SlideShare a Scribd company logo
1 of 15
กระบวนการเทคโนโลยี 
สารสนเทศ
ความหมายและขัน้ตอน การ 
แก้ปัญหา 
กระบวนการเทคโนโลยี เป็นขัน้ตอนการทางานเพื่อสร้างสงิ่ของ 
เครื่องใช้หรือวิธีการอย่างใดอย่างหนึ่งขึน้มาเพื่อแก้ปัญหาหรือ 
สนองความต้องการของมนุษย์ 
กระบวนการในการแก้ปัญหา ซงึ่ประกอบด้วย 4 ขัน้ตอน ดังนี้
1.การวิเคราะห์และกาหนดรายละเอียดของปัญหา 
การวิเคราะห์และกาหนดรายละเอียดของปัญหา (State the problem) 
ขัน้ตอนนีเ้ป็นขัน้ตอนแรกสุดก่อนที่จะลงมือแก้ปัญหา แต่ผู้แก้ปัญหามักจะมองข้าม 
ความสาคัญของขัน้ตอนนีอ้ยู่เสมอ จุดประสงค์ของขัน้ตอนนี้คือการทาความเข้าใจกับ 
ปัญหาเพื่อแยกให้ออกว่าข้อมูลที่กาหนดมาในปัญหาหรือเงื่อนไขของปัญหาคืออะไร 
และสิ่งที่ต้องการคืออะไร อีกทัง้วิธีการที่ใช้ประมวลผล ในการวิเคราะห์ปัญหาใด กล่าว 
โดยสรุปมีองค์ประกอบในการวิเคราะห์ ดังนี้ 
1.1 การระบุข้อมูลเข้า ได้แก่ การพิจารณาข้อมูลและเงื่อนไขที่กาหนดมาในปัญหา 
1.2 การระบุข้อมูลออก ได้แก่ การพิจารณาเป้าหมายหรือสิ่งที่ต้องหาคาตอบ 
1.3 การกาหนดวิธีประมวลผล ได้แก่ การพิจารณาขัน้ตอนวิธีหาคาตอบหรือข้อมูลออก
การเลือกเครื่องมือและออกแบบขัน้ตอนวิธี(Tools and 
Algorithm development) ขัน้ตอนนีเ้ป็นขัน้ตอนของการวางแผนในการ 
แก้ปัญหาอย่างละเอียดถี่ถ้วน หลังจากที่เราทาความเข้าใจกับปัญหา พิจารณา 
ข้อมูลและเงื่อนไขที่มีอยู่ และสิ่งที่ต้องการหาในขัน้ตอนที่ 1 แล้ว เราสามารถ 
คาดคะเนวิธีการที่จะใช้ในการแก้ปัญหา ขัน้ตอนนีจ้าเป็นต้องอาศัยประสบการณ์ 
ของผู้แก้ปัญหาเป็นหลัก หากผู้แก้ปัญหาเคยพบกับปัญหาทานองนีม้าแล้วก็ 
สามารถดาเนินการตามแนวทางที่เคยปฏิบัติมา
3. การดาเนินการแก้ปัญหา 
การดาเนินการแก้ปัญหา (Implementation) หลังจากที่ได้ออกแบบขัน้ตอน 
วิธีเรียบร้อยแล้ว ขัน้ตอนนีเ้ป็นขัน้ตอนที่ต้องลงมือแก้ปัญหาโดยใช้เครื่องมือ 
ที่ได้เลือกไว้ หากการแก้ปัญหาดังกล่าวใช้คอมพิวเตอร์เข้ามาช่วยง่าน 
ขัน้ตอนนีก้็เป็นการใช้โปรแกรมสาเร็จหรือใช้ภาษาคอมพิวเตอร์เขียน 
โปรแกรมแก้ปัญหา ขัน้ตอนนีต้้องอาศัยความรู้เกี่ยวกับเครื่องมือที่เลือกใช้ซงึ่ 
ผู้แก้ปัญหาต้องศึกษาให้เข้าใจและเชี่ยวชาญ ในขณะที่ดาเนินการหากพบ 
แนวทางที่ดีกว่าที่ออกแบบไว้ก็สามารถปรับเปลี่ยนได้
4. การตรวจสอบและ 
ปรับปรุง 
การตรวจสอบและปรับปรุง (Refinement) หลังจากที่ลงมือแก้ปัญหาแล้ว ต้องตรวจสอบให้ 
แน่ใจว่าวิธีการนีใ้ห้ผลลัพธ์ที่ถูกต้อง โดยผู้แก้ปัญหาต้องตรวจสอบว่าขัน้ตอนวิธีที่สร้างขึน้ 
สอดคล้องกับรายละเอียดของปัญหา ซงึ่ได้แก่ ข้อมูลเข้า และข้อมูลออก เพื่อให้มนั่ใจว่าสามารถ 
รองรับข้อมุเข้าได้ในทุกกรณีอย่างถูกต้องและสมบูรณ์ ในขณะเดียวกันก็ต้องปรับปรุงวิธีการ 
เพื่อให้การแก้ปัญหานีไ้ด้ผลลัพธ์ที่ดีที่สุด 
ขัน้ตอนทัง้ 4 ขัน้ตอนดังกล่าวข้างต้น เป็นเสมือนขัน้บันได (stair) ที่ทาให้มนุษย์สามารถประสบ 
ความสาเร็จในการแก้ปัญหาต่างๆ ได้ รวมทัง้การเขียนหรือพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์เพื่อ 
แก้ปัญหาก็ต้องใช้กระบวนการตามขัน้ตอนทัง้ 4 นีเ้ช่นกัน
ขัน้ตอนอัลกอริทึล 
อัลกอริทึม (อังกฤษ: algorithm) หมายถึงกระบวนการแก้ปัญหาที่สามารถ 
เข้าใจได้ มีลาดับหรือวิธีการในการแก้ไขปัญหาใดปัญหาหนงึ่อย่างเป็นขัน้เป็น 
ตอนและชัดเจน เมื่อนาเข้าอะไร แล้วจะต้องได้ผลลัพธ์เช่นไร ซึ่งแตกต่างจาก 
การแก้ปัญหาแบบสามัญสานึก หรือฮิวริสติก (heuristic) 
โดยทวั่ไป ขัน้ตอนวิธี จะประกอบด้วย วิธีการเป็นขัน้ๆ และมีส่วนที่ต้องทาแบบวนซา้ 
(iterate) หรือ เวียนเกิด (recursive) โดยใช้ตรรกะ (logic) และ/หรือ ในการ 
เปรียบเทียบ (comparison) ในขัน้ตอนต่างๆ จนกระทงั่เสร็จสนิ้การทางาน
การเขียนรหัสจาลอง (Pseudo Code) คือการเขียนอัลกอริทึมโดยใช้ประโยค 
ภาษาอังกฤษที่สื่อความหมายง่าย ๆ สามารถอ่านแล้วเข้าใจได้โดยทันที แต่ก็สามารถใช้ 
รูปแบบที่เป็นภาษาพูดด้วยภาษาไทยและภาษาอังกฤษก็ได้ 
โครงสร้างของรหัสจาลองเริ่มต้นด้วยข้อความ Begin แล้วอธิบายขัน้ตอนการทางานโดย 
ใช้คาสงั่ต่าง ๆ ที่ใกล้เคียงกับภาษาคอมพิวเตอร์ในการเขียนโปรแกรม เช่น 
คาสงั่read หมายถึง การอ่านค่าหรือรับคา่ข้อมูลตัวแปรตามที่กาหนดไว้ 
คาสงั่print หมายถึง การแสดงผลลัพธ์ที่ได้จากการคานวณ 
พิมพ์ข้อความ End เมื่อจบการทางาน
การเขียนผังงาน 
ผังงาน คือ แผนภาพที่มีการใช้สัญลักษณ์รูปภาพและลูกศรที่แสดงถึง 
ขัน้ตอนการทางานของโปรแกรมหรือระบบทีละขัน้ตอน รวมไปถึงทิศทางการ 
ไหลของข้อมูลตัง้แต่แรกจนได้ผลลัพธ์ตามที่ต้องการ มี 2 ประเภท คือ ผังงาน 
ระบบ และผังงานโปรแกรม
ประโยชน์ของผังงาน 
ช่วยลาดับขัน้ตอนการทางานของโปรแกรม และสามารถนาไป 
เขียนโปรแกรมได้โดยไม่สับสน 
ช่วยในการตรวจสอบ และแก้ไขโปรแกรมได้ง่าย เมื่อเกิด 
ข้อผิดพลาด 
ช่วยให้การดัดแปลง แก้ไข ทาได้อย่างสะดวกและรวดเร็ว 
ช่วยให้ผู้อื่นสามารถศึกษาการทางานของโปรแกรมได้อย่างง่าย 
และรวดเร็วมากขึน้
วิธีการเขียนผังงานที่ดี 
ใช้สัญลักษณ์ตามที่กาหนดไว้ 
ใช้ลูกศรแสดงทิศทางการไหลของข้อมูลจากบนลงล่าง หรือจากซ้ายไปขวา 
คาอธิบายในภาพควรสัน้กะทัดรัด และเข้าใจง่าย 
ทุกแผนภาพต้องมีลูกศรแสดงทิศทางเข้า - ออก 
ไมค่วรโยงเส้นเชื่อมผังงานที่อยู่ไกลมาก ๆ ควรใช้สัญลักษณ์จุดเชื่อมต่อแทน 
ผังงานควรมีการทดสอบความถูกต้องของการทางานก่อนนาไปเขียนโปรแกรม
ผังงานระบบ
ผังงานโปรแกรม
กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ

More Related Content

Similar to กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ

หน่วยที่๑ เทคโนโลยีสารสนเทศ
หน่วยที่๑ เทคโนโลยีสารสนเทศหน่วยที่๑ เทคโนโลยีสารสนเทศ
หน่วยที่๑ เทคโนโลยีสารสนเทศKitti Santiparaphop
 
การแก้ปัญหาโดยช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาโดยช้เทคโนโลยีสารสนเทศการแก้ปัญหาโดยช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาโดยช้เทคโนโลยีสารสนเทศThitikorn Prakrongyad
 
ใบความรู้ที่ 9
ใบความรู้ที่ 9ใบความรู้ที่ 9
ใบความรู้ที่ 9Rattana Wongphu-nga
 
[NTUN]การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
[NTUN]การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ[NTUN]การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
[NTUN]การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศNoeyy
 
คำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชาคำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชาkrubeau
 
กระบวนการเทคโนโลยี1
กระบวนการเทคโนโลยี1กระบวนการเทคโนโลยี1
กระบวนการเทคโนโลยี1patchu0625
 
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศwarathip pongkan
 
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศbenz18
 
Design process onwebforrobotcontest
Design process onwebforrobotcontestDesign process onwebforrobotcontest
Design process onwebforrobotcontestWeerachat Martluplao
 
งานคอมพิวเตอร์
งานคอมพิวเตอร์งานคอมพิวเตอร์
งานคอมพิวเตอร์prang00
 
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศเอ็ม พุฒิพงษ์
 
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการPongspak kamonsri
 
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการthanaluhk
 
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศNattakan Panchoo
 
หน่วยที่ 1
หน่วยที่ 1หน่วยที่ 1
หน่วยที่ 1jzturbo
 
นางสาวพิชชา ล้อมวงศ์ 03-5-5
นางสาวพิชชา ล้อมวงศ์ 03-5-5นางสาวพิชชา ล้อมวงศ์ 03-5-5
นางสาวพิชชา ล้อมวงศ์ 03-5-5LPpitcha
 
บทที่ 2 การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 2 การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 2 การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 2 การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศLatcha MaMiew
 
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศNuchy Suchanuch
 

Similar to กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ (20)

หน่วยที่๑ เทคโนโลยีสารสนเทศ
หน่วยที่๑ เทคโนโลยีสารสนเทศหน่วยที่๑ เทคโนโลยีสารสนเทศ
หน่วยที่๑ เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
การแก้ปัญหาโดยช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาโดยช้เทคโนโลยีสารสนเทศการแก้ปัญหาโดยช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาโดยช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ใบความรู้ที่ 9
ใบความรู้ที่ 9ใบความรู้ที่ 9
ใบความรู้ที่ 9
 
Ppt
PptPpt
Ppt
 
[NTUN]การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
[NTUN]การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ[NTUN]การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
[NTUN]การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
It1
It1It1
It1
 
คำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชาคำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชา
 
กระบวนการเทคโนโลยี1
กระบวนการเทคโนโลยี1กระบวนการเทคโนโลยี1
กระบวนการเทคโนโลยี1
 
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
Design process onwebforrobotcontest
Design process onwebforrobotcontestDesign process onwebforrobotcontest
Design process onwebforrobotcontest
 
งานคอมพิวเตอร์
งานคอมพิวเตอร์งานคอมพิวเตอร์
งานคอมพิวเตอร์
 
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการ
 
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการ
 
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
หน่วยที่ 1
หน่วยที่ 1หน่วยที่ 1
หน่วยที่ 1
 
นางสาวพิชชา ล้อมวงศ์ 03-5-5
นางสาวพิชชา ล้อมวงศ์ 03-5-5นางสาวพิชชา ล้อมวงศ์ 03-5-5
นางสาวพิชชา ล้อมวงศ์ 03-5-5
 
บทที่ 2 การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 2 การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 2 การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 2 การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
 

กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ

  • 2. ความหมายและขัน้ตอน การ แก้ปัญหา กระบวนการเทคโนโลยี เป็นขัน้ตอนการทางานเพื่อสร้างสงิ่ของ เครื่องใช้หรือวิธีการอย่างใดอย่างหนึ่งขึน้มาเพื่อแก้ปัญหาหรือ สนองความต้องการของมนุษย์ กระบวนการในการแก้ปัญหา ซงึ่ประกอบด้วย 4 ขัน้ตอน ดังนี้
  • 3. 1.การวิเคราะห์และกาหนดรายละเอียดของปัญหา การวิเคราะห์และกาหนดรายละเอียดของปัญหา (State the problem) ขัน้ตอนนีเ้ป็นขัน้ตอนแรกสุดก่อนที่จะลงมือแก้ปัญหา แต่ผู้แก้ปัญหามักจะมองข้าม ความสาคัญของขัน้ตอนนีอ้ยู่เสมอ จุดประสงค์ของขัน้ตอนนี้คือการทาความเข้าใจกับ ปัญหาเพื่อแยกให้ออกว่าข้อมูลที่กาหนดมาในปัญหาหรือเงื่อนไขของปัญหาคืออะไร และสิ่งที่ต้องการคืออะไร อีกทัง้วิธีการที่ใช้ประมวลผล ในการวิเคราะห์ปัญหาใด กล่าว โดยสรุปมีองค์ประกอบในการวิเคราะห์ ดังนี้ 1.1 การระบุข้อมูลเข้า ได้แก่ การพิจารณาข้อมูลและเงื่อนไขที่กาหนดมาในปัญหา 1.2 การระบุข้อมูลออก ได้แก่ การพิจารณาเป้าหมายหรือสิ่งที่ต้องหาคาตอบ 1.3 การกาหนดวิธีประมวลผล ได้แก่ การพิจารณาขัน้ตอนวิธีหาคาตอบหรือข้อมูลออก
  • 4. การเลือกเครื่องมือและออกแบบขัน้ตอนวิธี(Tools and Algorithm development) ขัน้ตอนนีเ้ป็นขัน้ตอนของการวางแผนในการ แก้ปัญหาอย่างละเอียดถี่ถ้วน หลังจากที่เราทาความเข้าใจกับปัญหา พิจารณา ข้อมูลและเงื่อนไขที่มีอยู่ และสิ่งที่ต้องการหาในขัน้ตอนที่ 1 แล้ว เราสามารถ คาดคะเนวิธีการที่จะใช้ในการแก้ปัญหา ขัน้ตอนนีจ้าเป็นต้องอาศัยประสบการณ์ ของผู้แก้ปัญหาเป็นหลัก หากผู้แก้ปัญหาเคยพบกับปัญหาทานองนีม้าแล้วก็ สามารถดาเนินการตามแนวทางที่เคยปฏิบัติมา
  • 5. 3. การดาเนินการแก้ปัญหา การดาเนินการแก้ปัญหา (Implementation) หลังจากที่ได้ออกแบบขัน้ตอน วิธีเรียบร้อยแล้ว ขัน้ตอนนีเ้ป็นขัน้ตอนที่ต้องลงมือแก้ปัญหาโดยใช้เครื่องมือ ที่ได้เลือกไว้ หากการแก้ปัญหาดังกล่าวใช้คอมพิวเตอร์เข้ามาช่วยง่าน ขัน้ตอนนีก้็เป็นการใช้โปรแกรมสาเร็จหรือใช้ภาษาคอมพิวเตอร์เขียน โปรแกรมแก้ปัญหา ขัน้ตอนนีต้้องอาศัยความรู้เกี่ยวกับเครื่องมือที่เลือกใช้ซงึ่ ผู้แก้ปัญหาต้องศึกษาให้เข้าใจและเชี่ยวชาญ ในขณะที่ดาเนินการหากพบ แนวทางที่ดีกว่าที่ออกแบบไว้ก็สามารถปรับเปลี่ยนได้
  • 6. 4. การตรวจสอบและ ปรับปรุง การตรวจสอบและปรับปรุง (Refinement) หลังจากที่ลงมือแก้ปัญหาแล้ว ต้องตรวจสอบให้ แน่ใจว่าวิธีการนีใ้ห้ผลลัพธ์ที่ถูกต้อง โดยผู้แก้ปัญหาต้องตรวจสอบว่าขัน้ตอนวิธีที่สร้างขึน้ สอดคล้องกับรายละเอียดของปัญหา ซงึ่ได้แก่ ข้อมูลเข้า และข้อมูลออก เพื่อให้มนั่ใจว่าสามารถ รองรับข้อมุเข้าได้ในทุกกรณีอย่างถูกต้องและสมบูรณ์ ในขณะเดียวกันก็ต้องปรับปรุงวิธีการ เพื่อให้การแก้ปัญหานีไ้ด้ผลลัพธ์ที่ดีที่สุด ขัน้ตอนทัง้ 4 ขัน้ตอนดังกล่าวข้างต้น เป็นเสมือนขัน้บันได (stair) ที่ทาให้มนุษย์สามารถประสบ ความสาเร็จในการแก้ปัญหาต่างๆ ได้ รวมทัง้การเขียนหรือพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์เพื่อ แก้ปัญหาก็ต้องใช้กระบวนการตามขัน้ตอนทัง้ 4 นีเ้ช่นกัน
  • 7. ขัน้ตอนอัลกอริทึล อัลกอริทึม (อังกฤษ: algorithm) หมายถึงกระบวนการแก้ปัญหาที่สามารถ เข้าใจได้ มีลาดับหรือวิธีการในการแก้ไขปัญหาใดปัญหาหนงึ่อย่างเป็นขัน้เป็น ตอนและชัดเจน เมื่อนาเข้าอะไร แล้วจะต้องได้ผลลัพธ์เช่นไร ซึ่งแตกต่างจาก การแก้ปัญหาแบบสามัญสานึก หรือฮิวริสติก (heuristic) โดยทวั่ไป ขัน้ตอนวิธี จะประกอบด้วย วิธีการเป็นขัน้ๆ และมีส่วนที่ต้องทาแบบวนซา้ (iterate) หรือ เวียนเกิด (recursive) โดยใช้ตรรกะ (logic) และ/หรือ ในการ เปรียบเทียบ (comparison) ในขัน้ตอนต่างๆ จนกระทงั่เสร็จสนิ้การทางาน
  • 8. การเขียนรหัสจาลอง (Pseudo Code) คือการเขียนอัลกอริทึมโดยใช้ประโยค ภาษาอังกฤษที่สื่อความหมายง่าย ๆ สามารถอ่านแล้วเข้าใจได้โดยทันที แต่ก็สามารถใช้ รูปแบบที่เป็นภาษาพูดด้วยภาษาไทยและภาษาอังกฤษก็ได้ โครงสร้างของรหัสจาลองเริ่มต้นด้วยข้อความ Begin แล้วอธิบายขัน้ตอนการทางานโดย ใช้คาสงั่ต่าง ๆ ที่ใกล้เคียงกับภาษาคอมพิวเตอร์ในการเขียนโปรแกรม เช่น คาสงั่read หมายถึง การอ่านค่าหรือรับคา่ข้อมูลตัวแปรตามที่กาหนดไว้ คาสงั่print หมายถึง การแสดงผลลัพธ์ที่ได้จากการคานวณ พิมพ์ข้อความ End เมื่อจบการทางาน
  • 9. การเขียนผังงาน ผังงาน คือ แผนภาพที่มีการใช้สัญลักษณ์รูปภาพและลูกศรที่แสดงถึง ขัน้ตอนการทางานของโปรแกรมหรือระบบทีละขัน้ตอน รวมไปถึงทิศทางการ ไหลของข้อมูลตัง้แต่แรกจนได้ผลลัพธ์ตามที่ต้องการ มี 2 ประเภท คือ ผังงาน ระบบ และผังงานโปรแกรม
  • 10. ประโยชน์ของผังงาน ช่วยลาดับขัน้ตอนการทางานของโปรแกรม และสามารถนาไป เขียนโปรแกรมได้โดยไม่สับสน ช่วยในการตรวจสอบ และแก้ไขโปรแกรมได้ง่าย เมื่อเกิด ข้อผิดพลาด ช่วยให้การดัดแปลง แก้ไข ทาได้อย่างสะดวกและรวดเร็ว ช่วยให้ผู้อื่นสามารถศึกษาการทางานของโปรแกรมได้อย่างง่าย และรวดเร็วมากขึน้
  • 11. วิธีการเขียนผังงานที่ดี ใช้สัญลักษณ์ตามที่กาหนดไว้ ใช้ลูกศรแสดงทิศทางการไหลของข้อมูลจากบนลงล่าง หรือจากซ้ายไปขวา คาอธิบายในภาพควรสัน้กะทัดรัด และเข้าใจง่าย ทุกแผนภาพต้องมีลูกศรแสดงทิศทางเข้า - ออก ไมค่วรโยงเส้นเชื่อมผังงานที่อยู่ไกลมาก ๆ ควรใช้สัญลักษณ์จุดเชื่อมต่อแทน ผังงานควรมีการทดสอบความถูกต้องของการทางานก่อนนาไปเขียนโปรแกรม