที่น่าสนใจ ทั้งนี้เมื่อ ได้รับคาแนะนาก็จะนามาปรับปรุงคาแก้ไขให้เป็นที่สนใจยิ่งขึ้น 3.2.7 จัดทาโครงงานเรื่องต้นกล้วยในรูปแบบของเล่มโครงงาน 3.2.8 ประเมินผลงานโดยการส่งรูปเล่มโครงงานกับคุณครู 3.2.9 นาเสนอโครงงานหน้าชั้นเรียน
  • 24. บทที่4 ผลการดาเนินโครงงาน รหัสพรรณไม้: 7-30340-002-023 ชื่อพื้นเมือง:กล้วย ชื่อวิทยาศาสตร์: Musa Sapientum L. ชื่อวงศ์:MUSACEAE ชื่อสามัญ:Banana ลักษณะวิสัย: กล้วย บริเวณที่พบ: หลังโรงเรียน ถิ่นกาเนิด: เอเซียใต้และเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ การกระจายในประเทศไทย: ทั่วทุกภาคของประเทศไทย ในประเทศอื่น ๆ: เกือบทั่วทุกประเทศและทั่วทวีปทั้ง 5 ทวีป นิเวศวิทยา : ชอบความชื้นสูง กลางแจ้งในที่โล่ง ดินทรายปนเหนียว เวลาออกดอก: ตลอดทั้งปี
  • 25. เวลาติดผล : ตลอดทั้งปี การขยายพันธุ์ : การเพาะเมล็ดบางสายพันธุ์(กล้วยนวลในภาษาพะเยาจุน) และแยกหน่อ แยกเหง้า การใช้ประโยชน์: ลาต้นใช้ทากระทงเลี้ยงสัตว์และเป็นส่วนประกอบทาง พิธีทางศาสนาทางเหนือของไทยใบใช้ทาห่ออาหาร ต่างๆและทางาน ใบตองต่าง ๆ เช่นบายศรีเป็นต้นส่วนก้านกล้วยใช้ทาเป็นของเล่นให้เด็กเล่น หัวปลีเอามาขายและรับประทานได้ผลกินได้ทั้งสุกและดิบ(ตากล้วย) ลักษณะวิสัย: เป็นไม้ล้มลุก เรือนยอดทรงพุ่ม :รูปทรงพุ่มหรือเป็นกลุ่มเป็นกอ ความสูง 10-20 m ความกว้างของทรงพุ่ม 3-5 m ถิ่นอาศัย: พืชบก ลาต้น : ลาต้นเหนือดิน ตั้งตรงได้เอง
  • 26. เปลือกลาต้น : สีลายเขียวสลับดา ลักษณะ: เรียบและเป็นกาบชั้น ๆ ยาง :มียางใส ชนิดของใบ:ใบเดี่ยว สี :เขียวอ่อนและแก่ ขนาดของแผ่นใบ กว้าง 60-80 cm. ยาว 2-4 m. ลักษณะพิเศษของใบ : แผ่นใบเรียบเรียวยาวมี 2 ด้าน และวาวมัน เหนียว กว่าตองชนิดอื่นๆ รูปร่างของแผ่นใบ : เรียบยาว ปลายใบ: เว้าบุ๋ม โคนใบ : รูปเงี่ยงลูกศร ขอบใบ: เรียบ ชนิดของดอก: ดอกเดี่ยว ตาแน่งที่ออกดอก: ปลายยอด
  • 27. กลีบเลี้ยง : แยกจากกัน จานวน 2 กลีบ สี ขาวอมเหลืองและ ม่วง กลีบดอก : โคนเชื่อมติดกัน ปลายแยกเป็น 4 แฉก สี ม่วงแกม แดง เป็นหลอด (tubular) เกสรเพศผู้: มีจานวน 1 อัน สีและลักษณะ สีม่วง เกสรเพศเมีย : มีจานวน 16 อัน สีและลักษณะ สีขาวอมเหลือง รังไข่ : รังไข่ใต้วงกลีบ กลิ่น : มีกลิ่นฉุนทาให้เวียนหัวมาก สีของผล : ผลอ่อนสี เขียวอ่อน ผลแก่สี : สีเหลือง เมล็ด : จานวนเมล็ด มากกว่า 100 เมล็ด / ผลบางสายพันธุ์- สี ของเมล็ดดา- รูปร่างเมล็ด
  • 28. บทที่ 5 สรุปผลและข้อเสนอแนะการดาเนินโครงการ สรุปผลกล้วยลักษณะ: ลาต้น กล้วยมีลาต้นอยู่ใต้ดินเรียกว่า หัว หรือ เหง้า ที่หัวมีตา ซึ่งจะเจริญ เป็นต้นเกิด หน่อ หลายหน่อ เรียกว่า การแตกกอ หน่อที่เกิด หรือต้นที่เห็นอยู่เหนือดิน ความจริงแล้วมิใช่ลาต้น เราเรียกว่า ลาต้นเทียม ส่วนนี้เกิดจากการอัดกันแน่นของกาบ ใบ ที่เกิดจากจุดเจริญของลาต้นใต้ดิน กาบใบจะชูก้านใบ และใบ และที่จุดเจริญนี้ จะมี การเจริญเป็นดอกตามขึ้นมาหลังจากสิ้นสุดการเจริญของใบ ใบสุดท้ายก่อนการเกิด ดอก เรียกว่า ใบธง
  • 29. ดอก ดอกของกล้วยออกเป็นช่อ ในช่อดอกยังมีกลุ่มของช่อดอกย่อยเป็น กลุ่มๆ ระหว่างกลุ่มของช่อดอกย่อยแต่ละช่อจะมีกลีบประดับ หรือที่เราเรียกกันว่า กาบปลี มีสีม่วงแดงกั้นไว้กลุ่มดอกเพศเมียอยู่ที่โคน และกลุ่มดอกเพศผู้อยู่ที่ปลาย เป็นส่วนที่เราเรียกว่า หัวปลี ระหว่างกลุ่มดอกเพศเมีย และดอกเพศผู้มีดอกกะเทย แต่ บางพันธุ์ก็ไม่มี ในช่อดอกย่อยแต่ละช่อมีดอกเรียงซ้อนกันอยู่ ๒ แถว ถ้าเป็นดอกเพศ เมีย ดอกเหล่านี้จะเจริญต่อไปเป็นผล ดอกออกเป็นช่อ โดยมีกาบปลีสีม่วงแดงกั้นไว้ กลุ่มดอกเพศเมียอยู่ที่โคน ส่วนกลุ่มดอกเพศผู้อยู่ที่ปลาย ผล ผลกล้วยเกิดจากดอกเพศเมีย ซึ่งอยู่ที่โคน กลุ่มของดอกเพศเมีย ๑ กลุ่ม เจริญเป็นผล เรียกว่า ๑ หวี ช่อดอกเจริญเป็น ๑ เครือ ดังนั้นกล้วย ๑ เครืออาจมี ๒ - ๓ หวี หรือมากกว่า ๑๐ หวี ทั้งนี้แล้วแต่พันธุ์กล้วยและการดูแล ผลของกล้วยมี การเจริญได้โดยไม่ต้องผสมพันธุ์ จึงทาให้กล้วยส่วนใหญ่ไม่มีเมล็ด
  • 30. เมล็ด เมล็ดกล้วยมีลักษณะกลมเล็ก บางพันธุ์มีขนาดใหญ่ เปลือก หนา แข็ง มีสีดา ราก เป็นระบบรากฝอย แผ่ไปทางด้านกว้างมากกว่าทางแนวดิ่งลึก ใบ ใบกล้วยมีลักษณะเป็นแผ่นใบใหญ่ มีความกว้างประมาณ ๗๐ - ๙๐ เซนติเมตร ความยาว ๑.๗ - ๒.๕ เมตร ปลายใบมน รูปใบขอบขนาน โคน ใบมน และแผ่นใบมีสีเขียว อภิปรายต้นกล้วย : กล้วย เป็นพรรณไม้ล้มลุกในสกุล Musa มี หลายชนิดในสกุล บางชนิดก็ออกหน่อแต่ว่าบางชนิดก็ไม่ออกหน่อ ใบแบน ยาวใหญ่ ก้านใบตอนล่างเป็นกาบยาวหุ้มห่อซ้อนกันเป็นลาต้น ออกดอกที่ ปลายลาต้นเป็น ปลี และมักยาวเป็นงวง มีลูกเป็นหวี ๆ รวมเรียกว่า เครือ พืช บางชนิดมีลาต้นคล้ายปาล์ม ออกใบเรียงกันเป็นแถวทานองพัดคลี่ คล้ายใบ กล้วย เช่น กล้วยพัด แต่ความจริงแล้วเป็นพืชในสกุลอื่นที่ไม่ใช่ปาล์มและ กล้วย
  • 31. ข้อเสนอแนะการเตรียมแปลงปลูก : แปลงปลูกต้องมีการะบายน้าดี ถ้าเป็นที่มีน้าขังควรมีการยกร่อง หรือทาทางระบายน้าก่อนปลูก ต้องมีการไถ และพรวนอย่างน้อย 2 ครั้ง ควรเก็บตอไม้และเศษไม้ ออก เพราะเป็นแหล่งอาศัยของศัตรูพืช และปลวก รูปแบบการปลูก อาจเป็นแบบสี่เหลี่ยมจัตุรัส หรือสามเหลี่ยมด้านเท่าระยะปลูก 2x2 เมตรการปลูกแบบสี่เหลี่ยม ใช้กล้า 400 ต้น / ไร่