SlideShare a Scribd company logo
1 of 50
ชื่อโครงงาน
การกาจัดลูกน้าโดยวิธีธรรมชาติ
โดย
นางสาว ปณิธิ ศรีสุวรรณนพกุล เลขที่ 3 ชั้น ม.6 ห้อง8
นางสาว สิรินดา อินทนนท์ เลขที่ 6 ชั้น ม.6 ห้อง 8
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
คานา
เกี่ยวกับโครงงาน
ที่มาและความสาคัญของ
โครงงาน
หลักการและทฤษฏี
ขอบเขตโครงงาน
วัตถุประสงค์
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
สถานที่ดาเนินการ/กลุ่ม
สาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
แหล่งที่มา
วัสดุอุปกรณ์ที่ใช้/งบประมาณ/
ระยะเวลาในการดาเนินงาน
ขั้นตอนและแผน
ดาเนินการ
วิดีโอ
โครงงานเรื่องนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยี
เนื่องจากโครงงานเรื่อง การกาจัดลูกน้าโดยวิธีธรรมชาติ มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษา
ศึกษาและการดาเนินการสร้างโครงงานการกาจัดลูกน้าโดยวิธีธรรมชาติ เพื่อ
อธิบายในชั้นเรียนได้จัดทาเรื่องนี้เพราะว่าได้ศึกษาค้นคว้า และรวบรวมเนื้อหาจัดทา
จัดทาเป็นสื่อการเรียนการสอนขึ้นมา โดยทาเนื้อหาให้น่าสนใจมากขึ้น เพราะสมัย
สมัยนี้เด็กไทยมักจะเคร่งเครียดในเทคโนโลยีมากขึ้น จนลืมตระหนักถึงวิธีง่ายๆที่ทา
ง่ายๆที่ทาได้ด้วยตัวเองและทาได้จากธรรมชาติ อย่างไรก็ตามกลุ่มข้าพเจ้าก็ได้จัดทา
จัดทาโครงงานนี้เพื่ออยากให้เด็กสนใจในวิถีแห่งธรรมชาติมากขึ้น จึงทาสื่อให้
น่าสนใจ
คานา
กลับไปหน้าแรก
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) : การกาจัดลูกน้ายุงลายโดยวิธีธรรมชาติ
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) : Elimination aegypti by natural
ประเภทโครงงาน : พัฒนาสื่อการศึกษา
ชื่อผู้ทาโครงงาน : 1. นางสาว ปณิธิ ศรีสุวรรณนพกุล เลขที่ 3 ชั้น ม.6 ห้อง 8
2. นางสาว สิรินดา อินทนนท์ เลขที่ 6 ชั้น ม.6 ห้อง 8
ชื่อที่ปรึกษา : คุณครู เขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน : ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558
เกี่ยวกับโครงงาน
กลับไปหน้าแรก
ไข้เลือดออก นับได้ว่าเป็นโรคร้ายที่หากใครเป็นแล้วอาจจะทาให้
เสียชีวิตได้ เนื่องจากยุงลายเป็นเหตุสาคัญ และในปัจจุบันพุทธศักราช ๒๕๕๘
ได้มีผู้เสียชีวิตเพราะโรคแล้ว เห็นได้จากฤดูฝนที่ผ่านมา
ซึ่งจะทาให้เกิดน้าท่วมขังในบางบริเวณต่อจากนั้นก็จะมียุงลาย
วางไข่ในบริเวณที่น้าท่วมขัง กลุ่มข้าพเจ้าจึงได้คิดวิธีลดจานวนลูกน้ายุงลาย
โดยไม่ต้องใช้สารเคมีจึงได้คิดทาโครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษาโดยตั้งชื่อว่า
“การกาจัดลูกน้าโดยวิธีธรรมชาติ” เพื่อที่จะช่วยลดจานวนของลูกน้าให้น้อยลง
หรือหมดไปในที่สุด
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน
กลับไปหน้าแรก
1.เพื่อกาจัดลูกน้าและป้ องจากยุงด้วยสมุทรไพร
2.เพื่อหาวัตถุธรรมชาติที่ไม่มีอันตรายมาทดแทนการใช้สารเคมี
วัตถุประสงค์
กลับไปหน้าแรก
ขอบเขตโครงงาน
เนื้อหาการกาจัดลูกน้ายุงลายโดยวิธีธรธรรมชาติ โดยจะสรุปจาก
ในอินเทอร์เน็ต และมีคลิปประกอบเพื่อง่ายต่อการเข้าใจและจดจา
กลับไปหน้าแรก
หลักการและทฤษฎี
กลับไปหน้าแรก
อุปกรณ์
สะเดา
โหระพา
กระเพราแดง
ครก
สาก
ผ้าขาวบาง
น้าต้มสุก
ถ้วย
วิธีทา ชนิดที่ 1
นาเมล็ดสะเดามาโคก จนละเอียด แล้วรองด้วยผ้าขาว แล้วใช้น้าต้มสุกกรอง
ใส่ถ้วย เป็นน้าจากเมล็ดสะเดา แล้วนาไปใส่ในน้าที่มีลูกน้ายุง
วิธีทา ชนิดที่ 2
นาใบโหระพามาโคก จนละเอียด แล้วรองด้วยผ้าขาว แล้วใช้น้าต้มสุกกรอง
ใส่ถ้วย เป็นน้าจากใบโหระพา แล้วนาไปใส่ในน้าที่มีลูกน้ายุง
วิธีทา ชนิดที่ 3
นาใบกระเพราแดงมาโคก จนละเอียด แล้วรองด้วยผ้าขาว แล้วใช้น้าต้มสุก
กรองใส่ถ้วย เป็นน้าจากใบกระเพราแดง แล้วนาไปใส่ในน้าที่มีลูกน้ายุง
วิธีอื่นๆที่ใช้กาจัดลูกน้าโดย
วิธีธรรมชาติ
เลี้ยงปลาไว้กินลูกน้า ปลาที่นิยมเลี้ยงกันไว้กินลูกน้า ก็คือ ปลา
หางนกยูง ปลาสอด ปลากัด โดยมักจะเลี้ยงปลาเหล่านี้ไว้ในโอ่ง
หรือบ่อซีเมนต์ ไว้สาหรับกินลูกน้าในน้า ซึ่งจะช่วยควบคุมยุงลาย
ได้ทางหนึ่ง โดยให้ใส่ปลาหางนกยูง 2-10 ตัวต่อภาชนะ แต่หาก
กลัวว่าปลาจะยิ่งเพาะพันธุ์มากขึ้น ก็ให้เลือกเลี้ยงเฉพาะปลาหาง
นกยูงตัวผู้ก็ได้
ใช้แบคทีเรียกาจัดลูกน้า แบคทีเรียพวกนี้จะเป็นเชื้อจุลินทรีย์ที่มี
อยู่ในดินตามธรรมชาติ จึงไม่เป็นพิษต่อคนและสัตว์ โดยหาซื้อ
ได้ทั่วไปตามท้องตลาด ซึ่งจะมีชื่อเรียกทางการค้าแตกต่างกัน
ไป เช่น Bactimos, Teknar, VectoBac, Larvitab ฯลฯ และมี
หลายสูตรให้เลือกใช้ตามความเหมาะสมกับ ชนิดของแหล่ง
น้า และชนิดของลูกน้ายุง
ใช้วิธีกาลักน้า หากโอ่ง กระป๋ อง ถัง หรือบ่อซีเมนต์อะไรก็ตาม
ในบ้านมีลูกน้าว่ายไปว่ายมาอยู่ กลัวจะกาจัดไม่หมด ให้เตรียม
สายยางยาวประมาณ 2 เท่า ของความสูงภาชนะ และเติมน้า
ให้เต็มตลอดสายยางไว้ จากนั้นใช้มือหมุนกวนภาชนะ
ประมาณ 2-3 รอบ เพื่อให้ตะกอนสกปรก รวมทั้งลูกน้าที่กระจัด
กระจายอยู่ในภาชนะจะถูกแรงหมุนเหวี่ยงของน้า กวาดไล่มา
รวมอยู่ที่กึ่งกลางของพื้นภาชนะ จากนั้นจึงใช้สายยางที่เตรียม
ไว้ดูดเอาลูกน้า ตัวโม่ง และตะกอนกาจัดทิ้งไปพร้อม ๆ กัน
สมุนไพรที่ใช้ในการ
กาจัดลูกน้ายุงลาย
ตะไคร้ : ตะไคร้เป็นอีกหนึ่งสมุนไพรที่ยุงขยาดกลิ่นมากที่สุด
และหากบ้านเรามีตะไคร้ก็นาตะไคร้มาตาให้แหลก ผสมกับน้า
เล็กน้อย แล้วคั้นเอาแต่น้า ก่อนไปเคี่ยวเป็นน้ามัน
กระเทียม : ตากระเทียมให้พอบุบ ผสมกับน้าแล้วทาลงบนจุด
ชีพจรต่าง ๆ ในร่างกายและบนใบหน้าจะช่วยให้ยุงไม่เข้าใกล้
อีก แต่ระวังอย่าให้เข้าตาเด็ดขาด
วานิลา : ผสมผงวานิลากับน้าเล็กน้อย แล้วทาลงบริเวณจุดชีพ
จรบนผิวหนัง หรือจะแต้มลงบนเสื้อผ้าก็จะช่วยให้ยุงขยาด ไม่
กล้าเข้ามาใกล้ตัวเราได้
น้ามันมะกอก : นาน้ามันหอมระเหยที่มี กลิ่นลาเวน
เดอร์ ยูคาลิปตัส มะนาว ตะไคร้ ทีทรีไธม์ และเปป
เปอร์มินต์ หยดลงใน น้ามันมะกอก 2-3 หยด แล้วทา
ลงบนผิวจะช่วยให้ยุงไม่เข้าใกล้
Cr. https://www.youtube.com/watch?v=zNJc4mtDZR0
กลับไปหน้าแรก
โรคที่เกิดจากยุงลาย
มาลาเรีย หรือที่เรียกกันโดยทั่วไปว่าไข้ป่า ไข้จับสั่น เป็นโรคติดต่อร้ายแรงชนิดหนึ่ง มี ชุกชุมใน
ประเทศเขตร้อนเช่นประเทศไทย เพราะมีภูมิประเทศและสภาพดินฟ้ าอากาศอานวยให้ ยุงก้นปล่อง
ซึ่งเป็นพาหะสาคัญของโรคเจริญแพร่พันธุ์ได้ดี
โรคนี้มักจะระบาดมากในช่วงฤดูฝนเนื่องจากเป็นระยะที่มียุงชุกชุม ในสมัยโบราณผู้ที่เดินทางข้าม
จังหวัดผ่านภูมิประเทศที่เป็นป่าเขามักจะเสียชีวิตด้วยไข้มาลาเรียเป็นจานวนมาก จนกระทั่งองค์การ
อนามัยโลกได้ร่วมมือกับ รัฐบาลไทย ทาการปราบปรามโดยพ่นสารฆ่าแมลงตามบ้านเมื่อปี
พ.ศ.2492 ไข้มาลาเรียจึงลด น้อยลง แต่ต่อมาพบว่ามีผู้ป่วยด้วยไข้มาลาเรียมากขึ้น จากสถิติของ
กองสถิติสาธารณสุข กระทรวงสาธารณสุข ในปีพ.ศ.2528 พบว่าโรคนี้เป็นสาเหตุการตายอันดับ 6
ของคนไทย และ ในปีพ.ศ.2531 พบว่าเป็นอันดับ 7
จังหวัดที่เคยมีไข้มาลาเรียระบาดทางภาคเหนือได้แก่ แม่ฮ่องสอน ภาคใต้ได้แก่ สุราษฎร์ธานี
ชุมพร ระนอง กระบี่ พังงา ภาคตะวันออกได้แก่ จันทบุรี ตราด และภาคตะวันตกได้แก่ ตาก
กาญจนบุรี ราชบุรี เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ์
ไข้มาลาเรีย
สาเหตุ เกิดจากยุงก้นปล่องนาเชื้อโปรโตซัวที่เรียกว่า พลาสโมเดียม (Plasmodium มาสู่คนและลิง
ซึ่งเป็นเชื้อปรสิตเซลล์เดียว อาศัยอยู่ในต่อมน้าลายของยุง เมื่ออยู่ในร่างกายมนุษย์ (ผู้ป่วย) จะเป็น
ช่วงที่เชื้อโรคไม่มีการผสมพันธุ์
เชื้อที่ทาให้เกิดโรค ที่พบว่าทาให้เกิดโรคในมนุษย์ มี 4 ชนิด คือ
1.พลาสโมเดียม ไวแวกซ์ (Plasmodium vivax)
2.พลาสโมเดียม ฟัลซิพารุม (Plasmodium falciparum)
3.พลาสโมเดียม โอวาเล (Plasmodium ovale)
4.พลาสโมเดียม มาลาเรียอี (Plasmodium malariae)
สาหรับในประเทศไทยพบเพียง 2 ชนิดแรกเท่านั้น
พลาสโมเดียมทั้ง 4 ชนิดที่เกิดในมนุษย์ มีอาการต่างๆ คล้ายกันมาก เชื้อไข้จับสั่นชนิด ไวแวกซ์ พบ
มากที่สุด พบได้ทั่วโลกในเขตร้อนและอบอุ่น ส่วนเชื้อไข้จับสั่นชนิดมาลาเรีย พบ มากในเขตอบอุ่น
ชนิดฟาลซิพารัม พบมากในเขตร้อน ส่วนชนิด โอวาเล พบมากในทวีป อาฟริกาและอเมริกาใต้
พาหะ ได้แก่ยุงก้นปล่อง (ตัวเมีย) สาหรับในประเทศไทยยุงก้นปล่องที่เป็นพาหะนาเชื้อ มาลาเรียมี
อยู่ 5 ชนิด คือ อะโฟเลีส มินิมุส (AnoPheles minimus) อะโนฟีลีส บาลาบาเซนซิส AnoPheles
balabacensis) อะโนฟีลีส มาคูลาทุส (AnoPheles maculatus) อะโฟลีส ซันไดคุส (AnoPheles
sandaicus) และ (A.aconitus)
แหล่งของโรค ได้แก่มนุษย์หรือผู้ป่วยที่มีเชื้อมาลาเรียอยู่ในกระแสเลือด และยุงก้นปล่อง นอกจากนั้น
ลิงยังเป็นแหล่งเก็บเชื้อ พลาสโมเดียม โนลิซี่ (Plasmodium knowlesi) พลาสโมเดียม ไซโนโมลไก
(Plasmodium cynomolgi) ซึ่งเชื้อเหล่านี้อาจติดต่อมาสู่มนุษย์ได้
การติดต่อ เมื่อยุงก้นปล่องกัดผู้ที่มีเชื้อไข้มาลาเรียและไปกับผู้อื่นก็จะเป็นพาหะนาเชื้อโรคไปติดต่อ
ระยะฟักตัวของโรค เชื้อ โรคที่เข้าสู่กระแสเลือดของผู้ที่ถูกกัดจะเริ่มเข้าสู่ในระยะฟักตัว โดยเชื้อโรค
จะไปเจริญเติบโตในตับประมาณ 5- 11วัน แล้วจึงออกจากตับเข้าสู่กระแสเลือด เข้าไปเจริญเติบโต
ในเม็ดเลือดแดงโดยเพิ่มพูนจานวน ทาให้เม็ดเลือดแตก และปล่อยพาราสิตหรือเชื้อมาลาเรียใหม่
ออกมา ในช่วงนี้ผู้ป่วยจะเริ่มแสดงอาการของไข้มาลาเรีย
ระยะฟักตัวของเชื้อมาลาเรียชนิดต่าง ๆ แตกต่างกันดังนี้
-ไวแวกซ์ (Vivax) ประมาณ 14 วันในประเทศไทยพบ 30 % (แต่เฉพาะในภาคใต้พบสูงถึง 50 %)
-ฟาลซิพารัม (Falciparum) ประมาณ 12 วัน ในประเทศไทยพบสูงถึง 70 %
-โอวาเล (Ovale) ประมาณ 14 วัน ในประเทศไทยพบน้อยมาก มาลาเรียอี (Malariae) ประมาณ30
วัน พบแต่ในประเทศของทวีปอาฟริกาและอเมริกาใต้ เมื่อผู้ป่วยได้รับเชื้อแล้วจะเข้าสู่ระยะฟักตัวซึ่ง
ใช้เวลาไม่แน่นอนแล้วแต่ชนิด บางชนิด อาจกินเวลา 8-10 วัน เช่นเชื้อชนิดย่อยของไวแวกซ์
ระยะติดต่อ
เมื่อยุงก้นปล่องกัดผู้ป่วยและดูดเลือดซึ่งมีเชื้อไข้มาลาเรียในระยะแกมมี โทไซต์ (Gametocyte) คืออยู่ในระยะที่ยัง
ระยะที่ยังไม่มีการผสมพันธุ์ซึ่งมีทั้งเชื้อตัวเมียและตัวผู้จากร่าง กายมนุษย์ (ผู้ป่วย) เชื้อโรคจะเข้าไปอยู่ในตัวยุงประมาณ 12 วัน
12 วัน หรือประมาณ 8-35 วัน ขึ้น อยู่กับชนิดของเชื้อ อุณหภูมิและความชื้นที่ยุงอาศัยอยู่ ในระยะนี้เชื้อแกมมีโทไซต์ตัวผู้กับตัว
กับตัว เมียจะผสมพันธุ์กันในกระเพาะของยุงและเจริญเติบโตแบ่งตัวกลายเป็นซีสต์ใหญ่ ซึ่งมีสปอโรซอยต์ (Sporozoite) อยู่เป็น
อยู่เป็นจานวนมาก ซีสต์จะแตกออกปล่อยสปอโรซอยต์กระจายไปอยู่ทั่วตัวยุง และส่วนใหญ่จะไปอยู่ที่ต่อมน้าลายของยุง
ยุง
เมื่อยุงกัดคนและปล่อยเชื้อสปอโรซอยต์ใส่กระแสเลือด เชื้อจะเข้าไปเติบโตในเซลล์ตับ ของคน ระยะนี้เรียกว่า พรีอีฟอร์ม (Pre-
ความไวต่อโรคและความต้านทาน
ทุกคนมีความไวต่อโรคเมื่อได้รับเชื้อ ผู้ที่เคยเป็นไข้มาลาเรียมาก่อนจะมีความไวต่อโรค
น้อยลงเพราะมีภูมิคุ้มกัน ในท้องถิ่นที่มีโรคนี้เกิดขึ้น เป็นประจาผู้ที่อาศัยอยู่จะมีภูมิต้านทานโรค เช่น
พวกอาฟริกัน นิโกร จะมีความต้านทานต่อเชื้อ พลาสโมเดียม ไวแวกซ์ เป็นต้น
อาการ
เมื่อเชื้อมาลาเรียเข้าสู่ร่างกาย ผู้ป่วยจะมีอาการไม่สบายภายในระยะเวลาประมาณ 10-
15 วัน โดยอาการเริ่มแรกคือจะมีไข้ทุกรอบ 3 วัน แต่บางคนอาจจับไข้วันเว้นวันหรืออาจจับไข้ทุก วัน
ซึ่งแล้วแต่ชนิดของเชื้อไข้มาลาเรีย
อาการโดยทั่วไปผู้ป่วยจะหนาวสั่น ปวดศีรษะ เมื่อหายจากอาการไข้แล้วผู้ป่วยจะมีเหงื่อ
ออกมา รู้สึกกระหายน้า อาจมีอาการตาเหลือง ไตไม่ทางาน สมองเกิดการอักเสบอย่างฉับพลัน
เนื่องจากเชื้อไข้มาลาเรียขึ้นสมอง ทาให้ผู้ป่วยช็อค หมดสติ ถึงแก่กรรม
สามารถแบ่งอาการของโรคได้เป็น 4 ระยะ คือ
1.ระยะเริ่มต้น อาการนาคือผู้ป่วยจะเริ่มรู้สึกไม่สบายเพียงเล็กน้อยอยู่หลายวัน ก่อนที่ จะมีอาการไข้จับสั่นปรากฏ คือ
ปวดศีรษะ ครั่นเนื้อครั่นตัว หนาวๆร้อนๆ ง่วงเหงาหาวนอน เบื่อหน่ายต่อการงาน ปวดตามกระดูกทั่วไป เบื่ออาหารหรือ
อาเจียน เริ่มจะมีไข้
2.ระยะหนาว ผู้ป่วยจะมีไข้สูงขึ้น มีอาการหนาวสะท้านไปทั่วร่างกาย ผิวหนังเย็น ปวดศีรษะ บางรายมีอาการคลื่นไส้
และอาเจียน ถ้าผู้ป่วยเป็นเด็กอาจเพ้อคลั่งหรือชักได้ ระยะนี้กิน เวลาราว 2-3 นาที ถึง 1 หรือ 2 ชั่วโมง อันเนื่องมาจาก
การที่เม็ดโลหิตแดงแตกและปล่อย พาราสิตออกมาในกระแสเลือด
3.ระยะร้อน เมื่อระยะหนาวสั่นผ่านไปแล้ว ผู้ป่วยจะรู้สึกหนาวๆร้อนๆ และต่อไป จะมีอาการมากขึ้นทุกที มีอาการหน้า
แดง ผิวหนังแห้งและร้อน ชีพจรเต้นแรงและเร็ว ปวดศีรษะ บางครั้งเพ้ออาเจียนบ่อยๆ รู้สึกกระหายน้า และหายใจเร็ว
ระยะร้อนความร้อนอาจสูงประมาน104-106 องศาฟาเรนไฮต์ สาเหตุเกิดจากเชื้อพาราสิตแทรกเข้าสู่เม็ดโลหิตแดง ระยะ
นี้ใช้เวลา 1/2-4 ชั่วโมง
4.ระยะไข้สร่าง ตอนระยะไข้สร่างเริ่มมีเหงื่อออกที่หน้าก่อน และเริ่มมีเหงื่อออกทั่วร่าง อาการต่างๆจะทุเลา ความร้อนจะ
ลดลง นอนหลบได้และทางานได้ตามปกติ ซึ่งอาการเหล่านี้ช้าหรือเร็วแล้วแต่ชนิดของเชื้อ จนกว่าจะเข้าระยะเริ่มต้นใหม่
การตรวจหาเชื้อและวินิจฉัยโรค ผู้ป่วยเป็นไข้มาลาเรียจะมีไข้ หนาวลสั่น และ เหงื่อออก
มาก มีอาการหนาวสั่น เพ้อคลั่ง หมดสติ ซัก เมื่อตรวจในห้องปฏิบัติการจะพบเชื้อ มาลาเรียในระยะ
ต่าง ๆ ตรวจพบจานวนเม็ดโลหิตขาวต่า
การรักษาพยาบาล
เมื่อสงสัยหรือมีอาการว่าอาจเป็นไข้มาลาเรีย อย่าซื้อยากินเอง เพื่อป้ องกันโรค แทรกซ้อนที่อาจ
เกิดขึ้นได้ ควรรีบพบแพทย์เพื่อทาการเจาะเลือดที่ปลายนิ้วมือนาไปตรวจผู้ที่ป่วยเป็นไข้มาเลเรียควร
ดื่มน้ามากๆ กินอาหารที่มีคุณค่าและปริมาณเพียงพอสาหรับ บารุงร่างกาย ปฏิบัติตนและกินยาตาม
แพทย์สั่งอย่างเคร่งครัด
ยาที่ใช้รักษาไข้มาลาเรีย ยาจาพวก แฟนซิเดอร์ (Fansider) คลอโรควิน (Chloroquin) หรือ อราเล็น
(Aralen) ควินิน (Quinine) ไพรมาควิน (Primaquine) หากไม่มีความรู้เรื่องยา ควรขอคาแนะนาจาก
แพทย์หรือเภสัชกร
วัคซีน ในปัจจุบันยังไม่มีวัคซีนป้ องกันไข้มาลาเรีย ควรป้ องกันด้วยการนอนกางมุ้ง ทาลายแหล่ง
เพาะพันธุ์ของยุงรับประทานยาป้ องกันเมื่อเข้าไปในท้องถิ่นที่มีเชื้อหรือมีการระบาด
โรคแทรกซ้อน ผู้ที่ป่วยเป็นไข้มาลาเรียมักจะมีภาวะโรคแทรกซ้อนร่วมด้วย ดังนี้
1.มาลาเรียขึ้นสมอง ถ้าเชื้อมาลาเรียเข้าไปสู่สมอง และอุดหลอดเลือดฝอยที่สมอง ทาให้เกิดมีอาการรบกวนทางประสาท
ส่วนกลาง ผู้ป่วยจะเพ้อหรือหมดสติ การหมดสติอาจกิน เวลา 12-24 ชั่วโมง บางรายอาจเป็นรวดเร็วและชัก ลักษณะ
คล้ายกับหลอดเลือดในสมองแตก
2.มาลาเรียลงตับ ผู้ป่วยมีอาการตัวเหลือง ตาเหลือง เบื่ออาหาร อ่อนเพลียมาก บาง รายอาจอาเจียนด้วย
3.มาลาเรียลงลาไส้ ผู้ป่วยจะมีอาการท้องเดิน อาจมีอุจจาระเป็นมูกเลือดเหมือนเป็นบิด
4.มาลาเรียลงไต ผู้ป่วยจะปัสสาวะน้อย ไม่ถึงครึ่งขวดน้าปลา หรือ 40 ลูกบาศก์เซนติ เมตรต่อวัน (โดยปกติผู้ใหญ่จะ
ปัสสาวะประมาณ 2 ขวดน้าปลา) บางรายไม่มีปัสสาวะเลย ผู้ ป่วยอาจตายได้เพราะไตไม่ทางาน (หรือที่เรียกว่า ภาวะไต
ล้มเหลวหรือไตวาย) ทาให้มีการคั่ง ของของเสียในร่างกายจนเป็นพิษ
5.ไข้น้าดา หรือไข้ปัสสาวะน้าดา ผู้ป่วยจะมีอาการอ่อนเพลีย มีอาการเช่นเดียวกับ อาการของไข้จับสั่นกาลังจับ เมื่อหาย
หนาวจะรู้สึกปวดท้อง ปัสสาวะมีสีคล้าเหมือนน้าปลา ตัวเหลือง อาเจียนเป็นน้าดี กระหายน้า ตับและม้ามบวม ผิวกาย
ของคนไข้จะเป็นสีเหลืองจัด เนื่องจากดีซ่าน เจ็บบริเวณเอวมาก หากอาการกาเริบคนไข้จะยิ่งกระสับกระส่ายหนาวสั่น
และตัวร้อนจัด อ่อนเพลียมากหรือเกิดการขัดเบาปัสสาวะถ่ายไม่ค่อยออก อาจตายในภาย หลังเนื่องจากหัวใจวาย
6.ช็อค ผู้ป่วยตัวเย็น ความดันเลือดต่ามาก เป็นทั้งมาลาเรียขึ้นสมอง ลงตับ และลงไตด้วย
การปฏิบัติตน เมื่อเป็นหรือสงสัยว่าเป็น ไข้มาลาเรีย นอกจากการไปพบแพทย์และ
ปฎิบัติตามคาแนะนาเกี่ยวกับผู้ป่วยด้วยโรคติดต่อดังกล่าวรายละเอียดไว้ในบทนาแล้ว
ยังมีข้อ ควรทราบเกี่ยวกับการปฏิบัติตนเฉพาะโรคเพิ่มเติม ดังนี้
1. รีบไปพบแพทย์ รีบนาผู้ป่วยที่แสดงอาการของไข้มาลาเรียหรือภาวะโรคแทรกซ้อน
ส่ง โรงพยาบาลโดยเร็ว
2. ควรให้คนป่วยนอนในมุ้ง ระวังอย่าให้ยุงกัด เพราะจะเป็นการแพร่กระจายเชื้อโรค
ให้ติดต่อไปยังผู้อื่น
3. ผู้ป่วยต้องให้แพทย์ทาการรักษาให้หายจากโรคมาลาเรีย เพื่อจะได้ไม่เป็นแหล่ง
แพร่ กระจายของโรค และไม่ควรบริจาคเลือดในระยะที่ยังมีเชื้อมาลาเรียในร่างกาย
คนที่เป็นโรคมาลาเรีย
คือ โรคติดเชื้อซึ่งมีสาเหตุมาจาก ไวรัสเดงกี่ (Dengue virus) อาการของโรค
นี้มีความคล้ายคลึงกับโรคไข้หวัดในช่วงแรก จึงทาให้ผู้ป่วยเข้าใจคลาดเคลื่อนได้ว่าตน
เป็นเพียงโรคไข้หวัด และทาให้ไม่ได้รับการรักษาที่ถูกต้องในทันที โรคไข้เลือดออกมี
อาการและความรุนแรงของโรคหลายระดับตั้งแต่ไม่มีอาการหรือมีอาการเล็กน้อยไป
จนถึงเกิดภาวะช็อกซึ่งเป็นสาเหตุที่ทาให้ผู้ป่วยเสียชีวิต สถิติในปี พ.ศ. 2554 รายงาน
โดย กลุ่มโรคไข้เลือดออก สานักโรคติดต่อนาโดยแมลง กรมควบคุมโรค กระทรวง
สาธารณสุข พบว่า มีอัตราป่วย 107.02 และอัตราป่วยตาย 0.10 ซึ่งหมายความว่า ใน
ประชากรทุก 100,000 คน จะมีผู้ที่ป่วยเป็นไข้เลือดออกได้ถึง 107.02 คน และมี
ผู้เสียชีวิตจากโรคนี้0.1 คน
โรคไข้เลือดออก
การติดต่อ
ไวรัสเดงกี่ที่เป็นสาเหตุของโรคไข้เลือดออกสามารถมีชีวิตรอดและเพิ่ม
จานวนภายในตัวของยุงลาย ยุงลายจึงเป็นพาหะของโรคไข้เลือดออก และกล่าวได้ว่า
โรคไข้เลือดออกติดต่อจากคนสู่คน ยุงลายที่เป็นพาหะนี้มีชื่อว่า Aedes aegypti ยุง
ชนิดนี้ออกหากินเวลากลางวัน ยุงจะกัดและดูดเลือดที่มีเชื้อไวรัสเดงกี่จากผู้ที่กาลัง
ป่วยเป็นไข้เลือดออก เมื่อยุงลายไปกัดคนใหม่ ก็จะถ่ายทอดเชื้อให้กับคนที่ถูกยุงกัด
ต่อไป ยุงชนิดนี้อาศัยอยู่ในเขตภูมิอากาศแบบร้อนชื้น ประเทศไทยจึงเป็นอีกบริเวณ
หนึ่งที่มีการระบาดของโรคนี้ค่อนข้างสูง โดยพบการระบาดมากที่สุดในฤดูฝน ช่วงอายุ
ของคนที่พบว่าป่วยเป็นโรคไข้เลือดออกมากที่สุด คือ คนอายุ10-14 ปี รองลงมาคือ
อายุ 15-24 ปี และ อายุ 5-9 ปี ตามลาดับ ส่วนช่วงอายุ 0-4 ปี และมากกว่า 25 ปี
จนถึง 65 ปี เป็นช่วงอายุที่พบผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกจานวนน้อยที่สุด
อาการ
อาการของโรคนี้คล้ายคลึงกับโรคไข้หวัด กล่าวคือ มีอาการไข้อ่อนเพลีย ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ แต่แตกต่าง
แตกต่างกันที่ ไข้จะสูงกว่ามาก โดยอาจมีไข้สูงกว่า 40 องศาเซลเซียส ผู้ป่วยจะมีหน้าแดง และปวดเมื่อย
เมื่อยกล้ามเนื้อค่อนข้างมากกว่า หากทาการทดสอบโดยการรัดต้นแขนด้วยสายรัด (Touniquet test) จะพบ
จะพบจุดเลือดออก ผู้ป่วยอาจมีเลือดออกผิดปกติ เช่น เลือดกาเดาไหล เลือดออกตามไรฟัน หรืออาการ
อาการเลือดออกผิดปกติอื่นๆ และในบางรายที่มีอาการรุนแรงมากๆ อาจพบอาการซึม เหงื่อออก มือเท้า
เท้าเย็น ชีพจรเต้นเบาแต่เร็ว ปวดท้องโดยเฉพาะบริเวณใต้ชายโครงขวา ปัสสาวะลดลง อาจถึงกับช็อกและ
ช็อกและเสียชีวิตได้ โดยอาการนาของภาวะช็อกมักเริ่มจากการมีไข้ลดลง ดังนั้นหากพบว่าผู้ป่วยเริ่มมีไข้
มีไข้ลดลงตามด้วยอาการดังที่กล่าวมา ควรรีบแจ้งแพทย์หรือนาผู้ป่วยส่งโรงพยาบาลทันที
ในเด็กที่ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก มักพบว่า มีอาการในระยะเริ่มต้นเพียงเล็กน้อยเท่านั้น ซึ่งหากผู้ปกครอง
ผู้ปกครองละเลยการพาผู้ป่วยไปรับการรักษาที่โรงพยาบาล ก็มีโอกาสที่ผู้ป่วยเด็กจะเสียชีวิตเนื่องจากการ
เนื่องจากการรักษาที่ล่าช้าได้ดังนั้นผู้ปกครองจึงควรสงสัยไว้ก่อนว่าบุตรหลานที่มีอาการไข้สูงในฤดูฝนอาจ
ฝนอาจเป็นโรคไข้เลือดออก และควรรีบพาบุตรหลานไปรับการรักษา
การรักษา
เนื่องจากยังไม่มีการพัฒนายาฆ่าเชื้อไวรัสเดงกี่ การรักษาโรคนี้จึงเป็นการรักษาตามอาการ
อาการเป็นสาคัญ กล่าวคือมีการใช้ยาลดไข้เช็ดตัว และการป้ องกันภาวะช็อก
ยาลดไข้ที่ใช้มีเพียงชนิดเดียว คือ ยาพาราเซตามอล (paracetamol) ขนาดยาที่ใช้ในผู้ใหญ่
ผู้ใหญ่คือ พาราเซตามอลชนิดเม็ดละ 500 มิลลิกรัม รับประทานครั้งละ 1-2 เม็ด ทุก 4-6
4-6 ชั่วโมง โดยไม่ควรรับประทานเกินวันละ 8 เม็ด (4 กรัม) ส่วนขนาดยาที่ใช้ในเด็กคือ
คือ พาราเซตามอลชนิดน้า 10-15 มิลลิกรัมต่อน้าหนักตัว 1 กิโลกรัมต่อครั้ง ทุก 4-6
ชั่วโมง โดยไม่ควรรับประทานเกินวันละ 5 ครั้ง หรือ 2.6 กรัม ยาพาราเซตามอลนี้เป็นยา
ยารับประทานตามอาการ ดังนั้น หากไม่มีไข้ก็สามารถหยุดยาได้ทันที
การป้ องกัน
แม้ว่าในปัจจุบันกาลังมีการพัฒนาวัคซีนป้ องกันการติดเชื้อไวรัสแดงกี่ แต่ก็ยังไม่มียาที่สามารถฆ่าเชื้อไวรัส
ไวรัสแดงกี่ได้ดังนั้นคาตอบที่ดีที่สุดของโรคไข้เลือดออกในปัจจุบันนี้ คือ การป้ องกันไม่ให้เป็นโรคโดยการ
การควบคุมยุงลายให้มีจานวนลดลงซึ่งทาได้โดยการควบคุมแหล่งเพาะพันธุ์ของยุงลายและการกาจัดยุงลายทั้ง
ยุงลายทั้งลูกน้าและตัวเต็มวัย และป้ องกันไม่ให้ยุงลายกัด ทั้งนี้การป้ องกันทาได้ 3 ลักษณะ คือ
1. การป้ องกันทางกายภาพ ได้แก่
; ; ปิดภาชนะเก็บน้าด้วยฝาปิด เช่น มีผาปิดปากโอ่งน้า ตุ่มน้า ถังเก็บน้า หรือถ้าไม่มีฝาปิด ก็วางคว่าลงหาก
ลงหากยังไม่ต้องการใช้เพื่อป้ องกันไม่ให้กลายเป็นที่วางไข่ของยุงลาย
; ; เปลี่ยนน้าในแจกันดอกไม้สดบ่อยๆ อย่างน้อยทุกๆ 7 วัน
; ; ปล่อยปลากินลูกน้าลงในภาชนะเก็บน้า เช่น โอ่ง ตุ่ม ภาชนะละ 2-4 ตัว รวมถึงอ่างบัวและตู้ปลาก็ควรมี
ควรมีปลากินลูกน้าเพื่อคอยควบคุมจานวนลูกน้ายุงลายเช่นกัน
; ; ใส่เกลือลงน้าในจานรองขาตู้กับข้าว เพื่อควบคุมและกาจัดลูกน้ายุงลาย โดยใส่เกลือ 2 ช้อนชา ต่อความ
ความจุ 250 มิลลิลิตร พบว่าสามารถควบคุมลูกน้าได้นานกว่า 7 วัน
2. การป้ องกันทางเคมี ได้แก่
; ; เติมทรายทีมีฟอส ซึ่งเป็ นสารเคมีที่องค์การอนามัยโลกแนะนาให้ใช้และรับรองความปลอดภัย
เหมาะสมกับภาชนะที่ไม่สามารถใส่ปลากินลูกน้าได้
; ; การพ่นสารเคมีหรือยากันยุงเพื่อกาจัดยุงตัวเต็มวัย มีข้อดีคือ ประสิทธิภาพสูง แต่ข้อเสียคือ มี
ราคาแพง และเป็ นพิษต่อคนและสัตว์เลี้ยง จึงต้องอาศัยผู้เชี่ยวชาญในการฉีดพ่นและฉีดเฉพาะเมื่อ
จาเป็ นเท่านั้น เพื่อป้ องกันความเป็ นพิษต่อคนและสัตว์เลี้ยง ควรเลือกฉีดในเวลาที่มีคนอยู่น้อยที่สุด
และฉีดพ่นลงในแหล่งที่คาดว่าเป็ นแหล่งเพาะพันธุ์ยุง เช่น ท่อระบายน้า กระถางต้นไม้ เป็ นต้น
; ; การใช้สารเคมีเพื่อกาจัดยุงในบ้านเรือน ที่ใช้กันมี 2 ชนิด คือ ยาจุดกันยุง และสเปรย์ฉีดไล่ยุง
โดยสารออกฤทธิ์อาจเป็ นยาในกลุ่มไพรีทรอยด์ (Pyrethroids), ดีท (DEET, diethyltoluamide) เป็ น
ต้น เมื่อก่อนมียาฆ่ายุงด้วย มีชื่อว่า ดีดีที แต่สารนี้ถูกยกเลิกการใช้ไปแล้วเนื่องจากเป็ นพิษต่อ
สิ่งมีชีวิตและตกค้างในสิ่งแวดล้อมเป็ นระยะเวลานานมาก อย่างไรก็ตาม สารเคมีไม่ว่าจากยาจุดกัน
ยุงหรือสเปรย์ฉีดไล่ยุง ก็มีความเป็ นพิษต่อคนและสัตว์ ดังนั้นเพื่อลดความเป็ นพิษดังกล่าวควรจุดยา
กันยุงในบริเวณที่มีอากาศถ่ายเทสะดวก ล้างมือทุกครั้งหลังจากสัมผัส ส่วนยาฉีดไล่ยุงจะมีความเป็ น
พิษมากกว่า ดังนั้นห้ามฉีดลงบนผิวหนัง และควรปฏิบัติตามวิธีใช้ที่ระบุข้างกระป๋ องอย่างเคร่งครัด
3. การปฏิบัติตัว ได้แก่
; ; นอนในมุ้ง หรือนอนในห้องที่มีมุ้งลวดเพื่อป้ องกันไม่ให้ถูกยุงกัด โดย
จะต้องปฏิบัติเหมือนกันทั้งกลางวันและกลางคืน
; ; หากไม่สามารถนอนในมุ้งหรือนอนในห้องที่มีมุ้งลวดได้ ควรใช้ยากัน
ยุงชนิดทาผิวซึ่งมีสารสาคัญที่สกัดจากธรรมชาติ เช่น น้ามันตะไคร้หอม
(oil of citronella), น้ามันยูคาลิปตัส (oil of eucalyptus) ซึ่งมีความ
ปลอดภัยสูงกว่ามาทาหรือหยดใส่ผิวหนังใช้เป็ นยากันยุง แต่ประสิทธิภาพ
จะต่ากว่า DEET
คนที่เป็นโรคไข้เลือดออก
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
ลาดับ
ที่
ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10
1 คิดหัวข้อโครงงาน ปณิธิ
2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล ปณิธิ
3 จัดทาโครงร่างงาน สิรินดา
4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน ปณิธิ,สิรินดา
5 ปรับปรุงทดสอบ สิรินดา
6 การทาเอกสารรายงาน ปณิธิ,สิรินดา
7 ประเมินผลงาน ปณิธิ,สิรินดา
8 นาเสนอโครงงาน ปณิธิ,สิรินดา
กลับไปหน้าแรก
1.คอมพิวเตอร์
2.Internet(Youtube,Google)
3.Printer
4.อุปกรณ์เครื่องเขียน กระดาษ
วัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ งบประมาณ
50 บาท
ระยะเวลาในการดาเนินงาน
3 ธันวาคม 2558 – 4 กุมภาพันธ์ 2559
กลับไปหน้าแรก
1.ได้เรียนรู้วิธีการกาจัดลูกน้าโดยวิธีธรรมชาติ
2.ช่วยลดสารเคมีในการกาจัดลูกน้าโดยเปลี่ยนมาใช้วิธี
ธรรมชาติแทน
3.ได้สื่อการเรียนรู้ที่ได้วางแผนไว้
4.เป็นประโยชน์แก่ผู้ที่ประสบปัญหาเกี่ยวกับลูกน้า
ยุงลาย
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
กลับไปหน้าแรก
สถานที่ดาเนินการ
โรงเรียนยุพราชวิทยาลับ จังหวัดเชียงใหม่
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
1.คอมพิวเตอร์
2.ชีวะ
3.ศิลปะ
กลับไปหน้าแรก
http://www.medplant.mahidol.ac.th/user/reply.asp?id=5625
http://www.krusarawut.net/wp/?p=3729
http://vachiraphuket.go.th/www/public-
health/index.php?name=knowledge&file=readknowledge&id=31
https://www.youtube.com/watch?v=zNJc4mtDZR0
http://www.healthcarethai.com
แหล่งที่มา
กลับไปหน้าแรก
ขอบคุณค่ะ

More Related Content

What's hot

โครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วง
โครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วงโครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วง
โครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วงchanon leedee
 
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติกโครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติกพัน พัน
 
บท4วิวัฒนาการ
บท4วิวัฒนาการบท4วิวัฒนาการ
บท4วิวัฒนาการWichai Likitponrak
 
ระบบเศรษฐกิจแบบแมนเนอร์
ระบบเศรษฐกิจแบบแมนเนอร์ระบบเศรษฐกิจแบบแมนเนอร์
ระบบเศรษฐกิจแบบแมนเนอร์Srinthip Chaiya
 
ตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงานตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงานSattawat Backer
 
ความพึ่งพอใจในการใช้บริการโรงอาหาร
ความพึ่งพอใจในการใช้บริการโรงอาหารความพึ่งพอใจในการใช้บริการโรงอาหาร
ความพึ่งพอใจในการใช้บริการโรงอาหารrisa021040
 
เสื้อกันฝนจากถุงขนม
เสื้อกันฝนจากถุงขนมเสื้อกันฝนจากถุงขนม
เสื้อกันฝนจากถุงขนมMc P Nan'jirapron Jupjup
 
โครงงานกระถางรีไซเคิล สมบูรณ์
โครงงานกระถางรีไซเคิล สมบูรณ์โครงงานกระถางรีไซเคิล สมบูรณ์
โครงงานกระถางรีไซเคิล สมบูรณ์พัน พัน
 
รูปเล่ม Is
รูปเล่ม Isรูปเล่ม Is
รูปเล่ม IsBoonwiset Seaho
 
การยับยั้งเชื้อราด้วยสารสกัดจากข่า
การยับยั้งเชื้อราด้วยสารสกัดจากข่าการยับยั้งเชื้อราด้วยสารสกัดจากข่า
การยับยั้งเชื้อราด้วยสารสกัดจากข่าdnavaroj
 
เครื่องดักจับแมลงวันจากขวดพลาสติก 2
เครื่องดักจับแมลงวันจากขวดพลาสติก 2เครื่องดักจับแมลงวันจากขวดพลาสติก 2
เครื่องดักจับแมลงวันจากขวดพลาสติก 2Enormity_tung
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวกโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวกพัน พัน
 
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรมคำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรมniralai
 
ปัญหาน้ำเน่าเสีย
ปัญหาน้ำเน่าเสียปัญหาน้ำเน่าเสีย
ปัญหาน้ำเน่าเสียพัน พัน
 
ตัวอย่างโครงงานเครื่องกลองน้ำ เลขที่6 8 10 11 21 22 31
ตัวอย่างโครงงานเครื่องกลองน้ำ เลขที่6 8 10 11 21 22 31ตัวอย่างโครงงานเครื่องกลองน้ำ เลขที่6 8 10 11 21 22 31
ตัวอย่างโครงงานเครื่องกลองน้ำ เลขที่6 8 10 11 21 22 31Phai Trinod
 

What's hot (20)

โครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วง
โครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วงโครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วง
โครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วง
 
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติกโครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
 
บท4วิวัฒนาการ
บท4วิวัฒนาการบท4วิวัฒนาการ
บท4วิวัฒนาการ
 
ระบบเศรษฐกิจแบบแมนเนอร์
ระบบเศรษฐกิจแบบแมนเนอร์ระบบเศรษฐกิจแบบแมนเนอร์
ระบบเศรษฐกิจแบบแมนเนอร์
 
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
ตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงานตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงาน
 
โครงงาน Fast Food
โครงงาน Fast Foodโครงงาน Fast Food
โครงงาน Fast Food
 
ความพึ่งพอใจในการใช้บริการโรงอาหาร
ความพึ่งพอใจในการใช้บริการโรงอาหารความพึ่งพอใจในการใช้บริการโรงอาหาร
ความพึ่งพอใจในการใช้บริการโรงอาหาร
 
เสื้อกันฝนจากถุงขนม
เสื้อกันฝนจากถุงขนมเสื้อกันฝนจากถุงขนม
เสื้อกันฝนจากถุงขนม
 
โครงงานกระถางรีไซเคิล สมบูรณ์
โครงงานกระถางรีไซเคิล สมบูรณ์โครงงานกระถางรีไซเคิล สมบูรณ์
โครงงานกระถางรีไซเคิล สมบูรณ์
 
รูปเล่ม Is
รูปเล่ม Isรูปเล่ม Is
รูปเล่ม Is
 
การยับยั้งเชื้อราด้วยสารสกัดจากข่า
การยับยั้งเชื้อราด้วยสารสกัดจากข่าการยับยั้งเชื้อราด้วยสารสกัดจากข่า
การยับยั้งเชื้อราด้วยสารสกัดจากข่า
 
เครื่องดักจับแมลงวันจากขวดพลาสติก 2
เครื่องดักจับแมลงวันจากขวดพลาสติก 2เครื่องดักจับแมลงวันจากขวดพลาสติก 2
เครื่องดักจับแมลงวันจากขวดพลาสติก 2
 
คำนำ2527895555
คำนำ2527895555คำนำ2527895555
คำนำ2527895555
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวกโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
 
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรมคำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
 
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
 
ปัญหาน้ำเน่าเสีย
ปัญหาน้ำเน่าเสียปัญหาน้ำเน่าเสีย
ปัญหาน้ำเน่าเสีย
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
ตัวอย่างโครงงานเครื่องกลองน้ำ เลขที่6 8 10 11 21 22 31
ตัวอย่างโครงงานเครื่องกลองน้ำ เลขที่6 8 10 11 21 22 31ตัวอย่างโครงงานเครื่องกลองน้ำ เลขที่6 8 10 11 21 22 31
ตัวอย่างโครงงานเครื่องกลองน้ำ เลขที่6 8 10 11 21 22 31
 

Viewers also liked

กำจัดลูกน้ำยุงลายง่ายๆด้วยน้ำยาล้างจาน
กำจัดลูกน้ำยุงลายง่ายๆด้วยน้ำยาล้างจานกำจัดลูกน้ำยุงลายง่ายๆด้วยน้ำยาล้างจาน
กำจัดลูกน้ำยุงลายง่ายๆด้วยน้ำยาล้างจานภัคจิรา คำเขียว
 
เกลือแกงหรือโซเดียมคลอไรด์
เกลือแกงหรือโซเดียมคลอไรด์เกลือแกงหรือโซเดียมคลอไรด์
เกลือแกงหรือโซเดียมคลอไรด์Flook Owen'zl
 
ผลการจัดการเรียนการสอนแบบโครงงาน เพื่อพัฒนาทักษะด้านการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ผลการจัดการเรียนการสอนแบบโครงงาน เพื่อพัฒนาทักษะด้านการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ผลการจัดการเรียนการสอนแบบโครงงาน เพื่อพัฒนาทักษะด้านการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ผลการจัดการเรียนการสอนแบบโครงงาน เพื่อพัฒนาทักษะด้านการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์Nattapon
 
โครงงาน ความพอเพียง ตามแนวพระราชดำรัส
โครงงาน ความพอเพียง ตามแนวพระราชดำรัสโครงงาน ความพอเพียง ตามแนวพระราชดำรัส
โครงงาน ความพอเพียง ตามแนวพระราชดำรัสPreeyaporn Wannamanee
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพด
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพดโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพด
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพดพัน พัน
 
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มดโครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มดพัน พัน
 
23 Tips From Comedians to Be Funnier in Your Next Presentation (via the book ...
23 Tips From Comedians to Be Funnier in Your Next Presentation (via the book ...23 Tips From Comedians to Be Funnier in Your Next Presentation (via the book ...
23 Tips From Comedians to Be Funnier in Your Next Presentation (via the book ...David Nihill
 

Viewers also liked (7)

กำจัดลูกน้ำยุงลายง่ายๆด้วยน้ำยาล้างจาน
กำจัดลูกน้ำยุงลายง่ายๆด้วยน้ำยาล้างจานกำจัดลูกน้ำยุงลายง่ายๆด้วยน้ำยาล้างจาน
กำจัดลูกน้ำยุงลายง่ายๆด้วยน้ำยาล้างจาน
 
เกลือแกงหรือโซเดียมคลอไรด์
เกลือแกงหรือโซเดียมคลอไรด์เกลือแกงหรือโซเดียมคลอไรด์
เกลือแกงหรือโซเดียมคลอไรด์
 
ผลการจัดการเรียนการสอนแบบโครงงาน เพื่อพัฒนาทักษะด้านการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ผลการจัดการเรียนการสอนแบบโครงงาน เพื่อพัฒนาทักษะด้านการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ผลการจัดการเรียนการสอนแบบโครงงาน เพื่อพัฒนาทักษะด้านการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ผลการจัดการเรียนการสอนแบบโครงงาน เพื่อพัฒนาทักษะด้านการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
 
โครงงาน ความพอเพียง ตามแนวพระราชดำรัส
โครงงาน ความพอเพียง ตามแนวพระราชดำรัสโครงงาน ความพอเพียง ตามแนวพระราชดำรัส
โครงงาน ความพอเพียง ตามแนวพระราชดำรัส
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพด
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพดโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพด
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพด
 
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มดโครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
 
23 Tips From Comedians to Be Funnier in Your Next Presentation (via the book ...
23 Tips From Comedians to Be Funnier in Your Next Presentation (via the book ...23 Tips From Comedians to Be Funnier in Your Next Presentation (via the book ...
23 Tips From Comedians to Be Funnier in Your Next Presentation (via the book ...
 

Similar to การกำจัดลูกน้ำโดยวิธีธรรมชาติ

รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2558 สำรวจแมงมุมแม่หม้ายน้ำตาล
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2558 สำรวจแมงมุมแม่หม้ายน้ำตาล รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2558 สำรวจแมงมุมแม่หม้ายน้ำตาล
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2558 สำรวจแมงมุมแม่หม้ายน้ำตาล Sircom Smarnbua
 
โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์paifahnutya
 
รายงาน
รายงานรายงาน
รายงานduckbellonly
 
การเก็บตัวอย่าง Lab (ต้นฉบับ)
การเก็บตัวอย่าง Lab (ต้นฉบับ)การเก็บตัวอย่าง Lab (ต้นฉบับ)
การเก็บตัวอย่าง Lab (ต้นฉบับ)Sambushi Kritsada
 
ทันตกรรมป้องกันในเด็กและวัยรุ่น
ทันตกรรมป้องกันในเด็กและวัยรุ่น ทันตกรรมป้องกันในเด็กและวัยรุ่น
ทันตกรรมป้องกันในเด็กและวัยรุ่น dentyomaraj
 
โครงงาน เพาว์เวอร์พอย
โครงงาน เพาว์เวอร์พอยโครงงาน เพาว์เวอร์พอย
โครงงาน เพาว์เวอร์พอยNick Nook
 
Slโครงสร้างรายวิชาหน่วย is1 การศึกษาและการสร้างองค์ความรู้
Slโครงสร้างรายวิชาหน่วย is1 การศึกษาและการสร้างองค์ความรู้Slโครงสร้างรายวิชาหน่วย is1 การศึกษาและการสร้างองค์ความรู้
Slโครงสร้างรายวิชาหน่วย is1 การศึกษาและการสร้างองค์ความรู้krupornpana55
 
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ความหลากหลายและความสัมพันธ์ของเห็ดในดอนปู่ตา2...
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ความหลากหลายและความสัมพันธ์ของเห็ดในดอนปู่ตา2...รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ความหลากหลายและความสัมพันธ์ของเห็ดในดอนปู่ตา2...
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ความหลากหลายและความสัมพันธ์ของเห็ดในดอนปู่ตา2...Sircom Smarnbua
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพโครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพศิริวรรณ นามสวัสดิ์
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอมKaka619
 
เรื่องราวของแมลงวันบ้าน ฯลฯ ๒๘ พ.ย. ๒๕๕๒
เรื่องราวของแมลงวันบ้าน ฯลฯ ๒๘ พ.ย. ๒๕๕๒เรื่องราวของแมลงวันบ้าน ฯลฯ ๒๘ พ.ย. ๒๕๕๒
เรื่องราวของแมลงวันบ้าน ฯลฯ ๒๘ พ.ย. ๒๕๕๒cherdpr1
 
หน่อไม้ฝรั่ง
หน่อไม้ฝรั่งหน่อไม้ฝรั่ง
หน่อไม้ฝรั่งTanutkit Kinruean
 
หน่อไม้ฝรั่ง
หน่อไม้ฝรั่งหน่อไม้ฝรั่ง
หน่อไม้ฝรั่งTanutkit Kinruean
 
โครงงานประเภท การพัฒนาสื่อเพื่อนการศึกษา
โครงงานประเภท การพัฒนาสื่อเพื่อนการศึกษาโครงงานประเภท การพัฒนาสื่อเพื่อนการศึกษา
โครงงานประเภท การพัฒนาสื่อเพื่อนการศึกษาNattakarntick
 
โครงงาน การพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
โครงงาน การพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษาโครงงาน การพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
โครงงาน การพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษาNattakarntick
 
ใบงานที่ 4 การพัฒนาสื่อเพื่อนการศึกษา
ใบงานที่ 4 การพัฒนาสื่อเพื่อนการศึกษาใบงานที่ 4 การพัฒนาสื่อเพื่อนการศึกษา
ใบงานที่ 4 การพัฒนาสื่อเพื่อนการศึกษาPandora Fern
 
โครงงานการพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
โครงงานการพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษาโครงงานการพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
โครงงานการพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษาNattakarntick
 

Similar to การกำจัดลูกน้ำโดยวิธีธรรมชาติ (20)

โครงงาน54เห็ด
โครงงาน54เห็ดโครงงาน54เห็ด
โครงงาน54เห็ด
 
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2558 สำรวจแมงมุมแม่หม้ายน้ำตาล
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2558 สำรวจแมงมุมแม่หม้ายน้ำตาล รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2558 สำรวจแมงมุมแม่หม้ายน้ำตาล
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2558 สำรวจแมงมุมแม่หม้ายน้ำตาล
 
โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์
 
รายงาน
รายงานรายงาน
รายงาน
 
การเก็บตัวอย่าง Lab (ต้นฉบับ)
การเก็บตัวอย่าง Lab (ต้นฉบับ)การเก็บตัวอย่าง Lab (ต้นฉบับ)
การเก็บตัวอย่าง Lab (ต้นฉบับ)
 
ทันตกรรมป้องกันในเด็กและวัยรุ่น
ทันตกรรมป้องกันในเด็กและวัยรุ่น ทันตกรรมป้องกันในเด็กและวัยรุ่น
ทันตกรรมป้องกันในเด็กและวัยรุ่น
 
โครงงาน เพาว์เวอร์พอย
โครงงาน เพาว์เวอร์พอยโครงงาน เพาว์เวอร์พอย
โครงงาน เพาว์เวอร์พอย
 
Slโครงสร้างรายวิชาหน่วย is1 การศึกษาและการสร้างองค์ความรู้
Slโครงสร้างรายวิชาหน่วย is1 การศึกษาและการสร้างองค์ความรู้Slโครงสร้างรายวิชาหน่วย is1 การศึกษาและการสร้างองค์ความรู้
Slโครงสร้างรายวิชาหน่วย is1 การศึกษาและการสร้างองค์ความรู้
 
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ความหลากหลายและความสัมพันธ์ของเห็ดในดอนปู่ตา2...
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ความหลากหลายและความสัมพันธ์ของเห็ดในดอนปู่ตา2...รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ความหลากหลายและความสัมพันธ์ของเห็ดในดอนปู่ตา2...
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ความหลากหลายและความสัมพันธ์ของเห็ดในดอนปู่ตา2...
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพโครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
แบบรายงานการวิจัย (ว สอศ.-3)
แบบรายงานการวิจัย (ว สอศ.-3)แบบรายงานการวิจัย (ว สอศ.-3)
แบบรายงานการวิจัย (ว สอศ.-3)
 
เรื่องราวของแมลงวันบ้าน ฯลฯ ๒๘ พ.ย. ๒๕๕๒
เรื่องราวของแมลงวันบ้าน ฯลฯ ๒๘ พ.ย. ๒๕๕๒เรื่องราวของแมลงวันบ้าน ฯลฯ ๒๘ พ.ย. ๒๕๕๒
เรื่องราวของแมลงวันบ้าน ฯลฯ ๒๘ พ.ย. ๒๕๕๒
 
หน่อไม้ฝรั่ง
หน่อไม้ฝรั่งหน่อไม้ฝรั่ง
หน่อไม้ฝรั่ง
 
หน่อไม้ฝรั่ง
หน่อไม้ฝรั่งหน่อไม้ฝรั่ง
หน่อไม้ฝรั่ง
 
โครงงานประเภท การพัฒนาสื่อเพื่อนการศึกษา
โครงงานประเภท การพัฒนาสื่อเพื่อนการศึกษาโครงงานประเภท การพัฒนาสื่อเพื่อนการศึกษา
โครงงานประเภท การพัฒนาสื่อเพื่อนการศึกษา
 
โครงงาน การพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
โครงงาน การพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษาโครงงาน การพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
โครงงาน การพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
 
ใบงานที่ 4 การพัฒนาสื่อเพื่อนการศึกษา
ใบงานที่ 4 การพัฒนาสื่อเพื่อนการศึกษาใบงานที่ 4 การพัฒนาสื่อเพื่อนการศึกษา
ใบงานที่ 4 การพัฒนาสื่อเพื่อนการศึกษา
 
โครงงานการพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
โครงงานการพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษาโครงงานการพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
โครงงานการพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
 

More from ปณิธิ ศรีสุวรรณนพกุล

More from ปณิธิ ศรีสุวรรณนพกุล (16)

โครงร่างโครงงานคอม
โครงร่างโครงงานคอมโครงร่างโครงงานคอม
โครงร่างโครงงานคอม
 
งานเอิด
งานเอิดงานเอิด
งานเอิด
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
อันนี้
อันนี้อันนี้
อันนี้
 
โครงร่างคอมคู่1
โครงร่างคอมคู่1โครงร่างคอมคู่1
โครงร่างคอมคู่1
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
พรบ
พรบพรบ
พรบ
 
Eng
EngEng
Eng
 
Social
SocialSocial
Social
 
7วิชาสามัญ ภาษาไทย
7วิชาสามัญ ภาษาไทย7วิชาสามัญ ภาษาไทย
7วิชาสามัญ ภาษาไทย
 
Bio
BioBio
Bio
 
เฉลย เคมี
เฉลย เคมีเฉลย เคมี
เฉลย เคมี
 
Chem
ChemChem
Chem
 
Physic
PhysicPhysic
Physic
 
เฉลย Math
เฉลย Mathเฉลย Math
เฉลย Math
 
Math
MathMath
Math
 

การกำจัดลูกน้ำโดยวิธีธรรมชาติ

  • 1. ชื่อโครงงาน การกาจัดลูกน้าโดยวิธีธรรมชาติ โดย นางสาว ปณิธิ ศรีสุวรรณนพกุล เลขที่ 3 ชั้น ม.6 ห้อง8 นางสาว สิรินดา อินทนนท์ เลขที่ 6 ชั้น ม.6 ห้อง 8 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 4. โครงงานเรื่องนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยี เนื่องจากโครงงานเรื่อง การกาจัดลูกน้าโดยวิธีธรรมชาติ มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษา ศึกษาและการดาเนินการสร้างโครงงานการกาจัดลูกน้าโดยวิธีธรรมชาติ เพื่อ อธิบายในชั้นเรียนได้จัดทาเรื่องนี้เพราะว่าได้ศึกษาค้นคว้า และรวบรวมเนื้อหาจัดทา จัดทาเป็นสื่อการเรียนการสอนขึ้นมา โดยทาเนื้อหาให้น่าสนใจมากขึ้น เพราะสมัย สมัยนี้เด็กไทยมักจะเคร่งเครียดในเทคโนโลยีมากขึ้น จนลืมตระหนักถึงวิธีง่ายๆที่ทา ง่ายๆที่ทาได้ด้วยตัวเองและทาได้จากธรรมชาติ อย่างไรก็ตามกลุ่มข้าพเจ้าก็ได้จัดทา จัดทาโครงงานนี้เพื่ออยากให้เด็กสนใจในวิถีแห่งธรรมชาติมากขึ้น จึงทาสื่อให้ น่าสนใจ คานา กลับไปหน้าแรก
  • 5. ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) : การกาจัดลูกน้ายุงลายโดยวิธีธรรมชาติ ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) : Elimination aegypti by natural ประเภทโครงงาน : พัฒนาสื่อการศึกษา ชื่อผู้ทาโครงงาน : 1. นางสาว ปณิธิ ศรีสุวรรณนพกุล เลขที่ 3 ชั้น ม.6 ห้อง 8 2. นางสาว สิรินดา อินทนนท์ เลขที่ 6 ชั้น ม.6 ห้อง 8 ชื่อที่ปรึกษา : คุณครู เขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน : ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558 เกี่ยวกับโครงงาน กลับไปหน้าแรก
  • 6. ไข้เลือดออก นับได้ว่าเป็นโรคร้ายที่หากใครเป็นแล้วอาจจะทาให้ เสียชีวิตได้ เนื่องจากยุงลายเป็นเหตุสาคัญ และในปัจจุบันพุทธศักราช ๒๕๕๘ ได้มีผู้เสียชีวิตเพราะโรคแล้ว เห็นได้จากฤดูฝนที่ผ่านมา ซึ่งจะทาให้เกิดน้าท่วมขังในบางบริเวณต่อจากนั้นก็จะมียุงลาย วางไข่ในบริเวณที่น้าท่วมขัง กลุ่มข้าพเจ้าจึงได้คิดวิธีลดจานวนลูกน้ายุงลาย โดยไม่ต้องใช้สารเคมีจึงได้คิดทาโครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษาโดยตั้งชื่อว่า “การกาจัดลูกน้าโดยวิธีธรรมชาติ” เพื่อที่จะช่วยลดจานวนของลูกน้าให้น้อยลง หรือหมดไปในที่สุด ที่มาและความสาคัญของโครงงาน กลับไปหน้าแรก
  • 10.
  • 11.
  • 12.
  • 13.
  • 14. อุปกรณ์ สะเดา โหระพา กระเพราแดง ครก สาก ผ้าขาวบาง น้าต้มสุก ถ้วย วิธีทา ชนิดที่ 1 นาเมล็ดสะเดามาโคก จนละเอียด แล้วรองด้วยผ้าขาว แล้วใช้น้าต้มสุกกรอง ใส่ถ้วย เป็นน้าจากเมล็ดสะเดา แล้วนาไปใส่ในน้าที่มีลูกน้ายุง วิธีทา ชนิดที่ 2 นาใบโหระพามาโคก จนละเอียด แล้วรองด้วยผ้าขาว แล้วใช้น้าต้มสุกกรอง ใส่ถ้วย เป็นน้าจากใบโหระพา แล้วนาไปใส่ในน้าที่มีลูกน้ายุง วิธีทา ชนิดที่ 3 นาใบกระเพราแดงมาโคก จนละเอียด แล้วรองด้วยผ้าขาว แล้วใช้น้าต้มสุก กรองใส่ถ้วย เป็นน้าจากใบกระเพราแดง แล้วนาไปใส่ในน้าที่มีลูกน้ายุง
  • 16. เลี้ยงปลาไว้กินลูกน้า ปลาที่นิยมเลี้ยงกันไว้กินลูกน้า ก็คือ ปลา หางนกยูง ปลาสอด ปลากัด โดยมักจะเลี้ยงปลาเหล่านี้ไว้ในโอ่ง หรือบ่อซีเมนต์ ไว้สาหรับกินลูกน้าในน้า ซึ่งจะช่วยควบคุมยุงลาย ได้ทางหนึ่ง โดยให้ใส่ปลาหางนกยูง 2-10 ตัวต่อภาชนะ แต่หาก กลัวว่าปลาจะยิ่งเพาะพันธุ์มากขึ้น ก็ให้เลือกเลี้ยงเฉพาะปลาหาง นกยูงตัวผู้ก็ได้
  • 17. ใช้แบคทีเรียกาจัดลูกน้า แบคทีเรียพวกนี้จะเป็นเชื้อจุลินทรีย์ที่มี อยู่ในดินตามธรรมชาติ จึงไม่เป็นพิษต่อคนและสัตว์ โดยหาซื้อ ได้ทั่วไปตามท้องตลาด ซึ่งจะมีชื่อเรียกทางการค้าแตกต่างกัน ไป เช่น Bactimos, Teknar, VectoBac, Larvitab ฯลฯ และมี หลายสูตรให้เลือกใช้ตามความเหมาะสมกับ ชนิดของแหล่ง น้า และชนิดของลูกน้ายุง
  • 18. ใช้วิธีกาลักน้า หากโอ่ง กระป๋ อง ถัง หรือบ่อซีเมนต์อะไรก็ตาม ในบ้านมีลูกน้าว่ายไปว่ายมาอยู่ กลัวจะกาจัดไม่หมด ให้เตรียม สายยางยาวประมาณ 2 เท่า ของความสูงภาชนะ และเติมน้า ให้เต็มตลอดสายยางไว้ จากนั้นใช้มือหมุนกวนภาชนะ ประมาณ 2-3 รอบ เพื่อให้ตะกอนสกปรก รวมทั้งลูกน้าที่กระจัด กระจายอยู่ในภาชนะจะถูกแรงหมุนเหวี่ยงของน้า กวาดไล่มา รวมอยู่ที่กึ่งกลางของพื้นภาชนะ จากนั้นจึงใช้สายยางที่เตรียม ไว้ดูดเอาลูกน้า ตัวโม่ง และตะกอนกาจัดทิ้งไปพร้อม ๆ กัน
  • 21. กระเทียม : ตากระเทียมให้พอบุบ ผสมกับน้าแล้วทาลงบนจุด ชีพจรต่าง ๆ ในร่างกายและบนใบหน้าจะช่วยให้ยุงไม่เข้าใกล้ อีก แต่ระวังอย่าให้เข้าตาเด็ดขาด
  • 22. วานิลา : ผสมผงวานิลากับน้าเล็กน้อย แล้วทาลงบริเวณจุดชีพ จรบนผิวหนัง หรือจะแต้มลงบนเสื้อผ้าก็จะช่วยให้ยุงขยาด ไม่ กล้าเข้ามาใกล้ตัวเราได้
  • 23. น้ามันมะกอก : นาน้ามันหอมระเหยที่มี กลิ่นลาเวน เดอร์ ยูคาลิปตัส มะนาว ตะไคร้ ทีทรีไธม์ และเปป เปอร์มินต์ หยดลงใน น้ามันมะกอก 2-3 หยด แล้วทา ลงบนผิวจะช่วยให้ยุงไม่เข้าใกล้
  • 26. มาลาเรีย หรือที่เรียกกันโดยทั่วไปว่าไข้ป่า ไข้จับสั่น เป็นโรคติดต่อร้ายแรงชนิดหนึ่ง มี ชุกชุมใน ประเทศเขตร้อนเช่นประเทศไทย เพราะมีภูมิประเทศและสภาพดินฟ้ าอากาศอานวยให้ ยุงก้นปล่อง ซึ่งเป็นพาหะสาคัญของโรคเจริญแพร่พันธุ์ได้ดี โรคนี้มักจะระบาดมากในช่วงฤดูฝนเนื่องจากเป็นระยะที่มียุงชุกชุม ในสมัยโบราณผู้ที่เดินทางข้าม จังหวัดผ่านภูมิประเทศที่เป็นป่าเขามักจะเสียชีวิตด้วยไข้มาลาเรียเป็นจานวนมาก จนกระทั่งองค์การ อนามัยโลกได้ร่วมมือกับ รัฐบาลไทย ทาการปราบปรามโดยพ่นสารฆ่าแมลงตามบ้านเมื่อปี พ.ศ.2492 ไข้มาลาเรียจึงลด น้อยลง แต่ต่อมาพบว่ามีผู้ป่วยด้วยไข้มาลาเรียมากขึ้น จากสถิติของ กองสถิติสาธารณสุข กระทรวงสาธารณสุข ในปีพ.ศ.2528 พบว่าโรคนี้เป็นสาเหตุการตายอันดับ 6 ของคนไทย และ ในปีพ.ศ.2531 พบว่าเป็นอันดับ 7 จังหวัดที่เคยมีไข้มาลาเรียระบาดทางภาคเหนือได้แก่ แม่ฮ่องสอน ภาคใต้ได้แก่ สุราษฎร์ธานี ชุมพร ระนอง กระบี่ พังงา ภาคตะวันออกได้แก่ จันทบุรี ตราด และภาคตะวันตกได้แก่ ตาก กาญจนบุรี ราชบุรี เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ์ ไข้มาลาเรีย
  • 27. สาเหตุ เกิดจากยุงก้นปล่องนาเชื้อโปรโตซัวที่เรียกว่า พลาสโมเดียม (Plasmodium มาสู่คนและลิง ซึ่งเป็นเชื้อปรสิตเซลล์เดียว อาศัยอยู่ในต่อมน้าลายของยุง เมื่ออยู่ในร่างกายมนุษย์ (ผู้ป่วย) จะเป็น ช่วงที่เชื้อโรคไม่มีการผสมพันธุ์ เชื้อที่ทาให้เกิดโรค ที่พบว่าทาให้เกิดโรคในมนุษย์ มี 4 ชนิด คือ 1.พลาสโมเดียม ไวแวกซ์ (Plasmodium vivax) 2.พลาสโมเดียม ฟัลซิพารุม (Plasmodium falciparum) 3.พลาสโมเดียม โอวาเล (Plasmodium ovale) 4.พลาสโมเดียม มาลาเรียอี (Plasmodium malariae)
  • 28. สาหรับในประเทศไทยพบเพียง 2 ชนิดแรกเท่านั้น พลาสโมเดียมทั้ง 4 ชนิดที่เกิดในมนุษย์ มีอาการต่างๆ คล้ายกันมาก เชื้อไข้จับสั่นชนิด ไวแวกซ์ พบ มากที่สุด พบได้ทั่วโลกในเขตร้อนและอบอุ่น ส่วนเชื้อไข้จับสั่นชนิดมาลาเรีย พบ มากในเขตอบอุ่น ชนิดฟาลซิพารัม พบมากในเขตร้อน ส่วนชนิด โอวาเล พบมากในทวีป อาฟริกาและอเมริกาใต้ พาหะ ได้แก่ยุงก้นปล่อง (ตัวเมีย) สาหรับในประเทศไทยยุงก้นปล่องที่เป็นพาหะนาเชื้อ มาลาเรียมี อยู่ 5 ชนิด คือ อะโฟเลีส มินิมุส (AnoPheles minimus) อะโนฟีลีส บาลาบาเซนซิส AnoPheles balabacensis) อะโนฟีลีส มาคูลาทุส (AnoPheles maculatus) อะโฟลีส ซันไดคุส (AnoPheles sandaicus) และ (A.aconitus) แหล่งของโรค ได้แก่มนุษย์หรือผู้ป่วยที่มีเชื้อมาลาเรียอยู่ในกระแสเลือด และยุงก้นปล่อง นอกจากนั้น ลิงยังเป็นแหล่งเก็บเชื้อ พลาสโมเดียม โนลิซี่ (Plasmodium knowlesi) พลาสโมเดียม ไซโนโมลไก (Plasmodium cynomolgi) ซึ่งเชื้อเหล่านี้อาจติดต่อมาสู่มนุษย์ได้
  • 29. การติดต่อ เมื่อยุงก้นปล่องกัดผู้ที่มีเชื้อไข้มาลาเรียและไปกับผู้อื่นก็จะเป็นพาหะนาเชื้อโรคไปติดต่อ ระยะฟักตัวของโรค เชื้อ โรคที่เข้าสู่กระแสเลือดของผู้ที่ถูกกัดจะเริ่มเข้าสู่ในระยะฟักตัว โดยเชื้อโรค จะไปเจริญเติบโตในตับประมาณ 5- 11วัน แล้วจึงออกจากตับเข้าสู่กระแสเลือด เข้าไปเจริญเติบโต ในเม็ดเลือดแดงโดยเพิ่มพูนจานวน ทาให้เม็ดเลือดแตก และปล่อยพาราสิตหรือเชื้อมาลาเรียใหม่ ออกมา ในช่วงนี้ผู้ป่วยจะเริ่มแสดงอาการของไข้มาลาเรีย ระยะฟักตัวของเชื้อมาลาเรียชนิดต่าง ๆ แตกต่างกันดังนี้ -ไวแวกซ์ (Vivax) ประมาณ 14 วันในประเทศไทยพบ 30 % (แต่เฉพาะในภาคใต้พบสูงถึง 50 %) -ฟาลซิพารัม (Falciparum) ประมาณ 12 วัน ในประเทศไทยพบสูงถึง 70 % -โอวาเล (Ovale) ประมาณ 14 วัน ในประเทศไทยพบน้อยมาก มาลาเรียอี (Malariae) ประมาณ30 วัน พบแต่ในประเทศของทวีปอาฟริกาและอเมริกาใต้ เมื่อผู้ป่วยได้รับเชื้อแล้วจะเข้าสู่ระยะฟักตัวซึ่ง ใช้เวลาไม่แน่นอนแล้วแต่ชนิด บางชนิด อาจกินเวลา 8-10 วัน เช่นเชื้อชนิดย่อยของไวแวกซ์
  • 30. ระยะติดต่อ เมื่อยุงก้นปล่องกัดผู้ป่วยและดูดเลือดซึ่งมีเชื้อไข้มาลาเรียในระยะแกมมี โทไซต์ (Gametocyte) คืออยู่ในระยะที่ยัง ระยะที่ยังไม่มีการผสมพันธุ์ซึ่งมีทั้งเชื้อตัวเมียและตัวผู้จากร่าง กายมนุษย์ (ผู้ป่วย) เชื้อโรคจะเข้าไปอยู่ในตัวยุงประมาณ 12 วัน 12 วัน หรือประมาณ 8-35 วัน ขึ้น อยู่กับชนิดของเชื้อ อุณหภูมิและความชื้นที่ยุงอาศัยอยู่ ในระยะนี้เชื้อแกมมีโทไซต์ตัวผู้กับตัว กับตัว เมียจะผสมพันธุ์กันในกระเพาะของยุงและเจริญเติบโตแบ่งตัวกลายเป็นซีสต์ใหญ่ ซึ่งมีสปอโรซอยต์ (Sporozoite) อยู่เป็น อยู่เป็นจานวนมาก ซีสต์จะแตกออกปล่อยสปอโรซอยต์กระจายไปอยู่ทั่วตัวยุง และส่วนใหญ่จะไปอยู่ที่ต่อมน้าลายของยุง ยุง เมื่อยุงกัดคนและปล่อยเชื้อสปอโรซอยต์ใส่กระแสเลือด เชื้อจะเข้าไปเติบโตในเซลล์ตับ ของคน ระยะนี้เรียกว่า พรีอีฟอร์ม (Pre-
  • 31. ความไวต่อโรคและความต้านทาน ทุกคนมีความไวต่อโรคเมื่อได้รับเชื้อ ผู้ที่เคยเป็นไข้มาลาเรียมาก่อนจะมีความไวต่อโรค น้อยลงเพราะมีภูมิคุ้มกัน ในท้องถิ่นที่มีโรคนี้เกิดขึ้น เป็นประจาผู้ที่อาศัยอยู่จะมีภูมิต้านทานโรค เช่น พวกอาฟริกัน นิโกร จะมีความต้านทานต่อเชื้อ พลาสโมเดียม ไวแวกซ์ เป็นต้น อาการ เมื่อเชื้อมาลาเรียเข้าสู่ร่างกาย ผู้ป่วยจะมีอาการไม่สบายภายในระยะเวลาประมาณ 10- 15 วัน โดยอาการเริ่มแรกคือจะมีไข้ทุกรอบ 3 วัน แต่บางคนอาจจับไข้วันเว้นวันหรืออาจจับไข้ทุก วัน ซึ่งแล้วแต่ชนิดของเชื้อไข้มาลาเรีย อาการโดยทั่วไปผู้ป่วยจะหนาวสั่น ปวดศีรษะ เมื่อหายจากอาการไข้แล้วผู้ป่วยจะมีเหงื่อ ออกมา รู้สึกกระหายน้า อาจมีอาการตาเหลือง ไตไม่ทางาน สมองเกิดการอักเสบอย่างฉับพลัน เนื่องจากเชื้อไข้มาลาเรียขึ้นสมอง ทาให้ผู้ป่วยช็อค หมดสติ ถึงแก่กรรม
  • 32. สามารถแบ่งอาการของโรคได้เป็น 4 ระยะ คือ 1.ระยะเริ่มต้น อาการนาคือผู้ป่วยจะเริ่มรู้สึกไม่สบายเพียงเล็กน้อยอยู่หลายวัน ก่อนที่ จะมีอาการไข้จับสั่นปรากฏ คือ ปวดศีรษะ ครั่นเนื้อครั่นตัว หนาวๆร้อนๆ ง่วงเหงาหาวนอน เบื่อหน่ายต่อการงาน ปวดตามกระดูกทั่วไป เบื่ออาหารหรือ อาเจียน เริ่มจะมีไข้ 2.ระยะหนาว ผู้ป่วยจะมีไข้สูงขึ้น มีอาการหนาวสะท้านไปทั่วร่างกาย ผิวหนังเย็น ปวดศีรษะ บางรายมีอาการคลื่นไส้ และอาเจียน ถ้าผู้ป่วยเป็นเด็กอาจเพ้อคลั่งหรือชักได้ ระยะนี้กิน เวลาราว 2-3 นาที ถึง 1 หรือ 2 ชั่วโมง อันเนื่องมาจาก การที่เม็ดโลหิตแดงแตกและปล่อย พาราสิตออกมาในกระแสเลือด 3.ระยะร้อน เมื่อระยะหนาวสั่นผ่านไปแล้ว ผู้ป่วยจะรู้สึกหนาวๆร้อนๆ และต่อไป จะมีอาการมากขึ้นทุกที มีอาการหน้า แดง ผิวหนังแห้งและร้อน ชีพจรเต้นแรงและเร็ว ปวดศีรษะ บางครั้งเพ้ออาเจียนบ่อยๆ รู้สึกกระหายน้า และหายใจเร็ว ระยะร้อนความร้อนอาจสูงประมาน104-106 องศาฟาเรนไฮต์ สาเหตุเกิดจากเชื้อพาราสิตแทรกเข้าสู่เม็ดโลหิตแดง ระยะ นี้ใช้เวลา 1/2-4 ชั่วโมง 4.ระยะไข้สร่าง ตอนระยะไข้สร่างเริ่มมีเหงื่อออกที่หน้าก่อน และเริ่มมีเหงื่อออกทั่วร่าง อาการต่างๆจะทุเลา ความร้อนจะ ลดลง นอนหลบได้และทางานได้ตามปกติ ซึ่งอาการเหล่านี้ช้าหรือเร็วแล้วแต่ชนิดของเชื้อ จนกว่าจะเข้าระยะเริ่มต้นใหม่
  • 33. การตรวจหาเชื้อและวินิจฉัยโรค ผู้ป่วยเป็นไข้มาลาเรียจะมีไข้ หนาวลสั่น และ เหงื่อออก มาก มีอาการหนาวสั่น เพ้อคลั่ง หมดสติ ซัก เมื่อตรวจในห้องปฏิบัติการจะพบเชื้อ มาลาเรียในระยะ ต่าง ๆ ตรวจพบจานวนเม็ดโลหิตขาวต่า การรักษาพยาบาล เมื่อสงสัยหรือมีอาการว่าอาจเป็นไข้มาลาเรีย อย่าซื้อยากินเอง เพื่อป้ องกันโรค แทรกซ้อนที่อาจ เกิดขึ้นได้ ควรรีบพบแพทย์เพื่อทาการเจาะเลือดที่ปลายนิ้วมือนาไปตรวจผู้ที่ป่วยเป็นไข้มาเลเรียควร ดื่มน้ามากๆ กินอาหารที่มีคุณค่าและปริมาณเพียงพอสาหรับ บารุงร่างกาย ปฏิบัติตนและกินยาตาม แพทย์สั่งอย่างเคร่งครัด ยาที่ใช้รักษาไข้มาลาเรีย ยาจาพวก แฟนซิเดอร์ (Fansider) คลอโรควิน (Chloroquin) หรือ อราเล็น (Aralen) ควินิน (Quinine) ไพรมาควิน (Primaquine) หากไม่มีความรู้เรื่องยา ควรขอคาแนะนาจาก แพทย์หรือเภสัชกร วัคซีน ในปัจจุบันยังไม่มีวัคซีนป้ องกันไข้มาลาเรีย ควรป้ องกันด้วยการนอนกางมุ้ง ทาลายแหล่ง เพาะพันธุ์ของยุงรับประทานยาป้ องกันเมื่อเข้าไปในท้องถิ่นที่มีเชื้อหรือมีการระบาด
  • 34. โรคแทรกซ้อน ผู้ที่ป่วยเป็นไข้มาลาเรียมักจะมีภาวะโรคแทรกซ้อนร่วมด้วย ดังนี้ 1.มาลาเรียขึ้นสมอง ถ้าเชื้อมาลาเรียเข้าไปสู่สมอง และอุดหลอดเลือดฝอยที่สมอง ทาให้เกิดมีอาการรบกวนทางประสาท ส่วนกลาง ผู้ป่วยจะเพ้อหรือหมดสติ การหมดสติอาจกิน เวลา 12-24 ชั่วโมง บางรายอาจเป็นรวดเร็วและชัก ลักษณะ คล้ายกับหลอดเลือดในสมองแตก 2.มาลาเรียลงตับ ผู้ป่วยมีอาการตัวเหลือง ตาเหลือง เบื่ออาหาร อ่อนเพลียมาก บาง รายอาจอาเจียนด้วย 3.มาลาเรียลงลาไส้ ผู้ป่วยจะมีอาการท้องเดิน อาจมีอุจจาระเป็นมูกเลือดเหมือนเป็นบิด 4.มาลาเรียลงไต ผู้ป่วยจะปัสสาวะน้อย ไม่ถึงครึ่งขวดน้าปลา หรือ 40 ลูกบาศก์เซนติ เมตรต่อวัน (โดยปกติผู้ใหญ่จะ ปัสสาวะประมาณ 2 ขวดน้าปลา) บางรายไม่มีปัสสาวะเลย ผู้ ป่วยอาจตายได้เพราะไตไม่ทางาน (หรือที่เรียกว่า ภาวะไต ล้มเหลวหรือไตวาย) ทาให้มีการคั่ง ของของเสียในร่างกายจนเป็นพิษ 5.ไข้น้าดา หรือไข้ปัสสาวะน้าดา ผู้ป่วยจะมีอาการอ่อนเพลีย มีอาการเช่นเดียวกับ อาการของไข้จับสั่นกาลังจับ เมื่อหาย หนาวจะรู้สึกปวดท้อง ปัสสาวะมีสีคล้าเหมือนน้าปลา ตัวเหลือง อาเจียนเป็นน้าดี กระหายน้า ตับและม้ามบวม ผิวกาย ของคนไข้จะเป็นสีเหลืองจัด เนื่องจากดีซ่าน เจ็บบริเวณเอวมาก หากอาการกาเริบคนไข้จะยิ่งกระสับกระส่ายหนาวสั่น และตัวร้อนจัด อ่อนเพลียมากหรือเกิดการขัดเบาปัสสาวะถ่ายไม่ค่อยออก อาจตายในภาย หลังเนื่องจากหัวใจวาย 6.ช็อค ผู้ป่วยตัวเย็น ความดันเลือดต่ามาก เป็นทั้งมาลาเรียขึ้นสมอง ลงตับ และลงไตด้วย
  • 35. การปฏิบัติตน เมื่อเป็นหรือสงสัยว่าเป็น ไข้มาลาเรีย นอกจากการไปพบแพทย์และ ปฎิบัติตามคาแนะนาเกี่ยวกับผู้ป่วยด้วยโรคติดต่อดังกล่าวรายละเอียดไว้ในบทนาแล้ว ยังมีข้อ ควรทราบเกี่ยวกับการปฏิบัติตนเฉพาะโรคเพิ่มเติม ดังนี้ 1. รีบไปพบแพทย์ รีบนาผู้ป่วยที่แสดงอาการของไข้มาลาเรียหรือภาวะโรคแทรกซ้อน ส่ง โรงพยาบาลโดยเร็ว 2. ควรให้คนป่วยนอนในมุ้ง ระวังอย่าให้ยุงกัด เพราะจะเป็นการแพร่กระจายเชื้อโรค ให้ติดต่อไปยังผู้อื่น 3. ผู้ป่วยต้องให้แพทย์ทาการรักษาให้หายจากโรคมาลาเรีย เพื่อจะได้ไม่เป็นแหล่ง แพร่ กระจายของโรค และไม่ควรบริจาคเลือดในระยะที่ยังมีเชื้อมาลาเรียในร่างกาย
  • 37. คือ โรคติดเชื้อซึ่งมีสาเหตุมาจาก ไวรัสเดงกี่ (Dengue virus) อาการของโรค นี้มีความคล้ายคลึงกับโรคไข้หวัดในช่วงแรก จึงทาให้ผู้ป่วยเข้าใจคลาดเคลื่อนได้ว่าตน เป็นเพียงโรคไข้หวัด และทาให้ไม่ได้รับการรักษาที่ถูกต้องในทันที โรคไข้เลือดออกมี อาการและความรุนแรงของโรคหลายระดับตั้งแต่ไม่มีอาการหรือมีอาการเล็กน้อยไป จนถึงเกิดภาวะช็อกซึ่งเป็นสาเหตุที่ทาให้ผู้ป่วยเสียชีวิต สถิติในปี พ.ศ. 2554 รายงาน โดย กลุ่มโรคไข้เลือดออก สานักโรคติดต่อนาโดยแมลง กรมควบคุมโรค กระทรวง สาธารณสุข พบว่า มีอัตราป่วย 107.02 และอัตราป่วยตาย 0.10 ซึ่งหมายความว่า ใน ประชากรทุก 100,000 คน จะมีผู้ที่ป่วยเป็นไข้เลือดออกได้ถึง 107.02 คน และมี ผู้เสียชีวิตจากโรคนี้0.1 คน โรคไข้เลือดออก
  • 38. การติดต่อ ไวรัสเดงกี่ที่เป็นสาเหตุของโรคไข้เลือดออกสามารถมีชีวิตรอดและเพิ่ม จานวนภายในตัวของยุงลาย ยุงลายจึงเป็นพาหะของโรคไข้เลือดออก และกล่าวได้ว่า โรคไข้เลือดออกติดต่อจากคนสู่คน ยุงลายที่เป็นพาหะนี้มีชื่อว่า Aedes aegypti ยุง ชนิดนี้ออกหากินเวลากลางวัน ยุงจะกัดและดูดเลือดที่มีเชื้อไวรัสเดงกี่จากผู้ที่กาลัง ป่วยเป็นไข้เลือดออก เมื่อยุงลายไปกัดคนใหม่ ก็จะถ่ายทอดเชื้อให้กับคนที่ถูกยุงกัด ต่อไป ยุงชนิดนี้อาศัยอยู่ในเขตภูมิอากาศแบบร้อนชื้น ประเทศไทยจึงเป็นอีกบริเวณ หนึ่งที่มีการระบาดของโรคนี้ค่อนข้างสูง โดยพบการระบาดมากที่สุดในฤดูฝน ช่วงอายุ ของคนที่พบว่าป่วยเป็นโรคไข้เลือดออกมากที่สุด คือ คนอายุ10-14 ปี รองลงมาคือ อายุ 15-24 ปี และ อายุ 5-9 ปี ตามลาดับ ส่วนช่วงอายุ 0-4 ปี และมากกว่า 25 ปี จนถึง 65 ปี เป็นช่วงอายุที่พบผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกจานวนน้อยที่สุด
  • 39. อาการ อาการของโรคนี้คล้ายคลึงกับโรคไข้หวัด กล่าวคือ มีอาการไข้อ่อนเพลีย ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ แต่แตกต่าง แตกต่างกันที่ ไข้จะสูงกว่ามาก โดยอาจมีไข้สูงกว่า 40 องศาเซลเซียส ผู้ป่วยจะมีหน้าแดง และปวดเมื่อย เมื่อยกล้ามเนื้อค่อนข้างมากกว่า หากทาการทดสอบโดยการรัดต้นแขนด้วยสายรัด (Touniquet test) จะพบ จะพบจุดเลือดออก ผู้ป่วยอาจมีเลือดออกผิดปกติ เช่น เลือดกาเดาไหล เลือดออกตามไรฟัน หรืออาการ อาการเลือดออกผิดปกติอื่นๆ และในบางรายที่มีอาการรุนแรงมากๆ อาจพบอาการซึม เหงื่อออก มือเท้า เท้าเย็น ชีพจรเต้นเบาแต่เร็ว ปวดท้องโดยเฉพาะบริเวณใต้ชายโครงขวา ปัสสาวะลดลง อาจถึงกับช็อกและ ช็อกและเสียชีวิตได้ โดยอาการนาของภาวะช็อกมักเริ่มจากการมีไข้ลดลง ดังนั้นหากพบว่าผู้ป่วยเริ่มมีไข้ มีไข้ลดลงตามด้วยอาการดังที่กล่าวมา ควรรีบแจ้งแพทย์หรือนาผู้ป่วยส่งโรงพยาบาลทันที ในเด็กที่ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก มักพบว่า มีอาการในระยะเริ่มต้นเพียงเล็กน้อยเท่านั้น ซึ่งหากผู้ปกครอง ผู้ปกครองละเลยการพาผู้ป่วยไปรับการรักษาที่โรงพยาบาล ก็มีโอกาสที่ผู้ป่วยเด็กจะเสียชีวิตเนื่องจากการ เนื่องจากการรักษาที่ล่าช้าได้ดังนั้นผู้ปกครองจึงควรสงสัยไว้ก่อนว่าบุตรหลานที่มีอาการไข้สูงในฤดูฝนอาจ ฝนอาจเป็นโรคไข้เลือดออก และควรรีบพาบุตรหลานไปรับการรักษา
  • 40. การรักษา เนื่องจากยังไม่มีการพัฒนายาฆ่าเชื้อไวรัสเดงกี่ การรักษาโรคนี้จึงเป็นการรักษาตามอาการ อาการเป็นสาคัญ กล่าวคือมีการใช้ยาลดไข้เช็ดตัว และการป้ องกันภาวะช็อก ยาลดไข้ที่ใช้มีเพียงชนิดเดียว คือ ยาพาราเซตามอล (paracetamol) ขนาดยาที่ใช้ในผู้ใหญ่ ผู้ใหญ่คือ พาราเซตามอลชนิดเม็ดละ 500 มิลลิกรัม รับประทานครั้งละ 1-2 เม็ด ทุก 4-6 4-6 ชั่วโมง โดยไม่ควรรับประทานเกินวันละ 8 เม็ด (4 กรัม) ส่วนขนาดยาที่ใช้ในเด็กคือ คือ พาราเซตามอลชนิดน้า 10-15 มิลลิกรัมต่อน้าหนักตัว 1 กิโลกรัมต่อครั้ง ทุก 4-6 ชั่วโมง โดยไม่ควรรับประทานเกินวันละ 5 ครั้ง หรือ 2.6 กรัม ยาพาราเซตามอลนี้เป็นยา ยารับประทานตามอาการ ดังนั้น หากไม่มีไข้ก็สามารถหยุดยาได้ทันที
  • 41. การป้ องกัน แม้ว่าในปัจจุบันกาลังมีการพัฒนาวัคซีนป้ องกันการติดเชื้อไวรัสแดงกี่ แต่ก็ยังไม่มียาที่สามารถฆ่าเชื้อไวรัส ไวรัสแดงกี่ได้ดังนั้นคาตอบที่ดีที่สุดของโรคไข้เลือดออกในปัจจุบันนี้ คือ การป้ องกันไม่ให้เป็นโรคโดยการ การควบคุมยุงลายให้มีจานวนลดลงซึ่งทาได้โดยการควบคุมแหล่งเพาะพันธุ์ของยุงลายและการกาจัดยุงลายทั้ง ยุงลายทั้งลูกน้าและตัวเต็มวัย และป้ องกันไม่ให้ยุงลายกัด ทั้งนี้การป้ องกันทาได้ 3 ลักษณะ คือ 1. การป้ องกันทางกายภาพ ได้แก่ ; ; ปิดภาชนะเก็บน้าด้วยฝาปิด เช่น มีผาปิดปากโอ่งน้า ตุ่มน้า ถังเก็บน้า หรือถ้าไม่มีฝาปิด ก็วางคว่าลงหาก ลงหากยังไม่ต้องการใช้เพื่อป้ องกันไม่ให้กลายเป็นที่วางไข่ของยุงลาย ; ; เปลี่ยนน้าในแจกันดอกไม้สดบ่อยๆ อย่างน้อยทุกๆ 7 วัน ; ; ปล่อยปลากินลูกน้าลงในภาชนะเก็บน้า เช่น โอ่ง ตุ่ม ภาชนะละ 2-4 ตัว รวมถึงอ่างบัวและตู้ปลาก็ควรมี ควรมีปลากินลูกน้าเพื่อคอยควบคุมจานวนลูกน้ายุงลายเช่นกัน ; ; ใส่เกลือลงน้าในจานรองขาตู้กับข้าว เพื่อควบคุมและกาจัดลูกน้ายุงลาย โดยใส่เกลือ 2 ช้อนชา ต่อความ ความจุ 250 มิลลิลิตร พบว่าสามารถควบคุมลูกน้าได้นานกว่า 7 วัน
  • 42. 2. การป้ องกันทางเคมี ได้แก่ ; ; เติมทรายทีมีฟอส ซึ่งเป็ นสารเคมีที่องค์การอนามัยโลกแนะนาให้ใช้และรับรองความปลอดภัย เหมาะสมกับภาชนะที่ไม่สามารถใส่ปลากินลูกน้าได้ ; ; การพ่นสารเคมีหรือยากันยุงเพื่อกาจัดยุงตัวเต็มวัย มีข้อดีคือ ประสิทธิภาพสูง แต่ข้อเสียคือ มี ราคาแพง และเป็ นพิษต่อคนและสัตว์เลี้ยง จึงต้องอาศัยผู้เชี่ยวชาญในการฉีดพ่นและฉีดเฉพาะเมื่อ จาเป็ นเท่านั้น เพื่อป้ องกันความเป็ นพิษต่อคนและสัตว์เลี้ยง ควรเลือกฉีดในเวลาที่มีคนอยู่น้อยที่สุด และฉีดพ่นลงในแหล่งที่คาดว่าเป็ นแหล่งเพาะพันธุ์ยุง เช่น ท่อระบายน้า กระถางต้นไม้ เป็ นต้น ; ; การใช้สารเคมีเพื่อกาจัดยุงในบ้านเรือน ที่ใช้กันมี 2 ชนิด คือ ยาจุดกันยุง และสเปรย์ฉีดไล่ยุง โดยสารออกฤทธิ์อาจเป็ นยาในกลุ่มไพรีทรอยด์ (Pyrethroids), ดีท (DEET, diethyltoluamide) เป็ น ต้น เมื่อก่อนมียาฆ่ายุงด้วย มีชื่อว่า ดีดีที แต่สารนี้ถูกยกเลิกการใช้ไปแล้วเนื่องจากเป็ นพิษต่อ สิ่งมีชีวิตและตกค้างในสิ่งแวดล้อมเป็ นระยะเวลานานมาก อย่างไรก็ตาม สารเคมีไม่ว่าจากยาจุดกัน ยุงหรือสเปรย์ฉีดไล่ยุง ก็มีความเป็ นพิษต่อคนและสัตว์ ดังนั้นเพื่อลดความเป็ นพิษดังกล่าวควรจุดยา กันยุงในบริเวณที่มีอากาศถ่ายเทสะดวก ล้างมือทุกครั้งหลังจากสัมผัส ส่วนยาฉีดไล่ยุงจะมีความเป็ น พิษมากกว่า ดังนั้นห้ามฉีดลงบนผิวหนัง และควรปฏิบัติตามวิธีใช้ที่ระบุข้างกระป๋ องอย่างเคร่งครัด
  • 43. 3. การปฏิบัติตัว ได้แก่ ; ; นอนในมุ้ง หรือนอนในห้องที่มีมุ้งลวดเพื่อป้ องกันไม่ให้ถูกยุงกัด โดย จะต้องปฏิบัติเหมือนกันทั้งกลางวันและกลางคืน ; ; หากไม่สามารถนอนในมุ้งหรือนอนในห้องที่มีมุ้งลวดได้ ควรใช้ยากัน ยุงชนิดทาผิวซึ่งมีสารสาคัญที่สกัดจากธรรมชาติ เช่น น้ามันตะไคร้หอม (oil of citronella), น้ามันยูคาลิปตัส (oil of eucalyptus) ซึ่งมีความ ปลอดภัยสูงกว่ามาทาหรือหยดใส่ผิวหนังใช้เป็ นยากันยุง แต่ประสิทธิภาพ จะต่ากว่า DEET
  • 45. ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ลาดับ ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 1 คิดหัวข้อโครงงาน ปณิธิ 2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล ปณิธิ 3 จัดทาโครงร่างงาน สิรินดา 4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน ปณิธิ,สิรินดา 5 ปรับปรุงทดสอบ สิรินดา 6 การทาเอกสารรายงาน ปณิธิ,สิรินดา 7 ประเมินผลงาน ปณิธิ,สิรินดา 8 นาเสนอโครงงาน ปณิธิ,สิรินดา กลับไปหน้าแรก
  • 46. 1.คอมพิวเตอร์ 2.Internet(Youtube,Google) 3.Printer 4.อุปกรณ์เครื่องเขียน กระดาษ วัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ งบประมาณ 50 บาท ระยะเวลาในการดาเนินงาน 3 ธันวาคม 2558 – 4 กุมภาพันธ์ 2559 กลับไปหน้าแรก